Article
A Role-Playing Simulation Game for
Shared Learning on Community Forest https://natureconservancy-h.assetsadobe.com
in Lai Nan, Nan Province, Thailand
Assist. Prof. Pongchai Dumrongrojwatthana, Ph.D.1,*, Wuthiwong Wimolsakcharoen1,
Sutanan Pinmaneenopparat1, Puangthong Chompooming2, Alongkorn Weerapan2,
Tanyawat Kabkham2, Malinee Anurak2, Sangrawee Runnawut2, Watcharaporn Malee2,
Tasamon Kaladee2, Samran Panyain3 and Saifon Kamtem3
1Department of Biology, Faculty of Science, Chulalongkorn University
2Sa School, Wiang Sa, Nan
3Lai Nan Subdistrict Administration Organization, Wiang Sa, Nan
*Corresponding author email: pongchai.d@chula.ac.th; dpongchai@hotmail.com
Introduction
Community forests are designated areas to allow identified, and one order could not be classified.
the local community to play a significant role in forest Community forests in Lai Nan subdistrict were found
management. Community residents gather both to sequester an average of 41.84 ton-carbon ha–1
timber and non-timber products from the forest. year–1 of atmospheric carbon. Moreover, the area’s
However, the size of the forest must not be too large total economic value was estimated at 2.52 million baht
for the community to manage. Sustainable management per year (Dumrongrojwatthana et al., 2016).
of community forests is driven by social sanctions
and community decision-making (Royal Forest However, as few studies have been conducted
Department, 1994). Community forests thus play on community forests in Nan Province, there is scant
a crucial role in forest conservation in Thailand. information that would allow collection of a body of
knowledge that could be passed on to the younger
Nan province has established a total of 240,753 rai generation- an important force driving forest conservation
of community forests (Department of Forestry, 2019). in Nan Province. Therefore, the research project entitled
A study of resources in the community forest area “Community Forestry Knowledge Management Using
in Lai Nan subdistrict, Wiang Sa district, Nan a Companion Modeling Approach: Case Study of Lai Nan
province highlighted the forest’s biodiversity and Subdistrict, Nan Province,” aimed to create a learning
importance to food security of local people and innovation tool in form of gaming and simulation
the integrity of ecosystems. Researchers identified based on the companion modeling approach. This tool
59 species of birds from 29 families, and 97 species could be used for knowledge management regarding
from 28 genera of fungi from 18 different families. Lai Nan community forest and shared learning among
Among the fungi, 48 species were edible, such as youths in regard to community forest management.
Amanita spp., Russula spp. and Astraeus sp. In addition, The study aimed to enhance community-driven natural
13 species from 13 genera and 4 families of fish were resource conservation and sustainable community
found. In addition, 17 orders of soil insects were forest management.
UNISEARCH JOURNAL Vol. 6 No. 2 (May - Aug. 2019) 3
Companion modeling approach The Companion Modeling Approach (ComMod)
emphasizes the study of interactions between
The modeling has been widely used as a tool for bio-physical and the socio-economic dynamics.
integrated renewable resource management and is ComMod is a process that stimulates thoughts and decision
acclaimed for its ability to perform scenario explorations making progressively. The process is facilitated by
in a short period (Bousquet & Le Page, 2004; Etienne, 2014). iterative and evolving models incorporated fieldwork
This characteristic allows researchers to understand (interviews, survey and group work for creating and
the dynamics and interactions of the system under study, using the model), laboratory work (data analysis and
or predict the possible trends of the system under different modeling) and also draws throughout from dialogue among
resource users’behaviors by exploring different scenarios, stakeholders. Moreover, respect of diverse stakeholders’
and thus to identify collective management strategies that opinions is crucial for model development of an effective
appropriate for the local context. There are two commonly and workable real-world model. Therefore, the researchers
used models: the prediction model and the learning model. responsible for this project included themselves as
The prediction model considers multiple variables to stakeholders and served as facilitators to facilitate shared
generate highly accurate predictions and is commonly learning among the participants.
used to predict complex changes such as climate change
over a 50-100 years horizon. In contrast, the learning The objective of using companion modeling was
model contains a small number of core variables that to encourage shared learning and dialogues among
are important to the system behaviors; the model is then stakeholders and less on predicting future possibilities since
field-tested for social validation (Moss, 2008). The learning most existing systems are complicated and fast-changing.
model allows interaction and exploration among stakeholders Therefore, it is crucial for the stakeholders to understand
and creates a mutual learning experience. This contrasts interactions and trade-offs among elements that created
with the prediction model, which only predicts outcomes the dynamics of the systems, as well as to plan for
but ignores the ‘black box’ effect that stakeholders may unpredictable situations resulting from policy and other
experience (Barreteau et al., 2001). Moreover, the learning levels of decision-making, or natural disasters. Once
model also helps to raise awareness and consciousness stakeholders gain a deeper understanding of the system
among stakeholders about impacts of their behaviors on and consequence of collective actions, they acquire
the local social and ecological systems, prepares them an elevated awareness and consciousness towards natural
for future changes and enables them to plan natural resource resource conservation.This enhanced adaptive management
management more effectively and in a better-informed capacity facilitates participative approaches and
way (Bousquet & Le Page, 2004). community-level collaboration in planning natural resource
management. Community-rooted solutions are generally
The Companion Modeling Approach (ComMod) much more likely to succeed both in conserving natural
(Bousquet & Trébuil, 2005; Etienne, 2014) is an interactive resources and the environment, and also in enhancing
integrated model that supports the learning process social stability within the community (Figure 1).
through dialogue and shared learning among concerned
stakeholders. Stakeholders’ interests, perspectives, Three different models were developed based on
knowledge and experience are used to create an integrated ComMod: a role-playing game, a computer model and
model and simulation representing the subject matter of a computer-assisted model. The role-playing game
the system under study. The model links together local allowed users to role-play as resource users or as actors
wisdom and scientific knowledge so that the stakeholders in decision-making scenarios where stakeholders had to
and researchers share and learn together to create practical make their own decisions and choices for resource
and acceptable solutions for environmental management. allocation. This project employed a role-playing game
4 UNISEARCH JOURNAL Vol. 6 No. 2 (May - Aug. 2019)
together with a card game in order to gather a body of exacerbate conversion of forest to agriculture and
knowledge from local villagers and young people. increase pressure on natural resources from the forest.
The model was thus designed to be simple and easy to use. As a result, community forests have become increasingly
under threat from encroachment and outright deforestation.
Study area and knowledge The situation is exacerbated by a lack of local awareness
management process of the critical importance of community forest preservation.
Without a body of knowledge to understand the importance
Nan province has long suffered from rapid deforestation of community forests for livelihoods, there are few
from expansion of agriculture. Community forests offer incentives to protect the forest and its ecosystem services.
a means to mitigate the impacts of forest loss, while As a result, the community is ill-equipped to protect the
contributing to the household economy of local people. forest and its resources, or plan for unforeseen economic
The research team selected a community forest area located crises or natural disasters where community forests can
in Lai Nan subdistrict due to persistent forest encroachment provide a vital safety net for the community.
problems from outsiders as well as overharvesting,
despite the area being frequently visited for scientific The process for this participatory research comprised
research (Dumrongrojwatthana et al., 2016). Land use three stages. In the initial stage, a body of knowledge
is rapidly changing for several reasons. Villagers who was gathered from existing literature, and field research
migrated to the city were increasingly returning home conducted with local people to assess the ecosystem
due to low wages or difficult conditions in their city jobs services of their community forests. Based on this
and turning back to agriculture. At the same time, some knowledge, an innovative gaming and simulation was
students and fresh graduates also want to stay in the area created. The second stage was to use the game through
and continue with agricultural work. These demands participatory field workshops for shared learning.
Figure 1 Companion modeling showing representatives of the systems that encourage shared learning for users
to understands interactions between each system and change their behaviours regarding resource utilization
Source: adapted from Trébuil (2013)
UNISEARCH JOURNAL Vol. 6 No. 2 (May - Aug. 2019) 5
Other learning sessions based on stakeholders’ requests and mushrooms were chosen as representatives of important
were also delivered to encourage knowledge sharing nontimber-forest products (NTFPs). They also represented
among local stakeholders (local residents, teachers, producers, consumers and decomposers of the ecosystem
young people and representatives from Lai Nan Local which were integrated into ecosystem services. The game
Administration Office) as well as to create understanding design included a range of principles and knowledge
of the diverse benefits of community forest ecosystem. especially on ecosystem services, ecosystem dynamics,
The third stage was for knowledge transfer. Representatives natural disasters, overuse of scarce resources, and
from Lai Nan Local Administration Office and teachers sustainable use and conservation of community forest
were trained as trainers to use the gaming and simulation via discussion process (Figure 2).The goal of using this game
for sustainable community forest management. are improve players’ understanding on the important
of the ecosystem services, especially provisioning and
Gaming and simulation: “Non-timber cultural services, delivered by the community forest,
Forest Product Collection Game” and learn about sustainable use of NTFPs. The game
was played in a total of 10 workshops. The game players
The Non-timber Forest Product Collection Game were local villagers and young people living in
was designed to gather knowledge regarding resource the subdistrict, a teacher and students from Sa School and
utilization in the study area. Pak Waan Paa (Melientha representatives from the local administration – a total of
suavis), larvae of Weaver ant (Oecophylla smaragdina)
Figure 2 Local people and youths playing the “Non-timber Forest Product Collection Game”
Source: Dumrongrojwatthana, taken in 2018
6 UNISEARCH JOURNAL Vol. 6 No. 2 (May - Aug. 2019)
191 participants. The game explored three different Gaming and simulation: “Diversity@
scenarios: 1) business as usual (regular resource utilization Lainan Game”
according to participant preferences); 2) forest fire
(bushfire); and 3) building firebreaks and small ponds The Diversity@Lainan Game is a card game, created
in the community forest. as a learning and knowledge gathering tool covering
plants, fungi, insects, birds and terrestrial fauna, using
The game consisted of four steps. In Step 1, the the community forest as their habitat. The card game
game leader explained the instructions and materials and targeted young people and was designed to elucidate the
prepare beads of different colors (green beads representing relationship between flora and fauna based on ecological
Pak Waan Paa (Melientha suavis), orange beads for principles and species diversity concepts. The game aims
larvae of Weaver ant (Oecophylla smaragdina) and to increase the level of knowledge about biodiversity,
yellow beads for mushrooms). The materials were placed the importance of the community forest and reforestation.
in 25 boxes representing the community forest area for Three gaming sessions was conducted with local youths,
10-15 players. In Step 2, the players followed the first teachers and students from Sa School and representatives
scenario and harvest resources as they pleased. In Step 3, from the local administration- a total of 253 participants
players collected data regarding their collected forest (Figure 3).
products and collectively updated the resources for the
next year. Players must work together to assess whether To play game, the players were divided into pairs
any area was being overharvested and predict the production or small groups of 6-10 people. Players in each group
of all products for the coming year. In Step 4, players received five cards randomly and start playing game by
discussed the results and explain their choices. After the forest “level 1” that can support only level 1 cards,
Step 4, players then repeated the game, this time based too. Players decided the first person to play by putting
on Scenario 2, in which a forest fire occurs. The players a “plant” card, then rotated clockwise until 20 cards
first decide on the numbers of grids where they expect were played according to the card’s skill. Thereafter,
the forest fire to break out. They then come together to the forest quality increased to “level 2” that can support
discuss the impact of the fire on the NTFPs in each grid. cards level 1 and 2, and then increased to forest “level 3”
They then continue to play the game following steps 2-4 when 40 cards were played. Until no more card to play
as described above. The players will then play the game or the time is up, player who has highest score will win
based on Scenario 3 where they are allowed to build the game. Thereafter, players were invited to review and
firebreaks and small ponds in the forest area. The players discuss different living organisms and their roles in
then adjust the number of NTFPs found in the forest the forest ecosystem, as well as impacts of different
again and provide reasons for the changes. Once land uses and the importance of the forest ecosystem
the players have played all three scenarios, the game leader to organisms and human livelihoods and well-being.
conducted a debriefing session by explaining problems
caused by over-harvesting that leads to degradation or Other learning activities
destruction of the forest area. The debriefing also
discusses the effects of over-utilization on the community Apart from game-based learning, the research team
and disasters that may affect the community forest. also organized a bird-watching workshop for students
Each player must take part in the brainstorming and and young people in the community. A GPS Essentials
idea-sharing session aimed at sustainable utilization of workshop and a Google Earth Pro workshop were also
the community forest to ensure its continuing abundance conducted to help create spatial database of natural
for future generations. resource. Moreover, a 1-rai (40 x 40 m2) permanent plot
was established in the Ban Boon Rueng community
forest area (Figure 4) with the teachers and student
UNISEARCH JOURNAL Vol. 6 No. 2 (May - Aug. 2019) 7
Figure 3 Examples of the “Diversity@Lainan Game” with students from Sa School
Source: Dumrongrojwatthana, taken in 2018
representatives from Sa School, representatives from Sa the game generated discussion and strengthened the
Subdistrict Administrative Organization and community relationship between adults and the younger generation.
residents. The permanent plot was designated as a future The activity offered a great opportunity for both generations
learning space for environmental education. to come together to discuss practical steps to preserve
their precious community forest for the future.
Results of the game and public The “Diversity@Lainan Game” also introduced new
policy drafting knowledge about new species to the students; they
learned to differentiate edible from inedible mushrooms
The “Non-timber Forest Product Collection Game” and about the significance of the community forest as
initiated a knowledge-sharing dialogue among adults habitats. The Diversity@Lainan game is simpler than
and young people in the community, in an informal, fun the Product Collection game; it can be played in a short
atmosphere. Participants all enjoyed the discovery process time and offers fun for players. Crookall and Thorngate (2009)
and knowledge-sharing and appreciated their expanded found that using games and scenarios generated an atmosphere
understanding of local wisdom about collecting and that fosters effective learning and discussion among
utilizing forest products. The participants from three participants.
adjacent villages (Moo 1, 2 and 3) from the total of six
villages in the subdistrict requested the research team The results from the gaming sessions and other
to conduct more gaming sessions since they realised that learning activities led to the development of new learning
8 UNISEARCH JOURNAL Vol. 6 No. 2 (May - Aug. 2019)
Figure 4 Permanent plot establishment in Ban Boon Rueng Community Forest (Moo 2), Lai Nan subdistrict
Source: Dumrongrojwatthana, taken in 2018
activities brought out of the classroom to the forest. - Enabling student activities using community
Students from Sa School conducted school projects as forests to encourage learning in the real environment
part of their independent study assignments. The projects and establish a strong relationship between schools and
included field studies of plant biodiversity, growth of communities;
seedling species in the permanent plot, bird diversity in
the community forest and agricultural areas, as well as - Supporting student independent study projects to
field surveys of lichen species. This opportunity sparked encourage learning on sciences, technology and social
anewloveofnatureandabroadcommunity-widecommitment sciences through the use of community forests;
to protect the forest. The project supported the Rak Pa Nan
(Care for Nan Forest) project initiated by Her Royal - Building natural trails by involving local
Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn which offered communities and school as stakeholders to create added
forest conservation classes in schools. A new project value to the community forest (natural classrooms, and
entitled ‘Planting forests inside the hearts of Nan’s future use of the forest for cultural and ecotourism purposes);
generations’was launched for this purpose (Nan Provincial
Education Office, 2018). - Establishing more permanent plots in the
community forest to create an alternative learning space
Recognizing the importance of continuity and for local schools and universities, and to sensitize local
sustainability of the projects, the research team drafted communities;
a public policy for the subdistrict municipality committee
to contribute to and improve its 4-year development plan - Launching a “Trial Day,” dedicated to learning
(2018-2021). The proposed projects include the following: about local natural resources in community forests,
designed to share knowledge and local wisdom relating
- Plant Genetic Conservation Project Under the to local natural resources and local wisdom for forest
Royal Initiative of Princess Maha Chakri Sirindhorn; conservation. The session was shared by local government
representatives, local schools and local community
- Gaming and simulation sessions to foster natural residents;
resource conservation for young people and introduce
the Rak Pa Nan (Care for Nan Forest) project; - Creating a database of natural resources available
in the community forest.
UNISEARCH JOURNAL Vol. 6 No. 2 (May - Aug. 2019) 9
Conclusion The drafting of a proposed new public policy also helped
Lai Nan subdistrict administration to ensure continuity
Community forests offer an important option as and sustainability of the program. Moreover, follow up
part of forest conservation efforts. However, in Lai Nan studies and project assessment in a long-term period will
community forest, Wiang Sa district, Nan province, be carried out in the near future.
Thailand, the body of knowledge and understanding of
natural resources utilization was relatively limited and Acknowledgments
was not being passed on to younger generations.
This research project helped fill this gap by creating This article is part of the project entitled
an innovative learning tool for knowledge management “Community Forestry Knowledge Management Using
in this domain. The design of the learning tool was based on Companion Modeling Approach: Case Study of
the Companion Modeling approach. Two gaming and Lai Nan Subdistrict, Nan Province,” funded by
simulations were produced, the “Non-timber Forest the Knowledge Management for Implementation (Public
Product Collection Game” and the “Diversity@Lainan Policy) Research Fund, under the National Research
Game”. After using the models with local stakeholders, Council in 2018. The authors wish to thank all research
the results indicated that young people became more assistants, the residents of Lai Nan subdistrict,
interested in learning more about their community forest. Nan province and members of the Tropical Ecology and
Students, especially at Sa School, were inspired and Natural Resource Management Research Laboratory for
engaged in a range of new independent study projects. their contribution to this research.
References and Bibliography
Barreteau, O., Bousquet, F., & Attonaty, J. (2001). Role-playing games for opening the black box of multi-agent systems:
method and lessons of its application to Senegal River Valley irrigated systems. Journal of Artificial Societies and Social
Simulation, 4(2), 5.
Bousquet, F., & Le Page, C. (2004). Multi-agent simulations and ecosystem management: A review. Ecological Modelling, 16(3-4),
313-332.
Bousquet, F., & Trébuil, G. (2005). Introduction to companion modeling and multi-agent systems for integrated natural resource
management in Asia. In F. Bousquet, G. Trébuil, & B. Hardy (Eds.), Companion modelling and multi-agent systems for
integrated natural resource management in Asia (pp. 1-17). Los Baños, Philippines: International Rice Research Institute.
Crookall, D., & Thorngate, W. (2009). Acting, knowing, learning, simulating, gaming. Simulation and Gaming, 40(1), 8-26.
doi:10.1177/1046878108330364
Dumrongrojwatthana, P., Wimolsakcharoen, W., Panyawong, K., and Huayhongthong, I. (2016). Economic Evaluation of Non-timber
Forest Products in the Plant and Genetic Conservation Project area, Wiang Sa subdistrict, Nan province. Research Report
for the 2016 Government Budget Grant.
Etienne, M. (2014). Companion Modelling: A participatory approach to support sustainable development. France: Jointly
published with Quæ and Springer.
Moss, S. (2008). Alternative approaches to the empirical validation of agent-based models. Journal of Artificial Societies and
Social Simulation, 11(1), 5.
Nan Provincial Education Office. (2018). Rak Pa Nan Curriculum. Nan: Nan Offset Design & Printing.
Royal Forest Department. (1994). Guidelines for Community Forest Development. Bangkok: Community Forest Unit, Reforestation
Department, Royal Forest Department.
Royal Forest Department. (2019). Community Forest Database. Retrieved from May 2, 2019, http://www.forest.go.th/community-
extension/category/database/
Trébuil, G. (2013). Introduction to Companion Modelling: Hand-out for companion conceptual modeling training workshop.
27-31 May 2013, GREASE network, Kasetsart University, Bangkok.
10 UNISEARCH JOURNAL Vol. 6 No. 2 (May - Aug. 2019)
บทความ
การใช้เกมและสถานการณจ์ ำ� ลองเพ่ือเรียนรู้เร่ืองป่ าชุมชน : https://natureconservancy-h.assetsadobe.com
กรณีศึกษาต�ำบลไหล่นา่ น จังหวดั นา่ น
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พงษ์ชยั ดำ� รงโรจน์วัฒนา1,*, วฒุ วิ งศ์ วมิ ลศกั ดเ์ิ จริญ1, สตุ นนั ท์ ป่นิ มณนี พรัตน์1,
พวงทอง ชมภูม่งิ 2, อลงกรณ์ วรี ะพันธ์2, ธัญวฒั น์ กาบคำ� 2, มาลินี อนรุ กั ษ2์ , แสงรวี รุณวุฒ2ิ ,
วชั ราพร มาล2ี , ทรรศนม์ น กาละด2ี , สำ� ราญ ปัญญาอนิ ทร3์ , และสายฝน คำ� เตม็ 3
1ภาควชิ าชวี วิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
2โรงเรยี นสา อ�ำเภอเวียงสา จังหวดั นา่ น
3องค์การบรหิ ารสว่ นตำ� บลไหลน่ ่าน อ�ำเภอเวียงสา จังหวดั น่าน
*ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั ของบทความ email: pongchai.d@chula.ac.th; dpongchai@hotmail.com
บทน�ำ
ป่ าชุมชน คือ ผืนป่ าท่มี ีขนาดเลก็ แต่หากมีขนาดใหญ่ 4 วงศ์ 13 สกลุ 13 ชนดิ พบแมลงในดนิ จำ� นวน 17 อนั ดบั และ
จะตอ้ งไมใ่ หญ่เกินกวา่ ท่ชี ุมชนจะดแู ลฟ้ื นฟู ได้ พ้นื ท่ปี ่ าชุมชน ไมส่ ามารถจ�ำแนกได้ 1 อนั ดบั พนื้ ท่ีป่ าชุมชนในตำ� บลไหลน่ า่ น
เป็นพ้ืนท่ีซ่ึ งได้รับการจัดการโดยกระบวนการของชุมชน ยังสามารถกักเก็บธาตุคาร์บอนจากชั้นบรรยากาศได้เฉล่ีย
เ พ่ื อ ก่ อใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ ต า ม ค ว า ม ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ชุ ม ช น 41.84 ตันคาร์บอนต่อแฮกแตร์ต่อปี ผลการประเมินมูลค่า
อย่างยง่ั ยนื โดยทว่ั ไปจะมกี ารใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรป่ าไม้ ทางเศรษฐศาสตร์ พบว่าพ้ืนท่ีป่ าชุมชนแห่งน้ีมีมูลค่าสูงถึง
ทัง้ ท่ีเป็นเน้ือไม้ และไม่ใช่ เนื้อไม้ และมีการออกระเบียบหรือ 2.52 ลา้ นบาทตอ่ ปี (พงษช์ ัย ดำ� รงโรจนว์ ฒั นา และคณะ, 2559)
มาตรการบงั คบั ทางสงั คมในการดแู ลจดั การ (กรมป่ าไม,้ 2537)
ซ่ึ งป่ าชุมชนมีบทบาทส�ำคัญในการอนุรักษ์พื้นท่ีป่ าไม้ของ อย่างไรก็ตาม การศึกษาพ้ืนท่ีป่ าชุมชนยังขาดการ
ประเทศไทย รวบรวมองค์ความรู้และการถ่ายทอดความรู้จากผู ้ใหญ่สู่
เยาวชนซ่ึงเป็นก�ำลังส�ำคัญในการอนุรักษ์ป่ าของจังหวัดน่าน
จังหวัดน่านมีการจัดตั้งป่ าชุมชนซ่ึ งมีพ้ืนท่ีทั้งหมด ดังนัน้ โครงการ “การจัดการองค์ความรู้ป่ าชุมชนโดยใช้
240,753 ไร่ (กรมป่ าไม้, 2562) จากการศึกษาทรพั ยากรใน แนวคิดแบบจ�ำลองเพือ่ นคู่คิด : กรณีศึกษาต�ำบลไหล่น่าน
พ้ืนท่ีป่ าชุมชนในต�ำบลไหล่น่าน อ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จังหวัดน่าน” จึงได้สร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบเกม
พบวา่ ทรพั ยากรในพน้ื ท่ปี ่ าชุมชนดงั กลา่ วมคี วามหลากหลาย และสถานการณ์จ�ำลองภายใต้แนวคิดแบบจ�ำลองเพ่ือนคู่คิด
และยังมีความส�ำคัญต่อความม่ันคงทางอาหารของคนใน เพ่อื เป็นเคร่อื งมอื ในการรวบรวมองคค์ วามรูเ้ ก่ยี วกบั ป่ าชุมชน
ท้องถ่ินและระบบนิเวศ เช่ น พบนก จ�ำนวน 29 วงศ์ 59 ชนิด ต�ำบลไหล่น่าน และใช้เป็นเคร่ืองมือในการแลกเปล่ียนเรียนรู้
พบเหด็ จำ� นวน 18 วงศ์ 28 สกลุ 97 ชนดิ ในจำ� นวนวงศด์ งั กลา่ ว ของเยาวชนเก่ียวกับการจัดการป่ าชุมชน อันจะน�ำไปสู่การ
เป็นเห็ดท่ีบริโภคได้จ�ำนวน 48 ชนิด เช่ น เห็ดระโงกขาว อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการพัฒนาป่ าชุมชนอย่าง
เห็ดแดง เห็ดถอบ เป็นต้น นอกจากนัน้ ยังพบปลาจ�ำนวน ย่ังยืน
UNISEARCH JOURNAL ปที ่ี 6 ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2562) 3
แนวคดิ แบบจ�ำลองเพอื่ นคู่คิด ของผเู้ กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ย มาออกแบบและสรา้ งเปน็ แบบจำ� ลอง
เ ชิ ง บู ร ณ า ก า ร ที่ ส า ม า ร ถ ใ ช ้ เ ป ็ น ตั ว แ ท น ข อ ง ร ะ บ บ
ปัจจุบันแบบจ�ำลองมีบทบาทในงานวิจัยเชิงพัฒนา ทที่ ำ� การศกึ ษา เชอื่ มโยงภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น กบั องคค์ วามรใู้ นเชงิ
อยา่ งกวา้ งขวาง โดยเฉพาะดา้ นการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ ทฤษฎีและความรู้ทางวิทยาศาสตร์ จากน้ัน ผู้มีส่วนได้เสีย
ประเภทท่ีเกิดทดแทนได้แบบบูรณาการ ซ่ึงคุณสมบัติเด่น จะไดแ้ ลกเปลย่ี นความรแู้ ละหาแนวทางการจดั การทรพั ยากร
ของแบบจ�ำลอง คือ ความสามารถของแบบจ�ำลอง ผา่ นการใช้แบบจำ� ลองดงั กล่าว
ในการทดสอบสถานการณ์ซ�้ำหลาย ๆ ครั้งได้ในระยะเวลา
จ�ำกัด (Bousquet & Le Page, 2004; Etienne, 2014) หลักการของวิธีวิจัยแนวคิดแบบจ�ำลองเพ่ือนคู่คิดน้ัน
ท�ำให้สามารถท�ำความเข้าใจระบบที่ก�ำลังศึกษา หรือ เน้นการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างพลวัตทางกายภาพชีวภาพ
คาดการณแ์ นวโนม้ การเปลยี่ นแปลงของระบบทศ่ี กึ ษาภายใต้ กบั พลวตั ทางเศรษฐกจิ และสงั คม แนวคดิ แบบจำ� ลองเพอื่ นคคู่ ดิ
พฤติกรรมการใช้ทรัพยากรในรปู แบบตา่ ง ๆ เพื่อหาแนวทาง จึงเป็นกระบวนการคิดและสร้างความเข้าใจแบบมี
การจัดการทรัพยากรได้อย่างเหมาะสมตามบริบทของพ้ืนที่ พฒั นาการ เปน็ กระบวนการทส่ี นบั สนนุ การจดั การองคค์ วามรู้
แบบจ�ำลองท่ีใช้ในปัจจุบันมีรูปแบบหลัก 2 รูปแบบ คือ แบบบรู ณาการดว้ ยแบบจำ� ลอง การดำ� เนนิ วธิ กี ารวจิ ยั จงึ เปน็
แบบจำ� ลองทเ่ี นน้ การทำ� นายสภาพการณใ์ นอนาคต (prediction แบบพฒั นาตอ่ เนอ่ื งระหวา่ งกจิ กรรมภาคสนาม (การสมั ภาษณ์
model) ซึ่งแบบจ�ำลองประเภทนี้จะมีตัวแปรจ�ำนวนมาก การส�ำรวจข้อมูล กิจกรรมกลุ่มเพื่อสร้างและใช้แบบจ�ำลอง
เพื่อให้เกิดความแม่นย�ำในการคาดการณ์ นิยมใช้คาดการณ์ เชิงปฏิบัติการ) กับงานในห้องปฏิบัติการ (การวิเคราะห์
เหตกุ ารณล์ ว่ งหนา้ เชน่ แบบจำ� ลองการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ขอ้ มลู และการสรา้ งแบบจำ� ลอง) และมกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้
ท่ีสามารถคาดการณ์ล่วงหน้า ประมาณ 50-100 ปี ระหว่างนักวิจัยและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตลอดระยะเวลาที่
ขณะที่แบบจ�ำลองอีกประเภทหน่ึงเน้นด้านการส่งเสริม ด�ำเนินโครงการ นอกจากนี้ การเคารพในความคิดท่ีแตกตา่ ง
การเรยี นรรู้ ว่ มกนั ระหวา่ งผใู้ ชแ้ บบจำ� ลอง (learning model) อันเนื่องจากพ้ืนฐานความรู้และประสบการณ์ที่แตกต่างกัน
ซงึ่ แบบจำ� ลองประเภทนจ้ี ะมตี วั แปรไมม่ าก หากแตเ่ ปน็ ตวั แปร ถือเป็นอีกหลักการหนึ่งที่ส�ำคัญในการพัฒนาแบบจ�ำลอง
ทส่ี ำ� คญั ของระบบทท่ี ำ� การศกึ ษาและมกี ารใหผ้ ใู้ ชแ้ บบจำ� ลอง ดังนน้ั ผวู้ จิ ยั จงึ ถกู จดั เปน็ หนง่ึ ในกลมุ่ ผทู้ มี่ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี และ
เปน็ ผตู้ รวจสอบความถกู ตอ้ งของแบบจำ� ลอง(socialvalidation) มีหน้าท่ีหลักในการเป็นผู้อ�ำนวยความสะดวกให้ทุกฝ่ายได้
(Moss, 2008) ซึ่งข้อดีของแบบจ�ำลองประเภทนี้ คือ แลกเปลี่ยนเรยี นรูร้ ว่ มกนั
การสร้างปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งกนั ของผใู้ ชแ้ บบจำ� ลองดงั กลา่ ว
โดยผใู้ ชส้ ามารถพดู คยุ แลกเปลี่ยนความคดิ และรว่ มเรียนรู้ เป้าหมายของการใช้แบบจ�ำลองเชิงบูรณาการตาม
ถงึ การเปลย่ี นแปลงของระบบท่ศี ึกษาไดอ้ ยา่ งลึกซึ้ง มากกว่า แนวคิดแบบจ�ำลองเพ่ือนคู่คิด เน้นการแลกเปล่ียนเรียนรู้
แบบจ�ำลองประเภทแรกที่มักจะแสดงผลของการคาดการณ์ ระหว่างผู้ใช้แบบจ�ำลอง ไม่เน้นการคาดการณ์เหตุการณ์
แต่ผู้ใช้มักไม่เข้าใจที่มาที่ไปของแบบจ�ำลอง (black box ในอนาคต เนื่องจากระบบต่าง ๆ มักมีความซับซ้อนและ
effect) (Barreteau et al., 2001) นอกจากน้แี บบจ�ำลอง เปล่ียนแปลงรวดเร็ว ดังนั้น การใช้แบบจ�ำลองจึงมุ่งเน้นใน
ประเภทที่สองยังมีส่วนส่งเสริมให้ผู้ใช้มีความตระหนักถึง การส่งเสริมให้ผู้ใช้แบบจ�ำลองมีความเข้าใจปฏิสัมพันธ์ของ
ความเป็นไปได้ในการเปล่ียนแปลงของระบบที่ศึกษาจาก องค์ประกอบต่าง ๆ ท่ีส่งผลให้เกิดพลวัตของระบบ และ
พฤตกิ รรมของผใู้ ชแ้ บบจำ� ลอง และเพมิ่ ศกั ยภาพในการปรบั ตวั ตระหนักถึงเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีคาดการณ์ได้ยาก ซ่ึงเป็นผล
เพื่อเผชิญกับส่ิงท่ีอาจจะเกิดขึ้นในสภาพความเป็นจริงได้ จากนโยบาย เศรษฐกจิ สงั คม และปรากฏการณท์ างธรรมชาติ
สามารถวางแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติได้อย่าง เมื่อผู้ใช้แบบจ�ำลองมีความเข้าใจระบบมากข้ึน เข้าใจ
เหมาะสมยงิ่ ข้นึ (Bousquet & Le Page, 2004) ผลกระทบท่ีต่อเนื่องในระบบ ย่อมน�ำไปสู่ความตระหนักใน
การอนรุ กั ษท์ รพั ยากร มคี วามยดื หยนุ่ ในการจดั การทรพั ยากร
แนวคดิ แบบจำ� ลองเพอื่ นคคู่ ดิ (Companion Modeling และมีความพร้อมในการพูดคุยหาแนวทางการอนุรักษ์และ
Approach: ComMod) (Bousquet & Trébuil, 2005; วางแผนจดั การทรพั ยากรอยา่ งมสี ว่ นรว่ มไดด้ ยี ง่ิ ขนึ้ กอ่ นทจ่ี ะ
Etienne, 2014) เป็นกระบวนการสร้างและใช้แบบจ�ำลอง น�ำไปปฏิบัติเพ่ือให้เกิดความม่ันคงของสังคมและความยั่งยืน
เชิงบูรณาการแบบเน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมีการน�ำ ของทรพั ยากรธรรมชาตใิ นชุมชนและประเทศ (ภาพที่ 1)
ทศั นคติ แนวความคดิ ความรู้ และประสบการณท์ หี่ ลากหลาย
4 UNISEARCH JOURNAL ปีท่ี 6 ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2562)
แบบจำ� ลองทส่ี รา้ งขนึ้ ภายใตแ้ นวคดิ แบบจำ� ลองเพอื่ นคคู่ ดิ คณะผู้วิจัยจึงเลือกด�ำเนินการศึกษาในพ้ืนที่ป่าชุมชน
มีรูปแบบหลัก ๆ 3 รปู แบบ คือ 1) เกมสวมบทบาทสมมุติ ต�ำบลไหล่น่าน ซึ่งถึงแม้จะเป็นพ้ืนท่ีที่มีการท�ำวิจัย
(role-playing game ซ่ึงผู้ใช้แบบจ�ำลองเล่นสวมบทบาท ทางวทิ ยาศาสตรห์ ลายดา้ น หากแตพ่ บว่ายังมีการบุกรกุ ของ
ผู้ใช้ทรพั ยากรประเภทตา่ ง ๆ หรอื เกมและสถานการณจ์ ำ� ลอง คนนอกตำ� บล มกี ารเกบ็ เกยี่ วทรพั ยากรทม่ี ากเกนิ กำ� ลงั การผลติ
ประเภทต่าง ๆ ทีผ่ เู้ ล่นตัดสนิ ใจเอง) 2) การใชแ้ บบจ�ำลองใน (พงษ์ชยั ดำ� รงโรจนว์ ัฒนา และคณะ, 2559) ในขณะเดยี วกัน
คอมพวิ เตอร์ (computer model) และ 3) รปู แบบผสมผสาน การอพยพของแรงงานบางส่วนกลับเข้ามาในหมู่บ้าน
(computer-assisted model) ซงึ่ ในโครงการนไี้ ดใ้ ชร้ ปู แบบ เน่ืองจากการท�ำงานในเมืองหรือในโรงงานไม่มีความสุขหรือ
เกมสวมบทบาทสมมตุ แิ ละเกมการด์ เนอ่ื งจากมวี ตั ถปุ ระสงค์ ไม่ได้รายได้ตามที่ต้องการ จึงหันกลับมาประกอบอาชีพ
เพ่ือใช้แบบจ�ำลองเป็นเคร่ืองมือรวบรวมองค์ความรู้ต่าง ๆ เกษตรกรรมอีกครั้ง อกี ทง้ั เยาวชนทีก่ ำ� ลงั จะส�ำเรจ็ การศึกษา
และใชง้ านรว่ มกบั ชาวบา้ นและเยาวชน จงึ เนน้ สรา้ งแบบจำ� ลอง บางส่วนยังมีความต้องการท�ำการเกษตรในพื้นท่ีต่อไป จึง
ทีไ่ มซ่ บั ซ้อนและงา่ ยต่อการใชง้ าน ส่งผลให้ความต้องการการใช้ท่ีดินและความต้องการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติจากป่าชุมชนมีมากขึ้น ท�ำให้สถานภาพ
พืน้ ที่ศกึ ษาและกระบวนการจัดการความรู้ ของป่าชุมชนในพ้ืนท่ีมีโอกาสถูกบุกรุกแผ้วถางได้ ในขณะท่ี
คนในพนื้ ทย่ี งั ขาดการดแู ลปา่ ชมุ ชนอยา่ งจรงิ จงั เยาวชนรนุ่ ใหม่
จังหวัดน่าน เป็นจังหวัดหน่ึงท่ีสูญเสียพ้ืนท่ีป่าไม้อย่าง ขาดความรู้ความเข้าใจในบทบาทและความส�ำคัญของ
รวดเรว็ โดยเฉพาะจากการขยายพนื้ ทที่ ำ� การเกษตร ซงึ่ ปา่ ชมุ ชน ปา่ ชมุ ชน ทง้ั ในแงบ่ ทบาททางธรรมชาติ บทบาททางเศรษฐกจิ
เป็นวิธกี ารหนึ่งในการอนรุ ักษ์พ้ืนทีป่ า่ นอกจากน้ัน ปา่ ชมุ ชน และสงั คม และขาดองคค์ วามรใู้ นการใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งถกู ตอ้ ง
ยงั มคี วามสำ� คญั ตอ่ วถิ ชี วี ติ โดยเฉพาะดา้ นเศรษฐกจิ ครวั เรือน
ภาพท่ี 1 แนวคิดการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้โดยใชแ้ บบจ�ำลองเพื่อนคูค่ ิด โดยสรา้ งภาพตัวแทนของระบบ และแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
นำ� ไปสคู่ วามเข้าใจปฏิสัมพันธ์ต่าง ๆ ในระบบ และปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมการใช้ทรัพยากร
ที่มา : ปรับปรุงจาก Trébuil, 2013
UNISEARCH JOURNAL ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2562) 5
เหมาะสมเน่ืองจากไม่ได้สัมผัสและคลุกคลีต้ังแต่เด็ก สว่ นตำ� บลไหลน่ า่ น) ตลอดจนสรา้ งความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ประโยชน์
ประกอบกับองค์ความรู้ในการใช้ประโยชน์ป่าชุมชนยังขาด ดา้ นตา่ ง ๆ ของระบบนิเวศป่าชุมชน และระยะที่ 3 เป็นการ
การรวบรวมอยา่ งเปน็ ระบบ ดงั นน้ั จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งทำ� การศกึ ษา นำ� สง่ องคค์ วามรู้ โดยอบรมตวั แทน องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล
รวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของป่าชุมชนและ (อบต.) และครใู นการใชแ้ บบจำ� ลองและสรา้ งนโยบายสาธารณะ
ถ่ายทอดความรู้ให้แก่เยาวชนรุ่นใหม่ เพ่ือสามารถน�ำไปใช้ ในการจัดการปา่ ชมุ ชนอยา่ งยง่ั ยนื
ประโยชนใ์ นอนาคตได้ โดยเฉพาะกรณีทเี่ กิดวิกฤตเิ ศรษฐกิจ
และเกษตรกรหรอื เยาวชนตอ้ งกลบั มาพง่ึ พาทรพั ยากรธรรมชาติ กจิ กรรมเกมและสถานการณจ์ ำ� ลอง “เกมเกบ็ ของปา่ ”
จากปา่ ชุมชนอกี คร้งั
“เกมเก็บของป่า (Non-timber Forest Product
กระบวนการดำ� เนนิ การวจิ ยั ใชก้ ระบวนการการมสี ว่ นรว่ ม Collection Game)” สรา้ งขึ้นเพอ่ื รวบรวมความรู้เก่ียวกบั
โดยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะแรกมีวัตถุประสงค์ การใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรของปา่ ในพน้ื ทศี่ กึ ษา โดยเลอื ก
เพื่อบง่ ชอี้ งคค์ วามรโู้ ดยรวบรวมผลงานวจิ ยั กอ่ นหนา้ ทำ� วจิ ยั ผักหวานปา่ ไขม่ ดแดง และเหด็ เปน็ ตัวแทนผลผลติ ทีส่ �ำคญั
รว่ มกับชุมชนในภาคสนามโดยการประเมนิ บรกิ ารของระบบ ของป่า รวมทัง้ เปน็ ตวั แทนผผู้ ลิต ผู้บริโภค และผยู้ อ่ ยสลาย
นเิ วศ และสรา้ งนวตั กรรมการเรยี นรู้ (แบบจำ� ลองเชงิ บรู ณาการ ในระบบนิเวศ ตามล�ำดับ และบูรณาการเข้ากับบริการของ
ในรูปแบบเกมและสถานการณ์จ�ำลอง) ระยะที่ 2 เป็น ปา่ ชมุ ชนในดา้ นตา่ ง ๆ (ecosystem services) การสรา้ งเกม
ช่วงการน�ำส่งองค์ความรู้ ผ่านการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ได้สอดแทรกหลักการและความรู้ที่หลากหลาย โดยเฉพาะ
โดยใช้แบบจ�ำลองในรูปแบบเกมและสถานการณ์จ�ำลอง เร่ืองบริการของระบบนิเวศ พลวัตของระบบนิเวศ การเกิด
รวมถงึ การอบรมตา่ ง ๆ เพมิ่ เตมิ เพอื่ ถา่ ยทอดองคค์ วามรแู้ ละ ภัยธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรท่ีเกินก�ำลังการผลิต การใช้
ส่งเสริมการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน ทรัพยากรอย่างย่ังยืน และการอนุรักษ์ป่าชุมชนโดยการมี
ท้องถิ่น (ชาวบา้ น ครู เยาวชน และตวั แทนองค์การบรหิ าร ส่วนร่วมผ่านการพูดคุยแลกเปล่ียนความคิดเห็น (ภาพที่ 2)
ภาพที่ 2 บรรยากาศการใช้ “เกมเก็บของปา่ ” รว่ มกับชาวบา้ นและเยาวชนในต�ำบลไหลน่ ่าน
ทม่ี า : พงษช์ ัย ด�ำรงโรจนว์ ัฒนา ถ่ายเมอ่ื 2561
6 UNISEARCH JOURNAL ปีท่ี 6 ฉบบั ท่ี 2 (พ.ค. - ส.ค. 2562)
การใชเ้ กมมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ใหผ้ เู้ ลน่ ไดเ้ รยี นรเู้ กย่ี วกบั บรกิ าร กจิ กรรมเกมและสถานการณจ์ ำ� ลอง “เกมหลากหลาย
ของระบบนิเวศป่าชุมชน โดยเฉพาะด้านการให้ผลผลิต ณ ไหลน่ า่ น”
ภูมิปัญญาท้องถ่ินในการใช้ประโยชน์ และเรียนรู้เรื่อง
การใช้ทรัพยากรอย่างย่ังยืน ซ่ึงได้ด�ำเนินการใช้เกมผ่าน “เกมหลากหลาย ณ ไหล่น่าน (Diversity@Lainan
การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารจำ� นวน 10 รอบ รว่ มกบั ผเู้ ลน่ ซง่ึ เป็น Game)” มลี กั ษณะเป็นเกมการด์ สร้างขึน้ เพือ่ เป็นเครื่องมือ
ชาวบา้ นในตำ� บล เยาวชนในตำ� บล ครแู ละนกั เรยี นโรงเรยี นสา เรยี นรแู้ ละรวบรวมความรเู้ กยี่ วกบั สง่ิ มชี วี ติ ชนดิ ตา่ ง ๆ (ไดแ้ ก่
และตัวแทน อบต. จ�ำนวนรวม 191 คน โดยการจ�ำลอง ต้นไม้ เหด็ แมลง นก และสัตวเ์ ล้ียงลกู ด้วยน�ำ้ นม) ในระบบ
สถานการณ์ 3 สถานการณ์ ไดแ้ ก่ 1) การใชท้ รพั ยากรตามปกติ นิเวศป่าชุมชนและความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตเหล่านั้น โดย
หรอื ตามความคดิ ของผเู้ ลน่ 2) การเกดิ ไฟปา่ และ 3) การรว่ มกัน อาศัยหลักการทางนิเวศวิทยาและความหลากหลายทาง
สรา้ งแนวกันไฟและบอ่ น�ำ้ ขนาดเลก็ ในป่าชุมชน ชวี ภาพ เกมนอ้ี อกแบบสำ� หรบั การใชง้ านกบั กลมุ่ เยาวชน โดย
เฉพาะนักเรียนซ่ึงไม่ค่อยมีโอกาสในการเข้าไปในป่าชุมชน
ขนั้ ตอนหลกั ของการเลน่ เกม ประกอบด้วย 4 ข้นั ตอน การใช้เกมจึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือเพ่ิมพูนความรู้เก่ียวกับ
เรม่ิ โดย 1) ผนู้ ำ� เกมอธบิ ายความหมายของอปุ กรณต์ า่ ง ๆ และ ความหลากหลายทางชีวภาพและความส�ำคัญของป่าชุมชน
เตรยี มอปุ กรณบ์ นกระดานโดยใสล่ กู ปดั สตี า่ ง ๆ ซง่ึ เปน็ ตวั แทน และการปลูกป่า โดยในงานวิจัยนี้ได้ใช้เกมจ�ำนวน 3 รอบ
ของของปา่ (สเี ขยี วแทนผกั หวานปา่ สสี ม้ แทนไขม่ ดแดง และ กับผู้เล่นซงึ่ เปน็ เยาวชนในตำ� บล ครแู ละนกั เรยี นโรงเรยี นสา
สเี หลอื งแทนเหด็ ) ลงในกลอ่ งจำ� นวน 25 ใบ ซงึ่ ใชเ้ ปน็ ตวั แทน และตัวแทน อบต. จำ� นวนรวม 253 คน (ภาพท่ี 3)
ของพื้นทีป่ า่ ทั้งน้ี เกมหนง่ึ ชุดเหมาะสำ� หรับผู้เล่น 10-15 คน
2) ผเู้ ล่นท�ำการเลน่ เกมสถานการณ์ท่ี 1 โดยตา่ งคนตา่ งเลอื ก ขน้ั ตอนการเลน่ เกมเรม่ิ โดยการแบง่ กลมุ่ ผเู้ ลน่ ออกเปน็
เกบ็ ของป่าตามที่ตนต้องการ 3) บันทึกขอ้ มูลของปา่ ทเ่ี กบ็ ได้ กลมุ่ ย่อย กลุม่ ละ 6-10 คน (อาจเล่นเป็นค)ู่ ทำ� การสลับ (สับ)
และปรับเปลี่ยนผลผลิตของของป่าส�ำหรับปีถัดไป ซึ่งผู้เล่น การด์ ทรพั ยากร และแจกการ์ดให้ผ้เู ล่นคนละ 5 ใบ วางการ์ด
ต้องช่วยกันพิจารณาว่าพ้ืนที่ใดมีการใช้ประโยชน์มากเกินไป ระดับความอุดมสมบูรณ์ของป่าชุมชนระดับ 1 และคอยนับ
หรือไม่ และผลผลิตของทรัพยากรต่าง ๆ ในปีต่อไปจะเป็น จ�ำนวนการ์ดท่ีลงไปแล้วทั้งหมดเพื่อเปล่ียนระดับป่า โดย
อยา่ งไรและ4)อภปิ รายผลการเกบ็ ของปา่ รว่ มกนั โดยแลกเปลยี่ น เงื่อนไขการลงการ์ดทรัพยากรในป่าแต่ละระดับเป็น ดังน้ี
เหตุผลในการตัดสินใจเก็บของป่า จากนั้นเริ่มเล่นเกม ป่าระดับ 1 ลงได้เฉพาะการ์ดทรัพยากรระดบั 1 ปา่ ระดับ 2
สถานการณท์ ่ี 2 โดยสมมตุ ใิ หม้ ไี ฟปา่ เกดิ ขนึ้ ซง่ึ ผเู้ ลน่ สามารถ ลงได้เฉพาะการด์ ทรัพยากรระดับ 1 และ 2 และป่าระดบั 3
สมมุติไดว้ ่าจะให้เกดิ ไฟปา่ กี่ช่อง จากน้ันผู้เลน่ ตอ้ งคิดร่วมกนั ลงการ์ดทรัพยากรได้ทุกระดับ และระดับความอุดมสมบูรณ์
ว่าผลผลิตของป่าในแต่ละช่องมีการปรับเปล่ียน (เพ่ิม-ลด) จะเปลี่ยนแปลงเมื่อการ์ดทรัพยากรในสนามครบ 20 ใบ
อย่างไร พร้อมให้เหตุผล แล้วท�ำการเล่นเกมตามขั้นตอนที่ ป่าจะเปล่ียนเป็นระดับ 2 และเม่ือการ์ดในสนามครบ 40 ใบ
2-4 ขา้ งตน้ จากนนั้ เลน่ เกมสถานการณท์ ่ี 3 โดยผเู้ ลน่ สามารถ ปา่ จะเปลยี่ นเปน็ ระดบั 3จากนนั้ ตกลงวา่ จะเรมิ่ เลน่ ทใ่ี ครแลว้ เลน่
สรา้ งแนวกนั ไฟและสามารถสรา้ งบอ่ นำ�้ ขนาดเลก็ ได้ ซงึ่ ผเู้ ลน่ วนไปทางขวา หรืออาจเริม่ จากผู้เล่นทม่ี กี าร์ดต้นไมร้ ะดับ 1
ตอ้ งพดู คยุ แลกเปลย่ี นเหตผุ ลเพอื่ หาตำ� แหนง่ สรา้ งแนวกนั ไฟ (ในการเร่ิมเล่นเกมน้ันต้องเริ่มต้นด้วยการ์ดต้นไม้ระดับ 1
และสร้างบ่อนำ�้ แลว้ ทำ� การปรบั เปลีย่ นปริมาณผลผลติ ในปา่ เสมอ) เมือ่ ลงการ์ดแลว้ ท�ำการจดคะแนนและหยิบการ์ดจาก
อกี ครงั้ ถา้ จ�ำเปน็ พรอ้ มใหเ้ หตผุ ล เมอ่ื เลน่ ครบ 3 สถานการณ์ กองกลางใหค้ รบ 5 ใบ จากนนั้ ผเู้ ลน่ คนถดั ไปสามารถลงการด์
ใหผ้ นู้ ำ� เกมสรปุ สงิ่ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้โดยอธบิ ายถงึ ปญั หาการเกบ็ ของปา่ ทรัพยากรอื่น ๆ ตามข้อก�ำหนดของการ์ด ในกรณีที่ผู้เล่น
มากเกินก�ำลังผลิตท�ำให้ป่าเสื่อมโทรมลง ซึ่งส่งผลกระทบ ไม่สามารถลงการด์ ไดอ้ าจขา้ มไป หรอื ทำ� การแลกการด์ ทม่ี อี ยู่
ต่อทุกคนในชุมชน ประกอบกับภัยธรรมชาติท่ียากในการ กบั การด์ กองกลางไดค้ รงั้ ละ 1 ใบ ทำ� การรวบการด์ ทรพั ยากร
คาดการณว์ า่ จะเกดิ ขน้ึ บรเิ วณใด ทกุ คนตอ้ งมสี ว่ นรว่ มในการคดิ ไวข้ า้ งสนามเมื่อผเู้ ล่นลงการ์ดครบทั้ง 4 ด้านแลว้ (ต้นไม้ นก
หาแนวทางการจัดการป่าชุมชนเพ่ือให้สามารถใช้ประโยชน์ แมลง และเห็ด) เล่นเช่นนี้เร่ือยไปจนกระท่ังการ์ดกองกลาง
ป่าชมุ ชนอยา่ งยงั่ ยืน มผี ลผลิตไปยังรนุ่ ลูกรนุ่ หลาน หมดจงึ คดิ คะแนนรวม ผทู้ ไ่ี ดค้ ะแนนสงู สุดจะเปน็ ผชู้ นะ เม่อื
เล่นเกมเสร็จแล้ว ให้ผู้เล่นช่วยกันทบทวนความรู้เก่ียวกับ
ส่ิงมชี ีวติ ชนิดตา่ ง ๆ บทบาทหนา้ ท่ีในระบบนเิ วศ ตลอดจน
UNISEARCH JOURNAL ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2562) 7
ภาพท่ี 3 ตัวอยา่ งการ์ด “เกมหลากหลาย ณ ไหลน่ า่ น” และบรรยากาศการใชแ้ บบจ�ำลอง รว่ มกบั นกั เรียนโรงเรยี นสา
ทม่ี า : พงษช์ ยั ด�ำรงโรจนว์ ฒั นา ถ่ายเมอ่ื 2561
ลักษณะการใช้ประโยชน์ และอภิปรายถึงความส�ำคัญของ ผลการเรียนร้แู ละร่างนโยบายสาธารณะ
ระบบนิเวศปา่ ไมต้ ่อสิง่ มีชวี ิตต่าง ๆ และมนษุ ย์
ผลการใช้ “เกมเกบ็ ของปา่ ” ท�ำให้เกดิ การแลกเปล่ยี น
กิจกรรมการเรยี นรู้อื่น ๆ ความรู้ระหว่างผู้ใหญ่และเยาวชน บรรยากาศการเล่นเกม
มีความสนกุ สนาน มกี ารถา่ ยทอดความร้เู กีย่ วกบั ประวัติของ
นอกเหนือจากการใช้เกมเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ ปา่ ชมุ ชนในหมบู่ า้ นสเู่ ยาวชน และถา่ ยทอดภมู ปิ ญั ญาในการใช้
เก่ียวกับการจัดการป่าชุมชนแล้ว คณะผู้วิจัยยังได้ท�ำการ ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรของปา่ ประเภทต่าง ๆ นอกจากนัน้
อบรมการดูนกเบ้ืองต้นให้แก่นักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ การด�ำเนินกิจกรรมของโครงการยังได้รับความสนใจ โดยมี
การอบรมการใช้โปรแกรม GPS Essentials และโปรแกรม ชาวบา้ นจาก 3 หมูบ่ ้าน (บา้ นหมู่ 1, 2 และ 3) จาก 6 หม่บู ้าน
Google Earth Pro เพ่ือสร้างฐานข้อมูลเชิงพ้ืนท่ีของ ในต�ำบลไหล่น่าน ขอให้คณะผู้วิจัยจัดกิจกรรมซ�้ำ 2-3 รอบ
ทรพั ยากรและการวางแปลงถาวรในพนื้ ทปี่ า่ ชมุ ชนบา้ นบญุ เรอื ง เน่ืองจากเห็นว่าเป็นประโยชน์แก่เยาวชนและเป็นโอกาสที่
ขนาด 1 ไร่ (40 x 40 ตารางเมตร) จำ� นวน 1 แปลง (ภาพท่ี 4) ผใู้ หญแ่ ละเดก็ ในตำ� บลจะไดพ้ ดู คยุ เกย่ี วกบั การดแู ลปา่ ชมุ ชน
ซึ่งด�ำเนินการร่วมกับคณะครูและนักเรียนโรงเรียนสา ในอนาคต สำ� หรบั ผลการใชเ้ กม “เกมหลากหลาย ณ ไหลน่ า่ น”
ตวั แทน อบต. และชาวบา้ นบา้ นบญุ เรอื ง เพอื่ เปน็ พน้ื ทเี่ รยี นรู้ ท�ำให้นักเรียนได้รู้จักสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในป่าชุมชนมากข้ึน
ธรรมชาติในอนาคต ได้เรียนรู้ว่าเห็ดชนิดใดสามารถน�ำมาบริโภคได้หรือเห็ด
ชนดิ ใดมพี ษิ และทราบถงึ ความสำ� คญั ของปา่ ชมุ ชนในการเปน็
แหลง่ อาศัยของส่งิ มชี ีวิตต่าง ๆ ซงึ่ เกมนมี้ คี วามสลับซับซ้อน
8 UNISEARCH JOURNAL ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 2 (พ.ค. - ส.ค. 2562)
ภาพท่ี 4 บรรยากาศการวางแปลงถาวร ในพื้นท่ีป่าชุมชนบา้ นบญุ เรอื ง (หมู่ 2) ตำ� บลไหล่น่าน
ทมี่ า : พงษ์ชัย ด�ำรงโรจน์วฒั นา ถา่ ยเม่อื 2561
นอ้ ยกวา่ เกมเกบ็ ของปา่ สามารถใชไ้ ดใ้ นชน้ั เรยี นทม่ี เี วลาจ�ำกดั นอกจากน้ี การด�ำเนินการได้ค�ำนึงถึงความย่ังยืนของ
และใหบ้ รรยากาศทส่ี นกุ สนาน ดงั ที่ Crookall and Thorngate กจิ กรรมตา่ ง ๆ จงึ ไดม้ กี ารรา่ งนโยบายสาธารณะเพอ่ื เขา้ พจิ ารณา
(2009) ได้อธิบายไว้ว่า การใช้เกมและสถานการณ์จ�ำลอง ในท่ีประชุมสภาต�ำบล เพ่ือปรับปรุงแผนพัฒนาสี่ปี อบต.
ก่อใหเ้ กดิ บรรยากาศการเรยี นรู้ สง่ เสรมิ การพดู คยุ แลกเปลยี่ น (พ.ศ. 2561-2564) โดยมีกิจกรรมหรอื โครงการตา่ ง ๆ ดังนี้
ความเข้าใจระหว่างผู้เลน่ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
- โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� รฯิ
ผลจากการใช้เกมและสถานการณ์จ�ำลองและกิจกรรม เพอื่ สนองพระราชดำ� รสิ มเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็
การเรียนรู้อื่น ๆ น�ำไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอนจาก พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
ชั้นเรยี นสู่พ้ืนท่ปี ่าชุมชน โดยนกั เรียนโรงเรยี นสาไดม้ กี ารทำ�
โครงงานวทิ ยาศาสตร์ภายใตว้ ชิ าการคน้ ควา้ อสิ ระ(Independent - การใชเ้ กมและสถานการณจ์ ำ� ลอง เพอ่ื สง่ เสรมิ การเรียนรู้
Study) ตวั อยา่ งโครงงาน เชน่ ความหลากชนิดของพันธุ์ไม้ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตใิ หแ้ กเ่ ยาวชน เพอ่ื พฒั นาเดก็
ในแปลงถาวร การเติบโตของกล้าไม้บางชนิดในแปลงถาวร และเยาวชนไดเ้ รียนรู้เกย่ี วกบั โครงการรักษป์ ่าน่าน
ความหลากชนิดของนกในป่าชุมชนและพื้นที่เกษตร
ความหลากชนิดของไลเคน เป็นตน้ การท�ำโครงงานนที้ ำ� ให้ - การสง่ เสรมิ กจิ กรรมการศกึ ษาของนกั เรยี นผา่ นระบบ
นักเรียนมโี อกาสเรยี นรู้จากพ้นื ทีจ่ รงิ เปน็ การสร้างความรูส้ ึก นิเวศป่าชุมชน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในพ้ืนที่จริงและสร้าง
รักและหวงแหนทรัพยากรในท้องถ่ิน ซึ่งการด�ำเนินการน้ี ความร่วมมือระหว่างท้องถนิ่ กบั โรงเรยี นในเขตพืน้ ที่
สนับสนุนแนวทางการด�ำเนินการของโครงการรักษ์ป่าน่าน
ตามพระราชดำ� ริของสมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จ - การสนับสนุนการท�ำโครงงานการค้นคว้าอิสระของ
พระเทพรตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกมุ ารีใหม้ กี ารจดั การเรยี น นักเรียน เพื่อสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์
การสอนการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรปา่ ไมใ้ นโรงเรยี น เสรมิ สรา้ งความรู้ เทคโนโลยี และสงั คม ผ่านป่าชุมชน
และประสบการณ์ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการ “ปลูกป่าในใจ
เยาวชนน่าน (Planting forests inside the hearts of - การสร้างเส้นทางศึกษาธรรมชาติในป่าชุมชนอย่าง
Nan’s future generations)” (ส�ำนักงานศึกษาธิการ มีส่วนร่วม ระหว่างชุมชนและสถาบันการศึกษา เพ่ือสร้าง
จังหวัดน่าน, 2561) มูลค่าเพิ่มให้กับชุมชน (แหล่งเรียนรู้ธรรมชาติ สังคมและ
วัฒนธรรม และส่งเสรมิ การท่องเทย่ี ว)
- การสรา้ งแปลงถาวรศกึ ษาธรรมชาตใิ นปา่ ชมุ ชนเพมิ่ เตมิ
เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับชุมชนและแหล่งเรียนรู้ให้แก่
สถานศกึ ษาในพื้นที่
UNISEARCH JOURNAL ปที ี่ 6 ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2562) 9
- กจิ กรรม“Trailday”หรอื วนั เรยี นรทู้ รพั ยากรธรรมชาติ นิเวศป่าชมุ ชนมากขึ้น โดยเฉพาะนกั เรียนโรงเรยี นสาทไ่ี ด้ทำ�
ในท้องถ่ิน (ป่าชุมชน) เพ่ือถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับ โครงงานวิทยาศาสตร์หลากหลายหัวข้อ และมีร่างนโยบาย
ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น โดยตัวแทนชุมชน เยาวชน สาธารณะสำ� หรบั การพฒั นาอบต.ไหลน่ า่ นทำ� ใหเ้ กดิ ความยงั่ ยนื
ในต�ำบล และโรงเรียนในพ้ืนท่ี เข้ามาเรียนรู้ ถ่ายทอด ดา้ นการดำ� เนนิ โครงการ ทง้ั น้ี กระบวนการตดิ ตามตรวจสอบ
ภูมปิ ัญญาในการใช้ประโยชนแ์ ละอนรุ ักษ์ของป่า ความส�ำเร็จของโครงการในระยะยาวเป็นส่ิงจ�ำเป็นและ
จะดำ� เนนิ การตอ่ ไป
- การจดั ทำ� ฐานข้อมูลทรัพยากรในป่าชมุ ชน เพอ่ื สร้าง
ฐานข้อมลู ทรพั ยากรในปา่ ชมุ ชน กติ ตกิ รรมประกาศ
บทสรุป บทความน้เี ปน็ ส่วนหนึ่งของผลการศึกษาวจิ ยั โครงการ
“การจดั การองคค์ วามรปู้ า่ ชมุ ชนโดยใชแ้ นวคดิ แบบจำ� ลอง
ป่าชุมชนเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยในการอนุรักษ์ระบบ เพอื่ นคคู่ ดิ : กรณศี กึ ษาตำ� บลไหลน่ า่ น จงั หวดั นา่ น” ซงึ่ ไดร้ ับ
นเิ วศปา่ ไม้ แตพ่ บวา่ องคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั ประโยชนแ์ ละการใช้ ทุนอุดหนุนการท�ำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย
ประโยชนท์ รพั ยากรตา่ ง ๆ ในปา่ ชมุ ชนตำ� บลไหลน่ า่ น อำ� เภอ โครงการจัดการความรู้การวิจัยเพ่ือการใช้ประโยชน์เชิง
เวยี งสา จงั หวดั นา่ น ยงั ขาดการรวบรวมและถา่ ยทอดสเู่ ยาวชน นโยบายสาธารณะ ภายใตโ้ ครงการการจดั การความรกู้ ารวจิ ยั
โครงการน้ีจึงได้สร้างนวัตกรรมการจัดการองค์ความรู้ เพื่อการใช้ประโยชน์ ประจ�ำปี 2561 จากส�ำนักงาน
โดยใชแ้ บบจำ� ลองเชงิ บรู ณาการในรปู แบบและสถานการณจ์ �ำลอง คณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) ทงั้ นี้ ขอขอบคณุ ผชู้ ว่ ยวจิ ยั และ
ภายใต้แนวคิดแบบจ�ำลองเพื่อนคู่คิด ซึ่งผลผลิตที่ส�ำคัญ สมาชิกห้องปฏิบัติการนิเวศวิทยาเขตร้อนและการจัดการ
ด้านการจัดการองค์ความรู้ คือ “เกมเก็บของป่า” และ ทรัพยากรธรรมชาติทุกท่านที่ร่วมงานและน�ำความรู้
“เกมหลากหลาย ณ ไหล่น่าน” เม่ือมีการใช้แบบจ�ำลอง ทางนเิ วศวิทยาไปสร้างประโยชนแ์ ก่ชุมชน
รว่ มกบั ผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกลมุ่ ตา่ ง ๆ ในพนื้ ทแี่ ลว้ ทำ� ใหไ้ ดผ้ ลผลติ
ท่ีสำ� คญั ในพ้นื ทีศ่ กึ ษา คอื เยาวชนมีความสนใจศกึ ษาระบบ
เอกสารอ้างอิง
กรมป่าไม.้ (2537). แนวทางปฏบิ ตั ิงานโครงการพฒั นาปา่ ชมุ ชน. สว่ นป่าชมุ ชน, ส�ำนกั ส่งเสรมิ การปลูกป่า, กรมปา่ ไม้: กรงุ เทพมหานคร.
กรมปา่ ไม้. (2562). ฐานข้อมูลการจดั ตง้ั ปา่ ชุมชน. สว่ นส่งเสรมิ การจดั การปา่ ชุมชน. สืบคน้ เมอื่ 2 พฤษภาคม 2562 จาก http://www.forest.go.th/
community-extension/category/database/
พงษช์ ยั ดำ� รงโรจนว์ ฒั นา, วฒุ วิ งศ์ วมิ ลศกั ดเิ์ จรญิ , กลั ยช์ ฎารตั น์ ปญั ญาวงศ,์ และอศิ ราวลั ย์ หว้ ยหงษท์ อง. (2559). การประเมนิ มลู คา่ ทางเศรษฐศาสตร์
ของผลผลติ จากปา่ ทไ่ี มใ่ ชเ่ นอื้ ไม้ ในพน้ื ท่ี อพ. สธ. อำ� เภอเวยี งสา จงั หวดั นา่ น. รายงานวจิ ยั ทนุ อดุ หนนุ การวจิ ยั จากงบประมาณแผน่ ดนิ ปี 2559.
สำ� นักงานศึกษาธิการจงั หวัดนา่ น. (2561). หลักสูตรรักษ์ป่านา่ น. นา่ น: โรงพมิ พน์ ่านออฟเซต.
Barreteau, O., Bousquet, F., & Attonaty, J. (2001). Role-playing games for opening the black box of multi-agent systems:
method and lessons of its application to Senegal River Valley irrigated systems. Journal of Artificial Societies and Social
Simulation, 4(2): 5. Retrieved from http://jasss.soc.surrey.ac.uk/4/2/5.html
Bousquet, F., & Le Page, C. (2004). Multi-agent simulations and ecosystem management: A review. Ecological Modelling, 16(3-4),
313-332.
Bousquet, F., & Trébuil, G. (2005). Introduction to companion modeling and multi-agent systems for integrated natural resource
management in Asia. In F. Bousquet, G. Trébuil, & B. Hardy (Eds.), Companion modelling and multi-agent systems for
integrated natural resource management in Asia, (pp 1-17). Los Baños, Philippines: International Rice Research Institute.
Crookall, D., & Thorngate, W. (2009). Acting, knowing, learning, simulating, gaming. Simulation and Gaming, 40(1), 8-26.
doi:10.1177/1046878108330364
Etienne, M. (2014). Companion Modelling: A participatory approach to support sustainable development. France: Jointly published
with Quæ and Springer.
Moss, S. (2008). Alternative approaches to the empirical validation of agent-based models. Journal of Artificial Societies and
Social Simulation, 11(1), 5. Retrieved from http://jasss.soc.surrey.ac.uk/11/1/5.html
Trébuil, G. (2013). Introduction to Companion Modelling: Hand-out for companion conceptual modeling training workshop.
27-31 May 2013, GREASE network, Kasetsart University, Bangkok.
10 UNISEARCH JOURNAL ปที ่ี 6 ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2562)