The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการความรู้-KM เรื่อง สวัสดิการผู้สูงวัย ในยุค New Normal จัดทำโดยสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaweewong88, 2021-07-03 00:18:33

สวัสดิการผู้สูงวัย ในยุค New Normal

การจัดการความรู้-KM เรื่อง สวัสดิการผู้สูงวัย ในยุค New Normal จัดทำโดยสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9

Keywords: ผู้สูงอายุ,สวัสดิการ

การจัดการความรู้

(Knowledge Management : KM)
เรื่อง

สวัสดกิ ารสังคมผู้สงู อายุในยุค New Normal

โดย สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 9
กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์



คานา

การจัดการความรู้(Knowledge Management : KM) เรื่อง สวัสดิการ
สังคมผู้สูงอายุ ในยุคNew Normal เป็นกิจกรรมตามโครงการศูนย์บริการ
วชิ าการพัฒนาสงั คมและจดั สวัสดิการสงั คม ประจาปี พ.ศ.2564 ซ่งึ ดาเนนิ การโดย
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์ โดยเป็นการรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปล่ียน และ
ประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจากข้อมูล ไปสู่สารสนเทศ เพ่ือให้
เกิดความรู้และปัญญา รวมทั้งเพื่อประโยชน์ในการนาไปใช้และเกิดการเรียนรู้
ภายในองคก์ ร ภายใต้การดาเนนิ การ ๗ กระบวนการ คอื การบ่งชค้ี วามรู้ การสรา้ ง
และแสวงหาความรู้ การประมวลและกล่นั กรองความรู้ การจดั ความรู้ให้เป็นระบบ
การเข้าถึงความรู้ การแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้ การเรียนรู้ เพ่ือส่งเสริมให้มีการ
นาความรู้ไปใชเ้ พ่อื เกดิ การเรียนรู้ในองคก์ รและเกิดองค์ความรูใ้ หม่

ขอขอบคุณทุกความคิด ทุกการแลกเปลี่ยน การแบ่งปันความรู้ และการ
เรยี นรู้ จากทมี งานสานักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 9 กระทรวงการพัฒนา
สังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ทุกท่าน ท่ีเป็นกาลังสาคัญในการขับเคลื่อนพลัง
การทางานและความเข้มแข็งของทีม ก่อเกิดพัฒนางานด้านการพัฒนาสังคมและ
จัดสวัสดิการสังคมส่งผลต่อวิธีคิด วิธีการทางาน ท้ังมิติเชิงพื้นที่ เชิงประเด็น และ
เชิงกลุ่มเป้าหมาย รวมไปถึงการเสริมสร้างนวัตกรรมทางสังคม ด้วยการจัดการ
ความรู้ ส่งผลให้บุคลากรเกิดการพัฒนาการเรียนรู้ เกิดชุมชนการเรียนรู้ ความรู้
ขององค์กร เป็นองค์กรเป็นองคก์ รแหง่ การเรยี นรูต้ ่อไป

สานักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 9
กรกฎาคม 2564



บทสรุปผบู้ รหิ าร

สวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ ในยุค New Normal เป็นประเด็นสาคัญที่
จาเป็นอย่างย่ิงท่ีต้องวางแผนระยะยาวให้รอบคอบ รวมท้ังมีการนาไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ท้ัง
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ควรมีหน่วยงานที่เป็นศูนย์กลางการให้ข้อมูลแก่
ผู้สูงอายุ โดยมุ่งเน้นประเดน็ ด้านสุขภาพเป็นส่ิงแรกแต่กลับพบว่าปจั จุบันมขี ้อมูลด้านบรกิ าร
สังคมน้อยมากขาดองค์กรกลางทาหน้าท่ีจัดการบริการสังคม สาหรับผู้สูงอายุและขาดข้อมูล
ผสู้ ูงอายุ ทีเ่ ปน็ ปจั เจกเชงิ ลกึ

การจัดการความรู้เร่ือง สวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ ในยุค New Normal
ของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 ภายใต้โครงการศูนย์บริการวิชาการพัฒนา
สังคมและการจัดสวัสดิการมีวัตถุประสงค์เพื่อเหาแนวทางการจัดบริการสังคม สาหรับ
ผู้สูงอายุในภาวะวิกฤติ ในสังคม New Normal เป็นยุคของการปรับเปล่ียนพฤติกรรมของ
มนุษย์และคาดหวังว่าจะกลายเป็นฐานวิถีชีวิตใหม่หรือความประพฤติใหม่ ดังน้ันการใช้ชีวิต
ในสังคมปกติใหม่ของผู้สูงอายุ ในวัยก่อน 60 ปี จะสามารถปรับตัวเข้ากับวิถีชีวิตและ
เทคโนโลยีอย่างง่ายดาย ขณะที่ ในกลุ่มคนอายุ 60 ปีขึ้นไป พบข้อจากัดสาคัญในการใช้ชีวติ
ยุคปกติใหม่ เกิดวิกฤติด้านมนุษยธรรม ได้แก่ ความม่ันคงทางการเงินลดลง การขาดความรู้
และอุปกรณ์ด้านคอมพิวเตอร์และความม่ันคงทางจิตใจลดลง ดังนั้นแนวทางการจัดบริการ
สงั คมสาหรับผสุ้ ูงอายุในภาวะวิกฤติ ควรเปน็ การบริหารจดั การบริการสงั คมแบบบรู ณาการ

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 ได้ดาเนินการภายใต้
กระบวนการการจดั การความรโู้ ดยมีขนั้ ตอน การเสรมิ สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) การจัดทาเค้าโครงการดาเนินการ
จัดทาความรู้ ในประเด็นการบ่งช้ีความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ เพ่ือการจัดทาความรู้
และการจัดทาแผนปฏบิ ัติการและกจิ กรรมการดาเนนิ การจัดทาความรู้

ปัจจุบันสงั คมสูงอายุเปน็ สถานการณท์ ่ีท่ัวโลกและหลายประเทศกาลังเผชิญ
ซึ่งขณะนี้ประชากรโลกได้กลายเป็นสังคมสูงอายุแล้วโดยมีประชากรอายุ 60 ปีข้ึนไป
จานวน 901 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 12 ของประชากรทั้งหมดภูมิภาคอาเซียนมี
ประชากรอายุ 60 ปีข้ึนไปจานวน 55 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 9 ส่วนในประเทศไทยมี
ประชากรอายุ 60 ปขี น้ึ ไปร้อยละ 16 ซึง่ ถือเปน็ อันดบั ท่ี 2 ของกลุ่มอาเซียนโดยไทยได้เข้า
สู่การเป็นสังคมสูงอายุ (Aged Society) มาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2548 กล่าวคือ 1 ใน 10 ของ
ประชากรไทยเป็นประชากรที่มีอายุต้ังแต่ 60 ปีขึ้นไปและคาดว่าประเทศไทยจะเป็น“สังคม
สูงอายโุ ดยสมบรู ณ์” (Complete Aged Society) ในปพี .ศ. 2564 และเปน็ “สังคมสูงอายุ



ระดับสุดยอด” (Super Aged Society) ภายในปีพ.ศ. 2578 โดยประมาณการว่าจะมี
ประชากรสงู อายุเพ่ิมขึ้นเป็นร้อยละ 30 ของจานวนประชากรท้ังหมดซ่ึงถือว่าเป็นการเปลี่ยน
ระดบั ที่รวดเรว็ มากเมอื่ เทียบกับประเทศอนื่ ๆ

อย่างไรก็ตามเน่ืองจากสังคมท่ีมีผู้สูงอายุเป็นจานวนมากส่งผลต่อการ
ขยายตัวทางเศรษฐกิจเพราะมีกาลังแรงงานซึ่งเป็นปัจจัยการผลิตท่ีสาคัญลดลงคนวยั ทางาน
ต้องแบกรับภาระการเล้ียงดูผ้สู ูงอายุที่เพม่ิ มากขึน้ ในขณะที่ค่าใชจ้ ่ายภายในบ้านและรายจ่าย
เกี่ยวกับสุขภาพและการรักษาพยาบาลมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนและในระยะยาวสังคมผู้สูงอายุจะมี
ภาวะการออมและการลงทนุ ลดลงเน่อื งจากผู้สงู อายุทไ่ี มม่ รี ายได้จะต้องใชจ้ ่ายจากเงินออมซึ่ง
อาจไม่เพียงพอแก่การดารงชีพดังนั้นในช่วงที่ผ่านมารัฐบาลจึงได้ดาเนินมาตรการเพื่อรองรบั
สถานการณ์ผู้สูงอายุที่จะเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดเช่นด้านหลักประกันรายได้ด้าน
ท่อี ยู่อาศยั ดา้ นสุขภาพดา้ นการประกอบอาชพี

สิ่งสาคัญอย่างหนึ่งในชีวิตของสังคมปัจจุบันและอนาคตก็คือ เทคโนโลยี
การสื่อสารคมนาคม เครอื ขา่ ยสื่อสารไร้สาย การใชเ้ ทคโนโลยใี หม่ ๆ ของผู้สูงอายมุ ีส่วนทาให้
ชีวิตมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนและปรับปรุงคุณภาพชีวิตประจาวันเช่นการอานวยความสะดวกใน
การขนส่ง การสื่อสาร และการมีส่วนร่วมในชีวิตทางสังคม นอกจากนี้ยังมีการเชื่อมโยง
ผู้สูงอายุกับบริการที่ตรงกับความต้องการของพวกเขาด้วย ประชากรทุกกลุ่ม ทุกวัย ทุกคน
ล้วนอยู่ภายใต้บริบทเทคโนโลยีท่ีมีบทบาทต่อการดาเนินชีวิต โดยเฉพาะการติดต่อสื่อสาร
ประชากรทุกวัย รวมท้ังผู้สูงอายุก็จาเป็นต้องเรียนรู้การใช้ส่ือใหม่ๆเพื่อใช้ประโยชน์และเพื่อ
ยกระดับคณุ ภาพชวี ิตของตนเอง เทคโนโลยจี ะชว่ ยใหก้ ารเรยี นรู้ไม่มวี ันหยดุ นงิ่ สามารถทาได้
อยา่ งอิสระและกวา้ งขวาง ไม่ถูกจากัดด้วยพื้นท่ี ระยะทาง และ เวลา และเป็นพลงั ใหเ้ กิดการ
เปลี่ยนแปลงในสังคม การท่ีผู้สูงอายุได้มีโอกาสเรียนรู้และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีจะเป็น
เครอ่ื งมือดึงศักยภาพภูมิปญั ญาและประสบการณ์ของตนออกมาใช้พฒั นาตนเองและสังคมได้
อยา่ งสะดวก รวดเรว็

ประเด็นผู้สงู อายุไทยเปน็ ประเด็นสาคญั จาเป็นอย่างยง่ิ ที่ต้องวางแผนระยะ
ยาวใหร้ อบคอบ รวมทั้งมกี ารนาไปปฏบิ ตั อิ ยา่ งจรงิ จงั ทงั้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชา
สังคม แม้แต่ตัวของผู้สูงอายุเองก็ต้องเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาทั้งระดับตนเองโดยการพร้อมที่
จะก้าวออกจากความกลัวการใช้เทคโนโลยีและพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อทาให้
ตนเองได้รับข้อมูลข่าวสารทันต่อสถานการณ์ มีประสบการณ์แปลกใหม่ของโลกดิจิทัล ซึ่งจะ
ช่วยลดช่องว่างระหว่างวยั ได้ประโยชน์เกี่ยวกับสุขภาพ ตลอดจนทาให้อยู่ในสังคมได้อย่าง
มีศักดิ์ศรีและสร้างคุณค่าให้แก่ตนเอง ปัจจุบันทิศทางด้านระบบโครงสร้างสังคม สวัสดิการ
การวางแผนทรัพยากร และการขยายโอกาสการเรียนรปู้ ระโยชนข์ องการใช้สอื่ เทคโนโลยีและ
ส่ือสังคมออนไลน์ของไทยยังไม่ชัดเจนและยังไม่กระจายสู่กลุ่มผู้สูงอายุโดยท่ัวถึง โดยเฉพาะ



ผู้สูงอายุที่อยู่ในชนบทห่างไกล การศึกษาน้อย และรายได้ต่า อีกทั้งไม่ทันต่อสถานการณ์
สังคมสูงอายุซึ่งเปล่ียนไปอย่างรวดเร็ว ปัญหาท่ีเกิดจากลักษณะทางประชากรศาสตร์ต่างๆ
อาทิเช่น รายได้ การศึกษา สถานท่ีตั้งทางภูมิศาสตร์ ความบกพร่องทางร่างกาย ความ
ซบั ซอ้ นของเทคโนโลยีใหมๆ่ ทาให้ผู้สูงอายุขาดแรงจูงใจในการใช้เทคโนโลยี เกิดเป็นอุปสรรค
ที่ทาใหข้ าดทักษะดิจิทัลในการดารงชีวิตในสังคมท่ีเปล่ียนแปลง การเข้าถงึ เทคโนโลยีอย่างไม่
เท่าเทียมกันและไม่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของผู้สูงอายุ ทาให้ผู้สูงอายุขาด
แรงจูงใจที่จะใช้เทคโนโลยีในการดารงชีวิตภายใต้การเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม
แม้ว่าเทคโนโลยีใหม่จะมีข้อดีและประโยชน์ท่ีชัดเจนแก่ผู้สูงอายุ แต่เราก็ยังต้องคานึงถึงการ
ทาให้ผู้สูงอายุเกิดความศรัทธาในเทคโนโลยี มีความเช่ือมั่นเกี่ยวกับความปลอดภัยในข้อมูล
ส่วนบุคคลและความปลอดภยั จากการใช้เทคโนโลยี



สารบัญ

เร่อื ง หนา้

คานา ก
บทสรุปผบู้ รหิ าร ข
สารบญั จ
1
1 ความเป็นมาของการจดั การความรู้ ( Knowledge Management: KM ) เรอื่ ง การพัฒนาระบบ
การค้มุ ครองทางสงั คมของผสู้ งู อายุ 3
4
2 การจดั การความรู้ ( Knowledge Management: KM ) 7
3 ตารางแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) 10
4 สถานการณส์ ังคมสูงอายขุ องโลก 13
5 สถานการณส์ งั คมสูงอายใุ นอาเซียน 16
6 สถานการณผ์ สู้ ูงอายุในประเทศไทย 22
7 แนวคดิ เกยี่ วกบั การรบั มอื สังคมสูงอายขุ องประเทศไทย 23
8 สังคมผู้สูงอายคุ ืออะไร
9 มาตรการรองรับสังคมผู้สงู อายขุ องประเทศไทยการเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากรเขา้ ส่สู งั คม 26
31
ผู้สงู อายุ 34
10 สงั คมสูงอายสุ ู่อนาคตประเทศไทย 38
11 “สวสั ดกิ ารผ้สู งู อายปุ ระเทศไทย” กับสิทธิที่ควรต้องรู้ 42
12 สิทธิและสวัสดกิ ารผสู้ ูงอายุ 44
13 New Normal ของสว. โลกของผสู้ ูงอายุจะเปลยี่ นไปอยา่ งไรหลงั โควดิ -19
บทสรุป
เอกสารอ้างองิ

1. ความเปน็ มาของการจดั การความรู้ ( Knowledge Management: KM )
เรือ่ ง สวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ ในยุค New Normal

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ9 (สสว. 9) เป็นส่วนราชการส่วนกลางท่ี
ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาค สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ
มนุษย์ ซึ่งจัดต้ังข้ึนตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ ตาม พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง
กรม (ฉบบั ที่ 14) พ.ศ. 2558 โดยมอี านาจหน้าท่ตี ามกฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการสานักงาน
ปลัดกระทรวง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. 2559 ดังนี้
1) พัฒนางานด้านวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ให้สอดคล้อง
กับพ้ืนท่ีและกลุ่มเป้าหมาย 2) ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านวิชาการ องค์ความรู้ ข้อมูล
สารสนเทศ ให้คาปรึกษาแนะนาแก่หน่วยงานบริการทุกกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่ให้บริการใน
ความรับผิดชอบของกระทรวง รวมทั้ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
องค์กรภาคเอกชนและประชาชน 3) ศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมเพ่ือ
คาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบ รวมท้ังให้ข้อเสนอแนะการ
พัฒนาสังคมและจัดทายุทธศาสตร์ในพื้นที่กลุ่มจังหวัด 4) สนับสนุนการนิเทศงาน ติดตาม
ประเมินผลการดาเนินงานเชิงวิชาการตามนโยบายและภารกิจของกระทรวงในพื้นท่ี กลุ่ม
จงั หวดั ซงึ่ สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 9 ไดด้ าเนินการขบั เคล่ือนงานตามภารกิจ
ดังกล่าวในพ้ืนที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ได้แก่ เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แม่ฮ่องสอน
เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และเป็นกลไกในการขับเคลื่อนภารกิจของกระทรวงการพัฒนา
สังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและส่งเสริมโอกาสทางสังคมบนพ้ืนฐาน
แห่งความพอเพยี งและเสริมประสทิ ธภิ าพทางสงั คม ในลักษณะการพัฒนาศักยภาพและสร้าง
เครือขา่ ยที่ตอบสนองยทุ ธศาสตร์ชาติ ตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตฉิ บับท่ี 12
รวมท้ังเป็นหน่วยเคล่ือนท่ีทางวิชาการพัฒนาสังคมบริการแก่หน่วยงานในความรับผิดชอบของ
กระทรวงฯ องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ภาคีเครอื ขา่ ยและประชาชน และพฒั นาแหล่งเรยี นรู้เป็น
องค์กรต้นแบบด้านการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม เพ่ือแลกเปลี่ยนความรู้ ส่งผลให้
เกดิ การปรบั เปลย่ี นวธิ ีการทางาน ทั้งมิติเชิงพ้ืนที่ เชงิ ประเด็น และเชงิ กลุ่มเปา้ หมาย

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 9 ให้ความสาคัญกับการเตรียมความพร้อม
ด้านระบบบริหารจัดการข้อมูล ทรัพยากรและบุคลากร เพื่อให้เป็นศูนย์บริการวิชาการ
เสริมสร้างนวัตกรรมทางสังคมท่ีเหมาะสมกับพื้นที่ เป็นศูนย์รวมการให้บริการคาปรึกษาทาง
วิชาการที่ครบวงจร และเป็นหน่วยเชิงรุกในการส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการให้การ
ปฏิบัติงานของหน่วยงานในความรับผิดชอบของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ ม่ันคง
ของมนุษย์ ท้องถิ่น ชุมชน และภาคีเครือข่ายท่ีเก่ียวข้องให้เกิดการขับเคลื่อนงานที่ได้
มาตรฐาน มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสภาพพื้นท่ี รวมท้ัง ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้
ตลอดชีวิตและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม ในปี 2564 ได้ดาเนินการโครงการศูนย์บริการ

2

วิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม ประจาปี 2564 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็น
ศูนย์บริการงานวิชาการ ศูนย์พัฒนาศักยภาพคน ด้านการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการ
สังคมที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ รวมท้ังหน่วยเคล่ือนที่ทางวิชาการเพ่ือให้บริการแก่
หน่วยงานบริการทุกกลุ่มเป้าหมายในความรับผิดชอบของกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนษุ ย์และภาคเี ครือขา่ ยทีเ่ กีย่ วข้อง และกลุ่มเป้าหมาย คือหนว่ ยงานในสังกัด
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ และภาคเี ครือขา่ ยท่ีเกี่ยวข้องในพนื้ ท่ี 8
จังหวัดภาคเหนือตอนบน ประกอบด้วยวิธีการดาเนินงานโดยการรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ
แลกเปล่ียนและประยุกต์ให้ความรู้ในองค์กร ภาคีเครือข่าย ร่วมกับการพัฒนาระบบข้อมูล
สารสนเทศ เพ่ือใหเ้ กดิ การถ่ายทอดความรูแ้ ละปญั ญา ในพื้นท่รี บั ผดิ ชอบของ สสว. 9

โดยมีขั้นตอนการดาเนินงานการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM)
คือ การจดั ทาแผนปฏิบัติการกิจกรรมการจดั การความรู้ เริม่ จากการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
เวทีเตรียมคน เตรียมภาคี โดยการบูรณาการการจัดการความรู้และการพัฒนางานประจาสู่
งานวจิ ัย เปน็ เวทใี หค้ วามรเู้ ก่ียวกบั การจดั ทา (Knowledge Management: KM) การจัดทา
เคา้ โครงการดาเนนิ การจัดทาความรู้ ในประเด็นการบง่ ชีค้ วามรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้
เพ่ือการจัดทาความรู้ และการจัดทาแผนปฏิบัติการและกิจกรรมการดาเนินการจัดทาความรู้
ให้แก่กลุ่มเป้าหมายท่ีเกี่ยวข้อง และการลงพ้ืนท่ีเพื่อดาเนินการและกิจกรรมในการรวบรวม
องค์ความรู้ เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคมที่ชัดแจ้งในพื้นที่ พัฒนาให้เป็นระบบและนาความรู้นั้น
ขับเคล่ือนการปฏิบัติงาน การประมวลกล่ันกรองความรู้ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ การ
เข้าถึงความรู้ การแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้ การส่งเสริมการเรียนรู้ การสรุปบทเรียนการ
ดาเนินงานการบูรณาการการจัดการความรู้และการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย การ
ขับเคล่ือนการดาเนินงานการนาการจัดการความรู้ไปใช้ประโยชน์ การจัดทารายงานการ
จดั การความรู้ รปู เล่มองคค์ วามรู้ รวมถึงการรายงานความก้าวหนา้ การดาเนินงาน

3

2. การจดั การความรู้ ( Knowledge Management : KM )

คือ การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร
โดยพัฒนาระบบจากข้อมูล ไปสู่สารสนเทศ เพ่ือให้เกิดความรู้และปัญญา รวมทั้งเพื่อ
ประโยชนใ์ นการนาไปใชแ้ ละเกดิ การเรยี นร้ภู ายในองค์กร
การดาเนินการจัดการความรู้ (KM Process)

1. การบ่งชคี้ วามรู้ (ความรู้หลัก คอื อะไร อยู่ที่ไหน ยังขาดอะไร)
2. การสรา้ งและแสวงหาความรู้ (จะหามาได้อยา่ งไร สร้างไดอ้ ยา่ งไร)
3. การประมวลและกล่นั กรองความรู้ (ปรับปรุงเนื้อหา ภาษา และรปู แบบขอ้ มลู )
4. การจดั ความร้ใู หเ้ ปน็ ระบบ (จดั หมวดหมู่และเก็บเปน็ ระบบ)
5. การเข้าถงึ ความรู้ (กาหนดวิธกี ารเข้าถงึ ความรทู้ จี่ ดั เกบ็ ไว้)
6. การแลกเปลย่ี นแบ่งปนั ความรู้ (กาหนดวธิ กี ารและชอ่ งทางการถ่ายทอดความรู้)
7. การเรยี นรู้ (ส่งเสริมใหม้ ีการนาความรไู้ ปใชเ้ พือ่ เกดิ การเรียนรู้ในองค์กร : เกิดองค์
ความรูใ้ หม)่
ผ่านการดาเนินการจัดการความรู้ Change Management Process ด้วยการ
ปรับเปล่ียนพฤติกรรม ทาให้คนในองค์กรอยากเป็นท้ังผู้ให้และผู้รับความรู้ มีการส่ือสาร ให้
ทุกคนเข้าใจ มีกระบวนการ เคร่ืองมือ การให้ความรู้เร่ืองการจัดการความรู้ การวัดผล การ
ดาเนินการตามแผน ผลผลิตและผลลัพธ์ท่ีได้ รวมถึงการยกย่อง ชมเชย ให้รางวัล เพ่ือเป็น
แรงจูงใจให้คนในองคก์ รสนใจการจัดการความรู้ เพื่อพฒั นาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กร
ส่งผลใหผ้ ลสัมฤทธิ์ของงานดีข้นึ หรือได้นวัตกรรมใหม่ บุคลากรเกดิ การพฒั นาการเรียนรู้ เกดิ
ชุมชนการเรียนรู้ ความรู้ขององค์กร มีการจัดระบบและส่ังสมไวพ้ ร้อมท่ีจะนาไปใช้ประโยชน์
สู่องคก์ รเป็นองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้

กระบวนการจัดการความรู้ 7 ข้นั ตอน

4

3. ตารางแผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการ
ความรู้ (KM Process)

เร่ือง “สวัสดกิ ารสังคมผู้สูงอายุ ในยุค New Normal”
โดย ทีมงานกลมุ่ การวิจัยและการพัฒนาระบบเครือขา่ ย

สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 9

ที่ กระบวนการ กจิ กรรม/วิธีการสู่ ระยะเวลา หวั ขอ้ / ผู้รบั ผดิ ชอบ หมาย
ความสาเร็จ ดาเนนิ การ ข้อมูล เหตุ
ในการ
สิบคน้
ขอ้ มลู
เพมิ่ เตมิ

1 การบง่ ชี้ การประชมุ ชแี้ จงแนวทาง มกราคม แผนการ ทีมงานกลมุ่
ความรู้ การดาเนนิ งานการจัดการ 2564 ณ จดั การ การวิจัยและ
ความรู้ (Knowledge ความรู้ การพัฒนา
Management-KM) ห้อง ระบบ
- การจัดทาเค้าโครงการ ประชุม เครือขา่ ย
จดั การความรู้ ในประเดน็ สสว.9

1. การบง่ ชี้ความรู้ (ความรู้
หลกั คอื อะไร อย่ทู ไี่ หน
ยังขาดอะไร)

2. การสร้างและแสวงหา
ความรู้
(จะหามาไดอ้ ยา่ งไร สร้าง
ได้อยา่ งไร)

- การจดั ทา แผนปฏบิ ัติการ
และกิจกรรมการ
ดาเนนิ งานการจดั การ
ความรู้

- การนาเสนอแลกเปลย่ี น
ข้อมลู เรอื่ ง การขบั เคลื่อน
การดาเนนิ งานการจัดการ
ความรู้

5

ท่ี กระบวนการ กิจกรรม/วิธีการสู่ ระยะเวลา หวั ขอ้ / ผรู้ บั ผิดชอบ หมาย
ความสาเรจ็ ดาเนนิ การ ข้อมูล เหตุ
ในการ
สบิ ค้น
ข้อมูล
เพิม่ เติม

2 การสร้างและ - การศึกษาขอ้ มูล เร่ือง กมุ ภาพันธ์ ทมี งานกลุ่ม
แสวงหา สถานการณ์สังคมสงู อายุ -เมษายน การวิจัยและ
ความรู้ ของโลก ระดับภมู ภิ าคและ 2564 การพัฒนา
ระดับประเทศ ระบบ
- ศึกษา แนวคิดเก่ียวกบั เครือขา่ ย
การรับมอื สงั คมสูงอายุของ
ประเทศไทย

- ศึกษาขอ้ มลู เกยี่ วกับ
สวัสดกิ ารผสู้ งู อายุประเทศ
ไทยกบั สิทธทิ ี่ควรตอ้ งรู้

- ศกึ ษา เรื่อง New
Normal ของสว.โลกของ
ผู้สูงอายุจะเปลยี่ นไป
อย่างไรหลงั โควิด-19

3 การประมวล - การประมวลและ พฤษภาคม ทีมงานกลุ่ม
และกลนั่ กรอง กลั่นกรองการจดั การ 2564 การวจิ ัยและ
ความรู้ ความรู้ เรอื่ งสถานการณ์ การพฒั นา
สังคมสงู อายขุ องโลก ระดบั ระบบ
ภมู ภิ าคและระดบั ประเทศ เครือข่าย
และประมวลผลกล่ันกรอง
ความรแู้ นวคิดเกีย่ วกบั การ
รับมอื สังคมสงู อายุของ
ประเทศไทย ขอ้ มลู เกยี่ วกับ
สวัสดิการผสู้ งู อายุประเทศ
ไทยกบั สิทธิท่ีควรต้องรู้

- การจดั ทาและปรบั ปรงุ
เนื้อหาขอ้ มูล

6

ท่ี กระบวนการ กิจกรรม/วิธีการสู่ ระยะเวลา หัวข้อ/ ผ้รู บั ผิดชอบ หมาย
ความสาเรจ็ ดาเนนิ การ ขอ้ มลู เหตุ
ในการ
สิบคน้
ข้อมูล
เพิ่มเตมิ

4 การจดั การ -การออกแบบรูปแบบการ มิถุนายน- ทีมงานกลุ่ม
ความรูใ้ หเ้ ป็น จดั เก็บข้อมลู เชน่ การ กรกฎาคม การวจิ ัยและ
ระบบ จัดทาเป็นหนงั สือ แผ่นพบั 2564 การพฒั นา
E-book/ Website ระบบ
-การจัดขอ้ มลู ให้เปน็ เครือข่าย
หมวดหมู่

5 การเข้าถึง -กจิ กรรมการจัดช่องทาง กรกฎาคม ทีมงานกลมุ่
ความรู้ เผยแพร่ความรู้ โดยการจัด 2564 การวจิ ัยและ
ประชาสัมพนั ธท์ าง Social การพัฒนา
Media เช่น Website ระบบ
Facebook เอกสาร เครอื ข่าย
เผยแพรค่ วามรู้ (รายงาน/
แผน่ พบั /คมู่ อื /วีซีด/ี
Infographic/จดหมายขา่ ว/
QR Code)

6 การแบ่งปนั -การแลกเปล่ียนเรียนรู้ สงิ หาคม ทีมงานกลมุ่
และ - ขับเคลื่อนการนาผลการ 2564 การวจิ ยั และ
แลกเปลยี่ น จดั การความรไู้ ปใช้ประโยชน์ การพฒั นา
ความรู้ ระบบ
เครือข่าย

7 การเรยี นร/ู้ - สง่ เสริมการเรยี นรใู้ ห้ กันยายน ทีมงานกลมุ่
การขยายผล บคุ ลากร 2564 การวิจยั และ
ทั้งในและนอกหนว่ ยงาน การพฒั นา
ระบบ
- ส่งเสรมิ ใหห้ นว่ ยงาน พม. เครือขา่ ย
นาองคค์ วามรู้ ไปขยายผล

7

4. สถานการณ์สังคมสงู อายุของโลก

การเปล่ียนแปลงโครงสร้างทางประชากร (Demographic Change) กาลังเป็น
ปรากฏการณ์ที่ไม่เพียงแต่จะอยู่ในกระแสความสนใจของนักประชากรศาสตร์ในภูมิภาคต่าง
ๆ ของโลกและผ้บู ริหารนโยบายผู้นาระดับชาติและระดับโลกในภูมิภาคต่างๆ รวมไปจนถึงนัก
ธุรกิจและนักลงทุนในภาคธุรกิจมหภาคโดยได้มีการศึกษาวิเคราะห์ทิศทางแนวโน้ม
สถานการณ์ด้านประชากรเพื่อนาไปวางแผนกาหนดแนวทางเพื่อลดผลกระทบและกาหนด
ยทุ ธศาสตร์และวิธีปฏบิ ัติรบั มือกับการเปลยี่ นแปลงโครงสร้างของประชากรในทุกมติ ิของการ
พัฒนาดว้ ย

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากรของโลกที่เกิดข้ึนขณะนี้ หลายประเทศ
ก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุแล้ว บางประเทศก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์และมีข้อมูล
คาดการณว์ ่าประเทศนั้น ๆ จะเข้าส่สู ังคมสูงอายรุ ะดบั สุดยอดในอนาคตอนั ใกล้

ภาวะสังคมสูงอายุ เป็นเทรนด์สาคัญของโลกในศตวรรษท่ี 21 เป็นแนวโน้มที่
หลีกเลีย่ งไมไ่ ด้ เน่ืองจากการมีประชากรสูงอายุน้นั ถือเป็น “ชยั ชนะของการพฒั นา” ดว้ ยเหตุ
ท่วี า่ การมีอายุยืนยาวมากข้ึนถือเป็นความสาเรจ็ ทีส่ าคัญทสี่ ดุ ประการหน่งึ ของมนุษยชาติ แต่
เป็นความสาเร็จที่มีผลกระทบสูงมากต่อทุกๆ ด้านของสังคม จึงทาให้สภาวะดังกล่าวน้ี
จาเป็นตอ้ งไดร้ บั การตรวจสอบ ทาความเข้าใจ เพื่อใหส้ ามารถรับมือไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ครบถ้วน

ข้อมูลของสหประชาชาติ (ยูเอน็ ) ระบุเอาไวว้ ่าทั่วโลกมผี ้ฉู ลองวนั เกิดครบรอบ 60 ปี
กันมากถึงวินาทีละ 2 คน รวมแล้วแต่ละปี มีบุคคลอายุครบ 60 ปี มากถึง 58 ล้านคน คิด
เป็น 1 ใน 9 ของประชากรท้ังโลกในปี 2012 และจะเพิ่มสัดส่วนข้ึนเป็น 1 ใน 5 ของ
ประชากรทง้ั โลกในปี 2050

ยูเอ็นให้นิยามสังคมสูงอายุเอาไว้ 3 ระดับด้วยกัน ระดับแรก เป็นระดับการก้าวย่าง
เข้าสู่สังคมสูงอายุ โดยถือเอาการที่ประเทศใดประเทศหน่ึงมีสัดส่วนประชากรที่มีอายุ 60 ปี
ขึ้นไปสูงกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ของประชากรทั้งประเทศ หรือ มีประชากรท่ีมีอายุ 65 ปีขึ้นไป
มากกว่า 7 เปอรเ์ ซน็ ตข์ องประชากรทงั้ ประเทศ

ระดับท่ี 2 คือระดับการเป็นสังคมสูงอายุโดยสมบูรณ์ ถือเกณฑ์โดยรวมท่ีประชากร
อายุ 60 ปีข้ึนไปเกินกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ของประชากรท้ังหมด หรืออายุ 65 ปีขึ้นไป มากกว่า
14 เปอรเ์ ซน็ ต์ของประชากรทงั้ หมด

ระดับท่ี 3 เป็นระดับสังคมสูงอายุเต็มที่ ภาษาอังกฤษ ใช้ว่า “ซุปเปอร์ เอจด์ โซไซ
ตี” คือประเทศที่มีผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไปคิดเป็นสัดส่วน 20 เปอร์เซ็นต์ของประชากรท้ัง
ประเทศ

8

เม่ือ 20 ปีที่ผ่านมาโลกมีประชากรประมาณ 5,735 ล้านคนและมีอายุ 60 ปีขึ้นไป
ประมาณ540 ลา้ นคนหรอื คดิ เป็นร้อยละ 9 ของประชากรโลกเมอื่ ปพี .ศ. 2558 ประชากรโลก
มีจานวน 7,349 ล้านคนในจานวนนี้มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจานวน 901 ล้านคนหรือคิด
เป็นรอ้ ยละ 12 จงึ กล่าวไดว้ า่ “ประชากรโลกไดก้ ลายเป็นสังคมสูงอาย”ุ แล้ว

ภาพแสดงพีระมดิ ประชากรโลกพ.ศ. 2558
ใน 6 ทวปี ของโลกทวีปยโุ รปมรี ะดบั การสงู อายสุ งู ทส่ี ดุ คือมีสัดสว่ นประชากรอายุ 60
ปีข้ึนไปถึงร้อยละ 24 ของประชากรท้ังทวีปทวีปเอเชียจะมีสัดส่วนของประชากรสูงอายุสูง
เป็นอันดับ 4 รองจากทวีปยุโรปอเมริกาเหนือและโอเชียเนียแต่เป็นทวีปท่ีมีประชากร
สูงอายมุ ากทส่ี ดุ คอื ประมาณ 508 ล้านคนคดิ เปน็ ร้อยละ 12 ของประชากรท้งั ทวปี
ประเทศท่ีมีประชากรมากท่ีสุดในโลก 2 ประเทศอยู่ในทวีปเอเชียโดยจีนมีประชากร
1,376 ล้านคนประชากรอายุ 60 ปีข้ึนไป 209 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 15 รองลงมาคือ
อินเดียมีประชากร1,311 ล้านคนประชากรอายุ 60 ปีข้ึนไป 117 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ
9 ทั้งนป้ี ระเทศท่มี ีสดั ส่วนประชากรสูงอายุมากที่สุดในโลกคือญป่ี ุ่นโดยมีประชากรอายุ 60 ปี
ขนึ้ ไปคิดเปน็ รอ้ ยละ 33
ขณะเดียวกันราชวิทยาลัยลอนดอนได้นาเสนอข้อมูลจากการศึกษาร่วมกับองค์การ
อนามัยโลก(WHO) ที่ได้ทาการวิเคราะห์ช่วงอายุขัยของประชากรโลกที่พัฒนาแล้ว (OECD)
จานวน 35 ประเทศและคาดการณ์ว่าประชากรโลกท่ีเกิดในปีค.ศ. 2030 จะมีอายุขัยที่ยืน
ยาวข้ึนอีกท้ังผู้ชายและผู้หญิงจะมีอายุขัยที่ใกลเ้ คียงกันมากขึ้น (จากเดิมที่ผู้หญิงจะมีอายุยนื
กว่าผชู้ ายในอัตราท่ีสูงกว่าหลายป)ี ท้ังน้ใี นอนาคตอายเุ ฉลยี่ ของมนุษย์ยังอาจมีโอกาสเพ่ิมขึ้น
ไปอยู่ที่ 110 ปีในผู้ชายและ 120 ปีในผู้หญิงรายงานการศึกษาดังกล่าวระบุว่าผู้หญิงชาว

9

เกาหลีใต้ท่ีเกิดในปีค.ศ. 2030 จะเป็นประชากรกลุ่มแรกท่ีมีอายุเฉลี่ยเกิน 90 ปีในอีก 13 ปี
ข้างหน้าโดยอัตราความเป็นไปได้มีมากถึงร้อยละ 50 ซึ่งเหตุผลสาคัญที่ทาให้ผู้หญิงประเทศ
เกาหลีใต้จะมีอายุยืนมากท่ีสุดเน่ืองจากรัฐบาลให้ความสาคัญกับการให้บริการสาธารณสุขที่
ครอบคลุมซึ่งตรงกันข้ามกับในโลกตะวันตกรัฐบาลกาลังมีการควบคุมงบประมาณด้าน
สาธารณสขุ อีกท้ังยังมีความเหลื่อมํลา้ ทางสังคมและเศรษฐกิจในการเข้าถงึ บริการซง่ึ นอกจาก
ปัจจัยด้านความก้าวหน้าทางสาธารณสุขแล้วเง่ือนไขทางสังคมส่ิงแวดล้อมหรือแม้แต่ปัจจัย
ดา้ นพันธกุ รรมกม็ ีสว่ นเกย่ี วขอ้ งดว้ ย

10

5. สถานการณ์สังคมสูงอายุในอาเซียน

เมื่อปีพ.ศ. 2558 ประเทศอาเซียนมีประชากรรวมกันทง้ั หมดประมาณ 633 ลา้ นคน
มปี ระชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป 55 ลา้ นคนหรือคิดเปน็ สดั สว่ นรอ้ ยละ 9 ของประชากรทง้ั หมด
และขณะนมี้ ีประเทศในอาเซยี นจานวน 3 ประเทศทเี่ ป็นสังคมสงู อายุแล้วคอื มีสัดสว่ นของ
ประชากรท่ีอายุ 60 ปีข้นึ ไปร้อยละ 10 ข้ึนไปได้แก่

อันดบั ท่ี 1 สิงคโปร์มีสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีข้นึ ไปรอ้ ยละ 18
อนั ดบั ท่ี 2 ไทยมสี ดั ส่วนประชากรอายุ 60 ปีข้นึ ไปร้อยละ 16
อันดับที่ 3 เวียดนามมีสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีข้ึนไปร้อยละ 10 ส่วนอินโดนีเซยี
เป็นประเทศท่ีมีประชากรมากที่สุดในอาเซียนคือมีประชากรประมาณ258 ล้านคนหรือเกือบ
ครึ่งหน่ึงของประชากรท้ังอาเซียนปัจจุบันอินโดนีเซียมีประชากรสงู อายปุ ระมาณ 21 ล้านคน
หรอื คิดเป็นรอ้ ยละ 8 ของประชากรท้ังประเทศ

ภาพแสดงพรี ะมิดประชากรอาเซยี น พ.ศ. 2558

11

ภาพแสดงลาดับผู้สูงอายใุ นอาเซยี น
สังคมโลกปจั จุบันกาลังเผชิญกบั สถานการณ์สูงอายุของประชากร เนือ่ งจากแนวโน้ม
ผู้สูงอายุมีจานวนเพิ่มมากขึ้นแต่ประชากรวยั เด็ก (อายุต่ากว่า ปี) ลดต่าลง สาหรับประเทศ
ไทยมีสัดสว่ นประชากรผู้สูงอายุมากเป็นอนั ดับสองของอาเซยี นรองจากประเทศสิงคโปร์ และ
ในปี พ.ศ.2564 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) โดยมี
ผู้สูงอายุ 20% การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรดงั กล่าวสง่ ผลกระทบอย่างกว้างขวาง
เช่น งบประมาณของรัฐบาล การจ้างงาน ผลิตภาพของแรงงาน ผลต่อตลาดผลิตภัณฑ์และ
บริการดา้ นตา่ ง ๆ โดยเฉพาะด้านการเงนิ และด้านสุขภาพ เป็นต้น จึงเป็นประเดน็ ทภ่ี าครฐั ให้
ความสาคญั จงึ ได้กาหนดนโยบาย แผนงานและมาตรการตา่ ง ๆ เพือ่ เตรียมความพร้อมรองรับ
สงั คมผู้สูงอายุ ดังนั้น การเตรียมความพรอ้ มเป็นเรือ่ งสาคัญ
ในสังคมโลกปัจจุบันกาลังเผชิญกับการเปล่ียนแปลงโครงสร้างทางประชากรครั้ง
สาคัญ คือการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเน่ืองจากมีจานวนผู้สูงอายุเพ่ิมขึ้นตามลาดับ โดยการเข้าสู่
สังคมผู้สูงอายุน้ันจะแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมของแต่ละประเทศ เช่น นโยบายการ
คุมกาเนิด การใส่ใจดูแลสุขภาพที่มากขึ้น การโภชนาอาหารความเจริญก้าวหน้าทางด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการแพทย์ท่ีทาให้คนอายุยืนขึ้น ตลอดจนการเปล่ียนแปลง
โครงสร้างทางสังคม ค่านิยมและทัศนคติในปี พ.ศ.2559 ประชาคมอาเซียนซึ่งมีสมาชิก 10
ประเทศ มีประชากรรวมกนั ท้ังหมด 639ล้านคน มปี ระชากรอายุ 60 ปขี ้นึ ไป 61ลา้ นคน หรือ

12
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.6ของประชากรท้ังหมด สาหรบั ประเทศไทยมีสดั สว่ นประชากรผู้สูงอายุมาก
เป็นอันดับสองของอาเซียนรองจากประเทศสิงคโปร์ และในปี พ.ศ.2562 จะเป็นคร้ังแรกท่ีมี
ประชากรสูงอายุมากกว่าประชากรวัยเด็ก (อายุต่ากว่า 15 ปี) คือ มีผู้สูงอายุ 18% เด็ก
15.9%และในปี พ.ศ.2564 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society)
โดยมีผู้สูงอายุ 20%เม่ือประชากรอายุ 60 ปีข้ึนไปมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 20 ของประชากร
ทงั้ หมด(มูลนิธสิ ถาบนั วจิ ัยและพัฒนาผูส้ งู อายุไทย,2559)

6.
7.

13

6. สถานการณ์ผู้สูงอายใุ นประเทศไทย

14

สถติ ผิ สู้ งู อายุของประเทศไทย 8 จังหวัดภาคเหนอื ณ.วันท่ี 31 ธนั วาคม 2563

รหัส จานวนประชากรท้ังหมด จานวนประชากร ลาดับท่ี ลาดบั ที่
ผสู้ ูงอายุ 60 ปีขนึ้ ไป
จังหวัด ร้อยละ (%) จานวน ร้อยละ
ชาย หญงิ รวม ผส. ผส.
เพศ ชาย หญงิ รวม

ภาคเหนอื 2,863,181 3,013,172 5,876,353 550,234 654,327 1,204,561 20.50%

50 เชยี งใหม่ 862,874 921,496 1,784,370 156,306 193,449 349,755 19.60% 3 20

51 ลำพูน 193,381 208,630 402,011 43,468 53,315 96,783 24.07% 48 3

52 ลำปำง 355,258 373,706 728,964 82,028 95,818 177,846 24.40% 20 1

54 แพร่ 210,973 226,377 437,350 45,993 58,942 104,935 23.99% 41 4

55 นำ่ น 238,738 237,989 476,727 47,109 51,254 98,363 20.63% 47 15

56 พะเยำ 227,686 239,670 467,356 48,357 56,139 104,496 22.36% 42 8

57 เชยี งรำย 629,960 665,066 1,295,026 110,185 127,794 237,979 18.38% 11 30

58 แม่ฮอ่ งสอน 144,311 140,238 284,549 16,788 17,616 34,404 12.09% 76 74

ท่มี า กรมกิจการผสู้ งู อายุ

จากสถานการณ์ที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกกาลังเผชิญกับการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ของผู้สูงอายุและมากกว่าทุกภูมิภาคของโลกส่งผลให้เกิดปัญหาการขาดแคลนแรงงานใน
อนาคตประกอบกับการลดลงอย่างรวดเร็วของอัตราการเกิดของประชากรวัยเด็กรวมกับ
แนวโน้มของการแต่งงานท่ีช้าลงของประชากรวัยเจริญพันธ์ุที่เป็นเหตุผลสาคัญที่ทาให้อัตรา
เพิ่มประชากรวัยเด็กไม่ทันกับอัตราการเพ่ิมประชากรวัยสูงอายนุ อกจากนี้มีการคาดการณ์วา่
ในปีพ.ศ. 2583 (ค.ศ. 2040) ประชากรวัยทางานในประเทศไทยจะลดลงกว่าร้อยละ 10 จึง
เป็นที่จับตามองของธนาคารโลกเนื่องจากประเทศไทยถูกจัดอันดับให้เป็นประเทศที่อยู่ใน
ระดับรายได้ปานกลางอีกท้ังการออมเงินและการออมในรูปแบบต่างๆของคนไทยยังต่า มาก
ทั้งหลักประกันด้านรายได้รายเดือนของผู้สูงอายุในรูปของ “เบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ” จานวน
600–1,000 บาทต่อเดือนนั้นไม่เพียงพอต่อการใช้จ่ายเพื่อการยังชีพประเทศไทยได้เข้าสู่การ
เป็นสังคมสูงอายุ (Aged Society) มาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2548เป็นต้นมาโดย 1 ใน 10 ของ
ประชากรไทยเป็นประชากรท่ีมีอายุต้ังแต่ 60 ปีขึ้นไปและคาดว่าประเทศไทยจะเป็น“สังคม
สูงอายุโดยสมบูรณ์” (Complete Aged Society) ในปีพ.ศ. 2564คือประชากรสูงอายุจะ
เพ่ิมขึ้นถึง1 ใน 5 และเป็น“สังคมสูงอายุระดับสุดยอด” (Super Aged Society) ภายในปี
พ.ศ. 2578โดยประมาณการว่าจะมีประชากรสูงอายุเพ่ิมขึ้นเป็นร้อยละ 30 ของจานวน
ประชากรทง้ั หมด

15

ปัจจัยการเปล่ียนผ่านทางประชากรของไทยการเข้าสู่สังคมสูงอายุของประเทศไทย
นนั้ เปน็ ผลสืบเนอ่ื งมาจากปจั จัยของการเปลีย่ นผา่ นทางประชากรทีส่ าคญั 2 ประการคือ

1. การลดลงของภาวการณ์เกิดหรือภาวะเจริญพันธ์ุของประเทศจนกล่าวกันว่า
เป็นการปฏิวัติขนาดครอบครัวไทยจาก “แม่ลูกดก” เป็น “แม่ลูกน้อย” ดังจะเห็นได้จากผู้
หญิงไทยคนหนึ่งมีบุตรโดยเฉลี่ยประมาณ 2 คนเม่ือ 20 ปีที่ผ่านมาเหลือเพียงประมาณ 1.6
คนต่อสตรี 1 คนในปจั จุบนั

2. การลดภาวการณ์ตายในกลุ่มเด็กและวัยแรงงานเป็นผลสืบเนื่องมาจาก
พฒั นาการและความก้าวหนา้ ทางการแพทย์และสาธารณสุขทสี่ ่งผลใหป้ ระชากรไทยมีอายุยืน
ยาวขึน้ เป็นลาดับโดยอายุเฉลี่ยของคนไทยเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 58 ปีในปีพ.ศ. 2508 มา
เป็นประมาณ 75 ปใี นปจั จุบนั

16

7. แนวคิดเกย่ี วกับการรับมอื สงั คมสงู อายุของประเทศไทย

การรับมือกับสงั คมสูงอายุอย่างเต็มรปู แบบของประเทศไทยในอนาคตอันใกล้นี้ เปน็
ประเด็นท่ีทุกภาคสว่ นของสงั คมจะต้องให้ความสาคัญและร่วมมือกันขับเคลอ่ื นไปพรอ้ มๆกนั
ทัง้ ในระดบั นโยบายและระดับปฎบิ ัติการ รวมไปถงึ การเตรียมความพรอ้ มในระดบั บุคคลและ
การเตรียมความพร้อมเชิงระบบเพ่อื รองรับสังคมสูงอายุ โดยมีประเด็นทคี่ วรพจิ ารณาดงั น้ี
1. การเตรียมความพร้อมในระดับบุคคล

1.1 ให้ความสาคัญการเตรียมความพร้อมต้ังแต่อยู่ในวัยเด็กวัยทางานเพื่อเป็น
ผสู้ งู อายุทมี่ คี ุณภาพซึง่ เตรยี มความพร้อมท้ังทางด้านทัศนคติและพฤติกรรมท่ีจะ
สะท้อนไปเป็นศักยภาพสุขภาพและความสุขของผู้สูงอายุในที่สุดโดยให้
ความสาคัญกับการส่งเสริม 4 H ได้แก่ Heart (จิตใจ/ทัศนคติดี = คนดี) Head
(สมองดี = คนเกง่ ) Hand (ทาดอี ย่างฉลาดใช้ชีวติ สมดุล = ลงมือทาอย่างสมดุล)
และ Health (สุขภาพกาย/ใจดี) โดยวัยเด็กใช้กลไกของ “บวร” คือ “บ้านวัด
โรงเรียน” และวยั ทางานผ่าน “สถานท่ที างาน” เพ่ือสร้างสุขในวยั ทางานรวมท้ัง
สนับสนุนการสรา้ งความตระหนักผ่าน“ส่ือสาธารณะ” ทีเ่ ขา้ ถงึ ทกุ คนทุกกลุ่มวัย
ได้ง่ายเพ่ือให้เกิดเป็นวัฒนธรรมทางสังคมของชุมชนและประเทศรวมท้ัง

17

สนับสนุนและส่งเสริมการเป็น “ผู้สูงอายุท่ีมีคุณภาพและมีความสุข” โดยมี
สุขภาพรา่ งกายจติ ใจสงั คมทด่ี ีมีความมั่นคงด้านเศรษฐกจิ การออมการลงทุนโดย
จะเปน็ การเตรยี มวางแผนการใชช้ วี ิตในวยั สูงอายตุ ง้ั แต่อยใู่ นวัยทางาน
1.2 สง่ เสรมิ ภาวการณ์เจริญพันธุ์ด้วยการสง่ เสริมการมีบุตรของคนไทยขณะนี้จึงได้มี
การรณรงค์ให้สตรีไทยวัยเจริญพันธุ์ช่วยเพ่ิมประชากรด้วยการส่งเสริมการ
แต่งงานและการมบี ุตรอยา่ งไรก็ตามการสนับสนนุ เรื่องการมีบตุ รจะต้องคานึงถึง
ปจั จัยดา้ นสภาพเศรษฐกิจและสงั คมทเ่ี อื้อให้ประชากรอยากสรา้ งครอบครัวและ
มีบุตรนอกจากนี้ควรกาหนดนโยบายและเป้าหมายด้านประชากรโดยสนับสนุน
และสร้างแรงจูงใจเพ่ือให้ครอบครัวไทยให้มีบุตรอย่างน้อย 2 คนโดยเน้น
คุณภาพในการตั้งครรภ์การเกิดและการเล้ียงดูเป็นสาคัญเพื่อให้เด็กท่ีเกิดมา
เติบโตเปน็ ผใู้ หญท่ ี่มีคณุ ภาพในอนาคต
1.3 ส่งเสรมิ ผสู้ งู อายุปัจจุบันและอนาคตให้สามารถพงึ่ พาตนเองได้ยาวนานที่สุดด้วย
การส่งเสริมผู้สูงอายุยุคใหม่ให้ดูแลสุขภาพกายใจให้แข็งแรงให้สามารถใช้ชีวิต
“ลาพังแต่สุขใจ” เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีเพ่ือให้สามารถใช้ชีวิตอยู่ตามลาพังได้
อย่างมีความสุขกับตนเองและชุมชนรอบตัวโดยสามารถส่ือสารกับคนใน
ครอบครัวได้อย่างใกล้ชิดแม้ว่าจะอยู่ห่างไกลกันผ่านการใช้เทคโนโลยีการ
สื่อสาร(Social media) อาทิโทรศัพท์มือถือเคร่ืองคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต
สังคมออนไลน์อาทิ Facebook, Line, Twitter เพ่ือให้ผู้สูงอายุก้าวทันโลก
สมัยใหม่เข้าสังคมและใกล้ชิดกับลูกหลานและเพื่อนฝูงได้มากขึ้นเทคโนโลยี
เหลา่ นีจ้ ะช่วยทาให้ผู้สงู อายุมีความสะดวกสบายในการสื่อสารระหว่างบคุ คลกัน
ได้อย่างต่อเนื่องทันเวลาและทาให้ผู้สูงอายุเป็นผู้สูงอายุในยุค Digital ได้อย่าง
กลมกลนื ร่วมกบั คนวัยอืน่ ๆ (Digital Ageing) นอกจากนผี้ ูส้ งู อายคุ วรสรา้ งเสน่ห์
ให้กับตนเองด้วยการมีทัศนคติเชิงบวกและมีพฤติกรรมสูงอายุเชิงสร้างสรรค์
เพ่ือท่ีจะได้เป็นท่ีรักและดึงดูดลูกหลานให้อยากเข้ามาหาและอยู่ใกล้ชิดใน
ขณะที่ลูกหลานก็ควรมีความรักความกตัญญูรู้หน้าท่ีมีความเข้าใจเห็นอกเห็นใจ
และให้การดูแลเอาใจใส่ผู้สูงอายุขณะเดียวกันผู้สูงอายุยังสามารถเป็นผู้สูงอายุ
หัวใจวัยรุ่น (Young @ Heart) ด้วยการเปิดรับส่ิงใหม่ๆได้ตลอดเวลาและเป็น
ผู้สูงอายุที่เปี่ยมพลังหรือพฤฒพลัง (Active Aging) โดยดูแลสุขภาวะตัวเองท้ัง
รา่ งกายจติ ใจอารมณ์สังคมและมคี วามกระฉบั กระเฉงอยเู่ สมอ
1.4 ส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาผู้สูงอายุควรมีการนาข้อมูลผู้สูงอายุด้านความรู้
ความสามารถและศักยภาพของผู้สูงอายุมาศึกษาวิเคราะห์เพื่อวางแผนกาหนด
ลักษณะของงานท่ีเหมาะสมกับผู้สงู อายใุ นแต่ละกลุ่มเป้าหมายทั้งน้ลี ักษณะงาน

18

ต้องเป็นงานที่ไม่เหนื่อยล้าจนเกินไปและเหมาะสมกับสุขภาพของผู้สูงอายุโดย
มุ่งให้ผู้สูงอายุได้คลายเหงาด้วยการมีกิจกรรมผ่านการทางานและสร้างความ
ภูมิใจและความสุขให้ผู้สูงอายุเป็นสาคัญในขณะเดียวกันผู้สูงอายุก็ได้ทา
ประโยชน์ใหก้ บั ผูอ้ ่ืน

2 การเตรยี มความพร้อมดา้ นมาตรการเชงิ ระบบ
2.1 ดา้ นสขุ ภาพอนามยั
(1) พัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโดยจัดบริการท่ีครอบคลุมบริการด้านการ
ดูแลระยะกลางระยะยาวและระยะสุดท้ายภายใต้ระบบบริการสุขภาพสาหรับ
ผู้สูงอายุท่ีเป็นบริการท้ังในสถานพยาบาลเช่ือมต่อถึงการให้บริการท่ีบ้านของ
ผู้สูงอายุและการให้บริการในชุมชนโดยให้ความสาคัญกับการส่งเสริมให้ชุมชน
ท้องถิ่นเป็นฐานในการดูแลสนับสนุนให้มีการเพิ่มขีดความสามารถในการดูแล
โดยครอบครัว (Home Health Care) ท้ังในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉินโดยให้
ความสาคัญการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวทั้งในเขตเมืองและ
ชนบท
(2) พัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุเพ่ือรองรับการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโดย
กาหนดให้มีหลักสูตรมาตรฐานในการฝึกอบรมท้ังหลักสูตรระยะส้ันท่ีเป็นการ
ให้ความรู้และทักษะพื้นฐานและหลักสูตรระยะยาวที่เน้นความเปน็ มืออาชีพใน
การทาหน้าที่ให้การดูแลขณะเดียวกันควรมีการจัดอบรมให้ความรู้แก่สมาชิก
ครอบครัวของผู้สูงอายุด้วยเพ่ือให้มีความรู้และทักษะในการร่วมทาหน้าที่ให้
การดูแลผู้สูงอายุอยา่ งถูกต้องเหมาะสมนอกจากนี้ควรมีการสง่ เสรมิ ภาพลักษณ์
และสร้างแรงจูงใจในการจ้างงานและประกอบอาชีพด้านผู้ดูแลรวมถึงการให้
ทนุ การศึกษาแก่คนในพืน้ ท่เี พื่อกลบั มาทางานในชุมชนของตนเอง
(3) จัดทาและรับรองมาตรฐานสถานดูแลและบุคลากรด้านผู้สูงอายุเพ่ือให้เกิดการ
คุ้มครองดูแลผู้สูงอายุท่ีใช้บริการสถานดูแลผู้สูงอายุท้ังในเร่ืองบริการที่ได้รับ
บุคลากรทท่ี าหน้าทใ่ี ห้การดแู ลอาคารสถานที่ความปลอดภยั รวมท้ังระบบส่งต่อ
ผู้สงู อายใุ นกรณฉี กุ เฉินหรอื จาเป็นทต่ี ้องไปใชบ้ รกิ ารท่ีโรงพยาบาลตลอดจนการ
ควบคุมด้านราคาค่าบริการทั้งนี้เพ่ือให้เกิดระบบและกลไกภาครัฐในการ
ควบคุมคุณภาพและกากับดูแลบริการของสถานดูแลผู้สูงอายุเพ่ือให้ได้รับการ
ยอมรับและสรา้ งความนา่ เชอ่ื ถอื ทงั้ ในระดบั ชาติและระดับสากล
2.2 ด้านการสร้างหลักประกันด้านรายได้เพื่อวัยสูงอายุควรรณรงค์ให้มีการเตรียม

ความพร้อมเร่ืองการออมต้ังแต่อยู่ในวัยทางานเพ่ือให้เงินออมเป็นแหล่งรายได้ท่ีย่ังยืนในวัย

19

สูงอายุโดยเฉพาะแรงงานที่อยู่นอกระบบเพ่ือสร้างหลักประกันรายได้ในวัยสูงอายุโดยเร่ง
ระดมการเพิ่มจานวนสมาชิกท่ีอยใู่ นวัยทางานให้กบั “กองทนุ การออมแห่งชาติ (กอช.)” ด้วย
การเร่งประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจให้เข้าถึงทุกภาคีเครือข่ายเพื่อให้ประชาชน
ตระหนักในเร่ืองของการออมเพื่อยามชราภาพท้ังน้ีภาครัฐภาคธุรกิจเอกชนตลอดจนสถาบัน
การเงินและการลงทุนต่างๆควรมีการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมความรู้เร่ื องการออมและการ
ลงทุนท่ีเหมาะสมตามชว่ งอายใุ หแ้ กป่ ระชาชนทุกชว่ งวยั ด้วย

2.3 ขยายโอกาสการทางานของผู้สูงอายุ คนไทยในปัจจุบันมีสุขภาพดีและอายยุ นื
กว่าในอดีตท่ีผ่านมาการขยายอายุการทางานเป็นทางเลือกหน่ึงในภาวะท่ีมีปัญหาขาดแคลน
แรงงานรุนแรงมากข้ึนผู้สูงอายุท่ีทางานวิชาการหรือเป็นผู้เชี่ยวชาญและมีความชานาญ
เฉพาะด้านควรได้รับการพิจารณาให้ขยายระยะเวลาเกษียณอายุแล้วแต่กรณีตามความ
เหมาะสมเน่ืองจากบุคคลเหล่านี้ยังเป็นทรัพยากรท่ีสาคัญและยังสามารถสร้างประโยชน์
ให้กับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศได้ทั้งน้ีรัฐบาลได้มีมติคณะรัฐมนตรี (8 พฤศจิกายน
2559) สนับสนนุ การจ้างงานผู้สูงอายุในสถานประกอบการแล้ว

2.4 จัดให้มีสภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมและปลอดภยั สาหรับผู้สูงอายุและคนทุกวัย
ส่งเสริมรณรงค์และสร้างมาตรการจูงใจให้มีการนาแนวคิดการออกแบบเพื่อทุกคน
(Universal Design) มาปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมอย่างครอบคลุมทั่วถึงโดยเฉพาะในพื้นท่ี
สาธารณะซึ่งพระราชบัญญัติผู้สงู อายุ

มาตรา 11 (5) ได้กาหนดว่าผู้สูงอายุมีสิทธิได้รับการคุ้มครองการส่งเสริมและ
สนับสนุนในด้านการอานวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุในอาคาร
สถานท่ียานพาหนะหรือบริการสาธารณะอื่นโดยการใช้ Universal Design หรือการ
ออกแบบสาหรับทุกคนในสังคมมาเป็นมาตรฐานในการออกแบบส่ิงก่อสร้างและจัด
สภาพแวดล้อมในสังคมโดยเฉพาะบริการสาธารณะเพื่อให้ทุกคนเข้าถึงได้อย่างสะดวกและ
ปลอดภัยทงั้ เดก็ สตรมี ีครรภ์ผสู้ งู อายคุ นพกิ าร

2.5 ใช้เศรษฐกิจกระตุ้นและสนับสนุนสังคมสูงอายุ (Silver Economy)และ
สนับสนุนให้ภาคธุรกิจและการบริการร่วมกันพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่างๆสาหรับผู้สูงอายุโดย
เช่ือมโยงเร่ืองผู้สงู อายกุ ับสนิ ค้าและบรกิ ารโดยการผลิตและคิดค้นออกแบบผลติ ภณั ฑ์เพ่ือจะ
ได้มีสินค้าหรือบริการใหม่ๆท่ีเหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุเช่นอุปกรณ์อานวยความสะดวกใน
ชีวิตประจาวนั ภายในบา้ นเฟอรน์ ิเจอร์ทเ่ี หมาะสมและปลอดภัยกบั ผ้สู ูงอายุที่พักอาศยั สาหรับ
ผู้สูงอายุโซนสาหรับผู้สูงอายุในภาคธุรกิจบริการต่างๆบริการด้านศูนย์ดูแลผู้สูงอายุบริการ
ทางการแพทยส์ าหรบั ผู้สงู อายกุ ารท่องเทยี่ วสาหรับผูส้ ูงอายุเปน็ ตน้

2.6 พัฒนาระบบข้อมูลผู้สูงอายุจัดทาระบบฐานข้อมูลผู้สูงอายุท่ีครอบคลุมและมี
ความละเอียดเป็นการเฉพาะโดยมีการแยกแยะกลุ่มผู้สูงอายุ (Segmentation) ตามระดับ

20

อายุหรือระดับการพ่ึงพา (ติดสังคมติดบ้านติดเตียง) เพ่ือใช้ประโยชน์ในการวางแผนรองรับ
ผู้สูงอายุแต่ละกลุ่มอาทิการแบ่งผู้สูงอายุตามระดับกลุ่มอายุเพศสถานะการศึกษาสุขภาพ
สภาพครอบครัวบุคลากรผูด้ แู ลศักยภาพและความรคู้ วามสนใจฯลฯ

2.7 เพ่ิมขีดความสามารถและบทบาทขององค์กรบริหารท้องถ่ินในการดูแล
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุส่งเสริมความรู้ทักษะในการดาเนินงานด้านผู้สูงอายุบนแนวคิด “ร่วม
คิดร่วมทา” มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการกาหนดนโยบายและแนวทางในการดาเนินงาน
เพื่อรองรับสังคมสูงอายุระหว่างส่วนกลางส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่นโดยการเช่ือมโยงจตุ
พลัง “ท้องถ่ินท้องที่องค์กรชุมชนและหน่วยงานของรัฐในชุมชน” ให้ร่วมกันขับเคลื่อนงาน
เพ่ือดูแลคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยสนับสนุนให้มีระเบียบปฏิบัติท่ีเอ้ือต่อการดาเนินงานของ
องคก์ รทอ้ งถน่ิ ในการจัดสวสั ดิการและดูแลคุณภาพชีวิตผู้สงู อายุ

2.8 สนบั สนนุ ใหม้ ีกฎหมายกตญั ญูส่งเสริมและสนับสนุนคา่ นิยมในเรื่องความเอ้ือ
อาทรและความกตัญญูด้วยการมีระเบียบมติคณะรัฐมนตรีหรือกฎหมายท่ีช่วยกระตุ้น
ค่านิยมและสนับสนุนให้ลกู หลานได้มีวันลาเพื่อกลับมาเย่ียมเยียนครอบครวั และผ้สู งู อายุหรือ
ส่งเสริมให้มีมาตรการและสวัสดิการเพ่ือให้ลูกหลานไปเยี่ยมครอบครัวหรือผู้สูงอายุเช่น
มาตรการทางภาษี/ให้สิทธิวันลา/ให้ส่วนลดค่าเดินทางแก่ลูกหลานท่ีกลับไปเย่ียมครอบครัว
หรือผู้สูงอายุการส่งเสริมให้ภาคเอกชนและส่ือมวลชนจัดรายการพิเศษสาหรับลูกหลานท่ีพา
ผูส้ ูงอายมุ าซื้อสนิ ค้าหรือใช้บริการเพ่ือเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างวยั และความเอ้ืออาทร
ของสมาชิกครอบครัว

2.9 ส่งเสริมการวิจัยและการพัฒนาเพ่ือรองรับสังคมสูงอายุให้มีการใช้ประโยชน์
จากความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการศึกษาวิจัยค้นคว้า
พัฒนาความรู้และนวัตกรรมเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายทุ ั้งในเรอื่ งสุขภาพอนามัยดา้ น
สังคมส่ิงแวดล้อมการดารงชีวิตประจาวันรวมทั้งวัสดุอุปกรณ์เพื่ออานวยความสะดวกแ ละ
ปลอดภัยสาหรับผู้สูงอายุท้ังภายในและภายนอกบ้านอาทิหุ่นยนต์ช่วยดูแลผู้สูงอายุ อุปกรณ์
ปอ้ งกันการหกลม้ ในผูส้ งู อายุอุปกรณเ์ พื่อการใช้สอยในชีวิตประจาวันอาทิยานพาหนะสาหรับ
ผู้สูงอายุและสุขภณั ฑ์อุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆตลอดจนผลติ ภัณฑ์อาหารเคร่ืองดื่มท่ีเหมาะสมและ
ปลอดภัยสาหรับผสู้ ูงอายเุ ป็นต้น

21

22

8. สงั คมผู้สูงอายุคอื อะไร

องค์การสหประชาชาติ (United Nations : UN) ได้ให้นยิ าม ผสู้ งู อายุ (Older
person) หมายถงึ ประชากรทัง้ เพศชายและหญงิ ทมี่ ีอายุมากกว่า60 ปีข้นึ ไปและไดแ้ บ่งระดับ
การเขา้ สสู่ ังคมผู้สงู อายุเป็น 3 ระดับ (มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช, 2557) ไดแ้ ก่

1. ระดบั การกา้ วเข้าสสู่ งั คมผสู้ ูงอายุ (Aging society) หมายถึง สังคมหรือ
ประเทศทม่ี ปี ระชากรอายุ 60 ปขี ึน้ ไปมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทงั้ ประเทศหรอื มี
ประชากรอายตุ ้ังแต่ 65 ปีมากกว่าร้อยละ 7 ของประชากรทั้งประเทศ แสดงวา่ ประเทศน้นั
กาลงั เข้าสู่สังคมผสู้ ูงอายุ

2. ระดับสังคมผู้สูงอายโุ ดยสมบรู ณ์ (Aged society) หมายถึง สงั คมหรอื ประเทศ
ท่มี ปี ระชากรอายุ 60 ปขี นึ้ ไป มากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรท้งั ประเทศหรอื มปี ระชากร
อายตุ ้ังแต่ 65 ปมี ากกวา่ ร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ แสดงวา่ ประเทศนน้ั เข้าสู่สงั คม
ผู้สูงอายโุ ดยสมบูรณ์

3. ระดับสังคมผสู้ งู อายุอย่างเต็มท่ี (Super-aged society) หมายถึง สังคมหรือ
ประเทศทีม่ ปี ระชากรอายุ 65 ปีขนึ้ ไปมากกวา่ ร้อยละ 20 ของประชากรท้ังประเทศ แสดงว่า
ประเทศน้ันเข้าสู่สังคมผู้สงู อายุอยา่ งเต็มที่

สาหรบั ประเทศไทยไดน้ ิยามคาวา่ “ผู้สงู อายุ” ไว้ในพระราชบญั ญัตผิ ู้สูงอายุ พ.ศ.
2546 มาตรา 3 วา่ หมายถงึ “ผ้ทู ่ีมีอายุ 60 ปีขนึ้ ไป”

23

9. มาตรการรองรับสังคมผสู้ ูงอายขุ องประเทศไทย
การเปล่ยี นแปลงโครงสรา้ งประชากรเข้าสสู่ งั คมผ้สู ูงอายุ

มาตรการรองรบั สงั คมผสู้ งู อายุของประเทศไทยการเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งประชากร
เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เป็นประเด็นท่ีภาครัฐให้ความสาคัญ เพราะมีผลกระทบอย่างกว้างขวาง
ท้ังในระดับมหภาค ได้แก่ ผลต่อผลผลิตรวมของประเทศ (GDP)รายได้ต่อหัวของประชากร
การอออมและการลงทุน งบประมาณของรฐั บาล การจ้างงานและผลิตภาพของแรงงาน และ
ในระดับจุลภาค ได้แก่ ผลต่อตลาดผลิตภัณฑ์และบริการด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านการเงิน
และด้านสุขภาพด้วยความสาคัญดังกล่าวรัฐบาลได้เตรียมความพร้ อมเพ่ือรองรับสั ง คม
ผู้สูงอายุโดยได้กาหนดนโยบาย แผนงานและมาตรการต่าง ๆ(สานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรี,2561) ดังนี้

1. แผนงานทันตสุขภาพสาหรับผู้สูงอายุประเทศไทย พ.ศ.2558-2565 ของ
กระทรวงสาธารณสขุ ตามมตคิ ณะรัฐมนตรเี มอ่ื วันท่ี 6 มกราคม 2558

2. การจัดสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับคนพิการและผู้สูงอายุ ตามมติ
คณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 29 ธันวาคม 2558 วันที่ 28 มิถุนายน 2559 และวันที่
28 กุมภาพนั ธ์ 2560

24

3. มาตรการรองรับสังคมผู้สูงอายุ ตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี 8 พฤศจิกายน
2559 ไดแ้ ก่
3.1 การจ้างงานผู้สูงอายุ ซ่ึงมีสาระสาคัญเป็นการยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลโดยให้นายจ้างนารายจ่ายประเภทเงินเดือนและ
ค่าจา้ งสาหรบั การจ้างบคุ ลากรผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปบี รบิ ูรณ์ขนึ้ ไป) มาหักค่าใช้จา่ ยได้
2 เท่า สาหรับในกรณีอัตราค่าจ้างไม่เกิน 15,000.-บาทต่อคนต่อเดือนโดยนายจ้าง
สามารถขอใช้สิทธิได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของจานวนลูกจ้างท้ังหมดในบริษัทหรือห้าง
หุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นทั้งน้ี ลูกจ้างจะต้องไม่เป็นผู้ถือหุ้นของกิจการ กรรมการ
ผู้บรหิ ารหรือเคยเป็นผู้บรหิ ารของกจิ การ

3.2 การสร้างทีพ่ กั อาศัยสาหรบั ผสู้ งู อายุ (Senior Complex)แบ่งเป็น 3
แนวทางคือ

(1)มอบหมายให้กรมธนารักษ์นาที่ราชพัสดุมาสร้างท่ีพักอาศัย
สาหรับผู้สูงอายุ 4 พื้นที่นาร่อง ได้แก่ ชลบุรี นครนายก เชียงรายและเชยี งใหม่
โดยกาหนดอตั ราค่าเช่าและค่าธรรมเนียมในอัตราเดียวกันกับโครงการธนารักษ์
ประชารัฐ ยกเวน้ พ้ืนท่ีในจงั หวัดเชียงใหม่

(2).ให้การเคหะแห่งชาติ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) และ
สถาบนั พฒั นาองคก์ รชุมชน (องคก์ ารมหาชน) สนบั สนนุ จดั หาสถานที่เหมาะสม
เพ่ือสร้างที่พักอาศัยสาหรับผู้สูงอายุบนพื้นที่อื่นโดยนาหลักการของโครงการ
บา้ นมน่ั คงและบา้ นประชารัฐมาใช้

(3)กาหนดให้ธนาคารออมสินและธนาคารอาคารสงเคราะห์ให้
การสนับสนุนสินเชื่อเง่ือนไขแบบผ่อนปรนให้กับผู้ประกอบการพัฒนา
อสังหาริมทรัพย์ที่ต้องการพัฒนาโครงการท่ีพักอาศัยสาหรับผู้สูงอายุ (Pre-
Finance) ในวงเงินรวมไม่เกิน 4,000 ล้านบาท รวมถึงยังปล่อยสินเชื่อให้ผู้
ต้องการมีบา้ น หรือ Post-Finance อกี ด้วย โดยจะให้สทิ ธิใ์ นการจองแก่บุตรที่
ทาหนา้ ทเ่ี ลย้ี งดบู ิดามารดาทีส่ งู อายุเปน็ ลาดับแรก
3.3 การให้สินเชื่อที่อยู่อาศัยสาหรับผู้สูงอายุ (Reverse Mortgage)เพ่ือให้
ผู้สูงอายุนาท่ีอยู่อาศัยที่ตนมีกรรมสิทธิ์และปลอดภาระหน้มี าเปล่ียนเป็นรายได้ในการ
ดารงชีพเป็นรายเดือนได้ ซึ่งมูลค่าเงินท่ีกู้ได้จะข้ึนอยู่กับอายุของผู้กู้ มูลค่าบ้านและ
อตั ราดอกเบี้ย โดยใหธ้ นาคารอาคารสงเคราะหผ์ ้นู าร่องผลติ ภัณฑโ์ ดยผู้กู้จะต้องมีอายุ
60 ปีขึ้นไป และมีกรรมสิทธ์ิในที่อยู่อาศัย อายุสญั ญามี 2 รปู แบบ คือ อายุสญั ญาตาม
อายุขัยของผูก้ ู้ และอายุสัญญาท่ีกาหนดชว่ งเวลา

25

3.4 การออมภาคบังคับสาหรับแรงงานในระบบที่มีอายุตั้งแต่ 15-60 ปี
ครอบคลุมลูกจ้างเอกชน ลูกจ้างชั่วคราว ส่วนราชการ พนักงานราชการและพนักงาน
รัฐวิสาหกิจ ซึ่งไม่ได้เป็นสมชิกกองทุนสารองเลี้ยงชีพ โดยกาหนดให้นายจ้างและ
ลกู จ้างต้องร่วมกันสง่ เงนิ เข้ากองทนุ ในอตั รา 3% ของคา่ จ้าง แตไ่ มเ่ กนิ 1,800 บาทต่อ
เดือน ยกเว้นลูกจ้างที่มีรายได้ต่ากว่า 1 หมื่นบาทต่อเดือน นายจ้างจะเป็นผู้จ่าย
ท้ังหมด

ส่วนกรณีท่ีมีกองทุนสารองเล้ียงชีพอยู่แล้วแต่ส่งไม่ถึง 3%เช่น นาส่ง
กองทุนสารองเล้ยี งชพี เดิมเดือนละ 1%ในสว่ นท่เี หลือก็ตอ้ งมาน าส่งทีก่ องทนุ บาเหน็จ
บานาญแห่งชาติ (กบช.) อีก 2% เพ่ือให้ครบ3%และลูกจ้างผู้ที่มีกองทุนสารองเล้ียง
ชีพนี้จะสามารถเลือกรปู แบบการรับเงินได้เมื่อครบอายตุ ามกาหนด โดยสามารถเลือก
รบั เงินเปน็ กอ้ น หรือรับตามงวดเป็นรายเดอื นจนครบ

3.5 การบูรณาการระบบบา เหน็จบานาญแห่งชาติ ได้มีการจัดต้ัง
คณะกรรมการนโยบายปีบาเหน็จบานาญแห่งชาติและกองทุนบาเหน็จบานาญ
แห่งชาติ(กบช.)และอนุมัติ(ร่าง) พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายบา เหน็จ
บานาญแห่งชาติและ(ร่าง) พระราชบัญญัติกองทุนบาเหน็จบานาญแห่งชาติ เพ่ือ
กาหนดให้คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่จัดทานโยบายและกาหนดทิศทางในการ
พัฒนา และกากับดูแลระบบบาเหน็จบานาญของประเทศให้มีความครอบคลุมเพ่ือให้
สมาชิกได้รับผลประโยชน์จากการลงทุนท่ีเหมาะสมโดย(ร่าง) กฎหมายท้ัง 2 ฉบับ
ดังกลา่ ว ขณะน้ีได้ผ่านการตรวจพจิ ารณาของคณะกรรมการกฤษฎกี าวาระ 1 แลว้

3.6 การให้เงินช่วยเหลือเพ่ือการยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อยและ
มาตรการภาษี ตามมตคิ ณะรฐั มนตรีเม่ือวนั ที่ 23 พฤษภาคม 2560 เพ่ือสนบั สนนุ การ
มีบุตร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมาตรการรองรับโครงสร้างประชากรของประเทศที่
ปรับเปลี่ยนเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ และมีสัดส่วนของประชากรวัยแรงงานลดลง
เพ่ือให้โครงสร้างประชากรในภาพรวมของประเทศมีความสมดุลและมีคุณภาพมาก
ยงิ่ ขึ้น ทั้งนี้ในการดาเนินมาตรการใหเ้ งนิ ชว่ ยเหลือเพ่ือการยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่มีรายได้
น้ อ ย ไ ด้ ใ ห้ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร ค ลั ง ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ เ ป็ น ล า ดั บ แ ร ก เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร จ่ า ย เ งิ น
ช่วยเหลือเพิ่มเติมให้แก่ผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อยในโครงการลงทะเบียนเพ่ือสวัสดิการ
แห่งรัฐมาตรการท้ังหมดนี้ ออกมารองรับสังคมผู้สงู อายุ เน่อื งจากประเทศไทยได้เข้าสู่
การเป็นสังคมผู้สูงอายุ คือ มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปไม่ต่ากว่า 10%ของประชากร
ท้ังประเทศมาตั้งแต่ปี 2551 และสิ้นปี 2559ประเทศไทยมีอัตราส่วนผู้สูงอายุคิดเป็น
18%ของประชากรท้ังประเทศและคาดวา่ จะกลายเป็นสังคมผ้สู ูงอายโุ ดยสมบูรณ์ หรือ
มปี ระชากรอายุ 60 ปขี นึ้ ไปไม่ต่ากวา่ 20%ของประชากรทงั้ ประเทศในปี 2564

26

10.สงั คมสูงอายุสู่อนาคตประเทศไทย

ในอดีตประเทศไทยมีนโยบายวางแผนครอบครัวแห่งชาตินานหลายสิบปีมาแลว้ โดย
มกี ารรณรงค์ท้ังในภาครฐั และเอกชนเพื่อการคุมกาเนดิ ซงึ่ ก็ไดผ้ ลเป็นอยา่ งดี แตก่ ็ตอ้ งยอมรับ
ว่านโยบายท่ีดมี ากในสมัยหน่ึงอาจจะไม่เหมาะสมหรอื กลับส่งผลกระทบต่อสังคมในภายหลัง
อย่างไมไ่ ดต้ ั้งใจ

ประเทศไทยเริ่มมีการนานโยบายวางแผนครอบครัวแห่งชาติมาใช้ ในปี พ.ศ. 2513
ซ่ึงขณะน้ันประเทศเรามีประชากรรวมอยู่ที่จานวนประมาณ 37 ล้านคนและการใช้นโยบาย
เชิงรุกทาให้ทารกเกิดใหม่ได้เร่ิมลดลงอย่างมีนัยสาคัญ ท้ังน้ีมีหลายปัจจัยนอกเหนือจากผล
พวงของการคมุ กาเนิด กล่าวคอื 1) ครอบครัวไทยในปจั จุบันไม่มีบตุ รดว้ ยความต้ังใจ หรอื ที่มี
คาย่อว่า “DINK” ( Double Income No Kids) 2) หญิงไทยมีความรู้ความสามารถท่ีดูแล
ตัวเองได้และไม่ต้องการมีครอบครัว และ 3) ด้วยสภาพทางเศรษฐกิจและปัจจัยอ่ืนๆ ที่ไม่
อานวย อย่างไรก็ตามในมุมกลับกันน้ัน ประเทศก็ยงั มีปัญหาคุณแมว่ ัยใส หรอื “คนพร้อมไม่
มี คนมไี ม่พร้อม” ทส่ี ง่ ผลกระทบตามมาต่อคุณภาพในการดารงชวี ิตและโครงสรา้ งของสังคม
อีกดว้ ย

รายงานของกรมกิจการผู้สูงอายุระบุว่าประเทศไทยจะเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุโดย
สมบูรณ์” (Complete Aged Society) ในปี พ.ศ. 2564 (20 %) และเข้าสู่ภาวะ “สังคม
สูงอายุระดับสุดยอด” (Super Aged Society) ใน พ.ศ. 2578 โดยคาดการณ์ว่าจะมี
ประชากรสูงอายเุ พิ่มขน้ึ รอ้ ยละ 28 ของจานวนประชากรทัง้ หมด

จานวนประชากรท่ีออกจากตลาดแรงงานในหลายปัจจัย ส่งผลต่อการขาดแคลน
แรงงานโดยเฉพาะแรงงานมฝี ีมือ ประกอบกบั ตลาดแรงงานมคี วามผันผวนเช่นวยั หนุ่มสาวท่ี
ไม่ต้องการทางานประจา อยู่ในกลุ่มของ GIG Economy หรือในงานอาชีพอิสระต่างๆ เป็น
ตน้ ประเดน็ เหลา่ น้ีจะสง่ ผลให้จานวนผ้คู นในตลาดแรงงานมีจานวนนอ้ ยกว่าผู้สูงอายใุ นไม่ชา้

ปัญหาใหญ่ของประเทศได้เกิดขึ้นแล้ว ดารงอยู่และถูกตอกย้าในภาวะ Covid
19 และ New Normal ท่เี หน็ ชดั เจนคือการขาดรายได้ จากรายงานการศึกษาพบวา่ ผู้สูงอายุ
จานวนมากต้องพ่ึงพาลูกหลาน และมีจานวนที่น้อยมากที่มีรายได้จากเงินออมหรือจากเงิน
ลงทุน และคนไทยส่วนใหญ่ (ในทุกๆ วัย) ยังขาดการออมอย่างเป็นระบบและมีเงินเก็บ
เพียงพอในยามฉุกเฉนิ หรอื ในยามเกษียณก็ตาม

ในส่วนของรัฐบาลนั้นก็ได้ออกนโยบายรองรับสังคมสูงอายุมาระยะหนึ่งแล้วไม่
ว่าจะเปน็ เบ้ยี ยังชีพรายเดือน หรอื การตั้ง “กองทนุ การออมแห่งชาติ (กอช.)” โดยมกี ฎหมาย
รองรับ แต่ก็ต้องยอมรับว่านโยบายต่างๆ น้ันยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนได้
เบ็ดเสร็จเพียงพอด้วยเหตุผลของงบประมาณท่ีมีอยู่อย่างจากัด เช่น เบ้ียยังชีพรายเดือนๆละ
600-1,000 บาท หรือจานวนอัตราสูงสุดท่ีรัฐจะสนับสนุนต่อการออมในกองทุนการออม

27

แห่งชาติได้ไม่เกิน 13,200 บาทต่อปี ซึ่งหากคานวณคร่าวๆ แล้วจะได้ตัวเลขรายเดือนท่ี
ผู้สูงอายุรวมเงินช่วยทั้งสองทางประมาณเพียง 3,000 บาทต่อเดือนเท่านั้น โดยกองทุนการ
ออมแห่งชาติเปิดดาเนินการมาตั้งแต่ปี 2558 จนถึงปี 2562 มีสมาชิกประมาณ 2.4 ล้านคน
โดยในจานวนน้ี เกอื บ 50% ของทัง้ หมดเปน็ เกษตรกร

ปัญหาการออมเป็นเพียงปัญหาหนึ่งท่ีรัฐบาลยงั คงตอ้ งขบคิดหาแนวนโยบายใหม่ๆท่ี
จะเข้ามาแก้ไข ไม่รวมถึงปัญหาสังคมสูงอายุอีกหลายบริบท เช่น สุขภาพ ภาวะจิตใจ
สภาพแวดล้อม การเข้าสังคมและการมีสังคมเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต (Lifelong
learning) ซ่ึงที่น่าสนใจคือแนวคิดการสร้างนโยบายในหลายประเทศเช่นในประเทศญี่ปุ่น ท่ี
สนับสนุนกลุ่มคนที่เป็น “Young Old” หรือ “Yold” (อายุระหว่าง 60-70 ปี) ท่ีมีศักยภาพ
มีความรู้และประสบการณ์ที่หากเราสามารถนาพลังบวกหรือการมีส่วนร่วมของคนกลุ่มนี้
กลับมาช่วยชาติ ช่วยสร้างสมดุลในตลาดแรงงานได้อย่างเป็นระบบแล้ว สังคมสูงอายุสู่
อนาคตประเทศไทยน่าจะได้เห็นแสงสว่างท่ีปลายอุโมงค์ (เทวัญ อุทัยวัฒน์ กลุ่มนโยบาย
สาธารณะเพอ่ื สงั คมและธรรมาภบิ าล)

ปัจจุบันผู้สูงอายุในประเทศไทย มีแนวโน้มอยู่คนเดียวหรืออยู่ลาพังกับคู่สมรส
เพ่ิมข้ึน และมีความจาเป็นต้องพึ่งพาการดูแล โดยพบว่าผู้สูงอายุท่ีอยู่ตามลาพังกับคู่สมรส
เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 20.6 ของจานวนผู้สูงอายุท้ังหมด และเป็นผู้สูงอายุปลาย 80 ปีขึ้นไปมาก
ถึงร้อยละ 24 ที่ต้องการการดูแลปรนนิบัติ แต่ขาดผู้ดูแลมีสัดส่วนมากถึงร้อยละ 4 ของ
ผู้สูงอายุ ซ่ึงส่วนใหญ่มักมีปัญหาด้านสุขภาพ โดยเฉพาะโรคเร้ือรัง ทาให้มีแนวโน้มของการมี
ภาวะพึ่งพิงเพิม่ สูงขึ้นและตอ้ งการการเกื้อหนุนพึ่งพาจากภาครฐั และสังคมมากข้ึน

จากข้อมูลสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระบุว่ามีประชากร
ผู้สูงอายุในปี 62 จานวน 11,136,059 คน แบ่งเปน็ ชาย 4,920,297 คน หญงิ 6,215,762 คน
ไมส่ ามารถอ่านออกเขยี นได้ 1,677,728 คน อย่เู พียงลาพัง 1,223,451 คน และไม่มสี วสั ดิการ
อกี จานวน 85,805 คน ซ่งึ ตัวเลขเหลา่ น้ยี งั คงมีแนวโนม้ ท่เี พิ่มสูงขนึ้ อย่างตอ่ เนอ่ื ง

เมื่อแนวโน้มของผู้สูงอายุที่อยู่ตามลาพังสูงขึ้น ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและภัย
ทางสงั คมอันเนื่องมาจากการเปล่ียนแปลง ไดแ้ ก่ การทอดทงิ้ ซึง่ หมายถึงการละเลย เพกิ เฉย
หรือการกระทาใด ๆ อันมีผลทางลบต่อทางร่างกาย ทางเพศ ทางอารมณ์จิตใจของผู้สูงอายุ
ตลอดจนการสรา้ งสภาวะแวดลอ้ มท่ไี มเ่ อื้อและจากัดตอ่ การดารงชีวติ ของผ้สู งู อายุ

นอกจากน้ีความพร้อมทางคุณภาพชีวิตหลังเกษียณของคนไทย ยังไม่ดีเท่าประเทศ
อ่ืน ซ่ึงปัญหาน้ีสะท้อนได้จากข้อมูลเกี่ยวกับรายได้ เมื่อเทียบกับประเทศอ่ืนในภูมิภาค
เดียวกัน ซึ่งประชากรไทยมีรายได้ต่อหัว 1.9 แสนบาทต่อปี เงินเดือนเฉลี่ย 14,000 บาท ถือ
ว่าอยู่ในระดับไม่สูงมากนัก ทาให้ความสามารถในการเลย้ี งดูตนเองในยามแกม่ ีไม่เพยี งพอ

28

ส่วนสาเหตุที่มีผู้สูงอายุอยู่ตามลาพังเพ่ิมมากข้ึน มาจากลักษณะของสถาบัน
ครอบครัวไทยได้เปล่ียนไป จากเม่ือก่อนเป็นครอบครัวขนาดใหญ่อยู่กันหลายคน พ่อ แม่ ปู่
ย่า ลุง ปา้ น้า อา แต่ปจั จุบันเปน็ ครอบครวั เดีย่ วมากขนึ้ อาจจะประกอบไปด้วยแคพ่ ่อแม่ ลูก
เม่ือลูกโตข้ึนไปประกอบอาชีพของตนเอง เหลือแค่พ่อแม่ตามลาพัง และส่วนหนึ่งมาจากใน
ปัจจุบันไม่ค่อยมีลูกกันมากข้ึน เม่ือถึงวันหน่ึงก็อยู่กันแค่เพียงลาพัง นอกจากน้ียังมีคนโสด
เพ่ิมมากขน้ึ เชน่ เดยี วกนั

จะเตรยี มรับมอื กันอย่างไร
ผลกระทบและการเตรียมความพร้อมรับมือกับสังคมผู้สูงอายุจึงมีความสา คัญ

แนวโน้มสังคมผู้สูงอายุที่เพิ่มข้ึนย่อมส่งผลทาให้ปัจจัยการผลิตทางด้านแรงงานลดลง การ
ออมลดลง รัฐบาลจาเป็นต้องเพ่ิมงบประมาณค่าใช้จ่ายทางด้านสวัสดิการและการ
รักษาพยาบาลเพ่ิมขึ้นเพ่ือดูแลและปฐมพยาบาลผู้สูงอายุมากข้ึน หากไม่มีการเตรียมความ
พร้อมการจัดสรรทรัพยากรแรงงานท่ีจะลดลงจะมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางด้าน
เศรษฐกิจและสังคม ท าให้รายได้ประชาชาติลดลงได้ ดังนั้นการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุการ
เตรียมความพร้อมเป็นเร่ืองสาคัญ ควรจะร่วมมือกันท้ังภาครัฐและเอกชน ซึ่งในปี พ.ศ.
2564 ประเทศไทยจะมีแนวโน้มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) โดยมี
ผู้สูงอายุ 20%จึงมีเวลาค่อนข้างน้อยในการเตรียมความพร้อมท้ังด้านบุคลากรและระบบ
ต่าง ๆ เพือ่ เสริมสร้างหลักประกันทางสังคมข้นั พ้นื ฐานสาหรบั ผู้สงู อายุโดยเฉพาะ โดยจะต้อง
เร่งดาเนินการดงั น้ี

-การปรับปรุงฐานข้อมูลเก่ียวกับผู้สูงอายุให้ทันสมัยเพ่ือท่ีจะได้ติดตามดูแลอย่าง
ใกลช้ ดิ และใหค้ วามช่วยเหลอื ได้อยา่ งทวั่ ถึงและตรงกับความต้องการอย่างแท้จรงิ

-การสร้างหลักประกันด้านสุขภาพและการรักษาพยาบาล ซ่ึงยังมีปัญหาเรื่อง
โรงพยาบาลที่ให้เลือกใช้บริการมีจ ากัด และไม่ค่อยได้รับความเช่ือถือด้านคุภรพการบริการ
นอกจากน้ี ยังมีปัญหาเรื่องการส่งต่อในกรณีฉุกเฉิน จึงเป็นหน้าท่ีของรัฐในการปรับปรุงและ
ควบคมุ คุณภาพของโรงพยาบาลและสถานพยาบาลทกุ แห่งใหไ้ ด้มาตรฐาน

- สนับสนุนการดูแลระยะยาวและการแก้ปัญหาการชาดแคลนผู้ดูแลผลกระทบจาก
ภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทาให้รปู แบบและขนาดของครวั เรือนเปล่ียนแปลงไป ขณะเดยี วกัน
ภาวการณ์เจ็บปุ่วยและพิการของผู้สูงอายุก็มีมากข้ึน ทาให้เกิดปัญหาด้านการดูแลระยะยาว
และการขาดแคลนผู้ดูแลจึงมีการเสนอให้คณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานผู้สูงอายุ
แห่งชาติ เร่งจัดทานโยบาย แผนการผลิตและพัฒนากาลังคนด้านการดูแลผู้สูงอายุท่ีเป็น
ทางการ

29

- สรา้ งหลักประกันด้านรายได้และสง่ เสรมิ การออมเพื่อวัยหลังเกษยี ณ ผ่านเครอ่ื งมือ
หรอื ระบบการออมประเภทต่าง ๆ ได้แก่ กองทุนประกนั สังคมกรณีชราภาพ กองทุนบาเหน็จ
บานาญ ข้าราชการและพนักงานรัฐวสิ าหกจิ กองทนุ สารองเลี้ยงชพี กองทุนรวมเพอ่ื การเล้ียง
ชพี กองทุนรวมหุน้ ระยะยาว การประกันชีวิตและกองทุนบาเหน็จบานาญแห่งชาติ

-การส่งเสริมการมีงานทาของผู้สูงอายุ รวมถึงการขยายเกณฑ์กาหนดเกษียณอายุ
จาก 60 ปี เป็น 65 ปี เพื่อให้ผู้สูงอายุมีรายได้และได้ใช้ประสบการณ์และศักยภาพอย่าง
เต็มท่ี รวมถงึ เป็นการแก้ปญั หาการขาดแคลนแรงงานดว้ ย

-การสร้างเสริมความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน เพื่อให้สามารถดูแลปัญหา
ผสู้ ูงอายไุ ด้ด้วยตวั เองใหม้ ากที่สดุ

แนวคดิ การดูแลสง่ เสริมสุขภาพผสู้ งู อายุโดยครอบครัว
ผู้สูงอายุเป็นวัยท่ีมีประสบการณ์ชีวิตมาก และเป็นผู้มีความรู้ความสามารถในทาง

หนึ่งทางใดมาก่อน มีพลังสร้างสรรค์ส่งิ ต่าง ๆ ได้ดี ลกู หลานควรคานึงถึงคณุ ค่าและประโยชน์
ของผู้สูงอายุ โดยทั่วไป ผู้สูงอายุก็มีความยินดีและเต็มใจให้ข้อคิดเห็นต่าง ๆ รวมทั้งให้
คาปรึกษาแก่ผู้ที่อ่อนวัยกว่าอยู่แล้ว ในอดีตท่ีผ่านมา ผู้สูงอายุยังให้ชีวิตท่ีเป็นสุขตามสมควร
ซ่ึงจะใหป้ ระโยชนจ์ ากการดาเนินชวี ติ ของผู้สูงอายุ ในเวลาเดยี วกนั ด้วย เพ่ือช่วยใหผ้ ู้สงู อายุมี
สุขภาพจิตที่ดี สมาชิกในครอบครัว อันประกอบด้วย ลูกหลาน ฯลฯ ควรปฏิบัติต่อผู้สูงอายุ
ดังตอ่ ไปนี้

1. ช่วยนาให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าตนเองยังมีคุณค่า มีความสาคัญและมีความหวังในชีวิต
เช่น ขอคาแนะนาต่าง ๆ ขอความช่วยเหลือจากผู้สูงอายุให้ควบคุมดูแลบ้านเรือน เป็นท่ี
ปรกึ ษาอบรมเล้ียงดูลูกหลาน

2. ควรระมัดระวังคาพูด หรือการกระทาที่แสดงออกต่อผู้สูงอายุ เน้นความสาคัญ
ของผู้สูงอายุเป็นอันดับแรก ยกตัวอย่างเช่น เวลารับประทานอาหารเชิญชวนให้รับประทาน
อาหารกอ่ นและตกั ข้าวให้

3. ชวนผู้สูงอายุเล่าเร่ืองเหตุการณ์ประทับใจในอดีตของท่านให้ฟัง และรับฟังอย่าง
ต้งั ใจ จะทาใหผ้ ูส้ งู อายรุ ู้สกึ ว่า ยงั มีคนชนื่ ชมในบางสว่ นของชวี ติ ของตนอยู่

4. อานวยความสะดวกให้ผ้สู ูงอายปุ ฏิบัติกิจกรรมที่น่าสนใจต่าง ๆ เชน่ เมื่อผู้สูงอายุ
ต้องการไปวัดหรือศาสนสถานต่าง ๆ ลูกหลาน ควรจัดเตรียมข้าวของต่าง ๆ ให้ และจัดการ
รบั สง่ หรือเปน็ เพือ่ น

5. เอาใจใส่ดูแลเร่ืองอาหาร และการออกกาลังกายหรือทางานตามความถนัดให้
เหมาะสมกับวยั

30

6. ท่ีพักอาศยั หากผ้สู งู อายตุ อ้ งการแยกบ้านอยู่ หรือต้องการไปอยู่สถานที่ทีร่ ัฐจัดให้
ก็ควรตามใจ และพาลูกหลานไปเยี่ยมเมื่อมีโอกาส ถ้าหากผู้สูงอายุรู้สึกเป็นสุข และต้องการ
อยู่ร่วมกบั ลูกหลาน ก็ให้อยู่บ้านเดยี วกัน เพื่อเกิดความรูส้ ึกอบอุ่น

7. ช่วยให้ผู้สูงอายุมีโอกาสพบปะสังสรรค์กับญาติสนิท และเพ่ือนร่วมวัยเดียวกัน
โดยการพาไปเย่ียมเยียน หรือเชญิ เพือ่ นฝงู ญาตมิ ิตร มาสังสรรคท์ ี่บา้ นเป็นท่ีคลายเหงา พาไป
สถานทที่ เี่ ป็นศนู ยร์ วมของผสู้ งู อายุ เช่น วัด หรือชมรมผสู้ ูงอายใุ นชุมชน

8. ใหค้ วามสาคัญเหน็ คณุ ค่า และเคารพยกย่องนบั ถือ ดว้ ยการเชื่อฟงั คาส่งั สอนและ
ข้อแนะนาจากผู้สูงอายุ ร่วมมือกันรักษาฟื้นฟูขนบธรรมเนียมประเพณีเดิมของไทย เช่น
ประเพณีรดนา้ ดาหวั ผสู้ ูงอายุเน่อื งในวันสงกรานต์ เปน็ ตน้

9. ให้อภัยในความหลงลืม และความผิดพลาดท่ีผูส้ ูงอายุกระทา และยิ่งกว่านั้น ควร
แสดงความเห็นอกเหน็ ใจที่เหมาะสมดว้ ย

10. ช่วยเหลือดูแลรักษาพยาบาลยามเจ็บป่วย หรือพาไปตรวจสุขภาพให้การดูแล
อยา่ งใกลช้ ิดเมื่อเจ็บปว่ ยหนกั เรื้อรัง

31

11. “สวัสดกิ ารผูส้ ูงอายุประเทศไทย” กบั สิทธทิ ค่ี วรต้องรู้

ผู้สูงอายุ เป็นประชากรท่ีมีจานวนเพ่ิมมากข้ึนทุกปีอันเน่ืองมาจากความ
เจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ การดูแลสุขภาพท้ังทางกาย จิตใจ รวมถึง
การบริโภคอาหารอย่างถูกต้องและครบถ้วนตามวัยผู้สูงอายุ เมื่อผู้สูงอายุมีจานวนมากขึ้น
ความต้องการในการได้รับการดูแลจากรัฐ ภาคเอกชน และบุคคลรอบข้างย่อมมีมากข้ึนเป็น
เงาตามตัว ส่ิงหนึ่งที่ผู้สูงอายุจะได้รับคือ การจัดสวัสดิการทางสงั คม สาหรับผู้สูงอายุ ทั้งจาก
ภาครัฐ ภาคเอกชน หรือแมแ้ ต่ภาคประชาชนในชุมชน ทัง้ นีเ้ พื่อรองรับจานวนผู้สงู อายุที่จะมี
จานวนเพิม่ มากขึน้ เร่อื ยๆ

ข้อมูลจากสานักงานสถิติแห่งชาติรายงานถึงสถานการณ์ผู้สูงอายุของไทยว่ามี
แนวโน้มสูงข้ึนอย่างรวดเร็วมาก ปี 2560 จานวนประชากรสูงอายุมีตัวเลขอยู่ที่ 11.35 ล้าน
คน หรือร้อยละ 17 ของประชากรไทยทั้งประเทศ 65.5 ล้านคน และคาดการว่า อีก 4 ปี
ข้างหน้า ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ เมื่อสัดส่วนของประชากรอายุ
60 ปีข้ึนไปสูงถึงร้อยละ 20 และอีก 20 ปีข้างหน้าไทยจะมีประชากรสูงอายุถึง 20 ล้านคน
และท่ีสาคัญคือกลุ่มประชากรวัยปลาย (อายุ 80 ปขี น้ึ ไป) จะเพ่ิมข้ึนจาก 1.5 ลา้ นในปี 2560
มาเป็น 3.5 ล้านคน รายงานจากการสารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทยชี้ให้เห็นว่า
ผู้สูงอายุมีปัญหาเรื่องสุขภาพและอยู่ในภาวะช่วยเหลือตัวเองไม่ได้มีมากถึงร้อยละ 5 โดย
เฉพาะท่ีอย่ใู นวยั ปลายทไี่ ม่สามารถชว่ ยตวั เองไดส้ ูงถึงร้อยละ 19 ซึ่งเปน็ เรือ่ งทา้ ทายอยา่ งย่ิง

ในปัจจุบันน้ี หน่วยงานของภาครัฐท้ังหลายคงต้องให้ความสาคัญมากข้ึน ทางานใน
เชิงรุก ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุเม่ือรัฐได้มีการกาหนดแผนงาน รวมทั้งสร้าง
มาตรการต่างๆ กาหนดเป้าหมายท่ีชัดเจนไว้รองรับปัญหาที่จะเกิดข้ึนในอนาคตเพ่ือง่ายต่อ
การแก้ไขไม่ใชเ่ กดิ ปัญหาแลว้ ค่อยแก้ไข ซง่ึ มันคอ่ นข้างลาบากจนสายเกนิ แก้

ท้ังนี้ เม่ือพูดถึงความหมายของ สวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุไทย จากข้อมูลจาก
หลายๆ แหล่งทาให้เราพอสรุปได้ว่า เป็นการป้องกัน การแก้ไขปัญหา การพัฒนาและการ
ส่งเสริมความม่ันคงทางสังคมเพื่อตอบสนองความจาเป็นข้ันพื้นฐานของประชาชน ให้มี
คุณภาพชีวิตท่ีดี และพึ่งตนเองได้ทั่วถึง เป็นธรรมและให้เป็นไปตามมาตรฐาน ทั้งทางด้าน
การศึกษา สุขภาพอนามัย ท่ีอยู่อาศัย การทางานและการมีรายได้ นันทนาการ กระบวนการ
ยุติธรรม และบริการทางสังคมทั่วไป โดยคานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิท่ีประชาชน
จะตอ้ งได้รบั และมสี ว่ นรว่ มในการจัดสวัสดิการสงั คมทุกระดับ ซงึ่ การจดั สวัสดิการสังคมของ
ไทยเริ่มต้นจากระบบการช่วยเหลือเก้ือกูลกันอย่างไม่เป็นทางการของครอบครัว เครือญาติ
และชมุ ชน

32

ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงท้ังทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ทาให้การจัด
สวัสดิการสังคมมีการปรับเปลี่ยนทิศทางไปสู่สวัสดิการแบบบูรณาการและเป็นสังคม
สวัสดิการ ปัจจุบันประเทศไทยมีรูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมสาหรับผู้สูงอายุ 4 รูปแบบ
คือ การประกันสังคม การช่วยเหลือสาธารณะ การบริการสังคม และการช่วยเหลือเก้ือกูล
ของภาคประชาชนนอกจากน้ีจากการศึกษาพบว่า การจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุไทยยังมี
ปัญหาและอุปสรรคหลายประการ เช่น 1) ขาดการบูรณาการและขาดความต่อเนื่อง ซึ่ง
หมายถึง การดาเนินงานด้านสวัสดิการผ้สู ูงอายุแยกส่วนระหวา่ งงานด้านสขุ ภาพกับงานดา้ น
สงั คม กระจายความรับผดิ ชอบตามหน่วยงานตา่ ง ๆ ของภาครฐั 2) ขาดการนานโยบายสกู่ าร
ปฏิบัติอย่างแท้จริง 3) ความไม่พร้อมของงบประมาณและการขาดแคลนบุคลากรท่ีมีความรู้
ความสามารถในด้านผู้สูงอายุโดยตรง และ 4) สวัสดิการสังคมท่ีรัฐจัดให้กับผู้สูงอายุยังไม่
เพียงพอกับความต้องการของผู้สูงอายุ ไม่สามารถตอบสนองปัญหาได้อย่างแท้จริงและไม่
ครอบคลุมผู้สูงอายุได้ทั้งหมด แต่ประเด็นท่ีสาคัญคือ บุตรหลานหรือคนในครอบครัวขาด
ความตระหนักถึงความสาคญั ของผู้สงู อายุ

อย่างไรก็ตาม การเปล่ียนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุทาให้ความสามารถทางด้าน
รา่ งกาย สติปัญญาและจติ ใจลดลง จงึ ส่งผลใหเ้ กิดปัญหาตามมา ปัญหาของผสู้ งู อายสุ ่วนใหญ่
คือปัญหาด้านเศรษฐกิจ ภาครัฐจึงจัดให้มีโครงการต่างๆ เพ่ือจัดเป็นสวัสดิการเพ่ือผู้สูงอายุ
เช่น โครงการเบี้ยผู้สูงอายุตั้งแต่ ปีพ.ศ.2536 ในระยะแรกอยู่ในการดูแลของกรม
ประชาสงเคราะห์ต่อมาเบี้ยยังชีพได้ขยายกลุ่มเป้าหมายและงบประมาณเพิ่มมากข้ึน
ตามลาดับในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจเน่ืองจากปัจจุบันระดับค่าครองชีพมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลง
เพ่ิมสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง อัตราค่าเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุที่ได้รับไม่เพียงพอกับการยังชีพ ในปี
พ.ศ.2549ได้มีการปรับเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุจากเดิมเปน็ 500 บาทต่อคนต่อเดือนต่อมามติของ
คณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 18 ตุลาคม 2554 ให้กรมส่งเสริมการปกครองสว่ นท้องถิ่น (สถ.) จ่าย
เบ้ียยังชีพแบบขั้นบันไดให้กับผู้สูงอายุ โดยผู้ที่มีอายุ 60-69 ปี ได้รับเบี้ยยังชีพคนละ 600
บาทต่อเดือน ผูท้ ม่ี อี ายุ 70-79 ปี ได้รบั เบย้ี ยงั ชพี คนละ700 บาทต่อเดอื น ผทู้ ี่มอี ายุ 80-89 ปี
ได้รับเบ้ียยังชีพคนละ 800 บาทต่อเดือน และผู้ที่มีอายุ 90 ปี ข้ึนไป ได้รับเบี้ยยังชีพคนละ
1,000 บาทต่อเดือนโดยให้มผี ลบังคบั ใชต้ งั้ แตว่ นั ที่ 1ตลุ าคม 2554 เปน็ ตน้ ไป

ประเทศไทยเป็นสังคมผ้สู งู อายุมาสักพักใหญแ่ ล้ว การเปน็ สงั คมผ้สู ูงอายุไมไ่ ดน้ ่ากลัว
แต่สิ่งท่ีน่ากลัวคือการบริหารจัดการสังคมผู้สูงอายุว่าเราจะทาอย่างไรให้สังคมผู้สูงอายุเป็น
สังคมที่มีคุณภาพและมีความพร้อม ซึ่เราจึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องเตรียมความพร้อมในการ
เป็นผู้สูงอายุท่ีจะอยู่ได้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพน้ันต้องความพร้อมต้ังแต่ช่วงวัยก่อน ท่ี
จะเปน็ ผสู้ ูงอายุ ซ่งึ กลุ่มทีน่ ่าเปน็ ห่วงคอื กล่มุ แรงงานอสิ ระ ดังเช่น คนขับแท็กซ่ี มอเตอร์ไซค์
รับจ้าง ค้าขาย ท่ีต้องเก็บออมเงินเอง เพราะมีหลักประกันความม่ันคงน้อยกว่ากลุ่ม

33

ข้าราชการบานาญ หรือผู้รับบาเหน็จตกทอด ต้องเร่ิมวัฒนธรรมการออมต้ังแต่วันแรกของ
การทางานจึงจะทาให้มีเงินอย่างเพียงพอสาหรับใช้ในวัยเกษียณและใช้จ่ายในยามฉุกเฉิน
ต้องปรับมุมมองเก่ียวกับสังคมผู้สูงอายุว่าสังคมผู้สูงอายุไม่ใช่สังคมของผู้สูงอายุเพียงอย่าง
เดียวแต่เด็กและผู้ใหญ่ก็เป็นส่วนหนึ่งของสังคมผู้สูงอายุท่ีต้องร่วมเผชิญสถานการณ์ร่วมกัน
และความท้าทายในประเด็นนี้คือการอยู่ร่วมกันในสังคมท่ีต้องมี Generation Gap
Management คนสูงอายุและคนท่ีอยู่ในช่วงวัยทางาน (เด็กยุคใหม่) จะอยู่ร่วมกันในสังคม
อย่างไร การประสานงานกับคนที่มีอยู่ 4 – 5 Generation ที่มีความคิดมักแตกต่างกัน และ
เดก็ ยคุ ใหม่ต้องเปลย่ี นแปลงทักษะด้านคนใหท้ ัน

ประชากรสูงอายมุ แี นวโน้มเพมิ่ ข้ึน สาเหตหุ ลักมาจากอตั ราการเกดิ ทลี่ ดน้อยลง และ
ประชากรมีแนวโน้มอายุยืนมากข้ึนโดยปัจจุบัน ผู้สูงอายุ อายุระหว่าง 60 – 79 ปี ท่ียัง
สามารถทางานไดส้ ทุ ธิ มีจานวน 8.3 ลา้ นคน แรงงานกลุ่มนีถ้ อื ไดว้ ่ามศี กั ยภาพทีจ่ ะเป็นปัจจัย
สาคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจ แต่ปัญหาของไทยมีปัญหาในเชิงโครงสร้าง ผู้สูงอายุท่ี
ทางานส่วนใหญย่ ังขาดทางเลือก ทางเลือกทีว่ ่าคืออยากทางานต่อในองค์กร โดยจากหลาย ๆ
คนท่ีหลงั เกษียณ ส่วนใหญ่ประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยไม่มลี ูกจา้ ง ทางานอสิ ระ ซ่งึ มีความเส่ียง
สูง อีกปัญหาคือ ชั่วโมงการทางานไม่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ส่วนชั่วโมงการทางานท่ีพึง
ปรารถนา สงู สดุ 21 ชวั่ โมงต่อสปั ดาหห์ ากทางานวันละ 7 – 8 ชวั่ โมง เท่ากับทางาน 3 วนั ตอ่
สัปดาห์ ท้ังน้ี ผู้สูงอายุไทยน้ันเกินกว่าคร่ึงหน่ึงอยู่ในชนบท มีความยากลาบากทางการเงิน
ส่วนผู้สงู อายุท่ีได้ทางานมักทางานท่ีไม่มีความยืดหยุ่นในการทางาน มีชัว่ โมงการทางานที่มาก
เกินไป ไมม่ ีสวสั ดกิ าร ในขณะที่ ผสู้ ูงอายกุ ลมุ่ ตดิ บ้านและผูส้ งู อายุตดิ เตยี ง ควรเพ่มิ ระบบการ
จัดการข้อมูลสุขภาพแห่งชาติ ท่ีจัดเก็บข้อมูลประวัติการรักษาของผู้ป่วยแบบ Real-time
รวมถึงความพรอ้ มในการดแู ลผู้ปว่ ยในระยะยาว ซ่ึงในภาพกว้างนั้นต้องแก้ไขวัฏจักรของการ
เกดิ แบบจน – ขาดโอกาส โตแบบจน – ขาดโอกาส และแก่แบบจน – ขาดโอกาสให้ไดซ้ ึง่ ต้อง
แก้ไขตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาอนึ่ง ประเทศไทยกาลังเคลื่อนไปสู่สังคมสูงอายุที่มีคุณภาพ
ไม่ได้หมายความว่าสังคมผู้สงู อายุจะเปน็ สงั คมเฉพาะของผู้สงู อายุอย่างเดียวเท่าน้นั แตส่ งั คม
สงู อายจุ ะครอบคลมุ ถึงพวกเราทุกๆ คน แตล่ ะช่วงวยั ตอ้ งมกี ารเตรยี มความพร้อม รบั มอื ที่จะ
อยู่รว่ มกันอยา่ งมีความสขุ

34

12. สทิ ธิและสวสั ดิการผ้สู งู อายุ

ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีบริบูรณ์ข้ึนไป มีสิทธิได้รับการคุ้มครอง
การส่งเสริม และการสนบั สนนุ ในดา้ นต่าง ๆ ดังต่อไปน้ี

1.ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุข ผูส้ งู อายไุ ดร้ บั การจัดช่องทางพิเศษเฉพาะเพื่อให้
ผู้สงู อายไุ ดร้ บั การบรกิ ารท่ีสะดวก รวดเรว็

2.ด้านการศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสาร ผู้สูงอายุได้รับการจัดศูนย์การ
เรียนรู้ในชุมชน และให้มีหลักสูตรการศึกษาเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ต้ังแต่การศึกษาข้ันพื้นฐาน ถึง
ข้ันอุดมศึกษาอย่างต่อเน่ือง ท้ังในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย และมีรายการต่าง ๆ
เพือ่ ผู้สูงอายุ

3.ด้านการประกอบอาชีพ ฝึกอาชีพท่ีเหมาะสม ผู้สูงอายุได้รับข้อมูล คาปรึกษา
ข่าวสารตลาดแรงงาน การจัดหางาน รับสมัครงาน บริการข้อมูลทางอาชีพ ตาแหน่งว่างงาน
การอบรม และฝึกอาชีพ โดยมีศูนย์การข้อมูลทางอาชีพ และตาแหน่งงานสาหรับผู้สูงอายุ
เป้นการเฉพาะ ทีส่ านกั งานจัดหางานทุกแหง่

4.ด้านการพัฒนาตนเอง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม การรวมกลุ่มใน
ลกั ษณะเครอื ขา่ ย / ชมุ ชนผู้สูงอายุได้รบั การส่งเสรมิ และสนับสนุน หรอื ชมรมผสู้ งู อายุ ให้มี
ส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมภายในชุมชน และ / หรือระหว่างชุมชน และส่งเสริมการใช้
ศักยภาพผู้สงู อายุ โดยเพ่ิมการจัดกิจกรรมทางกีฬา นนั ทนาการ และการถ่ายทอดภมู ปิ ญั ญา

5.ด้านการอานวยความสะดวก และความปลอดภัยในอาคาร สถานที่
ยานพาหนะ บริการสาธารณะอ่ืนผู้สูงอายุได้รับการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมสาหรับ
ผู้สูงอายุ การดูแลช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ การบริการที่สะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย การจัด
พาหนะอานวยความสะดวกสาหรับผ้สู งู อายุ

6.ด้านการลดหย่อนค่าโดยสาร และการอานวยความสะดวกในการเดินทางการ
รถไฟแห่งประเทศไทยผู้สูงอายุได้รับการลดค่าโดยสารคร่ึงราคาทุกชัน้ ตลอดทาง ทกุ สาย (ไม่
รวมค่าธรรมเนียม) ระหว่างเดอื นมิถุนายน – กนั ยายน โดยผู้สูงอายุไมต่ อ้ งเข้าแถวรอซื้อตัว๋ มี
ทน่ี ั่งรอรับตั๋ว พนักงานชว่ ยยกสมั ภาระ

แอรพ์ อรต์ เรล ลงิ ค์ ผ้สู งู อายุได้รับการลดค่าโดยสารใหผ้ ู้สงู อายคุ รง่ึ ราคา โดยใชบ้ ัตร
ผู้สูงอายุ (Senior card) และยกเวน้ คา่ โดยสารวนั ผู้สงู อายแุ หง่ ชาติ 13 เมษายน ของทุกปี

รถไฟฟ้าใต้ดิน (MRT) ผู้สูงอายุได้รับการลดค่าโดยสารครึ่งราคา ซึ่งเป็นไปตาม
ข้อบังคับที่กาหนด และยกเว้นคา่ โดยสารวันผู้สูงอายแุ หง่ ชาติ 13 เมษายน ของทุกปี

รถไฟฟา้ (BTS) ผู้สงู อายุไดร้ บั ลิฟตบ์ ริการท่ีสถานหี มอชติ สยาม อโศก ออ่ นนุช และ
ชอ่ งนนทรี

35

รถโดยสารประจาทาง ขสมก. ผู้สูงอายุได้รับการลดค่าโดยสารครึ่งราคา (ไม่รวม
คา่ ธรรมเนียม) ตลอดวนั และยกเว้นค่าโดยสารในวันผูส้ ูงอายุแห่งชาตวิ ันที่ 13 เมษายน ของ
ทกุ ปี และจดั ท่ีนงั่ สารองเปน็ การเฉพาะ

รถโดยสารบริษัทขนส่ง จากัด (บขส.) ผู้สูงอายุได้รับการลดค่าโดยสารคร่ึงราคา (ไม่
รวมคา่ ธรรมเนยี ม) จัดทนี่ งั่ พักผอ่ น และห้องสุขา

เคร่อื งบนิ การบนิ ไทย ผู้สงู อายไุ ดร้ บั การอานวยความสะดวกขนึ้ เครอ่ื งเปน็ ลาดับแรก
ท่าอากาศยาน ผู้สูงอายุได้รับการจัดสิ่งอานวยความสะดวก ได้แก่ ลิฟต์ โทรศัพท์
ทางลาด ห้องสุขา มุมพักผ่อน พ้ืนท่ีจอดรถรับ – ส่งผู้สูงอายุที่มาใช้บริการ และ
ดาเนินการตามมาตรการกาหนดให้สายการบินถือปฏิบัติการให้ผู้โดยสารสูงอายุข้ึน
เคร่ืองบินลาดบั แรก
เรือด่วนเจ้าพระยา เรือในคลองแสนแสบ และเรือข้ามฟาก ผู้สูงอายุได้รับการลดค่า
โดยสารคร่ึงราคาแก่ผูส้ ูงอายุท่ใี ช้บริการเรือโดยสารประจาทางในแม่น้าเจ้าพระยา ได้แก่ เรือ
ด่วนเจ้าพระยา (ยกเว้นเรือพิเศษธงเขียว และเรือทัวร์ธงฟ้า) เรือในคลองแสนแสบ และเรือ
ขา้ มฟาก
หมายเหตุ : ผู้สูงอายุต้องแจ้ง และแสดงบัตรประจาตัวประชาชนต่อเจ้าหน้าที่ก่อนซื้อต๋ัว
โดยสารบริการขนสง่ สาธารณะ
7.ด้านการยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐผู้สูงอายุได้รับการยกเว้นค่าชมสถานที่
ของรัฐ เช่น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติ อุทยานประวัติศาสตร์ สถานที่
ท่องเที่ยวในความรับผิดชอบขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ และองค์การสวนพฤษศาสตร์
เป็นต้น
8.ด้านการช่วยเหลือผู้สูงอายุ ซ่ึงได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรม หรือถูก
แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือถูกทอดทิ้งผู้สูงอายุได้รับการให้คาแนะนา
ปรึกษา และให้ความช่วยเหลือ กรณีผู้สูงอายุท่ีถูกทารุณกรรม แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ
ด้วยกฎหมาย และถูกทอดท้ิง จะได้รับการช่วยเหลือตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่งคงของมนุษย์ เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคุ้มครอง การ
ส่งเสริม และการสนับสนุนการช่วยเหลือผู้สูงอายุซ่ึงได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรม
หรือถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย หรือถูกทอดท้ิง และการให้คาแนะนา
ปรึกษา ดาเนนิ การอน่ื ท่ีเกี่ยวข้องในทางการแก้ไขปัญหาครอบครวั
9. การให้คาแนะนา ปรึกษา ดาเนินการอ่ืนที่เก่ียวข้องในทางคดี และในทางการ
แก้ไขปัญหาครอบครัวผู้สูงอายุได้รับการให้คาแนะนา ปรึกษา และให้ความช่วยเหลือ กรณี
ผู้สูงอายทุ ีถ่ ูกทารุณกรรม แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบดว้ ยกฎหมาย และถูกทอดท้ิง จะได้รับ
การช่วยเหลือตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง

36

กาหนดหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขการคุ้มครอง การสง่ เสริม และสนบั สนนุ การช่วยเหลือ
ผู้สูงอายุซึ่งได้รับอันตรายจาการถูกทารุณกรรม หรือถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วย
กฎหมาย หรือถูกทอดทิ้ง และการให้คาแนะนา ปรึกษา ดาเนินการอื่นท่ีเก่ียวข้องในทางการ
แกไ้ ขปญั หาครอบครวั

10.ด้านการช่วยเหลือด้านท่ีพักอาศัย อาหาร และเคร่ืองนุ่งห่มให้ตามความ
จาเป็นอยา่ งทั่วถงึ
ผู้สูงอายุได้รับในกรณีผู้สูงอายุท่ีเดือดร้อนจะได้รับการช่วยเหลือตามประกาศกระทรวงการ
พัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ เร่ือง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขการ
คุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุน การจัดท่ีพักอาศัย อาหาร เครื่องนุ่มห่มให้ผู้สูงอายุ
ตามความจาเป็นอย่างทั่วถึง

11.ดา้ นการช่วยเหลือเงนิ เบี้ยยงั ชพี
ผู้สูงอายุซ่ึงมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ สัญชาติไทย ไม่เป็นผู้ได้รับสวัสดิการ หรือสิทธิ
ประโยชน์อ่ืนใดจากหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น (อปท.) ท่ี
ได้จัดให้อย่างเป็นประจา จะได้รับการช่วยเหลือเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนตลอดชีวิต โดย
แบง่ ตามช่วงอายแุ บบขน้ั บนั ได ดงั น้ี

อายุ 60 – 69 ปี จะได้รบั เดอื นละ 600 บาท
อายุ 70 – 79 ปี จะได้รับเดือนละ 700 บาท
อายุ 80 – 89 ปี จะไดร้ บั เดอื นละ 800 บาท
อายุ 90 ปีขน้ึ ไป จะได้รบั เดือนละ 1,000 บาท
12. การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี ผู้สูงอายุมีคุณสมบัติตาม
หลักเกณฑ์ มีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ข้ึนไป มีสัญชาติไทย ผู้สูงอายุอยู่ในครอบครัวท่ียากจน
ตามข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) ของกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย หรือ
กรงุ เทพมหานคร หรอื เมอื งพัทยาไม่มญี าติ หรือมญี าติแตม่ ีฐานะยากจนไม่สามารถจัดการศพ
ตามประเพณีได้ ผู้สูงอายุยากจน และไม่ได้รับการสารวจข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.)
ของกรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย หรือกรุงเทพมหานคร หรือเมืองพัทยา ให้
นายกเทศมนตรี หรือนายกองค์การบริหารส่วนตาบล หรือกานัน หรือผู้ใหญ่บ้าน หรือ
ประธานชุมชน หรือผู้อานวยการสานักงานเขต หรือนายอาเภอ หรือนายกเมืองพัทยา เป็นผู้
ออกหนังสือรับรอง จะได้รบั การชว่ ยเหลอื รายละ 2,000 บาท

13. ด้านการท่องเท่ียว ผู้สูงอายุได้รับการจัดกิจกรรม โครงการสาหรับผู้สูงอายุ
ด้านกีฬาและนันทนาการ ผู้สูงอายุได้รับการบริการตรวจสุขภาพ ทดสอบสมรรถภาพทาง
ร่างกาย ใช้บริการในสนามกีฬา สวนสุขภาพ ลานกีฬาแอโรบิค สนามเปตอง ห้องออกกาลัง

37

กาย เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การแข่งขันกีฬา การลีลาศ การรับสมัครเป็นสมาชิกชมรม
ศภุ ชลาสยั

14.การจัดบริการเพื่ออานวยความสะดวกด้านพิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน หอ
จดหมายเหตุแห่งชาติ และการจัดกิจกรรมด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ตามท่ี
คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติประกาศกาหนดผู้สูงอายุได้รับจัดบริการโดยตรงสาหรับ
ผู้สูงอายุ เช่น ลิฟต์ พื้นเรียบ ราวบันได ทางลาด ราวจับในหอ้ งน้า จัดเจ้าหน้าที่อานวยความ
สะดวก และความปลอดภัยสาหรบั ผสู้ งู อายุ จดั บริการรถเข็น

15.ด้านการลดหย่อนภาษีเงินได้ และการลดหย่อนภาษีให้แก่ผู้บริจาคทรัพย์สิน
เงินให้แก่กองทุนผู้สูงอายุบุคคลที่ได้รับผู้เลี้ยงดูบิดา มารดา ได้รับการลดหย่อนภาษีเงิน
จานวน 30,000 บาท ผู้บริจาคทรัพย์สสิน เงินให้แก่กองทุนผู้สูงอายุ สามารถนาใบเสร็จไป
ลดหย่อนภาษไี ด้

16.ด้านกองทุนผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุได้รับการให้กู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพรายบุคคล
และรายกลุ่มสาหรบั ผู้สงู อายุ โดยต้องชาระคืนเป็นรายงวด ภายในระยะเวลาไมเ่ กิน 3 ปี โดย
ไมม่ ีดอกเบ้ยี

38

13. New Normal ของสว.
โลกของผู้สูงอายจุ ะเปลย่ี นไปอย่างไรหลังโควิด-19

นบั ตัง้ แตไ่ วรัสโคโรนาสายพนั ธ์ุใหมร่ ะบาดครง้ั แรกท่ีประเทศจนี เม่อื เดอื นธันวาคมปี
ท่ีผ่านมา จนแพร่กระจายทั่วทั้งโลกในตอนน้ี ปฏิเสธไม่ได้ว่าโรคโควิด-19 ก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงแทบทุกด้านของชีวิต ไม่ว่าจะเป็นด้านการทางานที่หลายคนจาเป็นต้อง Work
From Home หรอื ต้องอยูบ่ ้าน เพือ่ ลดความเสยี่ งในการติดเชื้อ

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้ชีวิตประจาวันของผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มเส่ียงท่ีได้รับ
ผลกระทบจากการตดิ เชือ้ มากที่สุด ก็จาเป็นตอ้ งเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing)
การแสดงความรักอย่างเคย ท้ังการกอดและหอมกับลูกหลานก็ต้องหลีกเลี่ยงช่ัวคราว หรือ
ด้านสุขภาพที่ต้องดูแลตัวเองมากข้ึน ท้ังการกินร้อน ล้างมืออยู่สม่าเสมอ การใส่หน้ากาก
อนามัย รวมไปถึงการดูแลสภาพจิตใจเมอ่ื ตอ้ งกกั ตวั อยู่ตามลาพัง

จะเห็นได้ว่าโรคโควิด-19 ทาให้การใช้ชีวิตผิดไปจากปกติ ซึ่งระยะเวลาน้ัน อาจกิน
เวลาหลายเดือนและอาจจะเป็นปี สิ่งเหล่านี้ล้วนนาไปสู่สิ่งที่เรียกว่า New Normal หรือวิถึ
ชวี ติ ใหม่ เห็นไดช้ ดั เจนในด้านตา่ ง ๆ ดังนี้

ดา้ นสาธารณสุข

งานด้านสาธารณสุขกาลังถูกท้าทายจากโรคระบาด สิ่งเหล่านี้จะนาไปสู่การพัฒนาการรักษา
ในรูปแบบการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)
ช่วยให้ผู้สูงอายุหรอื ผ้ทู ี่เข้ารับบริการทางแพทย์
สามารถติดต่อและรับการรักษาเบื้องต้นผ่าน
ระบบ video conference ได้แบบ real-time
ท่ีบ้าน ข้อดีคือประหยัดเวลา ไม่จาเป็นต้อง
เสียเวลาในการเดินทาง และการรอตรวจ ช่วย
ป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดต่อ และ
สามารถติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ห่างไกล
จากโรงพยาบาล เช่น โรคหวั ใจ เบาหวาน หอบ
หืด เป็นต้นสิ่งที่จะเป็น New Normal ต่อมา
คือผู้คนหันมาสนใจเร่ืองสุขภาพกันมากขึ้น การรักษาสุขอนามัย เช่น การล้างมือ การใช้เจล
แอลกอฮอล์ หรือการใส่หน้ากากอนามยั จะเป็นเรอ่ื งปกติในสงั คมยคุ ใหม่

39

ดา้ นเศรษฐกิจ

การเกิดโรคระบาดในประเทศจีนส่งผลต่อห่วงโซ่
อุ ป ท า น ( Supply Chain) ข อ ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม
มากมาย ไม่ว่าจะเป็ น อุ ตสา ห กรร ม เ ห ล็ ก
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมส่ิงทอ
ฯลฯ ทาให้การผลิตต้องหยุดชะงัก นอกจากน้ี
มาตรการการปิดประเทศ Lock down ในหลาย
ประเทศก็ได้สร้างผลกระทบในแง่ลบต่อเศรษฐกิจ
ท่ัวโลก ส่ิงที่จะเกิดข้ึนคือการตกงานครั้งใหญ่ และ
ความเหลื่อมล้าทางสังคมจะมีช่องว่างที่กว้างข้ึน แม้ว่าผู้สูงอายุหลายคนอาจจะไม่ได้รับ
ผลกระทบจากการตกงาน แต่อาจสง่ ผลกระทบต่อการจา่ ยเงินบาเหนจ็ บานาญและสวสั ดิการ
ต่างๆอีกหน่ึงด้านท่ีจะเปล่ียนไปหลังโรคระบาด คือการขยายตัวของ E-commerce แม้จะ
เคยชนิ กบั การซ้ือสินค้าออนไลน์ แต่ยคุ หลังจากนจ้ี ะยิ่งทวีความนิยมมากข้ึน รวมไปถงึ การซ้ือ
ของสด ผัก ผลไม้ออนไลน์ก็จะเติบโตมากขึ้น ในอนาคตผู้สูงอายุอาจจะได้เลือกช้อปของใช้
ออนไลน์แบบถาวร แทนการไปเดนิ ตลาดกเ็ ปน็ ได้

ดา้ นเทคโนโลยี

โรคระบาดโควิด-19 บังคับให้ผู้คนหันมาอยู่ในโลก
ออนไลน์มากข้ึน ทั้งการทางาน การเรียน สิ่งที่จะ
ตามมาในอนาคตคืออินเทอร์เน็ตจะเป็นส่ิงจาเป็นที่
ขาดไมไ่ ด้ เป็นโครงสร้างพ้นื ฐานทรี่ ัฐบาลต้องจัดหาให้
ประชาชนทุกคน รวมถึงต้องเร่งเปิดใช้งานในระบบ
5G เพื่อเพมิ่ ความเร็ว และตอบสนองการใชง้ านท่ีมาก
ขึ้นประเทศไทยจะเขา้ สู่สังคมไร้เงนิ สด การใช้ Digital
Banking หรือธนาคารแบบออนไลน์ แอปพลิเคชัน e-Wallet และการจ่ายเงินผ่านระบบ
ดิจิทัล จะเกิดข้ึนในทุกสถานท่ี ไม่ว่าจะเป็นร้านค้าใกล้บ้าน หรือห้างสรรพสินค้า การทา
ธรุ กรรมออนไลน์จะกลายเป็นเรือ่ งปกติแทนที่การใช้เงินสด ซง่ึ นี้เปน็ สงิ่ ที่ผ้สู งู อายุตอ้ งเรยี นรู้

40

ดา้ นวถิ ชี วี ิต

วิถีชีวิตแบบใหม่ท่ีจะเปล่ียนแปลงนั้น อันดับแรกคือ
เรื่องการกิน การทาอาหารกินเองจะกลับมาได้รับ
ความนิยม แต่ก่อนผู้คนมักจะเลือกรับประทานจาก
ร้านอาหารนอกบ้าน เพราะสะดวก รวดเร็ว แต่
มาตรการปิดเมืองทาใหร้ า้ นอาหารหลายร้านต้องปิด
ชวั่ คราว หลายคนกังวลเรื่องความสะอาดมากข้นึ จงึ
ใช้ระยะเวลาในช่วงกักตัว หันมาหัดทาอาหาร หรือ
รื้อฟ้ืนฝีมืออีกคร้ัง ทาให้ การน่ังรับประทานอาหาร
ท่ีรา้ นจะไม่เปน็ ทนี่ ยิ มเท่าแต่ก่อน แน่นอนวา่ ผลดีคือ
ทาให้การใชช้ ีวติ รว่ มกันในบา้ น กลับมาอบอ่นุ และมีความเขา้ ใจกันมากข้นึ
อันดับถัดมาคือเร่ืองของการทากิจกรรม และการเสพสื่อที่จะเปล่ียนแปลงไป จากเดิมที่
ผู้สูงอายุต้องออกไปทากิจกรรมนอกบ้าน แต่หลังจากน้ี ความตระหนักด้านสุขอนามัยที่มาก
ข้นึ จะทาใหเ้ กดิ การปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรม ผู้คนจะหันมาเสพส่ือ ทากจิ กรรมผ่านทางออนไลน์
และใชเ้ วลาในโลกออนไลนย์ าวนานข้นึ ผู้สงู อายเุ องก็จาเป็นตอ้ งปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมและใช้
เทคโนโลยใี ห้เป็นประโยชน์มากท่ีสุด
New Normal ท่ีจะเกิดขึ้นนั้นมีท้ังแง่บวกและแง่ลบ ผู้สูงอายุควรมาทาความเข้าใจเพื่อ
เตรียมความพร้อม ไม่ต่ืนตระหนกจนเกินไป และเรียนรู้ที่จะปรับตัวอย่างเข้าใจ การ
เปล่ียนแปลงก็จะไม่ใชเ่ ร่ืองนา่ กลัวอกี ต่อไป

สังคม New Normal เป็นยุคของการปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมของมนุษย์ เพ่ือปกป้อง
ตนเองจากภัยคุกคามและคาดหวังว่าจะกลายเป็นฐานวิถีชีวิตใหม่หรือความประพฤติใหม่
ดังนั้น การใช้ชีวิตในสังคมปกติใหม่ของผู้สูงอายุ ในวัยก่อน 60 ปี จะสามารถปรับตัวเข้ากับ
วถิ ชี ีวติ และเทคโนโลยีอย่างงา่ ยดาย ขณะที่ ในกลุ่มคนอายุ 60 ปขี ึ้นไป พบข้อจากัดสาคัญใน
การใช้ชีวิตยุคปกติใหม่ เกิดวิกฤติด้านมนุษยธรรม ได้แก่ ความม่ันคงทางการเงินลดลง การ
ขาดความรู้ และอุปกรณ์ด้านคอมพิวเตอร์ และความมั่นคงทางจิตใจลดลง ดังนั้น แนว
ทางการจัดบริการสังคมสาหรับผุ้สูงอายุในภาวะวิกฤติ ควรเป็นการบริหารจัดการบริการ
สงั คมแบบบรู ณาการ ได้แก่

1. ปรับแนวคดิ การจัดสวัสดกิ ารใหม่ เพม่ิ สิทธปิ ระโยชน์ของผู้สงู อายใุ น พรบ.
ผู้สงู อายุ , คงแนวคิด Social Safety Net , คงแนวสวัสดิการเชิงค้มุ ครอง (Protective

41

Welfare) , เพม่ิ แนวคิด สวสั ดกิ ารเชงิ ผลติ ภาพ (Productive Welfare) และ สร้างความ
เขา้ ใจต่อวิถีชีวติ ผู้สูงอายุ ในสังคมปกติใหม่

2. พัฒนาระบบการจัดการในศนู ย์บริการกลางวันสาหรับผสู้ ูงอายุ โดยมเี จา้ ภาพหลกั
ในการดาเนินการ ปรบั ฐานคิดของชุมชน ผสู้ ูงอายุ เจา้ หน้าที่ สูแ่ นวคดิ ศนู ยบ์ รกิ ารครบวงจร
และใหค้ วามสาคัญกับการมีส่วนรว่ มของผ้สู งู อายุ

3. เสรมิ สร้างทกั ษะความรู้ทางคอมพวิ เตอร์แก่ผูส้ งู อายุ โดยปรบั เนือ้ หาในหลกั สูตร
โรงเรียนผูส้ งู อายุ และแสวงหาความรว่ มมือในการพัฒนากิจกรรมจาหน่วยงานภาครฐั เอกชน

4. พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้สูงอายุในชุมชน โดยมีฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่มีตัวชี้วัด
สุขภาพ เศรษฐานะ ที่เป็นจริง ปรับข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน อยู่ตลอดเวลา และสร้างระบบการ
แบ่งปนั ขอ้ มูล

42

บทสรปุ

การจัดสวัสดิการสังคมสาหรับผู้สูงอายุมีการพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง และมี
การบูรณาการใน หลายภาคส่วนไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ทั้งน้ี
เพือ่ รองรบั จานวน ผู้สงู อายทุ จ่ี ะมีจานวนเพิ่มมากขึ้นเรือ่ ย ๆ ใน ขณะเดยี วกนั ภาครฐั จะต้อง
มีการปรับเปล่ียน นโยบายจากเชิงรับมาเป็นเชิงรุก เช่น การสร้าง ความตระหนักให้คนใน
ชาติเห็นความสาคัญของ ผู้สูงอายุว่าเป็นบุคคลที่ทรงคุณค่าต่อสังคม มิใช่ ภาระของสังคม
นอกจากนี้รัฐควรส่งเสริมและสนับสนุน กิจกรรมหรือโครงการท่ีเป็นการช่วยเหลือผู้สูงอายุ
ของภาคประชาชน/ชุมชนในการจัดสวัสดิการ สังคมให้กับผู้สูงอายุในลักษณะต่าง ๆ ซึ่ง
จะต้อง สอดคล้องกับประเพณี วัฒนธรรม และความเช่ือ ของแต่ละท้องถิ่นด้วย ผู้เขียนหวัง
เป็นอย่างยิ่งว่าในอนาคต ภาครัฐ จะเพ่มิ บทบาทของตนเองตอ่ การกาหนดนโยบาย สวสั ดกิ าร
สังคมสาหรับผู้สูงอายุท่ีครอบคลุมทั่วถึง และเพียงพอกับผู้สูงอายุ ที่สาคัญจะต้องสอดคล้อง
กับความต้องการของผู้สูงอายุอย่างแท้จริง ทั้งนี้ เพื่อเป็นสร้างคุณภาพชีวิตท่ีดีให้แก่ผู้สูงอายุ
ได้อยู่ อย่างมีความสุขและมีศักด์ิศรีในตนเองได้ และคง ต้องติดตามกันต่อไปว่า ทุกภาคส่วน
จะมีแนวทาง ในการพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมสาหรับผู้สูงอายุ ไปในทิศทางใดเพ่ือรองรับ
สังคมผู้สูงอายุซ่งึ ประเทศ ไทยได้ก้าวสู่สังคมผสู้ ูงอายุแล้วและก่อนประเทศ อื่น ๆ ในอาเซียน
อกี ด้วย

สิง่ สาคญั อยา่ งหน่งึ ในชีวิตของสังคมปจั จบุ นั และอนาคตก็คือ เทคโนโลยี การส่อื สาร
คมนาคม เครือข่ายส่ือสารไร้สาย การใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ ของผู้สูงอายุมีส่วนทาให้ชีวิตมี
คุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้นและปรับปรุงคุณภาพชีวิตประจาวันเช่นการอานวยความสะดวกในการ
ขนส่ง การสื่อสาร และการมีส่วนร่วมในชีวิตทางสังคม นอกจากนี้ยังมีการเช่ือมโยงผู้สูงอายุ
กับบริการที่ตรงกับความต้องการของพวกเขาด้วย ประชากรทุกกลุ่ม ทุกวัย ทุกคนล้วนอยู่
ภายใต้บริบทเทคโนโลยีท่ีมีบทบาทต่อการดาเนินชีวิต โดยเฉพาะการติดต่อส่ือสาร
ประชากรทุกวัย รวมท้ังผู้สูงอายุก็จาเป็นต้องเรียนรู้การใช้สื่อใหม่ๆเพื่อใช้ประโยชน์และเพ่ือ
ยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของตนเอง เทคโนโลยีจะช่วยใหก้ ารเรียนรไู้ ม่มีวนั หยุดนง่ิ สามารถทาได้
อยา่ งอสิ ระและกวา้ งขวาง ไม่ถกู จากัดด้วยพื้นที่ ระยะทาง และ เวลา และเปน็ พลงั ให้เกดิ การ
เปล่ียนแปลงในสังคม การที่ผู้สูงอายุได้มีโอกาสเรียนรู้และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีจะเป็น
เครื่องมอื ดึงศักยภาพภูมปิ ญั ญาและประสบการณ์ของตนออกมาใช้พัฒนาตนเองและสังคมได้
อยา่ งสะดวก รวดเร็ว

ประเด็นผู้สูงอายุไทยเป็นประเด็นสาคัญ จาเป็นอย่างยิ่งท่ีต้องวางแผนระยะยาวให้
รอบคอบ รวมทั้งมีการนาไปปฏิบตั ิอย่างจริงจงั ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
แม้แต่ตัวของผู้สูงอายุเองก็ต้องเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาทั้งระดับตนเองโดยการพรอ้ มที่จะก้าว

43

ออกจากความกลัวการใช้เทคโนโลยีและพัฒนาทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือทาให้ตนเองได้รบั
ข้อมูลข่าวสารทันต่อสถานการณ์ มีประสบการณ์แปลกใหม่ของโลกดิจิทัล ซ่ึงจะช่วยลด
ช่องว่างระหว่างวัย ได้ประโยชน์เก่ียวกับสุขภาพ ตลอดจนทาให้อยู่ในสังคมได้อย่างมี
ศักดิ์ศรีและสร้างคุณค่าให้แก่ตนเอง ปัจจุบันทิศทางด้านระบบโครงสร้างสังคม สวัสดิการ
การวางแผนทรพั ยากร และการขยายโอกาสการเรียนรูป้ ระโยชน์ของการใช้สอื่ เทคโนโลยีและ
สื่อสังคมออนไลน์ของไทยยังไม่ชัดเจนและยังไม่กระจายสู่กลุ่มผู้สูงอายุโดยทั่วถึง โดยเฉพาะ
ผู้สูงอายุท่ีอยู่ในชนบทห่างไกล การศึกษาน้อย และรายได้ต่า อีกท้ังไม่ทันต่อสถานการณ์
สังคมสูงอายุซึ่งเปล่ียนไปอย่างรวดเร็ว ปัญหาท่ีเกิดจากลักษณะทางประชากรศาสตร์ต่างๆ
อาทิเช่น รายได้ การศึกษา สถานท่ีต้ังทางภูมิศาสตร์ ความบกพร่องทางร่างกาย ความ
ซับซอ้ นของเทคโนโลยีใหมๆ่ ทาให้ผู้สูงอายุขาดแรงจูงใจในการใชเ้ ทคโนโลยี เกิดเปน็ อปุ สรรค
ที่ทาใหข้ าดทักษะดจิ ิทลั ในการดารงชวี ิตในสงั คมท่ีเปล่ียนแปลง การเขา้ ถึงเทคโนโลยอี ย่างไม่
เท่าเทียมกันและไม่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของผู้สูงอายุ ทาให้ผู้สูงอายุขาด
แรงจูงใจที่จะใช้เทคโนโลยีในการดารงชีวิตภายใต้การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของ
สังคม แม้ว่าเทคโนโลยีใหม่จะมีข้อดีและประโยชน์ท่ีชดั เจนแก่ผู้สงู อายุ แต่เราก็ยังต้องคานงึ ถึงการทาให้
ผู้สูงอายุเกิดความศรทั ธาในเทคโนโลยี มีความเช่ือมั่นเก่ียวกับความปลอดภยั ในข้อมูลส่วนบคุ คลและความ
ปลอดภยั จากการใช้ดว้ ย


Click to View FlipBook Version