The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanchanok5665, 2021-03-28 05:48:51

e-book วิจัย

e-book วิจัย



เอกสารประกอบการเรยี น เร่อื ง ระบบรา่ งกาย สาหรบั นกั เรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่2 ฉบับได้จัดทาข้ึนเพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนประกอบการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซ่ึงมีเน้ือหาเก่ียวข้องกับการ
จัดระบบในร่างกายมนุษย์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
มนุษย์ โดยเอกสารประกอบการเรียนฉบับน้ี ประกอบไปด้วยเนื้อหาสาระ ใบ
กิจกรรม แบบทดสอบ และมีภาพประกอบท่ีชัดเจน ตรงตามเน้ือหาเอกสาร
ประกอบการเรยี น โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 ระบบ ได้แก่ ระบบย่อยอาหาร
ระบบหายใจระบบหมุนเวียนเลอื ด ระบบสืบพันธ์ุ ระบบประสาท ระบบย่อย
อาหาร และระบบขับถ่าย

ผู้จัดทาหวังว่าเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ระบบร่างกาย ฉบับนี้จะ
เปน็ ประโยชนต์ อ่ ผเู้ รียนในการเรียนรู้ และสามารถนาผู้เรียนไปสู่จุดหมายตาม
ศักยภาพเป็นผู้ที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
ชวี ิตประจาวนั ได้

ผ้จู ัดทา



เรื่อง หนา้
มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วัด 1
ระบบยอ่ ยอาหาร 3
ระบบหมุนเวียนเลือด 7
ระบบสบื พันธ์ุ 12
ระบบหายใจ 16
ระบบประสาท 22
ระบบขับถ่าย 26
แบบทดสอบ 32
เฉลยแบบทดสอบ 33
บรรณานุกรม 36

1

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบัตขิ องสง่ิ มีชีวิต หนว่ ยพืน้ ฐานของสิ่งมีชีวิต การ
ลาเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์ ความสมั พันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่
ของระบบตา่ ง ๆ ของสตั วแ์ ละมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของ
โครงสรา้ งและหน้าที่ ของอวัยวะตา่ ง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมท้ัง
นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์
ตัวช้ีวัด

ตัวชี้วัด ม.2/1 ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าท่ีของอวัยวะที่เกี่ยวข้องใน
ระบบหายใจ

ตวั ชีว้ ัด ม.2/2 อธบิ ายกลไกการหายใจเข้าและออก โดยใช้แบบจาลอง
รวมทั้งอธิบายกระบวนการแลกเปลี่ยนแกส๊

ตัวช้วี ดั ม.2/3 ตระหนักถึงความสาคญั ของระบบหายใจโดยการบอก
แนวทางในการดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบหายใจใหท้ างานเป็นปกติ

ตวั ชี้วัด ม.2/4 ระบุอวยั วะและบรรยายหน้าท่ีของอวยั วะในระบบขับถา่ ย
ในการกาจัดของเสยี ทางไต

ตวั ชวี้ ดั ม.2/5 ตระหนักถงึ ความสาคัญของระบบขบั ถ่ายในการกาจัด
ของเสียทางไต โดยการบอกแนวทางในการปฏบิ ตั ติ นท่ชี ว่ ยให้ระบบขบั ถ่ายทา
หนา้ ทไ่ี ดอ้ ย่างปกติ

ตวั ชวี้ ดั ม.2/6 บรรยายโครงสร้างและหน้าท่ขี องหัวใจหลอดเลอื ด
ตวั ชี้วัดม.2/7 อธิบายการทางานของระบบหมนุ เวียนเลือดโดยใช้
แบบจาลอง

2
ตัวชี้วัด ม.2/8 ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการเปรียบเทียบ
อตั ราการเต้นของหวั ใจ ขณะปกติและหลงั ทากิจกรรม
ตัวชี้วัด ม.2/9 ตระหนักถึงความสาคัญของระบบหมุนเวียนเลือดโดย
การบอกแนวทางในการดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบหมุนเวยี นเลือดให้ทางานเป็น
ปกติ
ตวั ชว้ี ดั ม.2/10ระบอุ วัยวะและบรรยายหน้าทีข่ องอวัยวะในระบบประสาท
สว่ นกลางในการควบคุมการทางานต่าง ๆ ของรา่ งกาย
ตวั ชี้วัด ม.2/11 ตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบประสาทโดยการบอก
แนวทางในการดูแลรักษา รวมถึงการป้องกันการกระทบกระเทือนและ
อนั ตรายตอ่ สมองและไขสนั หลัง
ตัวช้ีวัด ม.2/12 ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบ
สืบพนั ธข์ุ องเพศชายและเพศหญงิ โดยใชแ้ บบจาลอง
ตัวชว้ี ัด ม.2/13 อธิบายผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิงท่ีควบคุม
การเปล่ียนแปลงของรา่ งกาย เม่ือเข้าสูว่ ยั หนุม่ สาว
ตัวชี้วัด ม.2/14 ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายเม่ือเข้าสู่วัย
หนุ่มสาว โดยการดูแลรักษาร่างกายและจิตใจของตนเองในช่วงท่ีมีการ
เปล่ียนแปลง

1. อธิบายหน้าท่ี ความสาคัญ และอวัยวะท่ีเก่ียวข้องกับระบบร่างกายของ
มนษุ ยไ์ ด้
2. รูแ้ ละเขา้ ใจระบบการทางานสามารถสรา้ งเสริมและดารงประสทิ ธภิ าพการ
ทางาน ของระบบร่างกายของมนษุ ย์ได้
1. ระบบยอ่ ยอาหาร
2. ระบบหมนุ เวียนเลอื ด
3. ระบบสืบพนั ธุ์
4. ระบบหายใจ
5. ระบบประสาท
6. ระบบขับถา่ ย

32

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เรอื่ ง ระบบตา่ งๆของรา่ งกาย จานวน 10 ข้อ

คาชแี้ จง เลือกคาตอบทถี่ กู ตอ้ งทส่ี ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว

1. การเคยี้ วอาหารที่เป็นช้ินใหญใ่ หม้ ีขนาดเลก็ ลง คอื ข้อใด
ก. การยอ่ ยทางเคมี ข. การย่อยทางกล
ค. การกลืนอาหาร ง. การหายใจ

2. ระดับน้าตาลในเลอื ดจะต้องใชอ้ ินซลู ินทสี่ ร้างจากอวัยวะใด
ก. ตับ ข. ลาไสเ้ ลก็
ค. มา้ ม ง. ตบั อ่อน

3. การกาจัดของเสียทางปอดมคี วามสาพันธก์ ับกระบวนการใดมากทีส่ ดุ
ก. กระบวนการยอ่ ยอาหาร ข. กระบวนการแลกเปลี่ยนแกส๊
ค. กระบวนการกรองของเสียท่ไี ต ง. กระบวนการสูบฉดี เลือดการควบคุม

4. เมอ่ื เรารบั ประทานอาหารเขา้ สรู่ า่ งกาย มีระบบใดบา้ งทีต่ ้องทางาน
ประสานกันเพอ่ื เปล่ียนอาหารเปน็ พลังงานใหร้ า่ งกายนาไปใช้ในการ
เจรญิ เตบิ โต
ก. ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบหมุนเวยี นเลอื ด ระบบหายใจ
ข. ระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลอื ด ระบบประสาท
ค. ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย
ง. ระบบย่อยอาหาร ระบบสืบพนั ธุ์ ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด

5. ถ้าระบบหายใจมีความผดิ ปกติเนอ่ื งจากการสบู บุหรจ่ี ะส่งผลกระทบต่อ
ระบบใดมากทส่ี ุด
ก. ระบบไหลเวียนเลอื ด ข. ระบบยอ่ ยอาหาร
ค. ระบบประสาท ง. ระบบนา้ เหลือง

33

6. ในขณะทีค่ นเราหายใจเขา้ ขอ้ ความใดกลา่ วถงึ ความสมั พันธ์ระหว่างกะบงั
ลมกับกระดกู ซโี่ ครงไดถ้ ูกต้อง
ก. ทั้งกะบังลมและกระดูกซี่โครงเลอื่ นตา่ ลง
ข. ท้งั กะบังลมและกระดกู ซี่โครงเลื่อนสงู ขน้ึ
ค. กะบังลมเลือ่ นต่าลง กระดกู ซี่โครงเลอ่ื นสงู ข้นึ
ง. กะบังลมเล่ือนสูงข้นึ กระดกู ซีโ่ ครงเลอ่ื นต่าลง

7. ฮอร์โมนจากตอ่ มใดทห่ี ล่ังมากระต้นุ ใหก้ ล้ามเนอื้ มดลูกบบี ตวั ในชว่ งคลอด
ก. รงั ไข่ ข. มดลกู
ค. ต่อมใต้สมอง ง. ทั้ง ก, ข,ค

8. ข้อใดคอื หนา้ ท่ีของเกล็ดเลือด
ก. ขนส่งแก๊สออกซิเจนและแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์
ข. ทาลายเช้ือโรคหรือส่ิงแปลกปลอมที่เข้าสรู่ ่างกาย
ค. นาเลอื ดไปเลี้ยงส่วนตา่ งๆ ของร่างกาย
ง. ช่วยใหเ้ ลือดแข็งตวั เวลาเกิดบาดแผล

9. หัวใจมหี น้าท่อี ย่างไร
ก. แลกเปล่ยี นแกส๊ ในเลือด
ข. ควบคมุ การทางานของปอด
ค. สูบฉีดเลอื ดไปสเู่ ซลลท์ ว่ั รา่ งกาย
ง. ควบคุมการทางานของอวยั วะต่างๆ ท่วั รา่ งกาย

10. โปรตนี ทท่ี าหนา้ ทเ่ี รง่ ปฏกิ ิรยิ าทางเคมีของร่างกาย เรยี กว่า
ก. น้ําดี
ข. น้ําลาย
ค. เอนไซม์
ง. น้ําเกลอื

3

อาหารประเภทต่าง ๆ ที่เราบริโภคเขาํ
ไปในร่างกายโดยเฉพาะอาหารท่ีให้พลงังาน
ลว้นแต่มีโมเลกุลขนาดใหญ่เกินกวาํ ท่ี
ร่างกายจะลา เลียงเขาํสู่เซลลส์ส่วนต่าง ๆ
ของร่างกายได้ จาเป็นต้องแปรสภาพให้มี
ขนาดเล็กลง การแปรสภาพของอาหาร
ดังกล่าวเกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่อาศัยการ
ทางานของเอนไซมย์ย่อยอาหารโดยทั่วไป
เรียกว่า น้าย่อย จากนั้น โมเลกุลของ
ส า ร อ า ห า ร จ ะ ถู ก ดู ด ซึ ม เ ข าํ สู่ เ ซ ล ล์
กระบวนการแปรสภาพอาหารท่ีมีโมเลกุล
ใหญ่ให้มีโมเลกุลเล็กลงเรียกว่าํ การย่อย
อาหาร (Digestion)

การยอ่ ยอาหาร

กระบวนการที่ทาให้อาหารที่มีขนาดใหญ่มีขนาดเล็กลงจนสามารถดูด
ซมึ เข้าเซลลน์ าไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ การยอ่ ยภายนอกเซลล์ มี 2วธิ คี ือ

1. การย่อยแบบเชิงกล (mechanical digestion) โดยการบดเค้ํยว
ของฟันและการบีบรัดตัว ของท่อทางเดินอาหารเป็ นการเปลี่ยนขนาด
โมเลกุลทาใหอ้ าหารมีขนาดเล็กลง

2. การย่อยแบบเชิงเคมี(chemical digestion) โดยการใช้น้าย่อย
ซงึ่ นา้ ยอ่ ยหรอื เอนไซม์ (enzyme) มีคุณสมบัตดิ ังนี้

4

อาหาร ปาก คอหอย หลอดอาหาร

ลาไสใ้ หญ่ ลาไสเ้ ลก็ กระเพาะอาหาร

ลาไสต้ รง ทวารหนกั กากอาหาร

ช่องปาก (Mouth cavity) 5

กระบวนการยอ่ ยเรม่ิ ต้นทีช่ ่องปาก เม่อื คณุ เริม่ เคีย้ ว
อาหาร ฟันทาหนา้ ท่บี ดอาหารใหเ้ ปน็ ช้ินเลก็ ตอ่ ม
นา้ ลายจะผลติ นา้ ลายออกมาคลุกเคล้ากับอาหาร
เพอ่ื ให้งา่ ยตอ่ การกลนื และเคลอ่ื นผ่านไปยังสว่ น
ต่อไป นอกจากน้ี ในน้าลายยังมเี อนไซม์อะไมเลส

ทาหน้าทีย่ อ่ ยอาหารจาพวกแปง้ ด้วย

หลังจากทีเ่ รากลืนอาหารผา่ นลาคอลงไป
อาหารจะเคล่ือนผา่ นหลอดอาหารด้วยวธิ ีที่
เรียกวา่ Peritalsis ซ่ึงเป็นการเคลอ่ื นไหว
ของหลอดอาหารให้กอ้ นอาหารท่ีกลืนลงไป

ตกลงสูก่ ระเพาะอาหาหาร

กระเพาะอาหาร (Stomach)

เมอื่ อาหารเคลอ่ื นมายังกระเพาะอาหาร กอ้ นอาหารจะ
กระต้นุ ใหก้ ระเพาะอาหารเกดิ การเคลอ่ื นไหว เพือ่ เป็น
การคลุกเคลา้ อาหารให้ทาผสมกับนา้ ยอ่ ยทห่ี ล่ังออกม
จากต่อมไรท้ อ่ ซึ่งเอ้อื ตอ่ การทางานของเอนไซม์หรอื
นา้ ยอ่ ย โดยอาหารจาพวกโปรตนี จะถูกย่อยท่กี ระเพาะ

อาหารมากทสี่ ุดดว้ ยเอนไซมม์เพปซิน (Pepsin)

ถุงนา้ ดี (Gallbladder)

ทาหน้าท่เี ก็บน้าดี (Bile) ท่ีผลิตมาจาก
ตบั และปลอ่ ยน้าดเี ขา้ สูท่ างเดินอาหาร
ผา่ นทอ่ น้าดี เม่ือมีอาหารเคล่ือนผ่าน

มายงั ลาไส้เลก็ สว่ นต้น

6

ตบั (Liver)

บทบาทของตบั ในระบบทางเดินอาหารคือทาหน้าที่
ผลติ นา้ ดี เพอ่ื ชว่ ยการย่อยไขมันและวิตามนิ บางชนดิ

โดยน้าดีทส่ี รา้ งจากตับจะเกบ็ ไว้ทีถ่ งุ น้าดแี ละ
ลาเลยี งเข้าสู่ทางเดินอาหารบริเวณลาไสเ้ ลก็ สว่ นตน้

ตับออ่ นทาหน้าทใี่ นการผลิตนา้ ย่อยซ่ึงเปน็ ตับอ่อน (Pancreas)
เอนไซมห์ ลายชนิด และมีบทบาทในการยอ่ ย
อาหารจาพวกโปรตีน คารโ์ บไฮเดรต และไขมัน
น้าย่อยทีผ่ ลติ โดยดบั ออ่ นจะลาเลียงผ่านทอ่ มา

ส่ทู างเดินอาหารทลี่ าไส้เลก็ ส่วนต้น

ลาไสเ้ ลก็ (Small intestine)

ลาไสเ้ ลก็ ทาหนา้ ทผ่ี ลติ นา้ ยอ่ ย, คลุกเคลา้ อาหารที่
ให้เข้ากับนา้ ยอ่ ยจากตับออ่ น, และดูดซึมสารอาหาร

ทย่ี อ่ ยแล้ว สารอาหารทัง้ โปรตีนน คารโ์ บไฮเดรต
และไขมนั จะถูกยอ่ ยอยา่ งสมบรู ณภ์ ายในลาไสเ้ ลก็
แบคทเี รียบางชนิดท่อี ยใู่ นลาไสเ้ ลก็ มีบทบาทในการ

ผลิตเอนไซมเ์ พือ่ ชว่ ยย่อยคาร์โบไฮเดรต

ลาไสใ้ หญ่ (Large intestine)

ภายในลาไส้ใหญ่ น้าและเกลอื แร่ รวมถงึ วิตามิน จะถูก
ดูดซมึ เขา้ ส่รู ะบบไหลเวยี นโลหิตผ่านทางผนงั ลาไส้ และ
ไม่พบกระบวนการย่อยอาหารเกดิ ขน้ึ ในลาไสใ่ หญ่ กาก
อาหารตา่ งๆ ทเี่ หลือจากการยอ่ ยจะถูกขบั ออกจาก

รา่ งกายทางทวารหนกั (Anus)

7

วลิ เลยี่ ม ฮารว์ ีย(์ William Harvey)
นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เปน็ ผคู้ น้ พบ
ระบบการหมุนเวียนเลอื ดของคน ว่าํ มรี ะบบ
ปิด คอื มกี ารไหลของเลือดภายในหลอด
เลอื ดเป็นทศิ ทางเดียวกนั ซึ่งระบบจะทา
หน้าที่ลาเลยี งสารอาหารต่าง ๆ ไปยัง
เซลล์และกาจดั ของเสียท่เี ซลล์ ไํมต่ อ้ งการ

ออกจากร่างกาย

หวั ใจ (Heart)
เสน้ เลอื ด

(Blood vessels)
เลือด (Blood)

8
อยูร่ ะหวา่ งปอดทั้ง 2 ขา้ ง ค่อนไปทางซา้ ย
เลก็ น้อย ประกอบด้วยกลา้ มเน้อื พเิ ศษทีเ่ ยกวา่
กลา้ มเนอ้ื หวั ใจ แบง่ ออกเปน็ ห้องบน 2 หอ้ ง
เรยี กว่า Atrium (เอเตรียม) และห้องล้างซา้ ย

เรยี นกวา่ Ventricle (เวนตริเคลิ )
หวั ใจห้องบนมขี นาดเล็กกว่าหอ้ งลา่ ง และระหว่างหวั ใจหอ้ งบนกบั ห้องลา่ งจะมลี ้ิน

หวั ใจท่กี ั้นอยู่เพอ่ื ไม่ใหเ้ ลอื ดไหลยอ้ นกลบั ได้แก่ ลน้ิ ไตรคสั พิด (Tricuspid
Valve) อยู่ระหวา่ งห้องบนขวากบั ลา่ งขวา และลิ้นไบคัสปิด (Bicuspid Valve)

ลิน้ ระหวา่ งหอ้ งหัวใจเป็นล้ินปดิ -เปิดทาง
เดียว เมอ่ื เลอื ดไหลมาจะมแี รงดนั ใบล้ินทาให้
ลิ้นเปดิ ออก และปดิ กลบั อย่างรวดเร็วเพอ่ื

ป้องกันมใิ ห้เลือดไหลยอ้ นกลับ การปดิ
กระแทกของล้นิ จะทาใหเ้ กิด

“เสียงเต้นของหวั ใจ(heart beat)”

9

การหมนุ เวยี นของเลือดจากหัวใจไปและกลับจากส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกายนัน้
ต้อง อาศยั หลอดเลือด ซึ่งมีอยู่ ทั่วร่างกาย หลอดเลือดในรา่ งกายคนเราแบ่ง

ออกเปน็ 3 ชนิด คอื
1.หลอดเลือดอาร์เทอรี ( Arteries)
เป็นหลอดเลือดท่ีนาเลือดออกจากหัวใจ
ไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เลือดท่ีอยู่
ในหลอดเลือดนเ้ี ป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊ส
ออกซิเจนมาก ยกเว้นเลือดที่ส่งไปยัง
ป อ ด ซ่ึ งเ ป็ น เ ลื อ ด ท่ี มี ป ริ ม า ณ แ ก๊ ส
คาร์บอนไดออกไซด์มาก หลอดเลือดอาร์
เ ท อ รี มี ผ นั ง ห นา ไม่ มี ลิ้ น กั้ น มี ค ว า ม
แข็งแรง
2.หลอดเลอื ดเวน ( Vein ) เป็นหลอด
เลือดท่ีนาเลือดจากส่วนต่าง ๆ ของ
ร่างกายเข้าสู่หัวใจ เลือดท่ีอยู่ในหลอด
เ ลื อ ด น้ี เ ป็ น เ ลื อ ด ที่ มี ป ริ ม า ณ แ ก๊ ส
คาร์บอนไดออกไซด์สูง ยกเว้นเลือดท่ี
นาจากปอดมายังหัวใจ จะเป็นเลือดท่ีมี
ปริมาณแก๊สออกซิเจนสูง ภายใน
หลอดเลือดนี้จะมีล้ินป้องกันไม่ให้เลือด
ไหลย้อนกลบั

3.หลอดเลือดฝอย ( Capillaries ) เป็นหลอดเลือด
ที่มีขนาดเล็กละเอียดเป็นฝอยติดต่ออยู่ระหว่างแขนง
เล็ก ๆ ของหลอดเลือดอาร์เทอรีและหลอดเลือดเวน
หลอดเลือดฝอยมีผนังบางมาก เป็นบริเวณที่มีการ
แลกเปลี่ยนสารอาหาร แก๊ส และสิ่งต่าง ๆ ระหว่าง
เลือดกบั เซลลข์ องร่างกาย

10

1 . ส่ ว น ที่ เ ป็ น ข อ ง เ ห ล ว 3.เลอื ด ( Blood )
ซ่ึงเรียกว่า น้าเลือด หรือ
พลาสมา ( Plasma ) มี 2.สว่ นที่เป็นของแข็ง ได้แก่
อ ยู่ปร ะมาณร้อ ยล ะ 5 5 เซลล์เมด็ เลือด และเกลด็ เลอื ด
ข อ ง ป ริ ม า ณ เ ลื อ ด ท่ี ไ ห ล ซ่งึ มอี ยู่ประมาณร้อยละ 45
อยูใ่ นร่างกาย ของปรมิ าณเลอื ดทงั้ หมด

เซลล์เมด็ เลอื ดแดง (Red Blood Cell) เซลล์เมด็ เลอื ดขาว (White Blood cell)
มีรูปร่างค่อนข้างกลมแบน ตรงกลาง มีรูปร่างกลม ขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ด
บุ๋มเขา้ หากัน เม่อื โตเต็มท่ีไม่มีนิวเคลียส เลือดแดง ไม่มีนิวเคลียส ทาหน้าท่ี
ส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นสารประเภท ต่อต้านและทาลาย เชื้อโรคหรือส่ิง
โปรตีนที่เรยี กวา่ ฮีโมโกลบิน ซ่ึงมีเหล็ก แปลกปลอม ท่ีเข้าสู่ร่างกาย แหล่งที่
เ ป็ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ ส า คั ญ สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวได้แก่ ม้าม ไข
ฮีโมโกลบิน แดงมีหน้าท่ีลาเลียงแก๊ส กระดูก และต่อมน้าเหลือง เซลล์เม็ด
อ อ ก ซิ เ จ น ไ ป ยั ง เ ซ ล ล์ ต่ า ง ๆ ท่ั ว เลือดขาวมีอายุประมาณ 7-14 วัน ก็จะ
ร่างกาย ถกู ทาลาย

เกลด็ เลือด ( Blood Platelet ) เป็นส่วนประกอบของเลอื ดที่ไม่ใชเ่ ซลล์ มขี นาดเล็ก
มาก ไม่มีสี ไมม่ ีนวิ เคลียส ทาหน้าทชี่ ่วยทาใหเ้ ลือดแข็งตัวเมื่อเลอื ดออกสู่ภายนอก
รา่ งกาย และช่วยหา้ มเลือดในกรณที ี่เกิดบาดแผล แหล่งทีส่ ร้างเกล็ดเลอื ดได้แก่ ไข

กระดูก เกล็ดเลอื ดมีอายุ 4 วันเท่านน้ั ก็จะถกู ทาลาย

11

การหมนุ เวยี นเลอื ดไปยงั สว่ นตา่ งของรา่ งกาย

1.เลอื ดจากส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกายซึง่ เป็นเลอื ดทม่ี ีปรมิ าณแก๊ส
ออกซิเจนตา่ จะไหลกลบั เข้าส่หู ัวใจห้องบนขวา (Right Atrium )

2.เมื่อหวั ใจบบี ตัวเลือดจะไหลจากหวั ใจห้องบนขวาผ่านลิ้น
หัวใจลงสู่หัวใจห้องล่างขวา ( Right Ventricle )

3.เมือ่ หัวใจห้องล่างขวาบบี ตัว เลือดจะไหลเขา้ สหู่ ลอดเลอื ดไปยงั ปอด เมื่อมีการ
แลกเปลย่ี นแก๊สระหว่างแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์และแกส๊ ออกซิเจน เลือดท่มี ี
ปรมิ าณแก๊สออกซิเจนสงู จะไหลกลบั เขา้ สู่หัวใจห้องบนซา้ ย ( Left Atrium )

4.เมื่อหัวใจห้องบนซ้ายบบี ตวั เลอื ดจะไหลผ่านลนิ้ หัวใจลงสูห่ วั ใจหอ้ งลา่ ง
ซ้าย(Left Ventricle )
5.เมือ่ หัวใจห้องลา่ งซ้ายบีบตัว เลือดจะไหลเขา้ สูห่ ลอดเลอื ดไปเลยี้ งส่วนตา่ ง ๆ
ของร่างกาย และเมื่อเลอื ดมปี รมิ าณแก๊สออกซิเจนตา่ ก็จะไหลกลบั เข้าสู่หวั ใจ
ห้องบนชวาเปน็ เช่นนี้เรื่อย ๆ ไป

ระบบสบื พนั ธ์ุ 12

ระบบสบื พนั ธ์ุ คือ กระบวนการผลติ สง่ิ มีชีวติ เพอ่ื ดารงเผา่ พนั ธุ์
ซึง่ หมายถงึ การผลิตส่ิงมชี ีวติ ชนิดเดยี วกัน เพื่อใหส้ ง่ิ มีชีวติ น้ันๆ
ดารงเผ่าพนั ธต์ุ ่อไป มี 2 แบบ คอื

การสบื พันธ์ุแบบไมอ่ าศัยเพศ คือ การ
สืบพันธ์ทุ ่ไี มม่ ีการผสมกนั ระหวา่ งเซลล์

สบื พันธเ์ุ พศผกู้ ับเพศเมีย

การสืบพนั ธุแ์ บบอาศัยเพศ คือ
การสืบพนั ธท์ุ ีม่ กี ารผสมกันระหวา่ ง

เซลล์สืบพนั ธเ์ุ พศผ้กู ับเพศเมยี

การสืบพันธ์ขุ องคนเป็นการสืบพันธุแ์ บบอาศยั เพศ
โดยวิธีการปฏิสนธิภายใน เมือ่ ชายและหญิงยา่ งเข้าสู่
วยั รนุ่ ตอ่ มใตส้ มองจะหล่ังฮอร์โมนกระตุ้นต่อมเพศ
(ชายคอื อณั ฑะ หญงิ คือรังไข่) ใหผ้ ลติ ฮอร์โมนเพศ

และผลติ เซลลส์ ืบพันธุ์

13

หลอดนาตวั อสจุ ิ
อยู่ตอ่ จากหลอดเก็บอสจุ ิ ทาหนา้ ท่ลี าเลียง

อสจุ ไิ ปเก็บไวท้ ่ตี อ่ มสรา้ งนา้ เลีย้ งอสุจิ

ต่อมสรา้ งน้าเลย้ี งอสจุ (ิ seminal vesicle)
อยู่ต่อจากหลอดนาตัวอสุจิ ทาหน้าทส่ี รา้ ง

อาหารใหแ้ กต่ ัวอสุจิ สว่ นมากเปน็ นา้ ตาลฟรัก
โตส และสารประกอบอ่ืนๆทที่ าใหเ้ กดิ สภาพท่ี

เหมาะกบั ตวั อสุจิ

ต่อมลกู หมาก(prostate gland)
อยบู่ รเิ วณตอนตน้ ของท่อปสั สาวะ ทา
หน้าทหี่ ลั่งสารบางชนดิ ที่เป็นเบสอย่างออ่ น
เขา้ ไปในทอ่ ปสั สาวะปนกับน้าเล้ียงอสจุ ิ และ
สารที่ทาให้ตัวอสุจแิ ข็งแรงและวอ่ งไว

ตอ่ มคาวเปอร(์ cowper gland)
มีหปนสั ้าสทาีห่ วละใง่ั นสขาณรขะอเกงิดเหกลารวใกสรๆะไตปุ้นหทลา่องลเพ่ืนศทอ่

อวัยวะเพศชาย(pennis)
เป็นกล้ามเนอ้ื ท่ีหดและพองตัวได้คลา้ ยฟองนา้ ในวลา
ปกตจิ ะออ่ นและงอตวั อยู่ แตเ่ มือ่ ถกู กระต้นุ จะเเขง็ ตัว
เพราะมเี ลือดมาค่ังมาก ภายในจะมีท่อปัสสาวะทาหน้าที่

เป็นทางผ่านของตวั อสุจแิ ละน้าปัสสาวะ

14

ระบบสืบพันธ์ุเพศหญิง

ระบบสบื พนั ธเ์ุ พศหญงิ ประกอบดว้ ยอวยั วะตา่ งๆ ดังน้ี

รังไข่

ทาหน้าท่ผี ลิตไขแ่ ละฮอรโ์ มนเพศหญงิ ซ่ึงจะ
กาหนดลกั ษณะตา่ งๆในเพศหญิง เชน่ สะโพก
ผาย เสียงแหลม สาหรบั รังไข่จะมี 2 อัน ซึง่
จะอยูค่ นละข้างของมดลูกจะมลี ักษณะคล้าย

เม็ดมะมว่ งหมิ พานตย์ าวประมาณ 2 - 3
เซนติเมตร หนา 1 เซนตเิ มตร

ท่อนาไข่

เรียกอกี ชอ่ื หนง่ึ ว่า ปีกมดลกู เปน็ ทางเช่อื มตอ่
ระหวา่ งรงั ไขท่ ั้งสองขา้ งกบั มดลกู ทาหน้าท่เี ป็น
ทางผ่านของไขท่ ีอ่ อกจากรงั ไข่เขา้ ส่มู ดลกู และ
เปน็ บริเวณท่ีอสจุ จิ ะเข้าปฏิสนธกิ ับไข่ ทอ่ นาไข่

มีเสน้ ผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 มลิ ลเิ มตร
และยาวประมาณ 6 - 7 เซนติเมตร

15

มดลกู

มีรปู รา่ งคล้ายผลชมพหู่ ัวกลบั ลง กว้างประมาณ 4
เซนติเมตร ยาวประมาณ 6 - 8 เซนตเิ มตร หนา
ประมาณ 2 เซนตเิ มตร อยูใ่ นบริเวณอ้งุ กระดกู เชิง
กรานระหว่างกระเพาะปัสสาวะกับทวารหนัก ทา
หนา้ ท่เี ปน็ ทฝ่ี งั ตัวของไขท่ ี่ไดร้ บั การผสมแล้วและเป็น

ทเ่ี จรญิ เตบิ โตของทารกในครรภ์

ช่องคลอด

อย่ตู ่อจากมดลูกลงมา ทาหนา้ ที่เป็น
ทางผา่ นของตัวอสจุ ิเขา้ สู่มดลกู และเปน็
ทางออกของทารกเมือ่ ครบกาหนดคลอด

ประจาเดอื น

เมื่อไขต่ ก รา่ งกายจะผลิตฮอรโ์ มนเพอื่ เตรยี มเยื่อบุโพรงมดลกู สาหรับการฝังตวั
ของไข่ทีไ่ ดร้ ับการปฏสิ นธิ แตเ่ มอ่ื ไมม่ ีการปฏิสนธิ เยอ่ื บุโพรงมดลูกและหลอด
เลือดกจ็ ะสลาย กลายเปน็ ประจาเดอื น เพศหญิงจะมีประจาเดือนตัง้ แต่อายุ

12 ปี รอบเดือนประมาณ 28 วัน เมอื่ อายุ 50 ปีกห็ มดประจาเดอื น

ระบบหายใจ 16
(Respiration)

เป็นการแลกเปลีย่ นกา๊ ชคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ร่างกายของเราไม่ต้องการกบั กา๊ ช
ออกซเิ จนทอ่ี ยนู่ อกร่างกายของเรา ซึง่ มคี วามสาคญั และจาเป็นต่อเรามาก ระบบ

หายใจประกอบด้วยจมูก หลอดลม ปอด ถุงลม กะบงั ลมและซโี่ ครง
การหายใจแบง่ เปน็ 2แบบ

1. การหายใจแบบตอง้ อาศยั ออกซเิ จน
เป็นการสลายโมเลกุลอาหารอยา่ ง
สมบรู ณ์ ได้พลงั งานเตม็ ที่ ผลทีไ่ ด้คือ
แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์และนา้

2. หายใจแบบไมใ่ ช้ออกซเิ จน เป็น
การสลายโมเลกลุ อาหารอยา่ งไม่
สมบูรณไ์ ดพํ้ ลงั งานออกมาเพยี ง 1 ใน
9 ของการหายใจแบบใชอ้ อกซิเจน

สารอาหาร + ออกซเิ จน คารบ์ อนไดออกไซด์ + นา้ + พลังงาน

กลไกลการหายใจของมนษุ ย์ 17

1.) การหายใจเข้า (Inspiration)
กะบังลมจะเลื่อนต่าลง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น ทาให้ปริมาตร

ของช่องอกเพิ่มข้ึน ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดลดต่าลงกว่า
อากาศภายนอก อากาศภายนอกจึงเคลื่อนเข้าสู่จมูก หลอดลม และไป
ยงั ถงุ ลมปอด

2.) การหายใจออก (Expiration)
กะบังลมจะเลื่อนสูง กระดูกซ่ีโครงจะเล่ือนต่าลง ทาให้ปริมาตรของ

ช่องอกลดน้อยลง ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดสูงกว่าอากาศ
ภายนอก อากาศภายในถุงลมปอดจึงเคล่ือนท่ีจากถุงลมปอดไปสู่
หลอดลมและออกทางจมกู

อวัยวะทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ระบบหายใจ 18

ช่องจมกู (Nasal cavity)

ชว่ ยในการกรองอากาศ

มเี มือกเหนยี ว ๆ ทาหน้าทีด่ กั จับ
ฝนุ่ ละอองและจุลินทรีย์

มีขนเลก็ ๆ หรอื ซเี ลีย (Cilia)
อยูบ่ นเซลลท์ ่ชี ว่ ยในการพดั พา
เมอื กขึน้ มาทจ่ี มูกและคอหอย

คอหอย (Pharynx) คอหอยส่วนจมกู เปน็ ทางผา่ น
ของอากาศอยา่ งเดียว

คอหอยส่วนปาก เป็นทางผ่านของอาหาร
และอากาศ

คอหอยส่วนกลอ่ งเสยี ง เปน็
ทางผ่านของอากาศอย่างเดยี ว

คอหอย
(Pharynx)

19

กล่องเสยี ง (Larynx) และฝาปดิ กลอ่ งเสยี ง (Epiglottis)

ประกอบดว้ ยอวยั วะท่ีเปน็ กระดกู อ่อนมี
ลักษณะเป็นสันนูนออกมาตรงแนวกลาง
เรียกวา่ ลกู กระเดอื ก และจะมเี สน้ เสียง

(Vocal cords)

เป็นแหลง่ กาเนดิ เสยี งและ
เปน็ ทางผ่านของอากาศ

กลอ่ งเสยี ง (Larynx) ฝาปิดกล่องเสยี ง
(Epiglottis) ซง่ึ ทาหนา้ ท่ี
เปดิ ปดิ กลอ่ งเสียง เพื่อ
ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้อาหารเขา้ ไปใน
กลอ่ งเสียงและหลอดลม

เป็นหลอดกลมๆประกอบดว้ ยกระดกู
ออ่ นรูปวงแหวน หรือรูปตัว U
เพื่อป้องกันไม่ใหห้ ลอดลมแฟบ
ได้ง่าย และทาให้อากาศผ่านเขา้
ออกไดส้ ะดวก

ขั้วปอด (Bronchus) 20
เปน็ ส่วนที่ต่อจากหลอดลมโดย

จะแยกเปน็ 2 ข้างแลว้ แตก
แขนงย่อยออกไปยงั ปอด

เรยี กวา่ แขนงขว้ั ปอด

ขั้วปอด (Bronchus) ขว้ั ปอดข้างขวาจะลาดกวา่
ดังนนั้ เวลาสาลักสง่ิ

แปลกปลอมจะทาใหส้ ่งิ
แปลกปลอม มโี อกาสตก

ลงทางด้านขวาได้

ปอดมี 2 ขา้ งมลี ักษณะคลา้ ยฟองน้าลอยน้าได้ ปอด
ลอ้ มรอบด้วยเยือ่ หุม้ ปอด ซง่ึ สรา้ งของเหลวล่ืนๆ (Lungs)
เพ่ือช่วยปอ้ งกนั การเสียดสรี ะหวา่ งปอดกับซ่โี ครง

ในระหวา่ งการหายใจ

ในเดก็ มีสีชมพู ในผู้ใหญอ่ าจจะมีสคี ลา้
และมจี ุดดาเปน็ หยอ่ มทีเ่ กดิ การสะสม
ของฝุน่ ละออง เช่น จาก ควนั บุหร่ี

หรอื ท่อไอเสยี รถยนต์เป็นต้น
เปน็ อวัยวะทท่ี าหนา้ ทใ่ี นการแลกเปล่ยี นกา๊ ซ
โดยนาก๊าซ CO2 ออกจากเลอื ด และนา
ออกซิเจนเขา้ สู่เลอื ด

ถุงลม (Alveolus) 21
มลี กั ษณะเปน็ ถงุ ขนาด
เลก็ นบั ล้าน ๆ ถุง โดยมี
ร่างแหเส้นเลอื ดฝอย
ลอ้ มรอบแต่ละถุงไวแ้ ละ
ผนังของถุงลมมีความบาง

และชุ่มชนื้
เกดิ การแลกเปลีย่ นกา๊ ซโดย

กระบวนการแพร่
โดยแพร่ จากความเข้มขน้
มากไปหาความเขม้ ข้นน้อย

กระบวนการทางานของระบบการหายใจ

การแลกเปลยี่ นแกส๊ ทถ่ี งุ ลม
อากาศเมอ่ื เข้าสูป่ อดจะไปอยู่ในถุงลม ซงึ่ มลี ักษณะกลมคล้ายลูกองนุ่ ซึ่งปอดต่
ละข้างจะมีถุงลมข้างละ 150 ลา้ นถุง แต่ะถงุ มขี นาดเสน้ ผ่านศนู ย์กลางไม่ถงึ 0.1

มิลลิเมตร ถงุ ลมทกุ อันจะมีหลอดเลือดฝอยมาหอ่ ห้มุ ไว้ การแลกเปลยี่ นแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิเจน ไนโตรเจน และไอน้า ผ่านเขา้ ออกถงุ ลมโดยผ่าน

เยอ่ื บางๆของถุงลม

เลอื ดจากหวั ใจมาสู่ปอด เปน็ เลือดทม่ี ี
ออกซเิ จนตา่ คาร์บอนไดออกไซด์สงู
เมื่อมาสถู่ ุงลมจะมกี ารแลกเปลี่ยนแก๊ส
โดยออกซิเจนในถุงลมจะแพรเ่ ขา้ สเู่ ส้น
เลือด ขณะเดียวกนั คารบ์ อนไดออกไซด์
ในเส้นเลอื ดจะแพร่เข้าส่ถู งุ ลม แลว้ ขบั

ออกทางลมหายใจออก

22

ระบบประสาท
(Nervous System)

ระบบประสาท (Nervous System) ทาหนา้ ที่ ควบคมุ การทางานของทุกระบบ
ทางานได้อยา่ งรวดเร็วรว่ มกบั ระบบตอ่ ม ไร้ท่อ นอกจากนีย้ ังทาหนา้ ทีร่ บั และ
ตอบสนองตอ่ ส่ิงเรา้ ภายนอก โดยระบบประสาทของมนษุ ยแ์ บง่ เป็น 2 ส่วน

1.ระบบประสาทสว่ นกลาง (Central
Nervous System : CNS )
เ ป็ น ร ะ บ บ ป ร ะ ส า ท ที่ ท า ห น้ า ท่ี เ ป็ น
ศูนย์กลางหรือควบคุมการทางานของ
ระบบอ่ืนๆของร่างกาย เช่น ควบคุมการ
เคล่ือนไหวขอ งก ล้ามเนื้อ ลายแ ล ะ
ก ร ะ ดู ก เ พื่ อ ใ ห้ ส า ม า ร ถ ป รั บ ตั ว เ ข้ า กั บ
สภาพแวดลอ้ ม

2. ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System : PNS
) ประกอบดว้ ย
2.1 เสน้ ประสาทสมอง (cranial nerve) 12 คู่

- สมองทกุ ส่วนจะมีเสน้ ประสาทสมองแยกออกมาเปน็ คูๆ่
เพ่ือรับสญั ญาณความรูส้ ึก และออกคาสั่งควบคุมหนว่ ยปฏิบตั ิงานให้
ตอบสนองต่อส่งิ เร้า
2.2เส้นประสาทไขสนั หลงั (spinal nerve)

- เป็นเสน้ ประสาทที่แยกออกจากไขสนั หลงั 31 คู่ เพือ่ ทา
หน้าที่รับความรสู้ ึกและส่ังการไปยังหน่วยปฏิบัติงาน (effectors)
เชน่ กลา้ มเนือ้ หรือตอ่ มต่างๆ

23

ระบบประสาทของมนษุ ยป์ ระกอบด้วย
สมอง ไขสนั หลงั และเสน้ ประสาท

สมองและไขสันหลัง ประกอบด้วยเซลล์
ประสาท หรือ นิวรอน (Neuron) อยู่
มากมายแตล่ ะเซลล์ ประกอบด้วย 2 ส่วน
คอื
1. ตัวเซลล์ (Cell body) มีนิวเคลียส
ขนาดใหญอ่ ยใํ นไซโทพลาซึม

2. เส้นใยประสาท (Nerve fiber)
คือส่วนของไซโทพลาซึมที่แตกแขนงยื่น
ออกไปจากตวเั ซลล์แบ่งออกเปน็
● เดนไดรต์ (Dendrite) ทาหน้าทน่ี าสญั ญาณประสาทเขาสํ ่ตู วเั ซลล์
● แอกซอน (Axon) ทาหนา้ ทน่ี าสญั ญาณประสาทออกจากตวั เซลล์

24

สมอง ( brain )

1. สมองสว่ นหนา้
1.1 ซรี บี รมั (Cerebrum) มขี นาดใหญส่ ดุ รอยหยักมาก ทาหนา้ ทเี่ กี่ยวกับ

การเรียนรู้ ควบคุมการเคลอ่ื นไหว ความรู้สึก และประสาทสมั ผัส
1.2 ทาลามัส (Thalamus) เปน็ ตวั กลางถา่ ยทอดกระแสประสาทในสมอง
1.3 ไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ทาหน้าทีค่ วบคมุ สมดุลรา่ งกายและ

การทางานของระบบประสาทอตั โนมัติ เช่น ควบคมุ อณุ หภูมิของร่างกาย การ
หายใจ การหลบั การเตน้ ของหวั ใจ เป็นต้น

2.สมองสว่ นกลาง มเี ซลล์เชื่อมระหวา่ งสมองส่วนหนา้ กบั สว่ นท้าย
และสว่ นหนา้ กบั ตา ทาใหล้ ูกตากลอกไปมา และมา่ นตาหดขยายได้
3.สมองสว่ นทา้ ย
3.1 ซีรีเบลลมั (Cerebellum) อยูใ่ ต้ซีรบี รมั ควบคมุ ระบบกล้ามเนอ้ื และ
การทรงตวั
3.2 พอนส์ (Pons) อยดู่ า้ นหน้าของซีรเี บลลัม มใี ยประสาทเช่ือมระหว่าง
ซีรบี รัมและซรี เี บลลัม ชว่ ยให้รา่ งกายเคลอ่ื นไหวพร้อมกบั ทรงตัวได้
3.3 เมดลั ลาออบลองกาตา (medulla oblongata) เป็นศูนย์กลางการ
ควบคุมการทางานเหนอื อานาจจติ ใจ สมองสว่ นกลาง พอนส์ และเมดลั ลา
ออบลองกาตา รวมกันเรียกวา่ "กา้ นสมอง (brain stem)"

25

ไขสันหลงั (spinal cord)

ไขสนั หลัง ทาหนา้ ทีเ่ ช่อื มกระแส
ประสาทจากหน่วยรับความรู้สกึ ทว่ั

ร่างกายกบั สมอง

เซลล์ประสาท (neuron)

เปน็ กลมุ่ ของใยประสาทหลายอันท่ีมารวมกนั ใยประสาทรบั ความรสู้ กี
เรยี กว่า เดนไดรท์ (dendrite) ส่วนใยประสาทท่ีสง่ ความรสู้ กึ เรยี กวา่

แอกซอน (axon) เซลลป์ ระสาทมี 3 ส่วน ไดแ้ ก่
1.เซลล์ประสาทรับความรูส้ ึก รบั กระแส
ประสาทจากอวัยวะรบั สัมผสั เข้าส่สู มองและ
ไขสนั หลงั
2.เซลล์ประสาทนาคาสั่ง เชื่อมเซลล์
ประสาทรับความรู้สึกกบั สมอง ไขสันหลัง
และเซลลป์ ระสาทสั่งการ
3.เซลล์ประสาทสั่งการ รับคาสั่งจากสมอง
หรือไขสนั หลงั ให้ควบคุมการทางานของ
อวัยวะต่างๆ

การขับถา่ ยเปน็ ระบบกาจดั ของเสยี จากรา่ งกาย
และช่วยควบคุมปริมาณของน้าในร่างกายให้สมบูรณ์ประกอบด้วย

ไต ตับ และลาไส้ เป็นตน้

ไต มีหนา้ ท่ีขับสิง่ ท่ีรา่ งกาย

ไม่ไดใ้ ช้ออกจากร่างกาย
อยูด่ า้ นหลังของช่องทอ้ ง

ลาไสใ้ หญ่ มีหน้าท่ขี ับกากอาหาร
ทเ่ี หลอื จากการยอ่ ยของระบบยอ่ ย
อาหารออกมาเป็นอุจจาระ

ไต เปน็ อวยั วะท่ลี ักษณะคลา้ ยถว่ั มี
ขนาดประมาณ 10 กวา้ ง 6

เซนตเิ มตร และหนาประมาณ 3
เซนตเิ มตร มสี ีแดงแกมน้าตาลมเี ยื่อ
หมุ้ บางๆ ไตมี 2 ข้างซา้ ยและขวา
บริเวณด้านหลงั ของช่องทอ้ ง ใกล้
กระดกู สันหลงั บริเวณเอว บรเิ วณส่วน
ท่เี ว้า เป็นกรวยไต มีหลอดไตตอ่ ไป

ยังมกี ระเพาะปัสสาวะ
โครงสร้างไต ประกอบดว้ ยเนื้อเย่อื 2
ชัน้ หน่วยไต ชนั้ นอก เรียกวา่
คอรด์ เทกซ์ ชนั้ ในเรยี กวา่ เมดลั ลา
ภายในไตประกอบดว้ ย หนว่ ยไต มี
ลักษณะเป็นท่อขดอยู่หลอดเลอื ดฝอย
เปน็ กระจุกอยเู่ ตม็ ไปหมด

ไตเปน็ อวยั วะที่ทางานหนกั เลอื ดท่หี มุนเวยี นในร่างกายตอ้ งผา่ นมายังไต ประมาณ
ในแตล่ ะนาทจี ะมเี ลอื ดมายังไตที่ 1200 มลิ ลิลติ ร หรอื วันละ 180 ลิตร ไตจะ

ขบั ของเสยี มาในรปู ของนา้ ปัสสาวะ แลว้ สง่ ต่อไปยังกระเพาะปัสสาวะ มคี วามจุ
ประมาณ 500 ลูกบาศก์เซนตเิ มตร รา่ งกายจะรู้สกึ ปวดปสั สาวะเม่อื น้าปัสสาวะ
ไหลส่กู ระเพาะปัสสาวะประมาณ 250 ลูกบาศก์เซนตเิ มตร ใน 1 วนั คนเราจะ

ขับปัสสาวะออกมาประมาณ 1 – 1.5 ลติ ร

ในรปู ของเหงือ่ เหง่อื ประกอบไปด้วยนา้ เปน็
สว่ นใหญ่ เหง่ือจะถกู ขบั ออกจากรา่ งกายทาง
ผิวหนงั โดยผา่ นต่อมเหงื่อซ่ึงอยใู่ ต้ผวิ หนงั
ต่อมเหงอื่ มี 2 ชนดิ คือ
1. ต่อมเหง่ือขนาดเล็ก มอี ยทู่ ัว่ ผิวหนังในรา่ งกาย
ยกเว้นท่ารมิ ฝีปากและอวัยวะสืบพันธุ์ ตอ่ มเหง่อื ขนาด
เลก็ มกี ารขบั เหงอ่ื ออกมาตลอดเวลา เหงื่อทีอ่ อกจาก
ต่อมขนาดเล็กน้ีประกอบด้วยน้าร้อยละ 99 สารอื่นๆ
รอ้ ยละ 1 ได้แก่ เกลือโซเดียม และยเู รีย

2. ตอ่ มเหงอื่ ขนาดใหญ่ จะอยู่ที่บรเิ วณ รักแร้ รอบหัวนม รอบสะดอื
ชอ่ งหูสว่ นนอก อวยั วะเพศบางส่วน ต่อมน้ีมที อ่ ขับถา่ ยใหญ่กว่าชนิดแรก
ตอ่ มน้ีจะตอบสนองทางจิตใจ สารทขี่ ับถ่ายมกั มีกลนิ่ ซ่งึ กค็ ือกลิ่นตัวเหง่ือ
จะถกู ลาเลียงไปตามทอ่ ท่ีเปิดอยู่ ท่เี รยี กว่า รเู หงื่อ

กากอาหารทเ่ี หลอื กจากการย่อย จะถูกลาเลียงผ่านมาทลี่ าไสใ้ หญ่ โดยลาไส้
ใหญจ่ ะทาหน้าทส่ี ะสมกากอาหารและจะดดู ซมึ สารอาหารที่มปี ระโยชน์ ต่อ
ร่างกายไดแ้ ก่ นา้ แรธ่ าตุ วติ ามิน และกลูโคส ออกจากกากอาหาร ทาให้
กากอาหารเหนียวและขน้ จนเปน็ กอ้ นแขง็ จากนนั้ ลาไสจ้ ะบบี ตัวเพอ่ื ใหก้ าก
อาหารเคลื่อนท่ีไปรวมกนั ทล่ี าไส้ตรง และขับถา่ ยสู่ภายนอกรา่ งกายทางทวาร

หนัก ท่ีเรียกวา่ อจุ จาระ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ก๊าซและน้าซึ่งเกิดจากการเผา
ผลาญอาหารภายในเซลล์จะถูก
ส่งเข้าสู่เลือด จากนั้นหัวใจจะ
สู บ เ ลื อ ด ที่ มี ก๊ า ซ
คาร์บอนไดออกไซด์ไปไว้ท่ีปอด
จากนัน้ ปอดจะทาการกรองก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์เก็บไว้ แล้ว
ขั บ อ อ ก จ า ก ร่ า ง ก า ย โ ด ย ก า ร
หายใจออก

26

ใบงานที่ 1
การจัดระบบในรา่ งกาย

คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นพจิ ารณาภาพรา่ งกายมนษุ ย์ แลว้ ตอบคาถามใหถ้ กู ตอ้ ง

1. นักเรยี นสามารถจาแนกระบบตา่ ง ๆ
ในรา่ งกายไดเ้ ป็นกีร่ ะบบ อะไรบา้ ง

2. ใหน้ ักเรยี นเลอื กระบบในรา่ งกายมา 1
ระบบ แลว้ แยกอวัยวะตา่ ง ๆ ในระบบนนั้
วา่ มอี วยั วะใดบ้าง

3. ให้นักเรยี นเลือกอวยั วะมา 1 อวยั วะ
แล้วแยกส่วนประกอบภายในอวัยวะนนั้ ๆ

4. ส่วนประกอบของอวัยวะแต่ละส่วนนั้นมี
หน่วยทเ่ี ลก็ ทสี่ ดุ เปน็ ส่วนประกอบ
เรยี กวา่ อะไร

32

แบบทดสอบหลงั เรยี น
เรือ่ ง ระบบตา่ งๆของรา่ งกาย จานวน 10 ขอ้

คาชแี้ จง เลือกคาตอบทถี่ กู ตอ้ งทส่ี ดุ เพยี งข้อเดยี ว

1. ถา้ ระบบหายใจมคี วามผดิ ปกตเิ นื่องจากการสบู บหุ รจ่ี ะสง่ ผลกระทบต่อ
ระบบใดมากทีส่ ดุ
ก. ระบบไหลเวียนเลอื ด ข. ระบบย่อยอาหาร
ค. ระบบประสาท ง. ระบบนา้ เหลอื ง

2. การกาจัดของเสียทางปอดมคี วามสาพันธ์กับกระบวนการใดมากทส่ี ุด
ก. กระบวนการยอ่ ยอาหาร ข. กระบวนการแลกเปลี่ยนแกส๊
ค. กระบวนการกรองของเสียที่ไต ง. กระบวนการสบู ฉีดเลือด

3. การควบคมุ ระดับนา้ ตาลในเลือดจะต้องใชอ้ นิ ซูลินท่ีสรา้ งจากอวัยวะใด
ก. ตบั ข. ตบั อ่อน
ค. มา้ ม ง. ไส้เล็ก

4. เม่ือเรารับประทานอาหารเข้าสู่ร่างกาย มรี ะบบใดบ้างที่ต้องทางาน
ประสานกันเพอื่ เปลย่ี นอาหารเป็นพลงั งานให้รา่ งกายนาไปใชใ้ นการ
เจรญิ เติบโต
ก. ระบบย่อยอาหาร ระบบหมนุ เวียนเลือด ระบบหายใจ
ข. ระบบย่อยอาหาร ระบบหมนุ เวียนเลือด ระบบประสาท
ค. ระบบหมนุ เวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร ระบบขบั ถ่าย
ง. ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบสืบพนั ธ์ุ ระบบหมนุ เวียนเลอื ด

5. ฮอร์โมนจากตอ่ มใดทหี่ ลงั่ มากระต้นุ ใหก้ ล้ามเนือ้ มดลูกบบี ตวั ในชว่ งคลอด
ก. รงั ไข่ ข. มดลกู
ค. ตอ่ มใต้สมอง ง. ท้ัง ก, ข,ค

33

6. หัวใจมีหนา้ ที่อย่างไร
ก. แลกเปลยี่ นแก๊สในเลอื ด
ข. ควบคมุ การทางานของปอด
ค. สบู ฉีดเลือดไปสู่เซลล์ท่วั ร่างกาย
ง. ควบคมุ การทางานของอวยั วะตา่ งๆ ทว่ั รา่ งกาย

7. การเค้ียวอาหารท่เี ปน็ ชิ้นใหญใ่ หม้ ขี นาดเลก็ ลง คือขอ้ ใด
ก. การย่อยทางเคมี ข. การยอ่ ยทางกล
ค. การกลืนอาหาร ง. การหายใจ

8. ขอ้ ใดคือหนา้ ทขี่ องเกล็ดเลือด
ก. ขนส่งแก๊สออกซิเจนและแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์
ข. ทาลายเชอ้ื โรคหรือสง่ิ แปลกปลอมทเ่ี ข้าสู่รา่ งกาย
ค. นาเลือดไปเลีย้ งส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย
ง. ช่วยใหเ้ ลือดแข็งตัวเวลาเกดิ บาดแผล

9. ในขณะท่ีคนเราหายใจเข้า ข้อความใดกล่าวถงึ ความสมั พันธร์ ะหว่างกะบงั
ลมกับกระดูกซโี่ ครงได้ถกู ต้อง
ก. ทง้ั กะบงั ลมและกระดกู ซโ่ี ครงเลอื่ นต่าลง
ข. ทั้งกะบงั ลมและกระดกู ซีโ่ ครงเลื่อนสงู ขน้ึ
ค. กะบงั ลมเลื่อนต่าลง กระดูกซ่โี ครงเลือ่ นสูงขน้ึ
ง. กะบงั ลมเล่อื นสูงข้นึ กระดูกซีโ่ ครงเลือ่ นต่าลง

10. โปรตีนท่ที าหนา้ ที่เร่งปฏกิ ริ ยิ าทางเคมขี องรา่ งกาย เรียกว่า
ก. นาํ้ ดี
ข. นํ้าลาย
ค. เอนไซม์
ง. นาํ้ เกลอื

34

เฉลย แบบทดสอบหลังเรยี น
เรือ่ ง ระบบตา่ งๆของรา่ งกาย จานวน 10 ขอ้

คาชีแ้ จง เลือกคาตอบทถ่ี กู ตอ้ งทสี่ ดุ เพยี งข้อเดยี ว

1. ถา้ ระบบหายใจมีความผิดปกตเิ น่อื งจากการสูบบหุ รจ่ี ะสง่ ผลกระทบตอ่
ระบบใดมากทส่ี ุด
ก. ระบบไหลเวยี นเลือด ข. ระบบย่อยอาหาร
ค. ระบบประสาท ง. ระบบนา้ เหลอื ง

2. การกาจดั ของเสียทางปอดมีความสาพนั ธ์กับกระบวนการใดมากทสี่ ดุ
ก. กระบวนการยอ่ ยอาหาร ข. กระบวนการแลกเปลย่ี นแกส๊
ค. กระบวนการกรองของเสียที่ไต ง. กระบวนการสูบฉดี เลอื ด

3. การควบคมุ ระดบั น้าตาลในเลอื ดจะต้องใชอ้ นิ ซูลินทีส่ ร้างจากอวัยวะใด
ก. ตับ ข. ตบั อ่อน
ค. มา้ ม ง. ลาไส้เลก็

4. เมือ่ เรารับประทานอาหารเข้าสู่รา่ งกาย มีระบบใดบ้างท่ตี อ้ งทางาน
ประสานกันเพอื่ เปล่ยี นอาหารเปน็ พลงั งานใหร้ า่ งกายนาไปใชใ้ นการ
เจรญิ เติบโต
ก. ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ
ข. ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบประสาท
ค. ระบบหมุนเวียนเลอื ด ระบบย่อยอาหาร ระบบขบั ถา่ ย
ง. ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบสบื พนั ธ์ุ ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด

5. ฮอรโ์ มนจากตอ่ มใดทห่ี ลัง่ มากระตุน้ ให้กลา้ มเน้อื มดลกู บบี ตวั ในชว่ งคลอด
ก. รงั ไข่ ข. มดลกู
ค. ต่อมใตส้ มอง ง. ท้งั ก, ข,ค

35

6. หัวใจมีหนา้ ที่อย่างไร
ก. แลกเปลยี่ นแก๊สในเลอื ด
ข. ควบคมุ การทางานของปอด
ค. สบู ฉีดเลือดไปสู่เซลล์ท่วั ร่างกาย
ง. ควบคมุ การทางานของอวยั วะตา่ งๆ ทว่ั รา่ งกาย

7. การเค้ียวอาหารท่เี ปน็ ชิ้นใหญใ่ หม้ ขี นาดเลก็ ลง คือขอ้ ใด
ก. การย่อยทางเคมี ข. การยอ่ ยทางกล
ค. การกลืนอาหาร ง. การหายใจ

8. ขอ้ ใดคือหนา้ ทขี่ องเกล็ดเลือด
ก. ขนส่งแก๊สออกซิเจนและแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์
ข. ทาลายเชอ้ื โรคหรือสง่ิ แปลกปลอมทเ่ี ข้าสู่รา่ งกาย
ค. นาเลือดไปเลีย้ งส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย
ง. ช่วยใหเ้ ลือดแข็งตัวเวลาเกดิ บาดแผล

9. ในขณะท่ีคนเราหายใจเข้า ข้อความใดกล่าวถงึ ความสมั พันธร์ ะหว่างกะบงั
ลมกับกระดูกซโี่ ครงได้ถกู ต้อง
ก. ทง้ั กะบงั ลมและกระดกู ซโ่ี ครงเลอื่ นต่าลง
ข. ทั้งกะบงั ลมและกระดกู ซีโ่ ครงเลื่อนสงู ขน้ึ
ค. กะบงั ลมเลื่อนต่าลง กระดูกซ่โี ครงเลือ่ นสูงขน้ึ
ง. กะบงั ลมเล่อื นสูงข้นึ กระดูกซีโ่ ครงเลือ่ นต่าลง

10. โปรตีนท่ที าหนา้ ที่เร่งปฏกิ ริ ยิ าทางเคมขี องรา่ งกาย เรียกว่า
ก. นาํ้ ดี
ข. นํ้าลาย
ค. เอนไซม์
ง. นาํ้ เกลอื

32

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เรื่อง ระบบตา่ งๆของรา่ งกาย จานวน 10 ขอ้

คาช้ีแจง เลอื กคาตอบทถี่ กู ตอ้ งทส่ี ดุ เพยี งข้อเดยี ว

1. การเคี้ยวอาหารท่ีเปน็ ชิ้นใหญใ่ หม้ ีขนาดเลก็ ลง คือขอ้ ใด
ก. การย่อยทางเคมี ข. การย่อยทางกล
ค. การกลืนอาหาร ง. การหายใจ

2. ระดบั น้าตาลในเลอื ดจะต้องใชอ้ นิ ซลู นิ ทส่ี ร้างจากอวัยวะใด
ก. ตับ ข. ตับออ่ น
ค. มา้ ม ง. ลาไสเ้ ลก็

3. การกาจัดของเสยี ทางปอดมีความสาพนั ธ์กับกระบวนการใดมากท่สี ุด
ก. กระบวนการย่อยอาหาร ข. กระบวนการแลกเปล่ียนแกส๊
ค. กระบวนการกรองของเสียท่ไี ต ง. กระบวนการสบู ฉีดเลือดการควบคมุ

4. เมอื่ เรารบั ประทานอาหารเข้าสรู่ ่างกาย มรี ะบบใดบ้างท่ตี อ้ งทางาน
ประสานกนั เพอื่ เปลี่ยนอาหารเป็นพลงั งานให้รา่ งกายนาไปใช้ในการ
เจริญเติบโต
ก. ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบหมนุ เวียนเลอื ด ระบบหายใจ
ข. ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบหมนุ เวยี นเลือด ระบบประสาท
ค. ระบบหมุนเวยี นเลอื ด ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย
ง. ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบสืบพันธุ์ ระบบหมนุ เวียนเลือด

5. ถา้ ระบบหายใจมีความผดิ ปกตเิ นอื่ งจากการสบู บหุ รี่จะส่งผลกระทบต่อ
ระบบใดมากทีส่ ดุ
ก. ระบบไหลเวยี นเลือด ข. ระบบย่อยอาหาร
ค. ระบบประสาท ง. ระบบนา้ เหลือง

33

6. ในขณะทีค่ นเราหายใจเข้า ข้อความใดกล่าวถึงความสมั พันธร์ ะหว่างกะบงั
ลมกบั กระดูกซีโ่ ครงได้ถกู ตอ้ ง
ก. ทัง้ กะบังลมและกระดูกซโ่ี ครงเลอื่ นตา่ ลง
ข. ทง้ั กะบงั ลมและกระดกู ซีโ่ ครงเลื่อนสงู ข้ึน
ค. กะบงั ลมเลื่อนตา่ ลง กระดกู ซ่ีโครงเลอ่ื นสูงขึน้
ง. กะบงั ลมเลอ่ื นสูงขึน้ กระดูกซโี่ ครงเลอ่ื นต่าลง

7. ฮอร์โมนจากตอ่ มใดทหี่ ลั่งมากระตนุ้ ใหก้ ลา้ มเน้อื มดลกู บีบตวั ในช่วงคลอด
ก. รังไข่ ข. มดลกู
ค. ตอ่ มใตส้ มอง ง. ทั้ง ก, ข,ค

8. ขอ้ ใดคือหน้าทข่ี องเกล็ดเลอื ด
ก. ขนสง่ แก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ข. ทาลายเช้อื โรคหรอื ส่งิ แปลกปลอมที่เข้าสู่รา่ งกาย
ค. นาเลอื ดไปเลยี้ งสว่ นต่างๆ ของร่างกาย
ง. ชว่ ยให้เลอื ดแขง็ ตวั เวลาเกดิ บาดแผล

9. หัวใจมหี นา้ ท่ีอยา่ งไร
ก. แลกเปลย่ี นแก๊สในเลอื ด
ข. ควบคมุ การทางานของปอด
ค. สูบฉีดเลอื ดไปสเู่ ซลลท์ ่วั ร่างกาย
ง. ควบคุมการทางานของอวยั วะตา่ งๆ ท่วั ร่างกาย

10. โปรตีนท่ีทาหนา้ ท่เี รง่ ปฏิกิริยาทางเคมขี องร่างกาย เรยี กวา่
ก. นํ้าดี
ข. นาํ้ ลาย
ค. เอนไซม์
ง. น้าเกลอื

. ระบบยอ่ ยอาหาร. ที่มา : https://sites.google.com. 9 สิงหาคม 2563
. ระบบไหลเวยี นเลอื ด. ทมี่ า : http://taem.weebly.com. 9 สิงหาคม 2563
. ระบบหายใจ. ที่มา : https://www.trueplookpanya.com. 9 สิงหาคม 2563
. ระบบขับถา่ ย. ที่มา : http://cms574.bps.in.th/group7/excretion.
9 สงิ หาคม 2563
. ระบบสืบพนั ธุ์. ทีม่ า : https://th.wikipedia.org. 9 สิงหาคม 2563




Click to View FlipBook Version