The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน-นายบรรจบ จันทร์สงคราม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bunjob1970, 2022-05-08 05:39:37

รายงานฝึกประสบการณ์ บรรจบ ๙/๕

รายงาน-นายบรรจบ จันทร์สงคราม

การพัฒนาขา้ ราชการครู

และบุคลากรทางการศึกษา

กอ่ นแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่

กจิ กรรมท่ี 3 รองผู้อานวยการสถานศึกษา

สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

การฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษา

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี พชรบูรณ์
วิทยาลัยการอาชพี ชนแดน

นายบรรจบ จนั ทร์สงคราม

กลมุ่ ท่ี 9 เลขท่ี 5

วทิ ยากรพี่เลยี้ ง ผอ.มะณู คมุ้ กล่า และ ผอ.ธีรศกั ด์ิ อรณุ วชั รพันธ์
สานกั พัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ใบงาน สรปุ ผลการฝึกประสบการณ์ในสถานศกึ ษาต้นแบบ
วทิ ยากรพเ่ี ลีย้ ง ผูอ้ ำนวยการมะณู คุ้มกลำ่ และ ผอู้ ำนวยการธรี ศักดิ์ อรุณวัชรพันธ์
ชอื่ -สกลุ ...นายบรรจบ จนั ทร์สงคราม .......... กลุ่มที่.......9..........เลขท…่ี ……5………

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเพชรบรู ณ์

1.ข้อมลู พื้นฐานสถานศึกษา
ความเปน็ มาของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี พชรบูรณ์

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี พชรบูรณ์ เดิมชอ่ื วิทยาลยั เกษตรกรรมเพชรบูรณ์ ไดก้ ่อต้ังเมอ่ื วนั ที่ 1 มกราคม
2522 โดยมนี ายปัญจะ เกสรทอง ซ่งึ ในขณะนัน้ ได้ ดำรงตำแหนง่ สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร (ส.ส.) จังหวัดเพชรบูรณ์
เป็นผู้ให้การสนับสนุน และผลักดันด้านงบประมาณ ให้มีการจัดตั้งวิทยาลัยเกษตรฯ ขึ้นในปีนี้ ซึ่งเป็นปีเกษตรกร
ปัจจบุ นั วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี พชรบูรณ์ มจี ำนวนผู้บริหารครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ทง้ั ส้นิ 57 คน ปี
การศึกษา 2565 และมนี ักศกึ ษาระดับ ปวช. และ ปวส. จำนวน 664 คน

ขนาดและทีต่ ้ัง
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ ตง้ั อยเู่ ลขที่ 157 หมู่ 5 ตำบลบงุ่ คล้า อำเภอหล่มสัก จังหวดั เพชรบูรณ์
67110 หรือ ตู้ ปณ.25 อ.เมอื ง จ.เพชรบรู ณ์ 67000 มพี ืน้ ที่ท้งั หมดประมาณ 1,603 ไร่ พื้นที่สว่ นใหญ่เปน็ ที่ราบลมุ่
การติดต่อส่ือสาร โทรศัพท์สำนักงาน 0-5691-3076 โทรสาร 0-5691-3077สารบรรณ อิเลก็ ทรอนิกส์
Phetchabun02 เว็บไซต์ www.pbcat.ac.th อเี มล์ [email protected], [email protected]
ปรชั ญา วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ ของสถานศึกษา

ปรชั ญา
“การศกึ ษาดี มคี ุณธรรม นำสงั คม”
- การศกึ ษาดี – วิทยาลัยฯ จะจัดการเรยี นการสอนและฝกึ อบรมให้ผูเ้ รียน เปน็ ผทู้ ี่มีความรู้ดี มี
ความสามารถในทักษะวชิ าชีพท่ีดี สามารถทีจ่ ะพฒั นาตนใหม้ คี วามพร้อม เพอ่ื อนาคตอันสดใส ด้วย
กระบวนการบริหารจัดการทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ
- มีคณุ ธรรม – วทิ ยาลยั ฯจะจัดการเรียนการสอนและฝกึ อบรมใหผ้ ู้เรยี นมคี ุณธรรมจรยิ ธรรมท่ีดี และมี
คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคต์ ามความต้องการของสังคม
- นำสงั คม – ผู้จบการศกึ ษาจากวิทยาลัยแล้ว สามารถนำวิชาความรู้ ความสามารถทางทักษะวชิ าชพี ไป
ใชใ้ นการประกอบอาชพี สามารถพัฒนาเครอื ข่ายการเรียนรอู้ ยา่ งยั่งยนื เปน็ ผนู้ ำทางความคดิ และสามารถพฒั นา
คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ใี หช้ มุ ชนเข้มแข็งและม่นั คง

วิสยั ทัศน์
เป็นแหลง่ วิชาการ บรกิ ารวชิ าชพี จัดการศึกษาทม่ี ีคุณภาพและมาตรฐานสปู่ ระชาคมอาเซียน

พนั ธกิจ
1. จัดการศึกษาและบริการวชิ าชีพใหม้ คี ุณภาพมาตรฐานสปู่ ระชาคมอาเซยี น
2. เสริมสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาให้แก่ประชาชนอยา่ งทว่ั ถึงและเทา่ เทยี ม
3. พัฒนาระบบการบริหารจัดการอาชีวศกึ ษาเกษตรตามหลักธรรมาภบิ าลและส่งเสรมิ การมี ส่วนรว่ ม

ทกุ ภาคสว่ น

2. ข้อมลู คา่ นยิ ม วฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม มกี ารปลกู พืชไรจ่ ำพวกข้าวโพดเลย้ี งสัตวม์ ากที่สุด การทำสวน

มะขามหวาน ปลูกยาสบู และพืชผักผลไม้เมืองหนาว ระบบสาธารณปู โภค อยใู่ นระดับพอใช้ การจดั การศึกษา มี
ต้ังแตร่ ะดับอนบุ าลถึงอดุ มศึกษา การคมนาคมเดนิ ทางไปมาสะดวก

3. วเิ คราะหบ์ ริบทสถานศกึ ษา
จุดเด่น
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ มีพืน้ ท่ีทงั้ หมดประมาณ 1,603 ไร่ มรี ะบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน

นกั ศกึ ษา และแนะแนวผู้เรยี นใหส้ ำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรทก่ี ำหนดที่มีประสทิ ธภิ าพ มคี วามรูค้ วามสามารถ มี
ทักษะวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ที่ดีงาม เป็นที่พึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน ภาครัฐ
ภาคเอกชน ชุมชน สงั คม และ ได้เข้ารว่ มการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ของ อกท. มผี ลงานท่เี ป็นนวตั กรรมสิ่งประดิษฐ์
งานวิจยั ของนกั เรียนนักศกึ ษา ทไี่ ด้นำไปใช้ประโยชน์ และเผยแพร่ในระดับภาค และระดบั ชาติ
จุดด้อย

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี พชรบรู ณ์ ได้ดำเนนิ การจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ ปี 2524 ถงึ ปัจจุบนั เปน็
เวลา 38 ปี โดยมกี ารพฒั นาในด้านต่าง ๆ มาเปน็ ลำดบั

ประเด็นการศกึ ษา สถานศกึ ษาต้นแบบ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์
1. กลยุทธในการขับเคลอ่ื น Future Skill ของสถานศึกษา
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์มีการดำเนินการพฒั นาหลักสูตรระยะส้ันของสถานศึกษา (New

Skill) โดยครูและบุคลากรทางการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในระบบการศึกษายกกำลังสอง ของ
กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งในปกี ารศึกษา 2565 หลักสูตรที่เปิดสอน ภาคปกติ (ปวช.) (ปวส.) ศูนย์การเรยี นและอศ.

กช. ที่เปิดสอนนอกจากวิทยาลัยฯ (จันทร์-ศุกร์) ซึ่งเป็นหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ
สอดคล้องกับบริบทของเศรษฐกิจ สงั คม ชมุ ชน เทคโนโลยี และโลกาภวิ ัตน์ ซึ่งมดี ำดับข้ันตอนการดำเนนิ งาน ดงั นี้

1. ประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจ กำหนดเป้าหมายร่วม “การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นสถานศึกษา”
กำหนดเกณฑ์ เง่อื นไข ในการดำเนนิ งาน เชน่ จำนวนหลักสตู ร จำนวนช่ัวโมงต่อหลักสูตรผู้เขา้ รับการอบรม ตอ่ คร้ัง
ท่จี ัด (P)

2. ศึกษา สำรวจ ความต้องการของผรู้ ับบรกิ าร และชมุ ชน (D)
3. ศกึ ษาเอกสารทเี่ ก่ยี วข้องกบั หลกั สตู รทต่ี ้องการพัฒนา ความสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทด้านต่าง ๆ (D)
4. พฒั นาหลกั สตู ร (D)
5. หาความเช่อื มนั่ โดยนำหลักสูตรใหผ้ ทู้ รงคุณวุฒิตรวจสอบและเหน็ ชอบ (C)
6. เสนอขออนมุ ัติหลักสูตร (D)
7. นำหลักสตู รไปใชใ้ นการจดั อบรม โดยดำเนนิ การตามขนั้ ตอนการจัดอบรมระยะส้ัน

7.1 กำหนดวัน เวลา สถานท่ใี นการจดั อบรม (ตารางอบรม) (D)
7.2 ประชาสัมพนั ธ์/ประกาศรบั สมคั รผู้เข้ารับการอบรม (D)
7.3 จัดอบรม (D)
7.4 ประเมินผล และประเมินความพงึ พอใจตอ่ การจดั อบรม (C)
7.5 สรุปและรายงานผลการดำเนินการจดั อบรม (A)

2. การสร้างความเข้มแข็งของระบบความร่วมมอื กบั สถานประกอบการ
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ ได้กำหนดเป้าหมายของผู้เรียนและความร่วมมือของสถาน

ประกอบการ เพ่ือสง่ เสริม สนับสนนุ การพฒั นาการจัดการศกึ ษาระบบทวภิ าคี ให้สอดคล้องกับบรบิ ทของพน้ื ที่ ผลิต
และพัฒนากำลังคนให้มีคุณภาพ ทั้งด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณธรรม จริยธรรม ยกระดับกำลังคน
ผู้สำเร็จการศึกษาให้มีสมรรถนะสูงขึ้น ทั้งในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
บุคลากรของสถานศึกษา ครฝู กึ ของสถานประกอบการ รว่ มกบั สถานประกอบการ หน่วยงานภาครฐั เอกชน โดยมี
โครงการต่างๆ ในแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี ดงั น้ี

โครงการ จดั การศึกษาสำหรบั ผู้มีอาชพี ผู้มีงานทำ
โครงการ ความร่วมมือจัดการศกึ ษาเสรมิ วชิ าชีพระหว่างวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์

กบั โรงเรยี นสังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาเพชรบรู ณ์
โครงการ การจัดการเรยี นการสอนอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี
โครงการ ศนู ย์การเรยี นรโู้ ครงการชีววถิ ีเพอ่ื การพฒั นาอย่างยงั่ ยนื
โครงการ งานกจิ กรรมนกั เรียนนักศกึ ษา

จากโครงการดังกล่าง ที่ได้กำหนดในแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา พร้อมทั้งการสนับสนุน
สง่ เสริมของผู้บริหาร

3.ระบบการบริหารจดั การสู่คุณภาพ
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเพชรบรู ณ์ มีจำนวนบคุ ลากรทางการศึกษาอย่างจำกัดและครุภณั ฑท์ างการศกึ ษาไม่
เพยี งพอตอ่ จำนวนนกั เรยี นนักศึกษา และไมท่ นั สมยั ไมท่ นั ต่อเทคโนโลยใี นปัจจุบนั ในดา้ นงบประมาณและ
ทรัพยากรอ่ืนกไ็ ม่เพียงพอตอ่ จำนวนนกั เรยี นนกั ศึกษาในการจดั การศกึ ษาอย่างมีคณุ ภาพ ซ่งึ ไดม้ าจากการทุ่มเท
เสียสละ อุทิศเวลา ใหแ้ ก่งานการจดั การเรียนการสอน และการจดั กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน ของผบู้ ริหาร ครู และ
บุคลากรทางการศึกษาไดร้ บั เกียรติประวตั ขิ องสถานศกึ ษา

1 ชนะเลิศอนั ดบั ที่ 1 ระดบั เหรียญทอง ทกั ษะบญั ชีฟาร์ม ในการประชมุ วิชาการ อกท. ระดับชาติ ครงั้
ท่ี 35 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุบลราชธานี

2 ชนะเลิศอันดบั ที่ 5 ระดบั เหรยี ญทอง ทกั ษะศลิ ปะประดษิ ฐ์ ในการประชมุ
วิชาการ อกท. ระดับชาติ ครัง้ ท่ี 35 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยอี บุ ลราชธานี

3 ชนะเลศิ อันดบั ท่ี 6 ระดับเหรยี ญเงิน ทักษะการพดู ในทช่ี มุ ชน ในการประชุม
วิชาการ อกท. ระดับชาติ ครง้ั ที่ 35 ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยอี ุบลราชธานี

4 ชนะเลิศอันดับที่ 1 ระดบั เหรยี ญทอง ทกั ษะบญั ชีฟารม์ ในการประชมุ วิชาการ อกท.
ระดบั ภาค ภาคเหนือ คร้ังที่ 35 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยพี ะเยา

5 ชนะเลศิ อนั ดับที่ 1 ระดับเหรียญทอง ทักษะการพดู ในทีช่ มุ ชน ในการประชุมวชิ าการ อกท. ระดบั
ภาค ภาคเหนือ ครงั้ ที่ 35 ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา

6 ชนะเลิศอนั ดับท่ี 1 ระดบั เหรยี ญทอง ทักษะการจดั สวนถาด ในการประชมุ วิชาการ อกท. ระดับ
ภาค ภาคเหนอื ครั้งที่ 35 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยพี ะเยา

7 ชนะเลิศอันดับท่ี 1 ระดับเหรียญเงนิ ทกั ษะการจดั สวนในภาชนะแกว้ ใส ในการประชุม
วิชาการ อกท. ระดบั ภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 35 ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยพี ะเยา

8 ชนะเลิศอันดบั ที่ 3 ระดับเหรยี ญทอง ทกั ษะศิลปะประดิษฐ์ ในการประชุมวชิ าการ อกท. ระดบั
ภาค ภาคเหนอื ครงั้ ที่ 35 ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยพี ะเยา

9 ชนะเลิศอนั ดบั ท่ี 3 ระดับเหรียญทอง ทกั ษะการสาธติ ทางวิชาชีพ ในการประชมุ วิชาการ อกท. ระดับ
ภาค ภาคเหนือ คร้งั ที่ 35 ณ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี ะเยา

4.การขับเคล่ือนระบบงานวิชาการ
ลงนามความรว่ มมือ (MOU) กับสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาในจงั หวัดเพชรบูรณ์ดำเนนิ โครงการจัดการ

เรียนการสอนรายวิชาปรับพน้ื ฐานหลากหลายสาขาใหก้ ับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย เพ่ือนำผลการ
อบรมไปเทียบโอนเป็นวชิ าปรับพ้ืนฐาน สำหรับการศกึ ษาตอ่ หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) โดยไม่
ต้องเสยี เวลาเรียนวชิ าปรับพื้นฐานในรายวิชาท่ีผ่านการเรียน “ห้องเรียนอาชพี ” นอกเหนือจากได้รับความรู้ทักษะ
ในรายวิชาท่ีฝกึ อบรม ซ่งึ มีการดำเนนิ งานตามลำดับ ดังน้ี

1. ประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจ กำหนดเป้าหมายร่วม กำหนดเกณฑ์ เงื่อนไข ขั้นตอนในการดำเนินงาน
(P)

2. ศึกษาคำอธบิ ายรายวิชาปรับพืน้ ฐาน หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้ันสูง (ปวส.) (D)
3. พัฒนาหลักสูตร ให้สอดคลอ้ งกบั คำอธบิ ายรายวิชาปรบั พ้นื ฐาน (D)
4. หาความเชื่อม่นั โดยนำหลกั สูตรให้ผูท้ รงคณุ วุฒิตรวจสอบและเหน็ ชอบ (C)
5.เสนอขออนมุ ตั หิ ลักสูตร (D)
6.ประชาสมั พันธ์รายละเอียดเกี่ยวกับ “ห้องเรียนอาชพี ” ทกุ ชอ่ งทางกับกับสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา
ในจังหวดั เพชรบรู ณ์
7.สถานศึกษาลงนามความร่วมมือ (MOU) กับสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดเพชรบูรณ์ ดำเนิน
โครงการ “ห้องเรียนอาชีพ”
8.นำหลกั สูตร “ห้องเรยี นอาชีพ” ไปใช้ในการจัดอบรม โดยดำเนินการตามขั้นตอนการจดั อบรมระยะสัน้
9.กำหนดวนั เวลา สถานที่ในการจดั อบรม (ตารางอบรม) (D)
10.ประชาสมั พันธ์/ประกาศรับสมคั รผเู้ ขา้ รับการอบรม (D)
11.จัดตามแผนการอบรม (D)
12.ประเมินผลการจัดอบรม และผลการเรียน “ห้องเรียนอาชีพ” และประเมินความพึงพอใจต่อการจัด
อบรม (C)

วิทยาลัยการอาชีพชนแดน

1.ข้อมูลพื้นฐานสถานศกึ ษา
ประวัติสถานศึกษาโดยสังเขป
วทิ ยาลัยการอาชพี ชนแดน จงั หวดั เพชรบูรณ์ ไดร้ บั ความรว่ มมอื จากชมุ ชนในพืน้ ที่ท่ีตระหนักถึง

ความสำคญั ของการศกึ ษาและประโยชนเ์ ก่ยี วกบั การศกึ ษาทจ่ี ะเกิดขึ้นในชุมชน จงึ ได้มอบท่ีสาธารณะประโยชน์
จำนวน ๒๐๐ ไร่ ใหก้ ับกรมอาชีวศกึ ษาในตอนนน้ั เพ่ือเป็นสถานทกี่ ่อสรา้ งวิทยาลยั การอาชีพชนแดน เมอ่ื
วนั ท่ี 10 กรกฎาคม 2540 ตั้งอยบู่ นทางหลวงหมายเลข 113 ตะพานหิน –หลม่ สกั กิโลเมตรท่ี 55 บ้านโคก
เจริญ เลขท่ี 115 /3 หม่ทู ี่ 13 ตำบลชนแดน อำเภอชนแดน จงั หวดั เพชรบรู ณ์ 67150

การจดั การศึกษา
- ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี
- ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้สูง
- ระดบั หลกั สูตรระยะส้ัน
- หลักสูตรทวศิ ึกษาร่วมกบั สพฐ. สพม.

สภาพชุมชน เศรษฐกจิ และสังคมของสถานศกึ ษา
อำเภอชนแดนตงั้ อยทู่ างตะวันตกของจงั หวัด มีอาณาเขตตดิ ตอ่ กบั อำเภอขา้ งเคยี ง ดังนี้ทิศเหนอื ติดตอ่ กับ
อำเภอวงั โป่ง มคี ลองลำไมล้ ายเปน็ เสน้ แบ่งเขต ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกับอำเภอเมอื งเพชรบูรณแ์ ละ อำเภอหนองไผ่
ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับอำเภอหนองไผ่ อำเภอบึงสามพัน (จังหวดั เพชรบรู ณ์) อำเภอหนองบวั (จังหวัดนครสวรรค)์ และ
อำเภอดงเจรญิ (จงั หวัดพจิ ติ ร) ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอดงเจรญิ และอำเภอทับคลอ้ (จงั หวัดพิจิตร)

2. ขอ้ มลู คา่ นิยม วฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ
อำเภอชนแดนต้งั อยทู่ างตะวนั ตกของจังหวัด มีอาณาเขตตดิ ต่อกบั อำเภอข้างเคยี ง ดงั น้ีทิศเหนือ ติดต่อกับ

อำเภอวงั โปง่ มคี ลองลำไมล้ ายเป็นเสน้ แบ่งเขต ทิศตะวนั ออก ติดต่อกบั อำเภอเมืองเพชรบูรณ์และ อำเภอหนองไผ่
ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอหนองไผ่ อำเภอบึงสามพัน (จังหวัดเพชรบูรณ์) อำเภอหนองบัว(จังหวัดนครสวรรค์) และ
อำเภอดงเจริญ (จังหวดั พิจิตร) ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กับอำเภอดงเจรญิ และอำเภอทับคล้อ (จงั หวัดพจิ ิตร)
ปรัชญา อัตลกั ษณ์ เอกลักษณ์ ของสถานศกึ ษาได้แก่

ปรชั ญาวทิ ยาลัย

เรยี นเด่น เปน็ ผูม้ คี วามรู้ความสามารถในการเรียน
เนน้ คุณธรรม เป็นผู้มคี วามประพฤติดี
ล้ำเลิศทักษะ
เปน็ ผมู้ ฝี ีมือในการ

วสิ ยั ทัศน์
ส่งเสรมิ พัฒนาผ้เู รียน บคุ ลากร เนน้ สารสนเทศ สรา้ งสรรค์นวตั กรรมบริการสังคม สร้างบรรยากาศการเรยี นรู้

เอกลกั ษณ์

บริการเดน่ เนน้ คุณธรรม

พันธกิจ

1. ผลิตและพัฒนากำลงั คนสายอาชพี ให้ มคี ุณภาพตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา

2. บรหิ ารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาสนองความต้องการของผู้เรียนอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
3. สร้างความร่วมมือกบั บุคคล ชุมชน องคก์ รต่าง ๆให้เข็มแขง็ อย่างตอ่ เนอ่ื ง
4.บริหารจดั การดา้ นนวตั กรรม สง่ิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ัย ของสถานศกึ ษา อย่างตอ่ เนือ่ ง
5. การบริหารจัดการสถานศกึ ษาตามแนวทางสถานศกึ ษาคุณธรรม

3. วเิ คราะหบ์ ริบทสถานศึกษา
จุดเด่น
วิทยาลยั การอาชีพชนแดนมีความมุ่งม่ันและต้งั ใจบรหิ ารจดั การสถานศึกษาโดยยึดหลักการบริหารงานแบบ

มสี ่วนร่วมไดด้ ำเนินงานตามนโยบายสำคัญของหนว่ ยงานต้นสงั กัดมุ่งเนน้ การจัดการศึกษาใหไ้ ดม้ าตรฐานและมี
คุณภาพ ทงั้ ในดา้ นคุณภาพผูเ้ รียน ด้านวิชาการ ดา้ นบรหิ ารจดั การ ด้านการบริหารบุคลากรและการสร้าง
ความสมั พนั ธก์ ับชมุ ชนโดยไดน้ ำกระบวนการบรหิ ารงานตามแบบวงจรคุณภาพ PDCA มาเป็นแนวทางในการ
ปฏบิ ตั ิงาน สนับสนุน สง่ เสรมิ การจัดกจิ กรรมของผูเ้ รียน

จดุ ด้อย
วิทยาลัยการอาชีพชนแดน ควรเพิ่มบุคลากรเพ่ือให้สอดคล้องกับจำนวนนักเรียนนักศึกษาและควรพัฒนา
บุคลากร ให้มีความรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อใหส้ อดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ตามจุดเน้นท่ีอาชีวศึกษามุ่งจัด
การศึกษาเพื่อมีงานทำและสร้างนวัตกรรมตามความต้องการของพืน้ ทีช่ ุมชนภูมิภาคหรือประเทศ รวมทั้งการเปน็
ผู้ประกอบการและพฒั นาภาษาองั กฤษให้แกบ่ ุคลากรมากขึน้

ประเด็นการศึกษา สถานศกึ ษาต้นแบบ วทิ ยาลัยการอาชพี ชนแดน
1. กลยุทธในการขบั เคลอ่ื น Future Skill ของสถานศึกษา
วทิ ยาลยั การอาชีพชนแดน ภายไตก้ ารบริหารงานของท่านผอู้ ำนวนการ ผอ.บญุ ลอื อย่คู ง พร้อมทง้ั ความร่วมมือ

ของคณะผ้บู รหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ได้ขับเคลอื่ น Future Skill ของสถานศึกษาในทกุ ด้านทีเ่ ปิดการ
เรียนการสอนในระบบปกติ และระบบทวภิ าคี และระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชัน้ สงู (ปวส.) ปีการศกึ ษา 2564
วทิ ยาลยั การอาชีพชนแดนไดข้ ับเคล่อื น Future Skill ของสถานศกึ ษา โดยทำการจัดการเรยี นการสอนได้จัดการ
หอ้ งเรยี นร่วมกบั สพม. จัดการเรยี นระบบทวิภาคี แกนมัธยม ระยะส้นั ตอ่ ยอดนวัตกรรมสูช่ มุ ชน มกี ารทำ MOU กบั
สถานประกอบการณ์กับงานทวภิ าคแี ละทำMOUกบั โรงเรียนในเครอื ข่ายในการจดั การเรียนการสอนระยะสน้ั มีการ
ตอ่ ยอดนวัตกรรมสถานศกึ ษารว่ มกับชุมชนโดยดำเนินการในรปู แบบFix it center โดยมีข้นั ตอนดำเนินการดงั น้ี

1.1) ประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจ กำหนดเป้าหมายร่วม “การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นสถานศึกษา”
กำหนดเกณฑ์ เงื่อนไข ในการดำเนินงาน เช่น จำนวนหลักสูตร จำนวนชั่วโมงตอ่ หลักสูตร ผู้เข้ารับ
การอบรมต่อครั้งที่จดั (P)

1.2) ศกึ ษา สำรวจ ความต้องการของผรู้ ับบรกิ าร และชมุ ชน (D)
1.3) ศกึ ษาเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกบั หลกั สูตรที่ต้องการพฒั นาความสอดคลอ้ งกับบรบิ ทดา้ นต่าง ๆ (D)
1.4) พฒั นาหลักสตู ร (D)
1.5) หาความเชือ่ ม่ันโดยนำหลกั สูตรให้ผ้ทู รงคุณวุฒิตรวจสอบและเหน็ ชอบ (C)
1.6) เสนอขออนุมัติหลักสตู ร (D)
1.7) นำหลักสตู รไปใช้ในการจดั อบรม โดยดำเนินการตามข้นั ตอนการจดั อบรมระยะสั้น

1.7.1) กำหนดวนั เวลา สถานท่ใี นการจดั อบรม (ตารางอบรม) (D)
1.7.2) ประชาสัมพนั ธ์/ประกาศรับสมัครผู้เข้ารบั การอบรม (D)
1.7.3) จัดอบรม (D)
1.7.4) ประเมนิ ผล และประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ การจัดอบรม (C)
1.7.5) สรปุ และรายงานผลการดำเนินการจดั อบรม (A)

2. การสร้างความเข้มแข็งของระบบความร่วมมือกับสถานประกอบการ
วทิ ยาลยั การอาชพี ชนแดนได้กำหนดเป้าหมายของผู้เรยี นและความร่วมมือของสถานประกอบการ เพื่อส่งเสริม
สนับสนุนการพัฒนาการจัดการศึกษาระบบทวภิ าคี ให้สอดคล้องกับบรบิ ทของพื้นที่ ผลิตและพัฒนากำลังคนให้มี
คุณภาพ ทั้งด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณธรรม จริยธรรม ยกระดับกำลังคนผู้สำเร็จการศึกษาให้มี
สมรรถนะสงู ข้นึ ทั้งในระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ชนั้ สงู สอดคลอ้ งกับกรอบคุณวุฒิ
อาชีวศึกษาแห่งชาติ ในการเตรียมความพร้อมของผู้เรียนเข้าฝึกอาชีพ บุคลากรของสถานศึกษา ครูฝึกของสถาน

ประกอบการ ร่วมกบั สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน โดยมีโครงการตา่ งๆ ในแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี
และโครงการต่างๆ

โดยมลี ำดับขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน ดังน้ี
2.1) สถานศึกษาจัดทำแผนพฒั นาสถานศึกษา (P)
2.2) สถานศึกษาจดั ทำโครงการตามแผนพฒั นาฯ (P) เพอ่ื ขอรับการจดั สรรงบประมาณ
2.3) ดำเนินงานตามโครงการ (D)
2.4) ติดตาม ตรวจสอบ นิเทศ (ให้คำปรกึ ษาแก่ทมี งาน) โดยคณะผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา (C)
2.5) รายงานผลการดำเนินโครงการต่อองค์การบริหารส่วนจังหวัดในลักษณะเอกสารรูปเล่มที่ผ่านการ

ตรวจสอบความถกู ต้องจากเจ้าหนา้ ที่ผูร้ บั ผิดชอบขององคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั เรยี บรอ้ ยแล้ว (A)

3.ระบบการบริหารจัดการสู่คณุ ภาพ
สถานศึกษามีครูทมี่ คี ุณวฒุ กิ ารศกึ ษาและจํานวน ตามเกณฑท์ ่ีกําหนด ใช้หลักสตู รฐานสมรรถนะใน

การจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผ้เู รยี นเปน็ สําคญั และบรหิ ารจดั การทรพั ยากรของแผนกไฟฟ้ากำลังอย่างมี
ประสทิ ธิภาพ มีความสําเรจ็ ในการดําเนินการตามนโยบายสาํ คัญของหน่วยงานต้นสังกดั หรอื หน่วยงานท่ี
กาํ กับดูแลสถานศกึ ษามีครูทีม่ คี ุณวฒุ ิการศกึ ษาและมีจํานวนตามเกณฑ์ท่ีกําหนด ได้รับการพฒั นาอย่างเปน็
ระบบ ต่อเน่ือง เพ่อื เป็นผู้พร้อมทงั้ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและความเข็มแข็งทางวิชาการและวชิ าชีพ
จดั การเรียนการสอนทีเ่ น้น ผู้เรียนเป็นสาํ คญั ตอบสนองความต้องการของผู้เรยี นทง้ั วยั เรียนและวัยทาํ งาน
ตามหลักสูตร มาตรฐานคุณวฒุ ิ อาชีวศกึ ษาแต่ละระดับการศกึ ษา ตามระเบยี บหรอื ข้อบังคับเก่ียวกับ การ
จัดการศกึ ษาและการประเมนิ ผลการเรยี นของ แต่ละหลกั สูตร ส่งเสรมิ สนบั สนุน กาํ กบั ดแู ลให้ครูจัดการ
เรียนการสอนรายวิชาให้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ โดยมีลำดบั ข้นั ตอนการดำเนินงาน ดงั นี้
3.1) มีการประกาศนโยบาย วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ และเปา้ หมายร่วมของวิทยาลยั ในดา้ นการจัดการเรยี น

การสอน การพัฒนาผเู้ รยี น และการพฒั นาวิทยาลัย เพือ่ กำหนดทศิ ทางการดำเนนิ งาน ให้ครูและ
บุคลากรทราบ (P)
3.2) มีการประชุมชี้แจง กำหนดงาน ทีมงาน และมอบหมายงาน (งานการเรียนการสอน งานตาม
โครงการสร้างการบริหารสถานศึกษา งานโครงการ ที่สอดคล้องกับนโยบาย และ เกณฑ์การ
ประเมนิ ) (P)
3.3) มกี ารเขยี นโครงการ เสนอขออนมุ ัติ (D)
3.4) มีการดำเนนิ งานตามโครงการ (D)
3.5) มกี ารนเิ ทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ช่วยเหลือ โดยคณะผู้บรหิ าร (C)
3.6) มกี ารรายงานสรุปผลการดำเนนิ งานตามโครงการ (A)

3.7) มีการรวบรวมข้อมลู สารสนเทศ และอ่ืน ๆ เตรยี มรับการประเมนิ
เกียรติประวตั ิของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ รางวัลและผลงานของสถานศกึ ษา ครูและบคุ ลากรทางการ

ศึกษาผเู้ รยี น ซง่ึ เป็นทยี่ อมรบั ของสถานศึกษา
4. การขับเคลื่อนระบบงานวชิ าการ
สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อนสถานศึกษาคุณธรรมให้เป็นรูปธรรมให้มีการพัฒนา

ศักยภาพศูนย์บม่ เพาะผูป้ ระกอบการอาชีวศึกษา โดยผบู้ ริหาร ครู บคุ ลากรทางการศึกษา ผ้เู รยี น หรอื ร่วมกบั

บุคคล ชุมชน หน่วยงานต่างๆ ที่สามารถนำไปใช้ประกอบอาชีพอิสระ อาชีพเสริม ได้หลังสำเร็จการศึกษา

และเลยแพรส่ ูช่ มุ ชน ทอ้ งถิ่น หอ้ งเรียน หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารท่ีมีระบบอินเทอรเ์ นต็ ความเร็วสงู ในการ จัดการเรียน

การสอน เชิงคุณภาพ : ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในการจัดการเรียนการ

สอนและมีคุณภาพ นอกเหนือจากได้รับความรู้ทักษะในรายวิชาที่ฝึกอบรม ซึ่งมีการดำเนินงานตามลำดับ

ดังนี้

4.1) ประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจ กำหนดเป้าหมายร่วม “ห้องเรียนอาชีพ” กำหนดเกณฑ์ เงื่อนไข
ขั้นตอนในการดำเนินงาน (P)

4.2) ศึกษาคำอธิบายรายวิชาปรบั พ้นื ฐาน หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) (D)
4.3) พัฒนาหลกั สูตร “ห้องเรียนอาชีพ” ให้สอดคล้องกับคำอธบิ ายรายวิชาปรบั พืน้ ฐาน (D)
4.4) หาความเชอ่ื ม่นั โดยนำหลกั สตู รให้ผู้ทรงคุณวุฒติ รวจสอบและเห็นชอบ (C)
4.5) เสนอขออนมุ ัตหิ ลกั สูตร (D)
4.6) ประชาสัมพันธ์รายละเอียดเกี่ยวกับ “ห้องเรียนอาชีพ” ทุกช่องทางกับกับสถานศึกษาระดับ

มธั ยมศึกษาในจงั หวดั กำแพงเพชร
4.7) สถานศึกษาลงนามความร่วมมือ (MOU) กับสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดกำแพงเพชร

ดำเนนิ โครงการ “ห้องเรยี นอาชีพ”
4.8) นำหลักสตู ร “ห้องเรยี นอาชีพ” ไปใช้ในการจัดอบรม โดยดำเนินการตามขน้ั ตอนการจัดอบรมระยะ

สั้น
4.8.1) กำหนดวัน เวลา สถานที่ในการจัดอบรม (ตารางอบรม) (D)
4.8.2) ประชาสัมพันธ/์ ประกาศรับสมคั รผูเ้ ข้ารับการอบรม (D)
4.8.3) จัดอบรม (D)
4.8.4) ประเมินผลการจัดอบรม และผลการเรียน “ห้องเรียนอาชีพ” และประเมินความพึงพอใจ

ต่อการจดั อบรม (C)
4.8.5) สง่ ผลการเรยี นใหง้ านทะเบียนจัดทำเอกสารรบั รองผลการเรยี น

ภาคผนวก

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี พชรบรู ณ์



วทิ ยาลยั การอาชีพชนแดน



การพัฒนาข้าราชการครู

และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

กอ่ นแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหนง่
รองผ้อู านวยการสถานศึกษา

สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา


Click to View FlipBook Version