The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติศาสตร์สากล.pptx

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 20_ฤทธิพร เอ็มประโคน, 2021-02-05 11:08:03

ประวัติศาสตร์สากล.pptx

ประวัติศาสตร์สากล.pptx

ประวตั ศิ าสตรส ากล

อารยธรรมโรมัน

อารยธรรมโรมันมีศนู ยก ลางอยูท่แี หลมอติ าลี เปน

อารยธรรมของพวกอนิ โด ยูโรเปย นเผาละติน ซึง่

อพยพจากทางตอนเหนือมาตั้งถ่นิ ฐานในแหลมอิตาลีเม่ือ

ประมาณ ปกอนคริสตศกั ราช และเรยี กตวั เองวา

โรมนั พวกโรมันไดข ยายอทิ ธิพลเขา ครอบครองดินแดนที่

เปนศนู ยกลางความเจรญิ ของอารยธรรมเฮลเลนิสตกิ ซง่ึ

สลายเม่ือประมาณป กอ ารยธรรมโรมนั มศี นู ยกลางอยทู ่ี

แหลมอติ าลี

ปจจยั สงเสริมการขยายอํานาจของ
จักรวรรดโิ รมัน

จักรวรรดโิ รมนั ขยายอํานาจท่ยี ิง่ ใหญเ หนือดนิ แดนตา งๆ
นานหลายรอ ยป โดยมีปจ จยั สาํ คญั ทส่ี งเสริมการขยาย
อาํ นาจของโรมันคอื สภาพภูมศิ าสตรของแหลมอิตาลี
ระบอบการปกครอง และกองทัพโรมัน

สภาพภมู ิศาสตรของแหลมอติ าลี

แหลมอิตาลีต้ังอยูก งึ่ กลางทะเลเมดิเตอรเรเนียน ระหวา ง
คาบสมทุ รบอลขานและคาบสมุทรไอบเี รยี ซ่ึงสะดวกตอ
การตดิ ตอกับเอเชยี ไมเนอรแ ละยุโรปตอนใต นอกจากน้ี
รปู รา งของแหลมอิตาลียังเปรยี บเสมือนรองเทา บตู ทยี่ ื่น
เขา ไปในทะเลเมดิเตอรเ รเนยี น ทาํ ใหสามารถตดิ ตอกับ
ดินแดนรอบๆ ทะเลเมดเิ ตอรเ รเนียน โดยเฉพาะตอนเหนอื
ของทวปี แอฟริกา อนึง่ ตอนเหนือของแหลมอิตาลีแมจะมี
เทือกเขาแอลป ขวางกน้ั แตชาวโรมนั กส็ ามารถ
ติดตอ กบั ดนิ แดนตอนกลางของยุโรปไดไ มย ากนัก
เน่อื งจากมีชอ งเขาที่สามารถเดนิ ทางผา นได

ระบบปกครอง

ชาวโรมนั ไดส ถาปนาการปกครองระบอบสาธารณรฐั

ขึ้นหลังจากรวมอํานาจในแหลมอิตาลีได ระบอบ

สาธารณรฐั สรางความเปน ปกแผน ใหแ กชาวโรมัน

เพราะเปน ระบอบทเี่ ปดโอกาสใหพ ลเมืองโรมันทุกคน

ทั้งชนชัน้ สูง สามัญชน และทหาร มีสวนรว มในการ

ปกครอง ดว ยการเลอื กตั้งตัวแทนของกลมุ ตนเขาไป

บริหารออกกฎหมาย กําหนดนโยบายตา งประเทศ

และประกาศสงคราม โดยมกี งสลุ ซ่ึงมาจาก

การเลือกต้งั ทาํ หนา ที่ประมขุ และบรหิ ารการปกครอง

ทกุ ดา น การมสี ว นรวมในการปกครองของพลเมอื ง

โรมันทําใหสาธารณรัฐโรมันแขง็ แกรงม่ันคงและ

เจรญิ กาวหนา

กองทพั โรมนั

ความเขมแข็งของกองทพั โรมนั เปน ปจ จยั หนึง่ ท่ี
สงเสริมการขยายอิทธพิ ลของจักรวรรดโิ รมนั กองทัพ
โรมนั มีชอ่ื เสยี งในดา นความสามารถและ
ประสทิ ธิภาพการรบ ความสาํ เรจ็ สวนใหญเกิดจาก
การจดั องศกรภายในกองทัพท่ดี เี ย่ียมและการฝก ฝน
ทหารใหม ีประสทิ ธภิ าพและมวี นิ ยั โดยใชบ ทลงโทษ
ทรี่ ุนแรง นอกจากน้คี วามเขมแข็งของกองทพั ยงั รวม
ถึงความรับผิดชอบของทหารแตละคนอกี ดวย ทหาร
โรมนั ประกอบดว ยพลเมอื งชายทกุ คน มหี นา ท่ีรบั ใช
กองทพั ในยามเกิดศกึ สงคราม ทหารเหลา นี้ไมม ี
ตําแหนงในกองทัพ เวน แตไ ดปฏิบตั หิ นา ที่เกนิ กวา
ปขึ้นไป

กองทพั โรมนั มีสถานะสําคญั มากข้นึ ในสมัย
จกั รวรรดิ ซ่งึ ตอ งอาศยั กองทพั คํ้าจนุ อํานาจของ
จักรวรรดิทหารโรมนั ถูกมอบหมายใหปฏิบัตหิ นา ท่ี
ปกครองจกั รวรรดแิ ละเขตแดน จกั รวรรดิโรมนั ได
สรางปอมและคา ยทหารจาํ นวนมากตามแนวชาย
แดนของจกั รวรรดิโดยเฉพาะทางตอนเหนอื

การขยายอํานาจของจักรวรรดิโรมัน

ชาวโรมันโบราณท่อี พยพเขา มาอยูในแหลมอติ าลี

ประกอบดว ยเผาท่ีสาํ คัญ เผา คอื พวกละติน ซ่งึ อพยพ

มาจากทางตอนเหนอื เขา มาตั้งถ่นิ ฐานอยใู นเขตทรี่ าบ

ตะวันตก และตามแนวแมน า้ํ ไทเบอร จากน้นั

ไดส รางเมืองตา งๆ ข้ึนรวมท้งั กรงุ โรม อกี เผาหน่งึ คือพวก

อีทรัสคัน ซงึ่ อพยพมาจากเอเชีย

ไมเนอรเม่อื ประมาณ ปกอ นคริสตศ ักราช พวกอี

ทรัสคนั ไดข ยายอาณาเขตรกุ รานดนิ แดนของพวกละตนิ

และสถาปนากษัตรยิ ปกครองแหลมอิตาลีเม่อื ประมาณ

ปกอ นคริสตศกั ราช หลังจากขยายอํานาจปกครองได

ประมาณ ป พวกอีทรัสคันกส็ ูญเสยี อาํ นาจ และผสม

กลมกลืนกับพวกละตนิ จนกลายเปน ชาวโรมนั ในเวลาตอ

มา ความเจรญิ รุงเรืองทพี่ วกอที รสั คันสรางไวใหแก

อารยธรรมโรมนั คอื การนาํ ตัวอกั ษรกรกี เขา มาใชใน

แหลมอิตาลี ซ่ึงตอมาไดพัฒนาเปน อกั ษรโรมัน

การสถาปนาจกั รวรรดิโรมนั

การทาํ สงครามขยายอํานาจครอบครองดินแดนตางๆ

ทาํ ใหเ กิดผนู าํ ทางการทหารซึ่งไดร บั ความจงรกั ภกั ดจี าก

ทหารของตน เกดิ การแกง แยง อํานาจกันระหวา งกลุมผูนาํ

กองทพั กับสมาชิกสภาซเี นตซงึ่ คุมอํานาจปกครองอยูเดมิ

ในป กอนครสิ ตศักราช จูเลยี ส ซีซาร

แมท ัพโรมันซึ่งมฐี านอาํ นาจอยทู แี่ หลมอิตาลี

สเปน กรีก และอียปิ ต ไดเ ขา ควบคุมกรงุ โรม ปต อ มาเขา

ไดรบั การสถาปนาเปนผเู ผด็จการ และมอี าํ นาจ

สงู สดุ เทียบเทากษัตริย ขณะน้นั โรมันยงั คงปกครองใน

ระบอบสาธารณรัฐ แตอํานาจขององคกรการเมืองถูก

ลดิ รอน เชน การเพิ่มจํานวนสมาชิกในสภาซเี นตจากเดมิ

ซึง่ มเี พียง คน เปน คน และยังอนญุ าตใหส มาชกิ

มาจากพลเมอื งกลมุ อืน่ ๆ ไดนอกเหนือจากเดิมท่ีสงวนให

เฉพาะกลุม ชนช้นั สูงเทา น้ัน นอกจากนซี้ ซี ารยังใหสถานะ

พลเมืองโรมนั แกประชาชนทั่วไปตามเขตตางๆ มากข้นึ

นโยบายดงั กลาวชวยเพ่มิ อทิ ธพิ ลและอาํ นาจของซซี าร

เปน เหตใุ หมผี อู จิ ฉารษิ ยาอาํ นาจของเขา ซีซารถ ูก

ลกั ลอบสงั หารเม่ือป กอนคริสตศักราช

ความเส่อื มของจักรวรรดโิ รมนั

ตง้ั แต ค ศ จกั รวรรดิโรมนั เรม่ิ เสอ่ื มอาํ นาจลง
เน่ืองจากไมส ามรถปกครองจักรวรรดทิ ี่มขี นาดกวา งใหญ
มากๆได บางชว งตองมกี ารแตง ตง้ั จักรพรรดริ ว มเพื่อแยก
กนั ปกครองจกั รวรรดิ

ใน ค ศ จกั รพรรดคิ อนสแตนตนิ
ไดป กครองจกั รวรรดโิ รมัน และเกิดเหตุการณสําคญั
เหตกุ ารณ คือ

เหตกุ ารณแ รก ไดแ กการยา ยศนู ยก ลางการ
ปกครองจากกรุงโรมไปยังกรงุ คอนสแตนติโนเปล

เรียกวา จักรวรรดิไบแซนไทน
เมื่อ ค ศ ทาํ ใหจกั รวรรดิโรมันถกู
แบงแยกเปน สวน คือ จกั รวรรดโิ รมนั ตะวนั ตก ซง่ึ ยงั คง
มศี ูนยกลางที่กรงุ โรม และจักรวรรดิไบแซนไทนห รอื หรือ
จกั รวรรดโิ รมันตะวันออก มีศูนยก ลางท่กี รุงคอนสแตนติ
โนเปล ปจจบุ ันคือนครอสิ ตันบลู ในประเทศตุรกี สงผลให
จักรวรรดโิ รมนั เส่ือมอํานาจลงและถูกรุกรานในเวลาตอ
มา

มรดกของอารยธรรมโรมนั

ชาวโรมันไดใชเ วลานานกวา ปใ นการ
ผสมผสานและหลอ หลอมอารยธรรมของตน ซ่ึงได
เผยแพรไปท่วั จักรวรรดโิ รมนั ที่กวางใหญ ความโด
เดน ของอารยธรรมโรมนั เกดิ จากรากฐานทแี่ ข็งแรง
ซึ่งไดร บั จากอารยธรรมกรีกและอารยธรรมของดิน
แดนรอบๆ ทะเลเมดเิ ตอรเ รเนยี นผสานกับความเจรญิ
กาวหนาท่ีเปนภูมิปญ ญาของชาวโรมันเองทีพ่ ยายาม
คิดคนและสรา งระบบตางๆ เพือ่ ดาํ รงความยง่ิ ใหญ
ของจักรวรรดิโรมนั ไว ทําใหจักรวรรดโิ รมันเจริญ
กา วหนา ท้ังดานการปกครอง เศรษฐกิจ และสงั คม

ดา นการ

ปกครอง อารยธรรมดา นการปกครองเปนภูมิปญญาข

องชาวโรมันทีไ่ ดพฒั นาระบอบการปกครองของตนข้ึ

นเปน ระบอบสาธารณรฐั และจกั รวรรดิ เพ่ือสรางความ

แข็งแกรงใหกบั จักรวรรดโิ รมัน จุดเดน ของการ

ปกครองแบบโรมัน คือการใหพลเมืองมีสว นรว มใน

การบรหิ ารราชการสวนกลาง และการปกครองโดย

ใชหลักกฎหมาย

การปกครองสวนกลาง พลเมอื งโรมนั แตละ กลมุ

ทง้ั ชนชั้นสงู สามญั ชน และทหาร ตา งมโี อกาสเลอื กผู

แทนของตนเขาไปบรหิ ารประเทศรวม สภา คอื สภา

ซเี นต ซงึ่ เปน ตวั แทนของกลุมแพทรเิ ซียน

หรอื ชนช้ันสงู สภากองรอย

ซึง่ เปนตัวแทนของกลุม ทหารเหลาตา งๆ

และราษฎร ซึ่งเปน ตวั แทนของ

พวกพลีเบียน หรือสามญั ชนเผาตา งๆ

รวม เผา แตละสภามีหนาท่แี ละอาํ นาจแตกตา งกัน

รวมทง้ั การคัดเลือกเจา หนาทไี่ ปบริหารงานสวนตางๆ

แตโ ดยรวมแลวสภาซีเนตมอี ํานาจสงู สดุ เพราะได

ควบคุมการปกครองทง้ั ดา นบริหาร นิติบญั ญตั ิ และ

ตลุ าการ ตลอดจนกําหนดนโยบายตา งประเทศดว ย

ดาน
เศรษฐกจิ จักรวรรดิโรมนั มีนโยบายสง เสรมิ การ
ผลติ ทางดา นเกษตรกรรม และอุตสาหกรรม รวม
ทั้งการคา กับดินแดนภายในและภายนอก
จักรวรรดิ

ดา น
เกษตรกรรม เดมิ ชาวโรมันในแหลมอิตาลีประก
อบเกษตรกรรมเปนหลัก และพึง่ พงิ การผลิต
ภายในดนิ แดนของตน ตอ มาเมอ่ื จักรวรรดิโรมัน
ขยายอาํ นาจออกไปครอบครองดนิ แดนอ่นื ๆ
การเพาะปลูกพชื และขาวในแหลมอิตาลีเรมิ่ ลด
ลง เน่ืองจากรัฐสงเสรมิ ใหด ินแดนอ่ืนๆ นอก
แหลมอิตาลปี ลูกขาว โดยวธิ ีการปฏริ ปู ทด่ี ิน ดิน
แดนทีป่ ลูกขา วสว นใหญอยใู นแควนกอล

เขตประเทศฝรั่งเศสปจจบุ นั และตอน
เหนือของแอฟรกิ า สว นพื้นท่กี ารเกษตรใน
แหลมอติ าลสี วนใหญเ ปลีย่ นไปทาํ ไรองนุ และ
เล้ยี งสตั ว

ดานการ
คา การคาในจักรวรรดโิ รมันรงุ เรืองมาก มีทั้ง
การคา กับดนิ แดนภายในและนอกจักรวรรดิ
ปจ จยั สาํ คัญทท่ี ําใหการคาเจรญิ รงุ เรือง ไดแก
ขนาดของดนิ แดนทีก่ วางใหญและจํานวน
ประชากร ซงึ่ เปนตลาดขนาดใหญส ามารถรอง
รบั สินคา ตางๆไดมาก นอกจากนก้ี ารจัดเก็บภาษี
การคา กอ็ ยูใ นอัตราตา่ํ และยังมกี ารใชเงนิ สกลุ
เดยี วกนั ท่ัวจกั รวรรดิ ประกอบกบั ภายใน
จักรวรรดโิ รมันมรี ะบบคมนาคมขนสงทางบก คือ
ถนนและสะพานท่ีตดิ ตอเช่ือมโยงกับดินแดน

ดา น
อตุ สาหกรรม ความรงุ เรืองทางกาคาของจักรวรรดโิ ร
มนั สงเสรมิ ใหม ีการผลติ สนิ คาอตุ สาหกรรมอยางกวา
งขวาง ดนิ แดนท่มี ีการประกอบอตุ สาหกรรมทส่ี าํ คัญ
ไดแ ก แหลมอิตาลี สเปน และแควน กอล ซึ่งผลิตสนิ คา
ประเภทเคร่อื งปน ดินเผาและสิง่ ทอ อยางไรก็ตาม
อตุ สาหกรรมในเขตจกั รวรรดโิ รมนั สว นใหญเปน
อตุ สาหกรรมขนาดเล็กที่ใชแรงงานคนเปน หลกั

ดา น
สงั คม จักรวรรดโิ รมันมคี วามเจรญิ ดา นสงั คมมาก ท่ี
สาํ คัญไดแ ก ภาษา การศกึ ษา วรรณกรรม การ
กอสราง และสถาปต ยกรรม วทิ ยาการตางๆ และวถิ ี
ดาํ รงชวี ิตของชาวโรมัน

ภาษาละติ
น ชาวโรมนั พฒั นาภาษาละตนิ จากตัวพยญั ชนะในภ
าษากรกี ที่พวกอีทรัสคนั นาํ มาใชใ นแหลมอิตาลี
ภาษาละตนิ มพี ยญั ชนะ ตวั ใชก นั แพรหลายใน
มหาวิทยาลัยของยุโรปสมยั กลาง

ภาษาละติ
น ชาวโรมันพัฒนาภาษาละตนิ จากตัวพยญั ชนะในภ
าษากรีกทพ่ี วกอีทรัสคนั นาํ มาใชในแหลมอติ าลี
ภาษาละตนิ มพี ยญั ชนะ ตวั ใชกนั แพรหลายใน
มหาวิทยาลยั ของยโุ รปสมัยกลาง และเปน ภาษาทาง
ราชการของศาสนาคริสตน กิ ายโรมันคาทอลกิ มา
จนถึงศตวรรษ นอกจากนภี้ าษาละตนิ ยังเปน
ภาษากฎหมายของประเทศในยโุ รปตะวันตกนาน
หลายรอยปแ ละเปน รากของภาษาในยโุ รป ไดแก
ภาษาอังกฤษ ฝรงั่ เศส สเปน โปรตเุ กส และโรมาเนีย
ภาษาละตินยงั ถูกนําไปใชเปนช่ือทางวทิ ยาศาสตร
เชนเดียวกบั ภาษากรีกดว ย

การ
ศกึ ษา โรมันสง เสรมิ การศึกษาแกป ระชาชนของตนท่ั
วจกั รวรรดใิ นระดับประถมและมธั ยม โดยรฐั จดั ให
เยาวชนทัง้ ชายและหญิงทีม่ ีอายุ ป เขา ศึกษาใน
โรงเรียนประถมโดยไมต องเสียคาเลาเรยี น

ดา น

วรรณกรรม โรมนั ไดรับอิทธิพลดา นวรรณกรรมจากก

รีก ประกอบกับไดรับการสง เสรมิ จากจกั รพรรดิโรมัน

จงึ มีผลงานดานวรรณกรรมจาํ นวนมากท้ังบทกวแี ละ

รอ ยแกว มีการนําวรรณกรรมกรีกมาเขียนเปนภาษา

ละตินเพ่อื เผยแพรใ นหมูชาวโรมัน และยังมผี ลงาน

ดานประวัตศิ าสตร นกั ประวตั ิศาสตรโ รมันทม่ี ชี ่อื เสยี ง

คือ แทซอิ ุส ซง่ึ วพิ ากษก ารใชช วี ิตฟุมเฟอย

ของชาวโรมัน สวนกวีท่มี ีชอื่ เสียงมากที่สุดคนหนงึ่

ของโรมนั คอื ซเิ ซโร ซงึ่ มผี ลงานจาํ นวนมาก

รวมทงั้ การแสดงความคดิ เหน็ ทางการเมอื ง

การกอสรา งและ
สถาปตยกรรม ผลงานดา นการกอ สรา งเปน มรดกทย่ี ิ่ง
ใหญของชาวโรมนั โรมันเรียนรพู น้ื ฐานและเทคนคิ
การกอสราง การวางผังเมืองและระบบระบายน้ําจาก
กรกี จากน้ันไดพ ัฒนาระบบกอ สรางของตนเอง ชาว
โรมนั ไดส รา งผลงานไวเปน จํานวนมาก เชน ถนน
สะพาน ทอสง นํ้าประปา อัฒจนั ทรครึ่งวงกลม สนาม
กีฬา ฯลฯ


Click to View FlipBook Version