The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เกี่ยวกับวัคซีนโควิด 19

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nuengruthai.2930, 2021-05-17 03:22:07

ความรู้เกี่ยวกับวัคซีนโควิด 19

ความรู้เกี่ยวกับวัคซีนโควิด 19

1

โดย กศน.ตำบลวงั งวิ้ ใต้ สงั กดั กศน.อำเภอดงเจรญิ

2

ฉีดวคั ซนี โควดิ 19 แลว้ ปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ โควดิ จรงิ หรอื ไม่

หากพดู ถึงภาพรวมของประสิทธิภาพในการป้องกนั โรคแล้ว จะแบง่ เปน็ 2 รูปแบบคือ ประสทิ ธิภาพในการ
ป้องกนั โรคโควดิ 19 ท่ีไม่มีอาการ และ ประสิทธิภาพในการป้องกนั โรคโควิด 19 ท่ีมีอาการ
ตามข่าวท่ีรายงานถึงประสิทธิภาพของวัคซนี ที่เรามกั เห็นกันส่วนใหญ่แล้ว เชน่ วคั ซีนของ Pfizer มี
ประสทิ ธิภาพโดยรวมรอ้ ยละ 95 เป็นต้น กรณีน้ีจะหมายถึงประสิทธภิ าพของการปอ้ งกันโรคที่มอี าการ
ในขณะทกี่ ารศึกษาประสทิ ธิภาพการป้องกนั โรคแบบไมม่ ีอาการนน้ั ยงั บอกได้เพยี งแนวโน้ม และส่วนมากยังไม่
มขี ้อมูลทีแ่ น่ชัด
จึงสรุปได้ว่า ในปัจจุบัน วัคซีนยงั ไม่สามารถป้องกนั การตดิ เชื้อได้ 100% ผูเ้ ข้ารบั การฉีดจึงยังอาจมีโอกาส
เป็นโรคนไ้ี ดอ้ ยู่ เพยี งแต่วัคซีนสามารถช่วยลดความรนุ แรงของอาการแทรกซ้อนต่าง ๆ ลดโอกาสทจ่ี ะตอ้ งเข้า
รับการรกั ษาท่ีโรงพยาบาล และลดการเสยี ชวี ิตได้
>> กลบั สูส่ ารบัญ
วคั ซนี โควดิ 19 ทงั้ 4 ชนดิ หลัก
วคั ซีนท่ใี ช้ป้องกันโรคโควิด 19 ท้งั หมดในปจั จุบัน มีอยู่ 4 ชนิดหลกั ๆ โดยแบ่งจากเทคนคิ ทใ่ี ชใ้ นการผลิต
วคั ซีนโควดิ 19 ได้แก่

3

1. วัคซีนโควดิ 19ชนิดสารพันธกุ รรม (mRNA vaccines) เป็นเทคโนโลยีใหม่ ที่เคยใช้กบั การพัฒนา
วัคซีนปอ้ งกนั อีโบลา่ สำหรับกรณีโควดิ 19 นี้ วคั ซีนผลิตขึน้ จากการใชส้ ารพันธกุ รรมของเชื้อไวรสั
ซารส์ -โควี-2 (SARS-CoV-2) ซึ่งเมื่อฉีดเขา้ ไปในร่างกาย mRNA จะเข้าไปกำกบั การสร้างโปรตีนส่วน
หนาม (spike protein) ของไวรัสชนดิ น้ี แลว้ ทำให้ร่างกายสร้างภมู ิคมุ้ กันต่อเช้ือไวรสั ตวั น้อี อกมา
ปัจจบุ นั มีสองเจา้ ที่ใชเ้ ทคโนโลยนี ีค้ อื BioNTech/Pfizer และ Moderna

2. วคั ซนี โควิด 19 ชนดิ ใช้ไวรสั เปน็ พาหะ (Viral vector vaccines) โดยใช้ไวรสั ที่ถูกทำให้ออ่ นฤทธิ์ (ไม่
ทำให้เราป่วย) หรอื ไมส่ ามารถแบ่งตวั ได้อกี แล้วตัดแต่งพันธกุ รรมเพื่อใชเ้ ปน็ พาหะ โดยฝากสาร
พนั ธกุ รรมของเชื้อไวรสั ซารส์ -โควี-2 (SARS-CoV-2) เขา้ ไป ทำให้ร่างกายสรา้ งภูมิคมุ้ กันตอ่ เชือ้ ไวรสั
ขึ้นมา วคั ซีนประเภทนีส้ ามารถกระตนุ้ การสร้างภูมิคมุ้ กนั ได้ดี เนื่องจากเลียนแบบให้ใกล้เคียงกับการ
ตดิ เช้ือตามธรรมชาติ
วัคซนี ของ Johnson & Johnson และ Oxford – AstraZeneca รวมถงึ วคั ซนี Sputnik V กใ็ ช้
เทคนคิ ดังกลา่ วน้ี

3. วัคซีนโควิด 19 ที่ทำจากโปรตนี ส่วนหน่ึงของเชอ้ื (Protein-based vaccines) จะใชโ้ ปรตนี บางสว่ น
ของเชื้อไวรัสซาร์ส-โควี-2 (SARS-CoV-2) เช่น โปรตีนสว่ นหนาม (spike protein) แล้วนำมาผสมกับ
สารกระตุ้นภมู ิ เม่ือฉีดเข้าไปแล้วจะกระตุน้ ใหร้ า่ งกายสรา้ งภูมคิ มุ้ กนั ต่อเชอ้ื ไวรสั ขนึ้ มา เทคนิคน้ีใช้กนั
มานานแล้ว เพราะเป็นเทคนิคท่ใี ชผ้ ลติ วคั ซีนไข้หวัดใหญ่ และวัคซนี ตับอักเสบชนิดบี
บรษิ ทั ผลติ วคั ซีนทใ่ี ชเ้ ทคนิคดังกล่าว เชน่ Novavax เปน็ ต้น

4. วคั ซนี โควิด 19 ชนิดเช้ือตาย (Inactivated vaccines) จะผลติ จากไวรสั ซาร์ส-โควี-2 (SARS-CoV-2)
ที่ถกู ทำใหต้ ายแล้วดว้ ยสารเคมีหรอื ความร้อน เมื่อฉดี เขา้ ไปในร่างกาย จะกระตนุ้ ใหร้ ่างกายสรา้ ง
ภูมคิ ุม้ กนั ต่อเช้ือไวรสั เป็นเทคนคิ ทีเ่ คยใช้กบั การผลติ วคั ซีนตบั อักเสบเอ หรอื วัคซีนโปลิโอ (ชนดิ ฉดี )
มาแลว้ แตเ่ พราะต้องทำในห้องปฏบิ ัติการนริ ภัยระดับ 3 ทำให้ผลติ ไดช้ า้ และมตี ้นทนุ การผลิตทีส่ งู
สำหรับวคั ซนี ทใี่ ช้เทคนิคดงั กลา่ ว ได้แก่ Sinovac และ Sinopharm

วคั ซนี โควดิ 19 ทนี่ า่ สนใจในปจั จบุ นั มยี หี่ อ้ อะไรบา้ ง
บริษทั หรอื วัคซนี ทีไ่ ด้รบั การอนุมัตแิ ละใช้กันแลว้ ในหลายประเทศ ได้แก่ Pfizer-BioNTech, Moderna,
Gamaleya (Sputnik V), AstraZeneca, Sinovac, และ Sinopharm เป็นต้น โดยมีทั้งชนิดทไ่ี ด้รับอนุมตั ิ
ทะเบยี นอยา่ งสมบูรณ์และชนิดที่ได้รบั อนุมตั ิให้ใช้กรณีฉุกเฉิน
ตารางแสดงข้อมลู ของวคั ซนี โควิด 19 แตล่ ะบรษิ ทั (อปั เดตล่าสดุ 24 เมษายน 2564)

4

ขอ้ สังเกตเก่ียวกบั วคั ซนี โควดิ 19 ในปจั จบุ นั
• ประสิทธิภาพป้องกนั อาการรนุ แรง จำเปน็ ท่ีสดุ : แน่นอนวา่ ใครกอ็ ยากไดว้ คั ซนี โควิด 19 ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพสูง

ทสี่ ดุ ในการป้องกันโรค แต่ทมี่ ีความสำคัญเรง่ ด่วนย่ิงกว่า คือการลดอตั ราการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การลดโอกาสมีอาการความรุนแรง และลดอัตราการเสยี ชวี ติ หลงั จากตดิ เชอ้ื เพราะชว่ ยใหผ้ ปู้ ่วยโควดิ 19
สามารถแยกกกั ตัวและดูแลตัวเองอยูท่ ่ีบ้านได้ โดยไมจ่ ำเป็นต้องเข้ารับการดูแลจากแพทย์อย่างใกลช้ ิด
• ฉดี ครัง้ เดียว สะดวกกว่า: Johnson & Johnson และ CanSino Biologics เปน็ วคั ซีนที่หลายคนใหค้ วาม
สนใจ เน่ืองจากไม่ต้องฉดี ถึง 2 เขม็ คนไขไ้ ม่ต้องกลับมาฉีดอีกเปน็ เขม็ ที่สอง
• วคั ซีนโควดิ 19 ประเภท mRNA: เป็นวคั ซนี ทใี่ ชเ้ ทคนคิ แบบใหม่ มีจุดเดน่ ในการผลติ ไดง้ ่ายและเรว็ และยงั
สะดวกในการปรับปรงุ เพ่ือรองรับสายพันธขุ์ องไวรสั ได้อกี ด้วย แตโ่ ดยท่วั ไปแลว้ วัคซีนโควิด 19 ประเภท
mRNA จะมีขอ้ จำกัดในการจัดเกบ็ และขนส่งมากกวา่ วคั ซีนชนดิ อ่นื เนอื่ งจาก mRNA มักจะถกู ทำลายได้ง่าย
จงึ ต้องเกบ็ รกั ษาไว้ที่อณุ หภมู ิท่ีต่ำมาก โดยเฉพาะวคั ซนี ของ Pfizer ท่ีต้องจัดเกบ็ ในอุณหภูมติ ำ่ ถึง -70 ˚C
เมอื่ เทียบในวคั ซีนโควิด 19 ประเภทเดยี วกนั วคั ซนี ของบรษิ ทั Moderna ดูจะยงุ่ ยากในการจดั เกบ็ น้อยกวา่
เพราะสามารถเก็บในอณุ หภมู ิ 2 – 8 ˚Cได้ (แต่จะมีอายุได้ 30 วนั )
วัคซีนโควดิ 19 ที่มีความปลอดภัยตอ่ ผู้มภี มู ิคุ้มกนั บกพรอ่ ง:วคั ซีนอย่าง Novavax ที่ผลิตขนึ้ จากโปรตนี
บางสว่ นของเชอ้ื และวัคซีนท่ีผลติ ขึ้นจากเชือ้ ท่ีตายแลว้ อย่างเช่น Sinovac, Sinopharm, และ Covaxin มี
ความปลอดภัยต่อผูร้ ับวัคซีนทีม่ ีภูมคิ ุ้มกันบกพร่องมากกว่า เนอ่ื งจากไม่มีความเสยี่ งต่อการติดเชอ้ื

• วคั ซนี ที่มีตน้ ทุนการผลิตสูง: วัคซนี ประเภทเช้ือตายน้นั ตอ้ งมกี ารเพาะเล้ยี งเช้ือในห้องปฏบิ ตั ิการ
ระดับสงู (Biosafety level 3) จึงมีตน้ ทนุ สงู กวา่ เพื่อน และอาจมรี าคาสูงตามไปดว้ ย เชน่
Sinopharm ท่ีมกี ารประกาศราคาเบ้ืองตน้ สูงกวา่ วัคซนี หลายบรษิ ัท

ผลข้างเคยี งจากการใชว้ คั ซนี โควิด 19 ทพ่ี บ
ผลข้างเคยี งรนุ แรง
มรี ายงานพบผู้ฉดี วัคซนี โควดิ 19 ท่ีเกิดผลขา้ งเคียงรุนแรงขึ้นบ้าง ได้แก่

• ภาวะลมิ่ เลือดอุดตนั
– กรณขี อง AstraZeneca: สำนกั งานการแพทย์ยุโรป (EMA) ประกาศว่า มีความเป็นไปไดว้ ่า
วคั ซนี AstraZeneca อาจเชือ่ มโยงกนั กบั ภาวะลมิ่ เลอื ดอุดตัน ภายหลังจากท่พี บว่า ผปู้ ว่ ยบาง

5

รายเกิดภาวะลม่ิ เลือดอดุ ตนั หลงั จากไดร้ บั การฉดี วัคซีนเขม็ แรก และมีรายงานผ้เู สยี ชีวิต อย่างไรก็
ตาม หากเทียบสัดสว่ นประชากรทรี่ ับการฉดี แลว้ ถอื ว่าเป็นสัดสว่ นทต่ี ำ่ มาก และเมือ่ เทยี บกบั
ประโยชนท์ ่ีผเู้ ข้ารับการฉีดจะลดโอกาสเสยี ชวี ิตจากโควดิ 19 แล้ว ยังถือวา่ มีประโยชน์กวา่

มีคำแนะนำสำหรบั ผ้เู ข้ารบั การฉีดวคั ซีนตวั นวี้ ่า หากมีอาการปวดหวั รุนแรง ตาพร่ามัว เจ็บ
หนา้ อก หายใจลำบาก ขาบวม ปวดทอ้ งอย่างต่อเน่ือง มจี ุดเลอื ดออกทผี่ วิ หนัง ใหร้ ีบปรกึ ษา
แพทย์ทันที

– กรณขี อง Johnson & Johnson: พบวา่ มผี ู้ทีฉ่ ีดวคั ซีนโควดิ 19 ตวั นแ้ี ลว้ เกิดภาวะล่มิ เลือดอุด
ตนั หลงั ไดร้ ับวัคซีนของ J&J ไปประมาณ 1 สปั ดาห์ (ไมเ่ กิน 3 สัปดาห)์ ทำใหบ้ างประเทศ
ตัดสนิ ใจยตุ กิ ารใช้วคั ซีนของ J&J ไป

• มีผลข้างเคียงรนุ แรงอื่น ๆ อีกหรือไม่?
– AstraZeneca: นอกจากประเด็นเรื่องภาวะลม่ิ เลือดอุดตันแล้ว มีรายงานว่า วคั ซีน
AstraZeneca ทำใหเ้ กดิ ผลข้างเคียงระดับรุนแรงลักษณะอื่น ๆ ได้ เชน่ เปน็ ไข้สูงกวา่ 40 ˚C
และพบว่ามผี ปู้ ว่ ยรายหนึง่ ท่มี ีอาการไขสันหลังอักเสบหลงั จากไดร้ บั วัคซนี เข็มที่สอง

– BioNTech/Pfizer: รายงานกลา่ ววา่ ผู้ที่ฉีดวคั ซนี ดงั กล่าว 1 ล้านคน มีโอกาสพบผูท้ ่แี พ้วัคซนี
อยา่ งรุนแรงประมาณ 4.7 คน และในสหรัฐอเมริกา ยังไม่พบผ้ทู ีเ่ กิดผลข้างเคียงรนุ แรงจนถงึ ขนั้
เสียชวี ติ
– Moderna: รายงานกลา่ วว่า ผู้ท่ีฉีดวัคซนี ดังกลา่ ว 1 ลา้ นคน มโี อกาสพบผู้ทแี่ พว้ คั ซีนอยา่ ง
รนุ แรงประมาณ 2.5 คน และตอนน้ี ในสหรฐั อเมริกายังไม่พบผูเ้ สียชีวติ โดยตรงจากการฉดี วคั ซีน
– Sinovac, Novavax และ Sputnik V: จากการศึกษาในเฟสที่ 3 ยงั ไม่พบรายงานว่ามีผูท้ ่ีเกิด
อาการข้างเคยี งรา้ ยแรง

แม้จะพบวา่ วัคซนี โควดิ 19 หลายตวั อาจพบกรณที เ่ี กดิ อาการข้างเคยี งรนุ แรง แต่กย็ งั ถือว่านอ้ ยมาก ๆ เม่ือ
เทยี บกับจำนวนผ้เู ขา้ รบั การฉีดท้งั หมด และแมว้ า่ จะมรี ายงานเรอื่ งการเกิดภาวะลิ่มเลือดอุดตัน แต่หลาย
หนว่ ยงานด้านสาธารณสุขระดบั โลก ยงั คงสนับสนุนให้เดินหน้าฉีดวัคซีนดงั กล่าวอยู่ เพราะเม่ือพิจารณาใน
ภาพรวมแล้ว การใหฉ้ ีดวคั ซนี จะมปี ระโยชนม์ ากกวา่ การระงับใชไ้ ปเลย

อาการข้างเคยี งแบบไมร่ นุ แรงหลงั ฉดี วคั ซนี โควดิ 19 ทพ่ี บไดบ้ อ่ ย

6

การฉดี วัคซนี โควิด 19 พบว่ามอี าการข้างเคยี งท่ีพบไดบ้ ่อย ได้แก่
• อาการปวด บวม แดง คนั หรอื ชำ้ ตรงจุดทฉ่ี ดี ยา
• รูส้ ึกอ่อนเพลีย ไม่สบายตวั ปวดหวั เลก็ นอ้ ย
• มีอาการไข้ คร่นั เน้อื ครัน่ ตัว ปวดเมื่อยกลา้ มเนือ้ และตามข้อ
• มีอาการคลืน่ ไส้

กรณขี องวคั ซีนโควิด 19 ประเภท mRNA พบวา่ เข็มที่ 2 มแี นวโน้มอาการข้างเคยี งรนุ แรงมากกว่าเข็มแรก
แตกตา่ งจากวคั ซีนประเภท viral vector ทเ่ี ข็มที่สองมกั จะมแี นวโนม้ รุนแรงนอ้ ยกวา่ เขม็ แรก
ในประเทศไทยโดยภาพรวมแล้ว พบอาการข้างเคียงที่เกดิ ข้ึนหลังฉีดวคั ซนี บา้ ง* แต่พบผู้มีอาการไม่พึงประสงค์
ในสัดสว่ นทน่ี ้อยมาก และเปน็ ผลข้างเคยี งชนดิ ที่ไม่รุนแรง โดยส่วนมากสามารถหายไดเ้ องหลงั ฉีดวัคซนี
ประมาณ 2 – 3 วัน อย่างไรก็ตาม
*เนื่องจากในประเทศไทยมรี ายงานผู้เขา้ รับการฉดี วัคซนี Sinovac แลว้ มีอาการคลา้ ยอัมพฤกษ์ ซึ่งอาจเป็น
ความผิดปกตทิ างระบบประสาทชวั่ คราว คงตอ้ งรอข้อมูลยืนยันสาเหตุทีแ่ น่ชัดก่อน ท้ังน้ี ควรตดิ ตามข่าวสาร
อย่างใกล้ชิด
อาการข้างเคยี งแบบไหน หา้ มฉดี เขม็ ที่ 2 ตอ่
มขี ้อแนะนำว่า ห้ามรับการฉีดเข็มท่ี 2 ต่อ หากมีอาการแพ้วัคซีนโควดิ 19 ทันทีหลงั ไดร้ ับการฉีด ดังนี้

7

• คัน เป็นผืน่ แดง หรืออาการลมพิษ
• ปาก ลน้ิ หนา้ หรอื คอบวม
• คล่ืนไส้ อาเจียน
• เวียนศีรษะ วบู ความดนั ตำ่ หัวใจเต้นเรว็
• หายใจติดขดั หอบเหนอ่ื ย คัดจมูก
• พดู ลำบาก
วคั ซนี โควดิ 19 ในประเทศไทยมกี ย่ี ห่ี อ้ ใชเ้ ทคนคิ อะไรในการผลติ
สำหรบั เกณฑ์ในการพจิ ารณารบั วคั ซนี สำหรับประเทศไทยน้ัน จะเนน้ พจิ ารณารบั วัคซีนทผ่ี ่านการขึ้นทะเบยี น
และไดร้ ับการอนมุ ตั ิจากสำนกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) อย่างถูกต้อง รวมถึงมีการอนุมัตใิ ชแ้ ลว้
ในหลากหลายประเทศและได้รบั การรับรองจากองค์กรอนามัยโลกแลว้
สำหรับวคั ซีนโควดิ 19 ทจ่ี ะนำมาใชใ้ นประเทศไทย (อัปเดตลา่ สุด 21 เมษายน 2564) ได้แก่ วัคซีนโควดิ
19 แอสตราเซเนกา (AstraZeneca) และ วคั ซีนโควิด 19 ซโิ นแวค (Sinovac)

8

1. วคั ซนี แอสตร้าเซนเนกา (AstraZeneca) เป็นวคั ซีนประเภท Viral Vector สำหรบั ฉดี ในแกผ่ ู้ท่มี ีอายุ
18 ปีข้นึ ไป (แต่ในประเทศไทยใช้ในผทู้ ี่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป) โดยจะฉีดบริเวณต้นแขนท้งั หมด 2 เข็ม
ซงึ่ ทางคณะอนุกรรมการสร้างเสรมิ ภูมคิ มุ้ กนั โรค กำหนดให้ฉีดแต่ละเข็มห่างกัน 10 – 12 สปั ดาห์
(ไมแ่ นะนำให้ผู้ท่มี ีภาวะภูมิคุ้มกนั บกพรอ่ งอยา่ งมากฉดี วัคซีนดังกลา่ ว)

2. วคั ซีนซโิ นแวค (Sinovac) เป็นวคั ซนี ชนดิ เชอ้ื ตาย สำหรับฉีดในผ้ทู ่มี อี ายรุ ะหว่าง 18 – 59 ปี โดยจะ
ฉดี บริเวณตน้ แขนทง้ั หมด 2 เข็ม ซึ่งทางคณะอนุกรรมการสร้างเสรมิ ภูมิคมุ้ กนั โรค กำหนดใหฉ้ ีดแต่
ละเข็มห่างกนั 2 – 4 สัปดาห์ ยกเว้นผ้ทู อี่ ยู่ในพนื้ ทร่ี ะบาดรุนแรง ให้ฉีดห่างกัน 2 สปั ดาห์

ปัจจบุ ัน ประเทศไทยกำลังเรง่ ตดิ ตอ่ บริษัทผู้ผลติ วคั ซีนรายอ่ืนเพ่มิ เติม และกำลังอยู่ในช่วงการเจรจา ซ่ึงเมื่อไร
ทีเ่ ราสามารถส่ังซ้ือวคั ซีนเขา้ มาไดห้ ลากหลายยี่ห้อมากขึน้ ก็จะช่วยเพิ่มทางเลือกในการรับการฉีดวัคซนี ใหก้ บั
เรามากขน้ึ
ภมู คิ มุ้ กนั จากวคั ซนี โควดิ 19 จะอยใู่ นรา่ งกายเรานานเพยี งใด

9

ปจั จุบัน เรายังไม่ทราบประสิทธิภาพในการยับย้ังการตดิ ไวรสั ทุกคนทเ่ี ขา้ รับการฉีดวัคซีน ยงั มโี อกาสตดิ เช้ือได้
จากหลายปจั จยั เชน่ การกลายพันธข์ุ องไวรัส หรือบางคนอาจจะยังไมท่ ันที่วคั ซีนจะกระตนุ้ ภมู คิ ุ้มกันรา่ งกาย
ได้กม็ าสัมผัสเชือ้ เสียก่อน ก็มโี อกาสตดิ เหมอื นกัน
แตเ่ บื้องต้น การศึกษาของสถาบันวิจัยดา้ นภมู คิ มุ้ กันวิทยา ลา จอลลา (La Jolla Institute for
Immunology) พบว่าวัคซีนสามารถชว่ ยปอ้ งกนั โรคได้อีกอย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป ท้ังน้ี ข้นึ อย่กู ับรา่ งกายของ
แต่ละคน นอกจากน้ี ยงั ไม่ทราบวา่ เกิดภูมิคมุ้ กันได้อีกนานถงึ เมื่อไร แต่กม็ ีข้อแนะนำให้ฉดี วคั ซนี ให้ครบทั้ง 2
เข็ม (หรอื ตามโดสที่แนะนำ) เพ่อื ประสิทธภิ าพสูงสดุ ในการสรา้ งภูมคิ มุ้ กนั ในรา่ งกาย
ใครทค่ี วรเขา้ รบั การฉดี วคั ซีนโควิด 19 กลมุ่ ไหนมโี อกาสไดร้ บั กอ่ น
เนอื่ งจากวัคซนี ในไทยตอนนยี้ ังมีปรมิ าณไม่เพยี งพอ จงึ ต้องมกี ารจดั ลำดับความสำคัญว่ากลุม่ ใดควรไดร้ บั การ
ฉีดวคั ซีนก่อน เมื่อพิจารณาสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ในประเทศไทยชว่ งที่ผ่านมา มขี ้อมลู
สำคญั ทนี่ า่ สนใจ คือ

• เมือ่ ผู้ป่วยอายุเพ่มิ ขึ้น จะมีแนวโน้มการเสียชวี ติ เพ่มิ ขน้ึ
• ผู้ป่วยท่ีมีอาการรนุ แรง หรือเสยี ชีวติ มักมีโรคประจำตัวมากกว่า 1 โรคขนึ้ ไป เชน่ เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู

โรคตับ โรคไตเร้อื รัง และโรคมะเร็ง เป็นตน้
ประกอบกับจุดประสงคห์ ลักที่ตอ้ งการลดความรนุ แรงของอาการ ลดอัตราการเขา้ โรงพยาบาลในกลุ่มเส่ยี ง
และลดอตั ราการเสยี ชวี ติ ดังนั้น กลุ่มเปา้ หมายที่มีสทิ ธไิ ดร้ ับวคั ซีนกอ่ น ตามมติอนคุ ณะกรรมการอำนวยการ
การใชว้ คั ซีนป้องกนั เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กระทรวงสาธารณสขุ จงึ ได้แก่
1. บคุ ลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขดา่ นหนา้ ท้งั ภาครฐั และเอกชน
2. ผทู้ ี่มโี รคประจำตวั โดยเฉพาะโรคที่มีภาวะเรอื้ รงั ตา่ ง ๆ หรือโรคในกลุ่มเสี่ยง ไดแ้ ก่
2.1 โรคทางเดนิ หายใจเรอ้ื รัง
2.2 โรคหัวใจและหลอดเลือด
2.3 โรคไตเรอื้ รัง
2.4 โรคหลอดเลอื ดสมอง
2.5 โรคมะเรง็ ทุกชนิด
2.6 โรคเบาหวาน
2.7 โรคอว้ น (อปั เดต 1 พฤษภาคม 2564)
3. ผู้สงู อายุตงั้ แต่อายุ 60 ปขี ึน้ ไป
4. เจ้าหนา้ ที่ทเี่ กี่ยวข้องกับการควบคุมโรคโควดิ 19 เชน่ อสม./อสต. ทหาร ตำรวจ
ทง้ั น้ี หากวัคซีนมีปรมิ าณมากข้ึนแลว้ จะพิจารณาฉีดให้กับประชาชนท่วั ไป
คนทอ้ งฉดี วคั ซนี โควดิ ไดไ้ หม หรอื ขณะใหน้ มลกู ฉดี วคั ซนี ไดไ้ หม
คุณผหู้ ญงิ หลายทา่ นที่กำลังต้ังครรภ์ หรอื ใหน้ มลูก นา่ จะกังวลใจไมน่ ้อย ว่าตัวเองและลูกอาจเส่ียงต่อการติด
เชอื้ โควดิ 19 แตค่ รนั้ จะไปรับวคั ซีน ก็ไม่แนใ่ จอกี วา่ จะมีผลกระทบอะไรกับลูกน้อยหรือไม่
หากพบว่าตวั เองเป็นกลุ่มเส่ียง หรอื มโี อกาสไปอย่ใู นพน้ื ทเ่ี สีย่ งติดเชื้อ หรือสัมผัสกับผู้ติดเชอื้ การเข้ารบั การฉดี
วคั ซีนโควิด 19 จะมปี ระโยชนม์ ากกว่า และควรฉดี วัคซนี ชนดิ เชอื้ ตายเพ่ือความปลอดภัย
อย่างไรกต็ าม หากไม่ได้อยใู่ นกล่มุ เส่ียงสงู แนะนำวา่ ยงั ไม่จำเป็นต้องไปฉดี วคั ซีนโควิด 19 และควรมาพบ
แพทย์ผู้เช่ยี วชาญ เพ่ือประเมินระหวา่ งความรนุ แรงท่ีเกิดขึ้นหากติดเชอ้ื กับอาการข้างเคียงของการฉดี วัคซนี
กอ่ นตัดสนิ ใจ

10

ใครอกี บา้ งทย่ี งั ไมแ่ นะนำให้ฉดี วคั ซนี โควดิ 19

เดก็ : สำหรบั เด็ก ยงั ไมแ่ นะนำให้ฉีด
วคั ซนี เนื่องจากวัคซนี ในปจั จุบนั ได้รบั รองให้ใช้ในผูท้ ่ีมีอายุ 18 ปขี ้นึ ไปเท่านัน้ ยกเว้นวัคซีนของ Pfizer-
BioNTech ท่ีรองรับใหใ้ ชใ้ นผู้ทมี่ อี ายุ 16 ปีขนึ้ ไป อยา่ งไรก็ตาม จากการศึกษาพบว่าผู้ติดเชื้อโควิดทเ่ี ปน็ เดก็
มักจะมอี าการไมร่ ุนแรง
กลมุ่ ทีค่ วรอยใู่ นดลุ พนิ จิ ของแพทยอ์ ยา่ งใกลช้ ดิ

• ผทู้ ี่มโี รคประจำตวั ที่อาการยังไม่คงท่ี และอาการเขา้ ข้ันวิกฤต
• ผู้ที่ไดร้ บั ยากดภูมิคมุ้ กนั ขนาดสงู
• ผทู้ ี่ได้รับยาตา้ นการแข็งตวั ของเลอื ด (warfarin)

ทัง้ นม้ี ีข้อแนะนำวา่ ควรปรึกษาแพทยป์ ระจำตวั เพ่ือใหแ้ พทยพ์ จิ ารณาใหฉ้ ีดวัคซนี เป็นรายบคุ คลตามความ
จำเปน็ เรง่ ด่วนและความเหมาะสม
วธิ กี ารเข้ารบั การฉดี วัคซนี โควดิ 19

11

หลงั จากที่เราทำความรจู้ ักกบั วคั ซนี แตล่ ะชนิด รวมถงึ ขอ้ มูลอนื่ ๆ ครบถ้วนแลว้ หากพิจารณาว่าตวั เองอยู่ใน
กลมุ่ ท่คี วรรีบเข้ารบั การฉีด ก็สามารถลงทะเบียนเพอ่ื รอรบั การฉดี วัคซีนไดเ้ ลย
สามารถลงทะเบยี นผ่านชอ่ งทางต่าง ๆ ดงั นี้
1. รพ.ที่ท่านรักษาอย/ู่ สถานพยาบาลใกล้บ้าน
2. รพ.สง่ เสรมิ สุขภาพตำบล (รพ.สต)/ อสม.
3. เพม่ิ เพ่ือนไลน์ “หมอพร้อม”
เรมิ่ ลงทะเบยี น 1 พฤษภาคม 2564 สำหรบั ผสู้ ูงอายุ 60 ปขี ้ึนไป และผปู้ ่วย 7 โรคเรอื้ รัง*
*โรคทางเดินหายใจเร้ือรังรนุ แรง, โรคหลอดเลือดหัวใจ, โรคไตวายเรอื้ รงั , โรคหลอดเลือดสมอง, โรคมะเร็ง,
โรคเบาหวาน และโรคอว้ น
เริ่มลงทะเบยี น 1 กรกฎาคม 2564 สำหรับ ประชาชนทั่วไป อายุ 18-59 ปี
เมอื่ พรอ้ มเขา้ รบั วคั ซีน ใหใ้ ชห้ มอพรอ้ ม
“หมอพร้อม” เปน็ ระบบที่มีการเชื่อมตอ่ โรงพยาบาลตา่ ง ๆ ทรี่ บั ฉดี วคั ซีนโควดิ 19 กว่า 1,500 แหง่ ซ่งึ
สามารถแสดงผลได้แบบ real-time นอกจากนี้ ยังมรี ะบบจำแนกประชาชนโดยแบง่ ออกเปน็ กลุ่ม ๆ ตามความ
เส่ียง เพื่อจัดลำดบั ความสำคัญในการรับวคั ซีนของประชาชนทัว่ ประเทศ
หากเปน็ กลุ่มเป้าหมายการรับวัคซีนกลุม่ แรก ระบบของเรากจ็ ะถูกบันทึกไว้ในระบบหมอพร้อมอย่แู ล้ว
สามารถเขา้ ไปตรวจสอบได้ เราสามารถเข้าไปเลือกโรงพยาบาลทต่ี ้องการฉีดวัคซีนได้เลย ซึ่งหมอพร้อมจะมี
ระบบนัดหมายและแจง้ เตอื นใหเ้ ขา้ รับการฉดี โดยเฉพาะการแจ้งเตือนในกรณีทีต่ อ้ งฉดี 2 คร้งั

12

วธิ กี ารลงทะเบียนหมอพรอ้ ม
อปั เดตข้อมลู วนั ที่ 6 พฤษภาคม 2564

1. เขา้ ไปที่ LINE Official Account ในชื่อบัญชี “หมอพรอ้ ม” หรอื กดได้จาก ลิงคน์ ้ี
2. เพิ่มเพื่อนในไลน์
3. ลงทะเบียน โดยกรอกข้อมูลส่วนตัวตรวจสอบขอ้ มลู และกด “บันทกึ ” จากนั้นระบบจะแสดงหน้าจอ

ลงทะเบยี นสำเร็จ
4. (กรณลี งทะเบียนใหส้ มาชิกในครอบครัว) ไปท่ีหนา้ ตา่ ง “แก้ไขข้อมลู สว่ นตวั และบริการอ่ืน ๆ”แลว้ กด

“เพม่ิ บุคคลอน่ื ” และ “ระบุความสัมพันธ”์ และกรอกข้อมูลส่วนตัว และกด “บนั ทึก” จากนั้นระบบ
จะแสดงหนา้ จอลงทะเบียนสำเรจ็
5. จองวัคซีนโดยกดเมนู “จองฉีดวคั ซนี โควดิ 19” กด “จอง” กด “รบั สิทธ”์ิ และทำแบบคัดกรองก่อน
รับวัคซีน กด “บันทึก” จากน้ันตรวจสอบแบบคดั กรอง และกด “ยินยอม” และกดเลือกจงั หวดั

13

โรงพยาบาล วันท่ี และเวลาที่ตอ้ งการไปฉีดวัคซีน กด “ยนื ยัน” จากนั้นระบบจะแสดงหน้าจอจอง
วคั ซนี สำเรจ็
6. สามารถคน้ หาหนว่ ยงานทใี่ ห้บริการวัคซีนได้

หากมขี ้อสงสัยหรอื ลงทะเบียนไมไ่ ด้ ลองหาคำตอบเบ้อื งต้นท่นี ี่ >> คลกิ
ศึกษาวธิ ีใชง้ านหมอพรอ้ มได้ที่ https://หมอพรอ้ ม.com
ขอ้ มลู ทตี่ อ้ งแจง้ กอ่ นรบั การฉดี วัคซนี

• ประวตั ิแพย้ า วัคซีน อาหาร และสารกอ่ ภูมิแพ้ต่าง ๆ ทท่ี ำให้เกดิ อาการแพร้ นุ แรงหรืออันตรายถึง
ชวี ติ

• กรณีมีไข้เกนิ 38 ˚C ต้องแจ้งทกุ ครัง้
• มกี ารใช้ยาป้องกนั การแขง็ ตัวของเลือด
• มรี อยช้ำ หรือรอยเลอื ดเป็นจ้ำ ๆ หรอื มภี าวะเลือดออกผิดปกติ
• เป็นผมู้ ภี มู คิ มุ้ กันตำ่ หรืออย่รู ะหว่างใชย้ ากดภูมิคุ้มกัน
• มอี าการข้างเคียงหลังจากฉดี วัคซีนเข็มแรก (ทกุ กรณ)ี
• วางแผนจะต้งั ครรภ์ หรือต้ังครรภอ์ ยู่
• อยู่ในชว่ งให้นมบุตร
• มีอาการเจ็บปว่ ยต่าง ๆ เช่น มีไขเ้ ล็กน้อย

ขอ้ ห้ามในการฉดี วัคซนี
หากมปี ระวตั ิแพ้รุนแรงตอ่ สว่ นประกอบของวคั ซนี หรือมีอาการแพ้รุนแรงหลงั ฉีดวัคซนี เขม็ แรก หา้ มเขา้ รบั
การฉดี วคั ซีน และควรปรึกษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง

ศึกษาการเตรียมตัวฉดี วัคซีนโควิด 19 เพม่ิ เตมิ > คลิก
ไดร้ บั วคั ซนี โควดิ 19 แลว้ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ วั อยา่ งไร
รอ 30 นาทหี ลงั ฉดี อย่าพง่ึ ไปไหน: เนือ่ งจากการแพร้ นุ แรงเกือบทกุ กรณี มักเกิดขนึ้ ภายใน 15-30 นาที
หลงั จากได้รับวคั ซีน จงึ มีข้อปฏิบัตวิ า่ จะตอ้ งนงั่ รอภายในสถานที่ฉีด ประมาณ 30 นาที หลงั การเข้ารับวัคซีน

แม้ได้รับวัคซีนแล้ว ก็ต้องปฏิบตั ิตวั เชน่ เดมิ : ผู้ได้รบั วัคซนี แลว้ ควรปฏิบัตติ วั เพอ่ื ป้องกนั ตัวเองจากโควดิ 19
ไมต่ า่ งจากบุคคลท่ัวไป ไดแ้ ก่ การล้างมือดว้ ยสบหู่ รือแอลกอฮอล์ การรกั ษาระยะห่าง การสวมใส่หน้ากาก
อนามยั และไม่ไปยังพ้นื ที่ท่ีเสย่ี งต่อการติดเชือ้ เพือ่ ลดโอกาสติดเชื้อใหไ้ ดป้ ระสิทธิภาพสูงทสี่ ดุ
เข้ารบั การฉีดให้ครบตามโดสท่ีแนะนำ เคยฉีดยีห่ ้อไหน ให้ฉดี ยี่ห้อน้ัน: เนอ่ื งจากยงั ไมม่ ีการศกึ ษาผลข้างเคียง
หรือประสทิ ธิภาพของการรับวัคซนี ตา่ งชนดิ กนั และมขี ้อแนะนำให้ฉีดให้ครบถ้วนตามโดสทกี่ ำหนดเพ่ือ
ประสทิ ธิภาพสงู สุดในการปอ้ งกนั โรค

14

สรปุ
หากพจิ ารณาจากสถานการณ์การฉีดวัคซนี โควิด 19 ในปจั จบุ ัน จะเหน็ ได้วา่ ข้อมลู ประสิทธิภาพและ
ผลข้างเคยี งต่าง ๆ ของการฉีดวคั ซีนอาจจะยังไมแ่ นช่ ัดหรือสรปุ ไม่ได้ 100% แต่หนว่ ยงานสาธารณสขุ ท่วั โลก
ก็ยังแนะนำใหเ้ ข้ารบั การฉีด เนอื่ งจากเปรียบเทียบประโยชนท์ จ่ี ะได้รับแล้วสูงกวา่
สำหรับบุคคลที่อยูใ่ นกลุ่มเสย่ี ง สมควรรีบเขา้ รับการฉดี วัคซีนโดยทนั ที เพอื่ ลดโอกาสทจี่ ะตดิ เชื้อแลว้ มอี าการ
รนุ แรง ลดโอกาสการเสียชีวติ และลดโอกาสทีจ่ ะต้องเข้าไปรบั การรักษาทโ่ี รงพยาบาล
แตส่ ำหรับผหู้ ญงิ ท่ีตง้ั ครรภ์ (หรอื วางแผนจะต้ังครรภ์) ผทู้ ่ีมีภาวะภูมิคมุ้ กันบกพร่อง ผทู้ ี่กินยากดภมู คิ ุม้ กัน
ขนาดสงู และผทู้ ี่กนิ ยาตา้ นการแข็งตวั ของเลอื ด ควรปรึกษาแพทยป์ ระจำตัวก่อนเข้ารับการฉีดวัคซีน
ปัจจบุ ันประเทศไทยกำลงั อยู่ในข้นั ตอนการเจรจาเพ่ือซื้อวคั ซนี ของบริษัทอ่ืน ๆ นอกเหนือจาก Sinovac และ
AstraZeneca ซึ่งจะทำให้เรามที างเลือกในการฉดี วัคซนี หลากหลายมากขึ้นในอนาคต ซ่ึงกเ็ ป็นความหวังถึง
สถานการณ์การแพร่ระบาดท่ีจะดีข้นึ ในไมช่ า้ ขอให้ติดตามข่าวสารอยา่ งใกลช้ ดิ สดุ ท้ายนี้ทางโรงพยาบาล
พระราม 9 ขอให้กำลงั ใจทุกทา่ นใหผ้ ่านพน้ ช่วงเวลาน้ีไปได้อยา่ งราบรน่ื ดว้ ยดี
บทความสุขภาพอื่น ๆ

15


Click to View FlipBook Version