The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

7. Social Lab ต.แม่เกิ๋ง อ.วังชิ้น จ.แพร่ พร้อม QR code

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaweewong88, 2020-08-23 06:55:07

7. Social Lab ต.แม่เกิ๋ง อ.วังชิ้น จ.แพร่ พร้อม QR code

7. Social Lab ต.แม่เกิ๋ง อ.วังชิ้น จ.แพร่ พร้อม QR code

การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลแมเ ก๋งิ จงั หวดั แพร 1

พน้ื ท่ปี ฏบิ ตั กิ ารพฒั นาสงั คม (Social Lap)

องคการบรหิ ารสวนตําบลแมเ กงิ๋ อําเภอวงั ชิ้น จังหวดั แพร

“การปอ งกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชน”

จดั ทาํ โดย
ศนู ยบ รกิ ารวชิ าการพฒั นาสงั คมและจดั สวสั ดกิ ารสงั คม
สาํ นกั งานสง เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 9
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย

ที่อยู
บรเิ วณศนู ยร าชการจงั หวดั เชยี งใหม
ถ.โชตนา ต.ชา งเผือก อ.เมอื งเชียงใหม จ.เชียงใหม 50300
โทรศัพท 053-112485-6 โทรสาร 053-112491

ศูนยบ ริการวชิ าการพฒั นาสังคมและจดั สวัสดิการสังคม สสว.9
www.tpso-9.m-society.go.th

เผยแพร
กรกฎาคม 2563

กการปองกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จังหวดั แพร

คาํ นาํ

การดําเนินงานพื้นท่ีปฏิบัติการพัฒนาสังคม(Social Lab) เปนกิจกรรมตามโครงการศูนยบริการ
วิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม ประจําป พ.ศ.2563 ซึ่งดําเนินการโดยสํานักงานสงเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 9 รวมกับหนวยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยในพื้นท่ี
จังหวดั แพร โดยเปนการศกึ ษาสภาพปญ หา รวมดาํ เนนิ งาน ตดิ ตามและถอดบทเรียน เพื่อสงเสริมใหเกิดการ
มีสวนรวมของประชารัฐเพ่ือสังคมในชุมชน โดยมีองคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนเจาภาพ ซึ่งจังหวัดแพร
ดําเนินการในพื้นท่ีตําบลแมเก๋ิง อําเภอวังช้ิน จังหวัดแพร โดยเร่ิมท่ีการจัดการขอมูล ชวยเหลือ คุมครอง
ปองกัน นําไปสูการจัดสวัสดิการสังคมและพัฒนาสังคมอยางเปนระบบ ซ่ึงตําบลแมเกิ๋ง เปนตําบลตนแบบ
ดา นการพฒั นาสงั คม มีการทํางานที่โดดเดน ในการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนทุกวัยดวยการ มีสวนรวมจากชุมชน
โดยในป 2563 มีการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) การดําเนินงานพื้นท่ีปฏิบัติการพัฒนา
สังคม(Social Lab) จึงเปนการศกึ ษาการขบั เคลื่อนการดําเนินงาน “การปองกันและแกไขปญหา COVID-19
ดวยชุมชน” ผา นการศกึ ษาขอ มลู รวบรวมขอมูลและการสํารวจขอมูลตามแบบสํารวจขอมูลการดําเนินงาน
ในพื้นที่ เพ่ือวิเคราะหปจจัยความสําเร็จในการดําเนินงานและทิศทางการพัฒนางานในอนาคตในพื้นท่ี
ปฏิบัติการพัฒนาสังคม(Social Lab)

ขอขอบคุณทุกพลังการทํางาน ทุกความคิด ทุกการแลกเปลี่ยน การแบงปนความรู และการ
ปฏิบัติการเรียนรูรวมกัน จากทีมงานหนวยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย
ในพื้นที่จังหวัดแพร (ทีม One Home จังหวัดแพร) ทุกทาน รวมถึงพลังจากชุมชนในตําบลแมเก๋ิง ผานการ
ทํางานที่เขมแข็งของทีมงานองคการบริหารสวนตําบลแมเก๋ิง ที่ไดรวมเปนกําลังสําคัญ ในการขับเคล่ือนการ
การดําเนินงานดานการพัฒนาสังคมในพ้ืนที่ กอเกิดพัฒนางานพื้นที่ปฏิบัติการพัฒนาสังคม(Social Lab)
ในมิติเชิงประเด็น ในการปองกันและแกไขปญหา COVID-19 ดวยชุมชน เพื่อนําไปสูพัฒนาสังคมและ
จัดสวัสดกิ ารสังคมทีเ่ หมาะสมกบั บรบิ ทของสภาพปญ หาและพนื้ ทต่ี อไป

สํานักงานสงเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 9
กรกฎาคม 2563

ขการปองกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเ กงิ๋ จงั หวดั แพร

บทสรุปผูบรหิ าร

การดําเนินงานพ้ืนที่ปฏิบัติการพัฒนาสังคม(Social Lab) เปนกิจกรรมตามโครงการศูนยบริการ
วิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม ประจําป พ.ศ.2563 ซึ่งดําเนินการโดยสํานักงานสงเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 9 รวมกับหนวยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยในพื้นท่ี
จังหวัดแมเกิ๋ง โดยเปนการศึกษาสภาพปญหา รวมดําเนินงาน ติดตามและถอดบทเรียน เพื่อสงเสริมใหเกิด
การมสี ว นรว มของประชารัฐเพือ่ สงั คมในชุมชน โดยมีองคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนเจาภาพ ซ่ึงจังหวัดแพร
ดําเนนิ การในพ้ืนที่ตําบลแมเกิ๋ง อําเภอวังช้ิน โดยเร่ิมท่ีการจัดการขอมูล ชวยเหลือ คุมครอง ปองกัน นําไปสู
การจัดสวัสดิการสังคมและพัฒนาสังคมอยางเปนระบบ ซึ่งตําบลแมเกิ๋ง เปนตําบลตนแบบดานการพัฒนา
สังคม มีการทํางานที่โดดเดน ในการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนทุกวัยดว ยการมีสว นรวม จากชมุ ชน โดยในป 2563
มีการแพรระบาดของโรคโคโรนาไวรัส(COVID-19) การดําเนินงานพื้นท่ีปฏิบัติการพัฒนาสังคม(Social Lab)
จึงเปนการศึกษาการขับเคล่ือนการดําเนินงาน “การปองกันและแกไขปญหา COVID-19 ดวยชุมชน”
ผานการศึกษาขอมูล รวบรวมขอมูลและการสํารวจขอมูลตามแบบสํารวจขอมูลการดําเนินงานในพ้ืนที่
เพื่อวิเคราะหปจจัยความสําเร็จในการดําเนินงานและทิศทางการพัฒนางานในอนาคตในพ้ืนท่ีปฏิบัติการ
พัฒนาสังคม(Social Lab)

สถานการณในการ “การปองกันและแกไขปญหา COVID-19 ดวยชุมชน” การชวยเหลือ
การเยยี วยา ผูประสบปญหาทางสังคมจงั หวดั แพรน ้ัน หนว ยงานในสงั กัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย รวมถึงภาคีเครือขายภายนอกกระทรวง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่ดําเนินงานชวยเหลือ
ผูประสบปญหาทางสังคมจังหวัดแพร ทุกหนวยงานรวมกันขับเคล่ือนภารกิจดานสวัสดิการสังคมและสังคม
สงเคราะห ในดานการสงเคราะหและคุมครองสวัสดิภาพ การจัดบริการทางสังคมที่เกี่ยวกับ การปองกัน
แกไขปญหา การพัฒนา และการสงเสริมการเขาถึงสิทธิและความม่ันคงในชีวิตและทรัพยสิน ใหความ
ชวยเหลือผูประสบปญหาทางสังคมในภาวะวิกฤติเรงดวนตามสถานการณ ใหการชวยเหลือคุมครอง
สวัสดิภาพ และจัดบริการสวัสดิการสังคมสําหรับทุกกลุมเปาหมาย ไมวาจะเปน เด็ก เยาวชน สตรี
ผูดอยโอกาส รายไดนอย ไรที่พึ่ง เรรอน และกลุมเปาหมายอื่นๆ ที่ประสบปญหาทางสังคมในภาวะ
การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 โดยทุกหนวยงานจะไดรับงบประมาณ
สนับสนุนจากกรม กระทรวงตนสังกัดและมีการดําเนินการภายใตระเบียบการดําเนินงานของ แตละงาน
เพือ่ รวมกันดาํ เนินการในการปองกนั และแกไขปญหา COVID-19 อยางเต็มท่ี

การพฒั นา“การปอ งกนั และแกไขปญหา COVID-19 ดวยชุมชน” ปจจัยที่สําคัญในการดําเนินการ
คือ การส่ือสารที่มีประสิทธิภาพและระบบภาคีเครือขายในการทํางานอยางมีสวนรวม เพื่อใหชุมชน
สามารถสรางการรับรู และสรางความเขาใจรวมกันและสามารถนําไปปฏิบัติตามไดอยางถูกตอง ท้ังในระดับ
บุคคล ครอบครัว ชุมชน หนวยงาน เนื่องจากภาวะการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
หรอื COVID-19 เปน สงิ่ ที่ไมเคยเกิดขึ้นและแพรระบาดอยางรวดเร็วไปทั่วโลก มีผูคนติดเช้ือและเสียชีวิตเปน
จํานวนมาก ประชาชนสวนใหญตางมีความหวาดกลัวการติดเช้ือ และพรอมใหความรวมมือในการดําเนินการ
อยา งเขมงวดตามมาตรการของภาครัฐ ซึ่งการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพและระบบภาคีเครือขายในการทํางาน
อยางมีสวนรวม เปนแนวคิดสําหรับการพัฒนาการดําเนินการในการปองกันและแกไขปญหาโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 หรือ COVID-19 ไดอยา งยั่งยืน

คการปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกงิ๋ จงั หวดั แพร

นอกจากน้ี การทํางานภายใตมาตรการและนโยบายท่ีชัดเจนจากภาครัฐ และการดําเนินการตาม
มาตรการของภาครัฐและจังหวัดอยางเครงครัด โดยจังหวัดแพร มีคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดแพร
มีการจัดต้ังศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 ) ศูนยขาวโค
วิด19 แพรศูนยขอมูล COVID-19 ซึ่งเปนการบูรณาการทํางานจากทุกภาคสวนท่ีเกี่ยวของ เพ่ือสรางความ
เปนเอกภาพ ชัดเจน ในการทํางาน การส่ือสาร ประชาสัมพันธ และการประสานความรวมมือในการปองกัน
และแกไขปญหาการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 อยางเขมแข็งและตอเน่ือง
มีการรายงานสถิติ ประกาศ ขาวสาร สรุปมาตรการตางๆ อยางตอเนื่อง รวดเร็วทันตอสถานการณวันตอวัน
การรับเรอ่ื งรอ งเรียน แจง เหตุ โดยการบูรณาการการทํางานจากทุกภาคสวน ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชนและภาค
ประชาชน ท้ังในระยะท่ีมีการแพรระบาดของโรค ระยะของการบังคับใชมาตรการตางๆอยางเขมงวด
ในชวงลอ คดาวน จนกระทัง่ เขา สูการผอนคลายมาตรการตา งๆลง เพ่ือการส่ือสาร การสรางความเขาใจอยาง
มีประสิทธิภาพ นําไปสูการรับรู ความเขาใจ และการปฏิบัติตามอยางเครงครัด และตอเน่ือง เริ่มจาก
มาตรการท่ชี ดั เจนของรัฐบาลในระดับประเทศ ระดับจังหวัด ระดับอําเภอ นําไปสูระดับชุมชน เปนการสราง
การรับรู สรางความเขาใจ แนวทางในการปฏิบัติตนและดําเนินการรวมกัน สงผลใหการปองกันและแกไข
ปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชน เปน ไปอยางดีเยี่ยมและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งมีการประสานความรวมมือและ
การใหความรวมมอื จากทุกภาคสวนอยา งเตม็ ที.่

งการปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเ กง๋ิ จงั หวดั แพร
สารบัญ

เรื่อง หนา

คํานํา ก

บทสรปุ ผูบริหาร ง

สารบัญ 1
2
บทท่ี 1 สถานการณก ารแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 5
-สถานการณท ว่ั โลก 7
-สถานการณใ นประเทศไทย
-สถานการณใ นระดับจังหวดั แพร 12
-สถานการณใ นระดบั ชมุ ชนและขอมลู ชมุ ชนตําบลแมเ กง๋ิ 15

บทที่ 2 ผลกระทบที่เกิดจากสถานการณการแพรระบาดของ COVID-19 18
-ผลกระทบดานเศรษฐกจิ 25
-ผลกระทบดานสงั คม การศกึ ษา สาธารณสขุ และวฒั นธรรม
32
บทที่ 3 การบริหารจัดการสถานการณการแพรร ะบาดของ COVID-19 32
-การบรหิ ารจัดการและมาตรการการดาํ เนนิ การในระดบั จังหวดั แพร
-การบรหิ ารจัดการและมาตรการการดาํ เนินการในระดับชุมชนตาํ บลแมเก๋ิง 36
37
บทที่ 4 ผลสําเร็จของการดาํ เนนิ งานในระดับพ้ืนที่ 38
- ผลสาํ เร็จของการดาํ เนนิ งานในระดบั พ้นื ทีต่ ําบลแมเ กงิ๋ 42
- ทศิ ทางการพฒั นาในอนาคต 43

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ
-สรปุ ผลการศึกษา
-ขอเสนอแนะ

ภาคผนวก

เอกสารอา งองิ

เอกสารวิชาการ

1การปองกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกงิ๋ จงั หวดั แพร

บทท่ี 1
สถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19 )

สถานการณท วั่ โลก

ไวรัสโคโรนา (Coronavirus) เปนไวรัสท่ีถูกพบครั้งแรกในป 1960 แตยังไมทราบแหลงที่มา
อยางชัดเจนวามาจากท่ีใด แตเปนไวรัสท่ีสามารถติดเชื้อไดท้ังในมนุษยและสัตว ปจจุบันมีการคนพบไวรัส
สายพนั ธุนีแ้ ลวท้งั หมด 6 สายพนั ธุ สว นสายพนั ธทุ ีก่ าํ ลังแพรระบาดหนักทัว่ โลกตอนนี้เปนสายพันธุท่ี ยังไมเคย
พบมากอ น คือ สายพันธุที่ 7 จึงถูกเรียกวาเปน “ไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม” และในภายหลัง ถูกตั้งช่ืออยาง
เปนทางการวา “โควดิ -19” (COVID-19) นั่นเอง

แมว าอาการโดยท่ัวไปจะดูเหมือนเปนเพียงไขหวัดธรรมดา แตท่ีกลัวกันท่ัวโลกเปนเพราะ เช้ือไวรัส
น้ีเปนสายพันธุใหม ท่ียังไมมียาปฏิชีวนะตัวไหนท่ีสามารถรักษาใหหายไดโดยตรง การรักษาเปนไปแบบ
ประคับประคองตามอาการเทานัน้

นอกจากนี้ อันตรายที่ทําใหเสี่ยงถึงชีวิต จะเกิดข้ึนเม่ือระบบภูมิตานทานโรคของเราไมแข็งแรง หรือ
เชอื้ ไวรัสเขาไปทาํ ลายการทํางานของปอดได จนทาํ ใหเชื้อไวรสั แพรก ระจายลุกลามมากข้ึน รวดเร็วข้ึน

องคการอนามัยโลก (WHO) ประกาศใหการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหมเปน
"การระบาดใหญ" หรือ pandemic หลังจากเช้ือลุกลามไปใน 118 ประเทศและดินแดนทั่วโลก
และมีผูติดเชื้อกวา 121,000 คน ทั้งไดคราชีวิตผูคนไปแลวกวา 4,300 คน อีกท้ังยังประกาศใหการแพร
ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุใหมเปน "ภาวะฉุกเฉินดานสาธารณสุขระหวางประเทศ" เนื่องจากมีการพบ
ผูติดเช้ือรายใหมอยางตอเนื่อง ทําใหเกิดความกังวลวาการระบาดของไวรัสชนิดนี้จะแพรไปสูประเทศท่ีมี
ระบบสาธารณสุขออ นแอ

ผูติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา ทั่วโลก 11 กรกฎาคม 2563

2การปอ งกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเ กงิ๋ จังหวดั แพร

ฉบับท่ี 193 วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2563 เวลา 12.00 น.
1. สถานการณใ นตา งประเทศ

มีรายงานผูปวยยืนยันทั่วโลก รวม 210ประเทศ 2 เขตบริหารพิเศษ 1 นครรัฐ เรือDiamond
Princessเรือ Grands Princess และเรือ MS Zaandam ในวันที่ 14 กรกฎาคม 2563 จํานวน 13,253,005
ราย มีอาการรุนแรง 59,208ราย เสียชีวิต575,889 ราย โดยประเทศที่มีจํานวนผูปวยยืนยัน 10 อันดับแรก
ไดแก สหรัฐอเมริกา3,479,483 ราย บราซิล1,887,959 ราย อินเดีย908,258 รายรัสเซีย739,947 รายเปรู
330,123 รายชิลี 317,657 ราย เม็กซิโก304,435 รายสเปน 303,033 ราย สหราชอาณาจักร 290,133 ราย
และแอฟริกาใต287,796 ราย สวนจีนเปนอันดับที่ 23 มีจํานวนผูปวย 85,173 ราย (รวม ฮองกง 1,522 ราย
มาเกา 46 ราย)

ประเดน็ ท่นี าสนใจในตา งประเทศ ณ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2563
- ประเทศสหรัฐอเมริกาผูวาการรัฐไวโอมิง ออกประกาศขยายภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขไปจนถึง
วันที่ 31 กรกฎาคม 2563 เนื่องจากสถานการณการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 พบผูปวย
ยืนยันรายใหมเพิ่มขึ้น สวนสวนสนุกดิสนียเวิลดรัฐฟลอริดาซึ่งกลับมาเปดใหบริการอีกคร้ังพรอมกับมี
มาตรการปองกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยผูที่เขามายังบริเวณสวนสนุกทุกคนตองสวมหนากาก
อนามัยและหากผูใดไมสวมหนากากอนามัยขณะเลนเคร่ืองเลนเมื่อพบวามีรูปถายผูน้ันอยูทางสวนสนุกจะไม
สงรูปถายให-ประเทศอังกฤษรัฐบาลออกประกาศใหมีการสวมใสหนากากอนามัยเม่ือเขารับบริการภายใน
รานคาและซปุ เปอรม าเก็ต มผี ลบงั คบั ใชต ้ังแตวันที่ 24 กรกฎาคม 2563 นีเ้ ปนตน ไป
2.สถานการณภ ายในประเทศ
2.1 การคัดกรองตามนยิ ามการเฝาระวงั โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา2019
วันท่ี 13 กรกฎาคม 2563 มีผูท่ีเดินทางเขา-ออกระหวางประเทศที่ไดรับการคัดกรอง
จํานวน 7,005,741 คน(ขอมูล ณ วันที่ 12 กรกฎาคม 2563)รวมพบผูปวยท่ีมีอาการเขาไดตามนิยาม
การคดั กรองท่ชี อ งทางเขา -ออกประเทศจาํ นวน 2,083รายรายละเอียดตามตารางท่ี 1

ประเภทการคัดกรอง จํานวนผไู ดรบั การคัดกรอง จํานวนผูปวยสะสม
ผทู ี่ไดร บั การคดั กรอง 7,005,741 คน 2,083 ราย
4,504,655 คน 2,075 ราย
-คดั กรองที่สนามบิน* (42,004 เท่ียวบิน) 157,053 คน 2 ราย
2,121,686 คน 6 ราย
- คดั กรองท่ที าเรอื ** 222,347 คน 0 ราย
- ดา นพรมแดนทางบก***
- ผูมาตออายุหนังสือเดินทางท่ีสํานักงาน
ตรวจคนเขา เมอื งแจง วัฒนะ

หมายเหตุ: เรม่ิ ดาํ เนนิ การตงั้ แตว ันท่ี 3 มกราคม 2563

3การปองกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเกงิ๋ จังหวดั แพร

2.2 ผลดาํ เนินการคดั กรองผปู วยที่มอี าการตามนยิ ามเฝา ระวังโรค
วันที่ 14 กรกฎาคม2563 ณ เวลา 12.00 น. พบผูปวยที่มีอาการตามนิยามเฝาระวังโรครายใหม
จํานวน 2,758 ราย รวมยอดผูที่ไดรับการตรวจทางหองปฏิบัติการสะสมทั้งหมด จํานวน 335,323 ราย
รายละเอยี ดตาม ตารางที่ 2

ผูปวยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ท่ีพบในประเทศไทย มีคามัธยฐานของอายุเทากับ 37 ป
(1 เดือน -97ป) เพศชาย 1,784 ราย เพศหญิง 1,443ราย (ชาย:หญิง = 1.24:1) สัญชาติไทย 2,888 ราย
สัญชาติอื่นๆ 328ราย และไมทราบ 11 ราย มีประวัติโรคประจําตัว 207 ราย และไมมีโรคประจําตัว 3,020
ราย พบผปู ว ยจากการคดั กรองทสี่ นามบนิ 40ราย (รวมพลเมอื งไทยที่รับกลับจากเมืองอูฮั่น 1 ราย) เขารักษา
ในโรงพยาบาลดวยตนเอง 1,588 ราย จากการติดตามผูสัมผัส 1,189 รายจากการกักกันในพ้ืนที่ท่ีรัฐกําหนด
290 ราย จากการตรวจคนเขาเมืองจังหวัดสงขลา 65 รายและจากการคนหาเชิงรุก Active Case Finding
55 ราย

4การปอ งกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกงิ๋ จงั หวดั แพร

3. มาตรการในประเทศไทย
- จังหวัดระยอง เทศบาลนครระยองสั่งปดการสอนโรงเรียนในสังกัดทั้งหมด 6 แหงและศูนยพัฒนา

เด็กเล็ก 2 ศูนย โดยจะเรม่ิ ปดตั้งแตวันท่1ี 4 กรกฎาคม2563 เปนตน ไปและใหเรียนทางระบบออนไลนแ ทน
- กรมควบคมุ โรค อธิบดีกรมควบคุมโรคมอบหมายใหกองระบาดวิทยาสํานักงานปองกันควบคุมโรค

เขตเมืองและสํานักงานปองกันควบคุมโรคที่6 จังหวัดชลบุรีรวมกับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดระยองและ
หนวยงานที่เก่ียวของในพื้นท่ีเรงสอบสวนโรคและรายละเอียดเพิ่มเติมในกรณีพบผูติดเชื้อยืนยันจาก
ตางประเทศ

- ศูนยก ารคา เซน็ ทรัลพลาซา ระยอง ไดคุมเขมมาตรการ“เซ็นทรัลสะอาดม่ันใจ”ปองกันเชิงรุกอยาง
ตอเน่ืองโดยครอบคลุมในเร่ืองความสะอาดและความปลอดภัยใน5 แกนหลักคือ การคัดกรองอยางเขมงวด
มาตรฐานเวนระยะหางทางสังคมในทุกจุด การติดตามเพื่อความปลอดภัย การใสใจในความสะอาดทุกจุด
สัมผัส แนวทางลดการสัมผัส(Touchless) เพื่อความปลอดภัยและความมั่นใจของพนักงานผูเชารานคาและ
ลูกคาทุกคนท่ีมาใชบริการภายในศูนยการคา ทั้งนี้ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซาระยองใสใจดูแลความสะอาด
และปองกันอยางเต็มทแ่ี ละขอใหท ุกคนรว มกันปฏบิ ัติตามมาตรการอยางเครง ครดั “การด ไมต ก”อยางตอเน่ือง

- ศูนยการคา Passione Shopping Destination ดําเนินการปดเปนระยะเวลา 3วัน เร่ิมตั้งแตวันท่ี
14 กรกฎาคม 2563ถงึ วันท่ี 17 กรกฎาคม 2563 พรอ มดําเนินการทําความสะอาดศูนยการคา โดยมาตรการ
ของหางจะมีการทําความสะอาดจุดสัมผัสดวยนํ้ายาฆาเชื้อเปนประจําทุกวัน และมีการพนนํ้ายาฆาเชื้อในทุก
วันศุกร นอกจากน้ศี นู ยฯยงั ไดม กี ารคดั กรองอุณหภมู ขิ องผทู ่ีเขา มาใชบ ริการโดยตลอด
4. การสือ่ สารความเส่ียงกับประชาชน

- กรณีมีการเดินทางโดยใชรถขนสงสาธารณะท้ังภายในจังหวัด รวมถึงการเดินทางขามเขตพ้ืนที่จังหวัด
ผูประกอบการ ตอ งจัดระบบและระเบียบตาง ๆ เชน การทําความสะอาดยานพาหนะ การคัดกรองผูโดยสาร
การเนนใหผ ใู หบริการสวมหนากากอนามัยหรือหนากากผา รวมทั้งใหมีการจอดพักรถ ควรจัดใหมีการนั่งตาม
มาตรการการเวนระยะหางทางสังคม และผูใชบริการ สวมหนากากอนามัยหรือหนากากผาตลอดระยะการ
เดินทางและงดการพูดคุย รวมถึงการรับประทานอาหารบนรถขนสงสาธารณะและลงทะเบียนกอนเขาและ
ออกจากสถานท่ีสําหรับสถานที่ประกอบการอื่นๆนอกจากการทําความสะอาดพื้นผิวและการใสหนากาก
อนามัย หรือหนากากผา ผูประกอบการตองจํากัดจํานวนการเขาใชบริการตามาตรการปองกันโรคตามท่ี
ราชการกาํ หนดเพือ่ ปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019

- กรณีท่ีอยูในบริเวณที่ผูคนพลุกพลาน หรืออยูในสถานที่ที่การระบายอากาศเปนระบบปด เชน
อยูในหองประชุม ศูนยแสดงสินคา ศูนยการคา โรงภาพยนต เปนตนใหใชหนากากอนามัยหรือหนากากผา
และรกั ษาระยะหางไมน อ ยกวา 1 -2 เมตรหรอื 1 -2 ชว งแขน และใชเ วลาพบปะผูอื่นใหส ัน้ ที่สดุ

- หม่นั ลางมอื ใหส ะอาดดว ยนา้ํ และสบู หรือแอลกอฮอลเ จล ไมน ํามือมาสัมผัสตา จมูก ปาก โดยไมจ าํ เปน
- ไมใชของสวนตัวรวมกับผูอื่น (เชน ผาเช็ดหนา แกวน้ํา ผาเช็ดตัว) เน่ืองจากเชื้อกอโรคทางระบบ
ทางเดนิ หายใจสามารถเขา สรู างกายไดทางการสมั ผสั สารคดั หล่งั ของผูต ิดเชื้อ
- รับประทานอาหารปรุงสุกรอนสามารถดาวนโหลดเอกสารท่ีเก่ียวของกับสถานการณโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 ไดท hี่ ttps://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/situation.php

5การปองกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกงิ๋ จังหวดั แพร

สถานการณใ นระดบั จงั หวัดแพร
ดวยสถานการณระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือ โควิด 19 (Coronavirus Disease
2019 COVID-19 ) อันเปนโรคติดตออันตรายตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ช่ือและอาการสําคัญ
ของโรคตดิ ตออันตราย (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๖๓ มแี นวโนมการแพรก ระจายและพบการเพิ่มข้ึนของผูปวยอยาง
รวดเร็ว จังหวัดแพร จึงมีความจําเปนเรงดวนที่จะตองดําเนินการปองกันและยับย้ังการแพรระบาดของโรค
เร่ิมจากมีการแตง ตง้ั คณะกรรมการโรคติดตอ จงั หวัดแพร จดั ต้งั ศนู ยบ ริหารสถานการณการแพรระบาดโรคติด
เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 ) ศูนยขาวโควิด19 แพร ศูนยขอมูล (COVID-19 ) ซ่ึงเปนการบูรณาการ
ทํางานจากทกุ ภาคสว นที่เก่ียวของเพือ่ ประสานความรวมมือในการปอ งกนั และแกไ ขปญ หาการระบาดของโรค
ตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โควดิ 19 อยา งเขม แขง็ และตอเน่ือง
จงั หวดั แพร มผี ตู ิดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด19 จํานวน 1 คน และมีการรักษาหาย 1 ราย
และไมมีผูเสียชีวิต ขอมูล ณ วันที่ 14 กรกฎาคม ๒๕๖๓ ไมพบผูติดเช้ือมาแลว 98 วัน นับวาประสบ
ความสําเรจ็ ในการดําเนนิ การปอ งกันและควบคุมโรคไดดียงิ่ ดวยความรวมมอื จากทุกภาคสว นในจงั หวัดแพร

6การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเ กง๋ิ จงั หวดั แพร

7การปอ งกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเกงิ๋ จงั หวดั แพร

สถานการณใ นระดบั ชุมชนและขอมูลชมุ ชน
องคการบรหิ ารสวนตาํ บลแมเ กิ๋ง อาํ เภอวังชิน้ จังหวัดแพร

วิสัยทศั น
“ประตสู ูแหลงทองเที่ยว โดดเดนวถิ ชี วี ติ วัฒนธรรมชาวไทยกะเหร่ยี ง

ศนู ยรวมเศรษฐกจิ ชุมชนอําเภอวังชิน้ ”
สภาพทัว่ ไปและขอมูลพืน้ ฐาน

1. ประวัติความเปน มา
1.1 องคการบริหารสวนตําบลแมเก๋ิง อําเภอวังชิ้น จังหวัดแพร ต้ังอยูทางทิศเหนือของที่วาการ

อําเภอวังช้ิน มีระยะทางหาง 3 กิโลเมตร และต้ังอยูทางทิศใตของอําเภอเมือง จังหวัดแพร มีระยะทางหาง
76 กิโลเมตรและหางจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 635 กิโลเมตรและต้ังอยูในลักษณะภูมิประเทศ
ท่ีราบสลบั ภเู ขา เปนปา เขา มีลําหวยและแมน้าํ ยมไหลผาน

1.2 ภูมปิ ระเทศ
องคก ารบริหารสว นตําบลแมเ กิ๋ง มีเน้ือท่ีทั้งหมด ประมาณ 24 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ

15,000 ไร บริเวณพิกัด N 1982130 Y 563792 สูงกวาระดับนํ้าทะเล 112 เมตร สภาพพื้นท่ีแบงออกได
เปน 2 ลักษณะ คอื

1. พ้ืนท่ีภูเขา คิดเปนพ้ืนที่ประมาณรอยละ 65 ของตําบล ประกอบดวยทิวเขาเทือกเขาผีปน
น้ําตะวันตก ซ่ึงเปนเทือกเขาที่ทอดเปนแนวยาวจากทิศเหนือสูทิศตะวันตกเฉียงใตเร่ือยลงไปทางทิศใตจนถึง
อําเภอเถิน แนวสันเขาน้ีใชเปนเขตแบงการปกครองระหวางจังหวัดแพร กับ จังหวัดลําปาง จอดเขาสูงสุด
มคี วามลาดชันโดยเฉลีย่ ประมาณ 80 องศา และเนินเขาเล็กๆโดยทว่ั ไปของตาํ บล

2. พ้ืนท่ีราบลุมนํ้าและท่ีราบเชิงเขา กระจายอยูท่ัวไประหวางหุบเขา ไดแก ที่ราบลุมน้ําหวย
แมเ กิง๋ หลวง, ลําหว ยแมเกงิ๋ นอ ย, ลาํ หวยสลก, ลําหวยหินแดง ฯ เปนพ้ืนทที่ ีม่ ีความอุดมสมบูรณเหมาะสมตอ
การเกษตร
อาณาเขต

ทิศเหนือ ติดตอกับ ตําบลแมป าก อาํ เภอวงั ชิ้น จังหวัดแพร
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอกบั ตําบลวังช้นิ จังหวัดแพร ตาํ บลทงุ แลง อาํ เภอลอง จงั หวดั แพร
ทิศใต ตดิ ตอกบั ตาํ บลวังชน้ิ และตําบลแมพงุ อําเภอวังช้ิน จังหวัดแพร
ทิศตะวันตก ตดิ ตอกับตําบลสันปาแกว และตําบลบานบอม อําเภอแมทะ จงั หวัดลาํ ปาง
1.3 ลักษณะภูมิอากาศ

ลักษณะภูมิอากาศของตําบลแมเกิ๋ง แบงออกเปน 3 ฤดูกาล คือ ฤดูรอน ระหวางเดือน
มีนาคม - พฤษภาคม อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 41 องศาเซลเซียส ในเดือนเมษายน ฤดูฝน ระหวางเดือน
มิถุนายน-ตุลาคม ฤดูหนาว ระหวางเดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ อุณหภูมิต่ําสุดประมาณ 8 องศา
เซลเซียส ในเดอื นธนั วาคม

8การปอ งกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จงั หวดั แพร

ดา นการเมือง/การปกครอง
1. เขตการปกครอง
องคการบริหารสวนตําบลแมเกิ๋ง ไดแบงแยกเขตการปกครองออกจากตําบลแมปาก

เมื่อวันท่ี 20 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2540 และจัดตั้งเปนองคการบริหารสวนตําบลแมเก๋ิง เมื่อวันที่ 14
เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2542 มจี ํานวนท้ังสนิ้ 8 หมบู าน ประกอบดวย

1.) หมูที่ 1 บานสบเกิง๋
2.) หมทู ี่ 2 บานเดน
3.) หมูท ่ี 3 บา นปน เจน
4.) หมทู ่ี 4 บานสลก
5.) หมทู ่ี 5 บา นสบปาก
6.) หมทู ่ี 6 บานแมส นิ
7.) หมูท่ี 7 บา นคา งใจ
8.) หมูที่ 8 บานคา งคําแสน
2. การเลอื กต้งั
(ขอมลู การเลือกต้ังผบู รหิ ารองคก ารบรหิ ารสวนตาํ บลแมเ กิ๋ง ณ วันที่ 19 มกราคม 2556)
จํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้ง 3,761 คน ผูมาใชสิทธิ จํานวน 2,827 คน คิดเปนรอยละ 75.17 บัตรเสีย
จํานวน 94 บตั ร คดิ เปนรอ ยละ 3.33 บตั รไมป ระสงคลงคะแนน จาํ นวน 31 บตั รคดิ เปน รอยละ 1.10
ดานประชากร

ชว งอายแุ ละจํานวนประชากร

9การปองกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเ กงิ๋ จังหวดั แพร

สภาพทางสังคม
การศึกษา ในเขตองคก ารบรหิ ารสว นตําบลแมเ กงิ๋ มีสถานศึกษา รวม 5 แหง ไดแก

จํานวนนักเรยี น

โรงเรยี น อนบุ าล ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6 ม. 1 ม. 2 ม. 3 รวม

(คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)

บา นสลก 15 10 6 14 16 12 20 25 15 10 143

บานแมสิน 13 6 24335- - - 36

บานคา งใจ 14 2 11 3 4 8 4 - - - 46

บา นสบปา ก 12 8 10 5 10 9 6 - - - 60

รวม 54 26 29 26 33 32 35 25 15 10 285

ศูนยพ ฒั นาเด็กเลก็ สังกดั องคก ารบริหารสว นตาํ บลแมเ กง๋ิ จํานวน 1 แหง ไดแก

สถานศกึ ษา ชาย (คน) ปการศกึ ษา 2562 รวม (คน)
34 หญงิ (คน) 67
ศนู ยพฒั นาเดก็ เล็กองคก ารบรหิ ารสว นตําบลแมเกิง๋ 34 33 67
รวม 33

ศาสนา มีผูนับถือศาสนาพุทธ จํานวน 7 หมูบาน คือ หมูที่ 1,3,4,5,6,7,8 และนับถือศาสนา
คริสต จํานวน 1 หมูบาน คือหมูที่ 2 มีวัด จํานวน.....5....แหง มีสํานักสงฆ จํานวน......1......แหง สถาน
ปฏบิ ัตธิ รรม จาํ นวน 2 แหง

สาธารณสขุ
องคการบริหารสวนตาํ บลแมเกิง๋ มี โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพชุมชน………2…...แหง

เจาหนาทส่ี าธารณสขุ จํานวน 6 คน คลนิ ิก.....-.......แหง รา นขายยาแผนปจจุบนั ......-.....แหง มกี ารจดั ต้งั
กลมุ อสม. ทั้ง 8 หมบู าน มจี ํานวน........145.......คน ดังนี้

10การปอ งกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จงั หวดั แพร

จาํ นวนอาสาสมคั รสาธารสุขประจําหมูบา น

หมูท่ี ชือ่ บาน (อสม.) หมายเหตุ

1 บานสบเกง๋ิ ชาย หญิง รวม
2 บานเดน
3 บานปน เจน 4 11 15
4 บานสลก
5 บา นสบปา ก 5 7 12
6 บานแมส นิ
7 บานคา งใจ 7 10 17
8 บานคา งคาํ แสน
7 10 17
รวม
9 17 26

9 6 15

9 15 24

6 10 16

56 86 142

อาชญากรรม
ในพน้ื ทค่ี วามรับผดิ ชอบขององคการบริหารสว นตาํ บลแมเกิ๋ง ไมม เี หตเุ กิด ความปลอดภัยในชีวิต

และทรัพยสิน องคการบริหารสวนตําบลแมเก๋ิง แตมีการเตรียมความพรอมดานการปองกันและบรรเทา
สาธารณภัย มีพนักงานผานการอบรมนักดับเพลิง จํานวน......1......คน มีอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน
(อปพร.) จาํ นวน….114..…คน มรี ถบรรทุกนํ้า จํานวน......1.....คนั ความจ.ุ ...6,000.-....ลิตร

ยาเสพตดิ
องคการบริหารสวนตําบลแมเกิ๋ง ไมมีขอมูลผูผานการฟนฟูตามพ.ร.บ.ฟนฟูสมรรถภาพ

ผตู ิดยาเสพติด เนื่องจากไมส ามารถเปด เผยขอ มูลไดตามพรบ.ขอมลู ขาวสารทางราชการ พ.ศ. 2540

การสังคมสงเคราะห
องคการบริหารสวนตําบลแมเกิ๋ง มีผูข้ึนทะเบียนรับเบี้ยยังชีพผูสูงอายุ เบี้ยยังชีพคนพิการ

เบ้ียยงั ชีพผปู วยเอดส ตามนโยบายเรงดวนของรัฐบาล รายละเอียดดังนี้

11การปองกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเ กง๋ิ จังหวดั แพร

หมทู ี่ หมูบ าน ผสู งู อายุ คนพิการ ผูปว ยเอดส
1 บานสบเกิ๋ง (คน) (คน) (คน)
2 บานเดน 91 10 4
3 บา นปนเจน 59 14 -
4 บา นสลก 110 26 2
5 บา นสบปาก 90 20 1
6 บานแมสนิ 115 30 1
7 บา นคา งใจ 103 33 2
8 บา นคางคาํ แสน 196 46 -
123 22 1
รวม 887 201 11

12การปอ งกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเ กง๋ิ จงั หวดั แพร

บทท่ี 2
ผลกระทบทเี่ กดิ จากสถานการณการแพรระบาดของ (COVID-19 )

ผลกระทบดานเศรษฐกิจ
อาการปวยจาก (COVID-19 ) อาจจะไมรุนแรงสําหรับคนสวนใหญ (รอยละ 81) แตกลับเปน

โรคท่ีนากลัว สําหรบั ผูส งู อายุ และผูที่มโี รคประจําตัวบางอยา ง เชน โรคหัวใจ โรคหอบ ฯลฯ และส่ิงท่ีจะชวย
ลดหรอื ปอ งกนั การระบาดของไวรสั เพือ่ มิใหร ะบาดไปถึงกลุม เสี่ยง คือ การหลีกเล่ียงการปฏิสัมพันธระหวาง
มนุษย ไมวาจะเปนคนกลุมเส่ียงหรือไม มนุษยเปนสัตวสังคม ดวยความสามารถในการปฏิสัมพันธท่ีซับซอน
ของมนุษย ทําใหสังคมมนุษยมีการพัฒนากาวหนาอยางรวดเร็ว ไมวาจะเปนการพบปะหารือเพื่อแลกเปลี่ยน
ความคิดและเจรจาตอรอง การรวมตัวเพ่ือถายทอดความรูเชนในหองเรียน และการเดินทางขามรัฐ ขามแดน
ดวยเทคโนโลยีคมนาคมตางๆ โดยเฉพาะในยคุ Globalization ทีม่ นษุ ยท ่ัวโลกเชอ่ื มตอ กันไมท างใดก็ทางหนึ่ง
แตตอนนี้กิจกรรมทางสังคม เหลาน้ี ไดกลายเปนการสนับสนุน การระบาด รัฐบาล และ ผูเชี่ยวชาญท่ัวโลก
ขอความรว มมือจากประชาชน ใหงดการเดินทางทั้งในและตางประเทศ งดการออกจากบาน งดการ รวมกลุม
ขอปฏิบัติตางๆ เหลานี้ สงผลกระทบทําใหการดําเนินชีวิตและการเขาสังคมของมนุษยเปล่ียนไปโดย
ส้นิ เชิงเกิดผลกระทบหลากดาน หลายปจ จยั
อาชพี ทีจ่ าํ เปนในชวงวิกฤต

เมอ่ื พดู ถึงอาชพี ทม่ี คี วามสําคัญอยา งมากในชวงวิกฤตการระบาดของ Coronavirus แพทย พยาบาล
และผูใหบริการทางการแพทยในสวนตางๆ คงเปนคนกลุมแรกที่ทุกคนนึกถึง เพราะเปนสายอาชีพท่ีเปน
ดานหนาในการรับมือกับไวรัสและผูปวย อยางไรก็ตาม ในขณะที่คนสวนใหญ สามารถเก็บตัวในบานหรือ
ทํางานจากที่บาน (Work from Home) เพื่อปองกันตัวเองจากการระบาด ยังมีคนในอีกหลายสายอาชีพ
ทยี่ งั ตองออกทํางานและเผชิญกับความเสี่ยง เชน พนักงานในหางสรรพสินคาแผนกอาหาร และซุปเปอรมาร
เก็ตยังคงตองทํางานหนักในการจัดเตรียมสินคา เพ่ือใหลูกคาสามารถซ้ือหาสินคาท่ีตองการได พนักงาน
ทําความสะอาด และเก็บขยะท่ีตองเผชิญกับสถานการณท่ีมีความเสี่ยง เพ่ือรักษาความสะอาดของบานเมือง
คนขบั รถแท็กซ่ี และบริษทั ขนสง ตางๆ ท่ียงั ชวยใหบ ริการคนในพ้นื ที่ตา งๆ ยังสามารถเดินทางหรือสงของหรือ
สินคาใหกันได รวมถึง เจาหนาที่รักษาความปลอดภัยตางๆ ที่ยังตองปฏิบัติหนาท่ีเพื่อมั่นใจวา ประชาชน
อยูในกฎระเบียบ และ เจาหนาที่ภาครัฐบางภาคสวน เชน สถานเอกอัครราชทูตในตางประเทศที่มีหนาท่ี
ใหข อ มลู ใหความชว ยเหลือกบั ประชาชน

ในขณะเดียวกัน มีหลายอาชีพ ท่ีเปนท่ียอมรับกันวาสามารถทําเงินไดมากกวาอาชีพอื่นๆ
หรือมีความมั่นคง เปนที่ใฝฝนของหลายคน แตกลับเปน สายอาชีพแรกๆ ท่ีถูกกระทบโดยวิกฤต
(COVID-19 ) กอนใคร เชน นักบินสายการบินพาณิชย ซึ่งจะมีนักบินจํานวนมากตองตกงาน เน่ืองจากสาย
การบินตา งๆ กําลงั ประสบปญ หา ไมส ามารถใหบริการไดตามปกติ นักรอง นักแสดง เน่ืองจากงานแสดงงาน
โชวต างๆ ตอ งถูกยกเลกิ วิกฤตครั้งนท้ี ําใหเหน็ วา อาชพี ที่เกยี่ วขอ งกบั ปจ จยั สแี่ ละความอยูรอดของมนุษย
เปนอาชีพทจ่ี ะยังอยูตอ ไปได โดยเฉพาะในสถานการณไ มป กตเิ มอ่ื ความตระหนักกลายเปน ความตระหนัก

จริงอยูที่ประชาชนจะตองปรับตัว และเปล่ียนพฤติกรรมหลายอยาง เพื่อปองกันตัวเองและชวยลด
การระบาด แตการตระหนัก บางคร้ังก็มีมากเกินไป จนกลายเปนความตระหนกและกอใหเกิดความวุนวาย
ขน้ึ ในสงั คม ปรากฏการแรก ทเี่ ราไดเห็นกัน คอื การเหยียดเชื้อชาติในสถานการณ (COVID-19 ) การเกลียด

13การปอ งกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเ กงิ๋ จังหวดั แพร

กลัวชาวตางชาติหรือ คนจีน (Xenophobia) เกิดจากความไมรู ความกลัว และการตัดสินคนที่ Stereotype
ซ่ึงชาวตะวันตกมองวา (COVID-19 ) เปนโรคที่เกิดจากคนจีน จึงเกิดความกลัวและความเกลียดชังคนเอเชีย
จงึ เกดิ เหตุการณท าํ รายชาวเอเชียข้ึนตามที่เห็นในขาว แตในปจจุบัน เหตุการณก็เริ่มกลับตาลปตร กลายเปน
คนเอเชียกเ็ ร่มิ กลัวฝรัง่ บา ง เพราะการแพรร ะบาดในยุโรป และสหรฐั อเมริกา ดจู ะรนุ แรงขึน้ เร่อื ยๆ

การกกั ตุนสนิ คา เปน ทเี่ ขาใจไดวา ในสถานการณที่ไมปกติ มนุษยเรา ตองการเตรียมความพรอมเพื่อ
ความอยรู อด อยา งไรกต็ ามโดยหลักการแลว การกักตุนสินคาจํานวนมากๆ ไมมีความจําเปนในสถานการณน้ี
ถึงแมวาหลายคนจะมองวาเปนสิทธิสวนบุคคลในการกักตุนสินคา แตการทําเชนนี้กอใหเกิดปญหาที่ตามมา
เชน คนที่มีรายไดนอยหรือผูสูงอายุ ไมสามารถเขาถึงสินคาที่จําเปนได ความวุนวาย การแกงแยงสินคา
ปญหาการโกงราคาและผูคาที่ฉวยโอกาส ไปจนถึงปญหาหนากากขาดแคลน ซึ่งกระทบไปถึงแพทยและ
ผูใ หบริการทางการแพทยซ ง่ึ มีความจําเปน ซ่ึงหากประชาชนมีความเขาใจและปฏิบัติตนในแบบที่เหมาะสม
จะทาํ ใหเ ราสามารถหลีกเลี่ยงปญหาเหลานไ้ี ด
ผลกระทบตอเศรษฐกจิ โลกและความเหลื่อมล้ําทางสงั คม

การเจ็บปวย เสียชีวิต การหยุดงาน หรือตกงาน สงผลไปสูการสูญเสียรายได ซึ่งจะสงผลกระทบ
ไปสู คาใชจายภายในครัวเรือน โดยการสูญเสียงานหรือเสียรายไดนี้ จะมีโอกาสเกิดขึ้นกับคนที่มีฐานะ
ยากจน ท่ีเปนแรงงานนอกระบบ (Informal Worker) มากกวาคนท่ีมีรายไดแนนอนจากงานประจํา
และมีโอกาส ท่ีจะเกิดขึ้นในประเทศดอยพัฒนา/กําลังพัฒนามากกวาประเทศที่พัฒนาแลว ดังนั้นผลกระทบ
จากการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 นี้ จะสงผลตอเน่ืองไปสูระดับความยากจนและความเหล่ือมล้ํา
ท่ีจะเพม่ิ สูงข้ึนได

ผลกระทบในระยะสั้นเหลาน้ี อาจสงผลไปสูผลกระทบระยะยาวได เชน การที่ประเทศจะสูญเสีย
ขีดความสามารถในการแขงขันและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว (Long-Term Economic
Growth) เนื่องจากจะตองใชทรัพยากรจํานวนมากในการปองกันและรักษาเช้ือไวรัสโควิด-19
จนขาดแคลนทรัพยากรในการลงทุนในโครงสรางพ้ืนฐานที่จําเปน นอกจากน้ียังเกิดการสูญเสียทาง
ดานทุนมนุษย (Human Capital) ของประเทศ ท่ีจะตองเจ็บไขไดปวยเรื้อรัง (เชนโรคที่เก่ียวของกับปอด)
หรอื การทเี่ ด็ก นักเรียนนักศึกษาจะตองหยุดเรียน โดยเฉพาะในประเทศท่ีมีฐานะยากจน ท่ีระบบการพัฒนา
ทนุ มนุษยอยา ง ระบบสาธารณสุขและระบบการศกึ ษายงั ไมครอบคลุมทัว่ ถงึ นัก
ผลกระทบดานสังคม การศึกษา สาธารณสขุ และวัฒนธรรม
20 ในประวัติศาสตร มนุษยเราไดผานวิกฤตโรคระบาดมาแลวหลายคร้ัง แตคงไมมีครั้งไหน
ท่สี งผลกระทบตอมนุษย สังคม และโลก ไดค รอบคลมุ มติ ิไดกวา งขวางไดเ ทา กับ 20(COVID-19 ) 20เพราะไวรัสตัว
นี้ไมเพียงแต สงผลใหเกิดความเจ็บปวยสูญเสียในระดับบุคคลแลว การระบาดของ coronavirus ยังสงผล
กระทบไปทั่วทุกมิติ และเกือบทุกประเทศ เน่ืองจากนับแตเราไดเขาสู ยุคโลกาภิวัตน แมเสนเขตแดนรัฐ
ยังจะแบงโลกออกเปนประเทศ ตามที่แสดงในแผนที่ แตการติดตอคาขาย การไปมาหาสู รวมทั้ง การสื่อสาร
บนโลกออนไลน ทําใหผูคนบนโลก ถูกผูกไวอยางใกลชิด และผลกระทบของการสัมผัสทางตรง ท่ีมาจากการ
สมั ผสั และติดเชือ้ และผลกระทบทางใจ ที่มาจากการส่ือสารในโลกออนไลน ท่ีทําใหการรับรูขาวสาร การตั้ง
สติ และการตื่นตระหนก เกิดเปนกระแสไปท่ัวโลก และมีพลวัตที่รวดเร็ว รวมทั้งยังไมมีใครคาดเดาไดวา
วกิ ฤตการณคร้ังนี้ จะยุตแิ ละผา นพน ไปเมอื่ ใด

14การปอ งกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเกงิ๋ จงั หวดั แพร

“เปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน (SDGs)” ขององคการสหประชาชาติจะไดรับผลกระทบจากการแพร
ระบาดของไวรัสครั้งใหญแหงศตวรรษเชนกัน โดยกลุมคนที่เปราะบางและไดรับผลกระทบจากวิกฤตรอบนี้
หนกั ท่ีสดุ กค็ ือ ผูห ญงิ เดก็ ผสู งู อายุ และแรงงานนอกระบบ

สําหรับดานสิ่งแวดลอมน้ัน หากมองในระยะส้ัน ทุกอยางก็ดูเหมือนจะดีขึ้น มลพิษลดลงไปตาม
กิจกรรมทางเศรษฐกิจท่ีนอยลง เพราะผูคนตองเก็บตัวอยูกับบาน มีการเดินทางนอยลง หลายอุตสาหกรรม
ตองหยุดงานชั่วคราว เชน การบิน โรงงานอุตสาหกรรม ทําใหมีการปลอยคารบอนนอยลง แตก็เชื่อวาหาก
ขาดความมุงมั่นที่จะพัฒนาอยางยั่งยืนแลว มลพิษตางๆ ก็คงกลับมาเหมือนเดิมเม่ือเศรษฐกิจโลกกลับมา
เดินหนา ตามปกตอิ ีกครง้ั
โควิด-19 สง ผลอยา งไรตอเปาหมายการพัฒนาอยางยัง่ ยืน

วิกฤตโรคระบาดคร้งั นสี้ งผลกระทบตอเปา หมายการพัฒนาทยี่ ัง่ ยนื
• เปาหมายที่ 1 การสญู เสียรายไดจ ะทําใหก ลมุ คนท่ีมคี วามเปราะบางในสงั คมและหลายบา นมีรายไดต ่าํ
กวา เสนความยากจน
• เปา หมายที่ 2 เกดิ ปญหาในการผลติ และการกระจายอาหาร
• เปาหมายที่ 3 ผลกระทบรายแรงตอสุขภาพ
• เปาหมายที่ 4 หลายโรงเรียนถูกปด การเรยี นทางไกลอาจทาํ ใหก ารเรยี นมีประสทิ ธิภาพนอ ยลงและ
นกั เรยี นบางคนไมสามารถเขาถงึ การเรยี นออนไลนไ ด
• เปาหมายที่ 5 ผลประโยชนทางเศรษฐกิจของผูหญิงจะตกอยูในความเสี่ยง ความรุนแรงของผูหญิงเพ่ิม
ระดับข้ึน และสว นใหญของคนทาํ งานสาธารณสขุ และสงั คมเปนผูหญงิ จงึ มโี อกาสไดรบั ความเสย่ี งมาก
• เปาหมายที่ 6 การเขาถึงนํา้ สะอาดท่ีไมเพียงพอเปน อปุ สรรคตอการเขา ถึงสิ่งอาํ นวยความสะดวกเพื่อลา ง
มือซึ่ง เปน หนึ่งในมาตรการปองกนั โควดิ -19 ที่สําคญั ทสี่ ุด
• เปาหมายที่ 7 การจดั หาพลังงานและกาํ ลังคนขาดแคลน ทาํ ใหการเขา ถึงไฟฟา ชะงักลง การตอบสนอง
ของระบบดแู ลสุขภาพและสมรรถภาพตํา่ ลง
• เปา หมายที่ 8 กจิ กรรมทางเศรษฐกิจหยุดชะงัก ไดรับรายไดน อ ยลง เวลาทํางานลดลง บางอาชพี ตกงาน
• เปาหมายท่ี 11 ประชากรที่อยูอาศัยในสลัมตองเผชิญความเสี่ยงในการติดเชื้อโควิด-19มากกวาเพราะ
ความหนาแนนในพ้นื ที่และปญหาเรอื่ งสุขาภบิ าล
• เปาหมายท่ี 13 ความเขมแข็งกับการตอสกู บั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศลดลง แตผลกระทบตอ
ส่งิ แวดลอมกล็ ดลงจากการผลิตลดลง เน่อื งจากปริมาณการผลติ และการขนสง ลดลง
• เปา หมายที่ 16 ความขดั แยงทาํ ใหมาตรการตอสูโควิด-19 ไมม ีประสิทธิภาพ ประชาชนที่อาศัยอยูใน
พ้ืนท่ีที่มีความขัดแยงมคี วามเสย่ี งมากทสี่ ุดที่จะเกดิ ความสูญเสียจากโรค
• เปาหมายท่ี 17 ซ้ําเติมความเห็นดานลบตอโลกาภิวัตน แตก็เปนการเนนยํ้าใหเห็นถึงความสําคัญของ
ความรวมมือระหวางประเทศดานสาธารณสุขทั้งนี้ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากเปาหมาย ท่ี 11, เปาหมายที่
8,เปาหมายท่ี 5 และเปา หมายท่ี 4 จะสงผลกระทบอยางมากกับเปา หมายที่ 10 ในการลดความเหลื่อมลาํ้
ทีม่ า 3https://thaipublica.org/2020/04/un-sdgs-effect-covid19/

15การปอ งกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเ กงิ๋ จงั หวดั แพร

20 ในรายงานระบุผลกระทบจากเปาหมายดานสุขภาพ ความเปนอยูท่ีดี การพัฒนาเมืองและชุมชน
ยง่ั ยนื (เปาหมายที่ 11) การมีน้ําสะอาดและสขุ อนามยั ท่ีดี (เปา หมายที่6) เพราะการระบาดของโรค สงผลเสีย
รุนแรงตอสุขภาพของคน โดยเฉพาะคนท่ีอยูในสลัมจะตองเส่ียงติดเช้ือมากกวา เพราะพื้นท่ีอาศัยแออัด มี
ปญ หาดา นสุขอนามัย ไมต างจากคนทอ่ี ยใู นพน้ื ทข่ี ัดแยงที่มีความเส่ียงเสียชีวิตจากโรค เพราะความขัดแยงทํา
ใหมาตรการรับมือโรคไมมีประสิทธิภาพ ขณะที่คนจํานวนมากที่ไมมีน้ําสะอาดใชหรือมีไมเพียงพอก็ไดรับ
ผลเสยี เชน กัน เพราะน้ําสะอาดเปน หนง่ึ ในมาตรการปอ งกนั โควิด-19 ทีด่ ที ่ีสดุ

ขณะเดียวกัน ผลกระทบจากโควิด-19 ทําใหโอกาสในการบรรลุ20เปาหมายดานการเติบโตทาง
เศรษฐกิจ ไดแก การมีงานทํา (เปาหมายที่ 8) การขจัดความยากจน (เปาหมายที่ 1) และขจัดความหิวโหย
(เปาหมายที่ 2) ความเทาเทยี มทางเพศ (เปาหมายท่ี 5) ลดความไมเทาเทียมโดยรวม (เปาหมายที่10) เพราะ
การปองกันการแพรระบาดของไวรัส ประเทศตางๆ ไดตัดสินใจปดเมือง ปดประเทศ สงผลใหกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจหยุดชะงัก คนมีรายไดนอยลง เวลาทํางานนอยลง และบางคนก็ตกงานทันทีโดยไมไดต้ังตัว
โดยเฉพาะหากเกิดกับคนกลุมเปราะบางในสังคม ปญหาก็จะยิ่งหนักหนวงกวาทั่วไป ทําใหหลายครอบครัวมี
รายไดต่ํากวาเสนความยากจน และเม่ือพูดถึงงานพบวา คนทํางานดานสาธารณสุขและสังคมสงเคราะหสวน
ใหญเปนผหู ญิง ซ่ึงมีความเสย่ี งท่จี ะติดเชอื้ (COVID-19 ) มากกวาคนอาชีพอนื่ อกี ทง้ั การระบาดของโรคทําให
หลายพ้นื ท่เี กดิ ปญ หาดา นการผลิตและการกระจายอาหารอีกดว ย

นอกจากน้ี วิกฤตโควิด-19 ยังสงผลตอ20คุณภาพการศึกษา (เปาหมายที่ 4) เมื่อสถาบันการศึกษาปด
การเรียนการสอนทางไกลยงั ไมมปี ระสิทธิภาพเทาที่ควร และเด็กจํานวนมากก็ขาดอุปกรณจําเปนสําหรับการ
เรยี นทางไกล สวนในแงของ20เปาหมายพลังงานสะอาด (เปาหมายท่ี 7)ในราคาสมเหตุสมผลก็ไดรับผลกระทบ
เชนกัน เนื่องจากการขาดแคลนบุคลากรและอุปทานทําใหเกิดปญหาการเขาถึงไฟฟา ซ่ึงสงผลตอเน่ืองไปยัง
ระบบดูแลสุขภาพ

อยางไรก็ตามในวิกฤตครั้งน้ีถือเปนโอกาสดีท่ีไดเห็นวา ความรวมมือระหวางประเทศมีความจําเปน
อยางมากที่จะเดินหนาไปสูเปาหมายท่ีตองการได ดังจะเห็นไดจากความรวมมือระหวางประเทศดาน
สาธารณสขุ เพื่อแกว ิกฤตใหญข องมวลมนุษยชาติ
เราจะกาวผา นวกิ ฤตใหสาํ เร็จอยางย่ังยืนไดอ ยางไร
20 มาตรการระดับโลกรบั มือวิกฤต
20 การล็อกดาวนเพื่อสูวิกฤต โควิด-19 สงผลกระทบรุนแรงตอเศรษฐกิจท่ัวโลกท้ังในแงของอุปสงค
และอปุ ทานท่ชี ะงกั งนั รฐั บาลประเทศตางๆ จึงตองออกมาตรการกระตุนเศรษฐกิจครั้งใหญเพ่ือพยุง เยียวยา
ผูไดรับผลกระทบ และฟนความเชื่อมั่นใหคืนกลับมาในอนาคต นอกจากชวยเหลือองคกรธุรกิจทุกขนาด
ใหยนื หยัดในวงการไดตอ ไป เพ่อื หลกี เลี่ยงการปลดพนักงาน ขณะเดียวกันก็ตองใหความสําคัญและชวยเหลือ
ซัพพลายเออรแ ละผูบ รโิ ภคไปพรอมๆ กนั ดว ย

มาตรการการเงินการคลังท่ีใชจะตองชวยเหลือแรงงานทุกกลุม รวมถึงลูกจางรายวัน และแรงงาน
นอกระบบ เพื่อชวยใหคนเหลาน้ีมีงานทําและมีรายไดเล้ียงดูตัวเองและครอบครัว มีการชดเชยคาจางอยาง
เหมาะสม

16การปองกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกงิ๋ จงั หวดั แพร

มาตรการกระตุนเศรษฐกิจตองเนนการกระจายทรัพยากรไปยังคนทุกกลุม โดยเฉพาะกลุมท่ี
เปราะบางที่สดุ พรอมยกระดบั ความพรอมดานการสาธารณสุขฉุกเฉิน การดแู ลทางสงั คม มีการลดหยอนภาษี
ชวยเหลอื ใหค นเขา ถงึ สนิ เชื่อดอกเบ้ยี ตา่ํ การประกนั สขุ ภาพ และเงินชดเชยวางงาน เปนตน

ชวงวิกฤต โควิด-19 จําเปนตองผอนปรนมาตรการกีดกันทางการคาตางๆ โดยเฉพาะการขนสงยา
และอุปกรณทางการแพทยท่ีจําเปนระหวางประเทศ ดวยการลดภาษีนําเขาหรือการยกเลิกการหามขนสง
เปนตน เพ่ือใหทุกประเทศมียาและอุปกรณทางการแพทยเพื่อสกัดการแพรระบาดของไวรัสและรักษาผูปวย
อกี ทัง้ ตอ งยกเลิกการควํ่าบาตรประเทศตางๆ เพื่อใหประเทศเหลานั้นมีอาหาร และเครื่องมืออุปกรณจําเปน
สาํ หรับการปองกนั การแพรระบาดและรักษาผปู ว ย โควดิ -19 เพยี งพอกบั ความตอ งการ

นอกจากนี้ ตอ งมมี าตรการปรับโครงสรางหนี้ใหกับประเทศพัฒนานอยที่สุดและประเทศกําลังพัฒนา
ท่มี รี ายไดนอย เชน ไมตอ งจา ยดอกเบี้ยตลอดปน้ี การลดหน้ี การสว็อปหนี้ เปนตน รวมถึงการปลอยเงินกูแก
ประเทศท่ีตองการความชวยเหลือ ซ่ึงท่ีผานมา องคกรระหวางประเทศ เชน กองทุนการเงินระหวางประเทศ
(IMF) ธนาคารโลก ก็ไดป ระกาศปลอ ยกูเ พือ่ ชว ยเหลือประเทศสมาชิกใหฝา วกิ ฤตคร้ังนไ้ี ปใหส ําเร็จ

ขณะที่บรรดาธนาคารกลางประเทศสําคัญๆ ของโลก และสถาบันการเงินระหวางประเทศสามารถ
ผนึกกําลังกันเพื่อชวยเพ่ิมสภาพคลองใหกับระบบการเงิน โดยเฉพาะในประเทศกําลังพัฒนาและตลาดเกิด
ใหมไดดว ย
มาตรการระดบั ภูมิภาค…รอดไปดวยกนั

ในชวงวิกฤต การคาเสรีสินคาและบริการภายในภูมิภาคเปนส่ิงจําเปนอยางยิ่ง ตองยกเลิกมาตรการ
กีดกันทางการคาทุกรูปแบบที่จะสงผลกระทบตอการนําเขาและสงออกยาและอุปกรณเคร่ืองมือทาง
การแพทยท จี่ ําเปน รวมถงึ ตองมีระบบท่ีชว ยใหก ารขนสง สินคา ขามแดนไปยังประเทศตางๆ ไดอยางสะดวก

สวนดานการเงิน ควรมีความรวมมือกับสถาบันการเงิน ซ่ึงรวมบริษัทประกันเพ่ือหาโซลูช่ันและ
แนวทางเพือ่ ชวยใหภาคธรุ กจิ สามารถฟน ตัวไดหลังสถานการณค ลีค่ ลายแลว

วิกฤตโควิด-19 ทําใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจชะงัก สะทอนถึงความเปราะบางของซัพพลายเชนและ
การใชทรัพยากรที่ขาดประสิทธิภาพในชวงท่ีผานมา ดังนั้นจึงถึงเวลาตองทบทวนเร่ืองเหลาน้ีกันใหม เพื่อ
สรางความยืดหยุนใหกับระบบซัพพลายเชนและสงเสริมการใชทรัพยากรอยางคุมคาท่ีสุด เชน การให
ความสําคัญและนําแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)ไปปฏิบัติอยางจริงจัง การมีมาตรการ
ดูแลจัดการสภาพภูมิอากาศ และการยกระดับเปาหมายการลดกาซเรือนกระจกของประเทศตางๆ เปนตน
รวมถงึ ควรมนี โยบายดานส่งิ แวดลอ มแบบเบด็ เสรจ็ เพอ่ื จดั การประเด็นปญหาขามพรมแดน ท่ีอาจชวยปองกัน
และลดผลกระทบของโรคระบาดระดับโลกแบบน้ใี นอนาคต ควรมีการวางกรอบนโยบายรวมกัน เชน กําหนด
มาตรฐานสุขอนามัยที่สอดคลองกัน การแกปญหาภัยคุกคามท่ีเก่ียวกับการคาผิดกฎหมาย การเปล่ียนแปลง
ของสภาพภมู อิ ากาศ เปน ตน
มาตรการระดบั ประเทศ… ไมท้งิ ใครไวข า งหลัง

มาตรการการคลังท่ีมีเปาหมายชัดเจนเปนสิ่งที่จําเปนตองทํา เพื่อชวยเหลือคนที่ไดรับผลกระทบ
หนักท่สี ุดจากการแพรร ะบาดของไวรัสคร้ังน้ี เพ่อื ใหพวกเขาไดรับบริการทางการแพทยอยางเหมาะสมและใช
ชวี ติ ตอ ไปได เชน การแจกเงนิ ใหผ ูไ ดรับผลกระทบ การจัดสวัสดิการสังคม การชดเชยรายไดระหวางเจ็บปวย

17การปอ งกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จงั หวดั แพร

สวนในระดับผูประกอบการอาจมีการลดหยอนภาษีหรือยืดเวลาเสียภาษี สมทบการจายคาจางพนักงาน
เพอ่ื ทาํ ใหบรษิ ทั ดาํ เนนิ ธรุ กิจตอ ไปไดแ ละไมปลดพนักงานชวงเกดิ วกิ ฤต

ขณะเดยี วกนั ตองดูแลเรือ่ งสิทธมิ นุษยชนและไมเ ลอื กปฏิบัติ โดยเฉพาะคนกลุมเปราะบางของสังคม
ทม่ี กั ไดร ับผลกระทบหนักท่ีสุด เชน ทุกคนตองมีสิทธิรับบริการตรวจคัดกรองเชื้อและการรักษากรณีเจ็บปวย
โดยไมม กี ารเลือกปฏิบัติ มีการใหขอมูลจําเปนและชัดเจนแกคนทุกกลุมอยางเทาเทียมกัน ใหความชวยเหลือ
ทางการเงนิ แกผ ูพ ิการและครอบครวั ดแู ลคนไรบานและคนกลุมเปราะบางอ่ืนๆ เพื่อลดความเสี่ยงการติดเชื้อ
และมีการเตรียมมาตรการเปดเรียนหลังวิกฤต ตลอดจนมีนโยบายสงเสริมการจางงานในระยะสั้นและ
ระยะยาวใหค นทุกกลุมโดยเฉพาะคนรุนหนุมสาวดวย

ในสวนของผปู ระกอบการ SMEs ตองมมี าตรการชวยเหลือเรงดวนโดยตรงทันที เพื่อชวยใหทําธุรกิจ
ตอไปได หนวยงานราชการอาจมีการจัดซื้อฉุกเฉินเพื่อสนับสนุนธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม มีมาตรการ
ลดการจายสมทบประกันสงั คมชว่ั คราว ลดภาษีมลู คาเพ่มิ มีสวนลดภาษี และอาจมีการอุดหนุนเงินทุนเพื่อให
SMEs สามารถนําไปใชจายคาเชา คานํ้าคาไฟ จายเงินเดือนพนักงาน และใชจายจําเปนอื่นๆ ท้ังนี้ ตองมี
มาตรการเพื่อธุรกิจนอกระบบ ซึ่งมีสัดสวนสูงถึง 80% ของผูประกอบการท่ัวโลก และโดยทั่วไปคนกลุมนี้จะ
ไดรบั ประโยชนจ ากนโยบายภาครัฐ

อกี ภาคสวนที่ไดรับผลกระทบหนักจากวิกฤต โควิด-19 คือ สถาบันการศึกษาที่ตองปดทําการ ทําให
นักเรยี นนักศึกษาตอ งหันไปเรยี นทางไกลแทน สาํ หรบั เรอื่ งน้ี ตอ งรว มมือกนั คดิ คน และจัดหาโซลูชั่นการศึกษา
ทางไกลท่ีมีประสทิ ธภิ าพ พรอมชวยใหครูและผูปกครองคุนเคยและบริการจัดการการเรียนที่บานไดดีมากข้ึน
ตองมีนโยบายและแนวทางปฏิบัติตางๆ ท่ีทําใหทุกคนมีโอกาสเรียนรูไดเหมือนกัน โดยไมปลอยใหวิกฤต
ซา้ํ เติมความเหล่อื มลา้ํ ทางการศกึ ษาใหย ํ่าแยล งไปอีก

นอกจากนี้ ตองมีมาตรการสงเสริมการกระชับความสัมพันธทางสังคม หลังจากผูคนตองเวน
ระยะหางทางกายเพ่ือลดความเสี่ยงการแพรระบาดของไวรัสมาระยะหนึ่ง ดวยการเปดโอกาสใหเขาถึง
แหลงขอมลู ดา นวัฒนธรรมและการศึกษาไดฟ รี เพื่อชว ยเยียวยาความรูส ึกโดดเด่ียวทางสงั คมของผูคนลงได

วิกฤต โควิด-19 คือ ความทาทายคร้ังสําคัญของมวลมนุษยชาติ ที่จะพลิกโฉมสรรพส่ิงไปตลอดกาล
ซึ่งหากมีมาตรการรับมือวิกฤตไดดีในทุกขั้นตอน และรวมมือรวมใจปฏิบัติกันอยางจริงจัง ก็เชื่อวา เราจะฝา
วกิ ฤตครง้ั ใหญค รั้งน้ไี ปได และพรอมจะรบั มือวิกฤตอนื่ ๆ ในอนาคตไดอยา งดีเชน กนั

18การปอ งกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเกงิ๋ จงั หวดั แพร

บทท่ี 3
การบรหิ ารจัดการสถานการณการแพรระบาดของ (COVID-19 )

การบรหิ ารจัดการและมาตรการการดาํ เนนิ การในระดับจงั หวัด

จังหวัดแพร มีการบริหารจัดการและมาตรการการดําเนินการในระดับจังหวัด โดยมีประกาศ
จังหวัดแพร เรื่อง “ มาตรการในการปองกันและเฝาระวังโรคติดตอเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด 19
(ฉบับที่ 7) ตามท่ีนายกรัฐมนตรีโดยเห็นชอบ ของคณะรัฐมนตรีไดมีประกาศสถานการณฉุกเฉินในทุกเขต
ทองที่ทั่วราชอณาจักร ฉบับลงวันท่ี 25 มีนาคม 2563 และไดมีประกาศ ลงวันท่ี 28 เมษายน พ.ศ 2563
ขยายเวลาการประกาศสถานการณฉุกเฉินในทุกเขตทองท่ีทั่วราชอณาจักร (คราวท่ี1) ออกไปจนถึงวันท่ี
31 พฤษภาคม 2563

ในเรื่อง มาตรการเรง ดวนในการปองกันวิกฤตการณจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด 19
และมาตรการตางๆตามสถานการณในขณะนั้น และมาตรการดําเนินงานควบคุมปองกันโรคติดตออันตราย
การบริหารจัดการสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ แนวทางและมาตรการในการจัดกิจกรรม
ประเพณีวันสงกรานต ป พ.ศ.2563 การบริหารจัดการสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือ (ยกเลิก
ฉบับที่ 2) มาตรการเรงดวนในการปองกันวิกฤตการณสําหรับกิจกรรม พิธีการทางสังคมตามประเพณี มงคล
อวมงคลตา งๆ มาตรการเรงดวนในการเฝา ระวงั ปองกนั และควบคุมโรคติดตอ มาตรการกักตัวผูที่เดินทางเขา
มาในพ้ืนท่ีจังหวัดแพร มาตรการกักตัวผูท่ีเดินทางเขามาในพ้ืนที่จังหวัดพะเยา(เพิ่มเติม) มาตรการแยกเพื่อ
สงั เกตอาการดว ยตนเอง (Self Quarantine) ผทู เี่ ดนิ ทางเขามาในพนื้ ท่จี งั หวดั แพร

จงั หวัดแพร มีผตู ดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด 19 จาํ นวน 1 คน และมีการรักษาหาย 1 ราย
และไมมีผูเสียชีวิต ขอมูล ณ วันท่ี 14 กรกฎาคม ๒๕๖๓ ไมพบผูติดเชื้อมาแลว 98 วัน นับวาประสบ
ความสาํ เรจ็ ในการดาํ เนนิ การปองกันและควบคุมโรคไดดียิ่ง ดว ยความรว มมือจากทุกภาคสว นในจงั หวดั แพร

นอกจากน้ีการชวยเหลือ การเยียวยา ผูประสบปญหาทางสังคมจังหวัดแพรนั้น หนวยงานในสังกัด
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย รวมถึงภาคีเครือขายภายนอกกระทรวง ทั้งภาครัฐและ
ภาคเอกชนท่ีดําเนินงานชวยเหลือ ผูประสบปญหาทางสังคมจังหวัดแพร ทุกหนวยงานรวมกันขับเคล่ือน
ภารกจิ ดานสวัสดิการสังคมและสงั คมสงเคราะห ในดา นการสงเคราะหและคุมครองสวัสดิภาพ การจัดบริการ
ทางสังคมท่ีเก่ียวกับการปองกัน แกไขปญหา การพัฒนา และการสงเสริมการเขาถึงสิทธิและความม่ันคงใน
ชีวิตและทรัพยสิน ใหความชวยเหลือ ผูประสบปญหาทางสังคมในภาวะวิกฤติเรงดวนตามสถานการณ
ใหการชว ยเหลอื คุม ครองสวสั ดิภาพ และจดั บริการสวสั ดิการสังคมสําหรับทุกกลุมเปาหมาย ไมวาจะเปน เด็ก
เยาวชน สตรี ผูดอยโอกาส รายไดนอย ไรที่พึ่ง เรรอน และกลุมเปาหมายอื่นๆ ที่ประสบปญหาทางสังคมใน
ภาวะการแพรร ะบาด ของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 หรอื (COVID-19 )

โดยทุกหนวยงานจะไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกรม กระทรวงตนสังกัดและมีการดําเนินการภายใต
ระเบยี บการดําเนินงานของแตละงาน เพือ่ รว มกันดาํ เนนิ การในการปองกนั และแกไ ขปญ หา(COVID-19)อยางเตม็ ที่

จังหวัดแพรโดยนางกานตเปรมปรีด ชิตานนท ผูวาราชการจังหวัดแพร ประธานกรรมการโรคติดตอ
จังหวัดแพรไดมีคําส่ังคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดแพร เรื่อง มาตรการการปองกันและควบคุมการแพร

19การปอ งกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเ กงิ๋ จงั หวดั แพร

ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานประกอบการ ลงวันท่ี 23 มีนาคม 2563 ดวยสถานการณการ
แพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด 19(Coronavirus Disease 2019 (COVD-19)
ซึ่งเปนโรคติดตอ อันตราย ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ปจจุบันประเทศไทยพบมีการแพรระบาดเปนวง
กวา งอยางรวดเร็ว โดยจังหวัดแพรพ บผูปวยรายแรก

เม่ือวันที่ 21 มีนาคม 2563 และมีแนวโนมท่ีจะเกิดการระบาดในพ้ืนที่อยางรวดเร็ว หากไมมี
มาตรการควบคุมปองกันโรคตามจุดเสี่ยงตางๆอยางเครงครัด จึงมีความจําเปนเรงดวนในการปองกันและลด
โอกาสเสี่ยงตอการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไมใหแพรระบาดขยายออกไปในวงกวาง
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา22(1) แหงพระราชบัญญัติโรคติดตอ พ.ศ. 2558 ใหคณะกรรมการโรคติดตอ
จังหวัด มีอํานาจหนาท่ีดําเนินการตามนโยบาย ระบบ และแนวทางปฏิบัติในการเฝาระวัง ปองกัน และ
ควบคุมโรคติดตอที่คณะกรรมการกําหนด และ (7) ดําเนินการอ่ืนใดท่ีเก่ียวกับการควบคุมโรคติดตอตามท่ี
คณะกรรมการหรือผูวาราชการจังหวัดมอบหมาย หรือตามท่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ ผูวาราชการ
จังหวัดแพร โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดแพร ตามมติที่ประชุมครั้งท่ี 3/2563
เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2563 จึงมีคําสั่งใหมีมาตรการปองกันและควบคุมการแพรระบาดโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 ในสถานประกอบการ ดงั ตอไปน้ี

1. ใหโรงแรม และหางสรรพสินคาทุกแหง จัดใหมีเจลแอลกอฮอลลางมือ วัดอุณหภูมิรางกายของ
ผูม ารับบรกิ ารทกุ คน กอนเขาไปใชบริการ ผูมารับบริการและผูใหบริการตองใสหนากากอนามัย
ทุกคนโดยใหมีปายขอความ “ใสนํ้ากากอนามัยทุกคนเมื่อมารับบริการ” ติดไวหนาสถาน
ประกอบการใหเห็นชดั เจน รวมทงั้ ทาํ ความสะอาดดวยน้ํายาฆาเชื้ออยางตอ เน่ือง

2. ใหรานคา ปลกี และรานสะดวกซ้อื ทกุ แหง จดั ใหมีจลแอลกอฮอลลงมือ ใหผูจําหนายและผูมาซ้ือ
สินคาตองใสห นากากอนามัยทุกคน โดยใหมีปายขอความ “ใสหนากากอนามัยทุกคน เม่ือมารับ
บรกิ าร” ตดิ ไวห นารา นคา ใหเ ห็นชัดเจน รวมทั้งทําความสะอาดดวยนํ้ายาฆาเช้อื อยางตอ เนื่อง

3. ใหรานอาหาร จดั บริการแบบซ้ือไปรับประทานท่ีบาน หรือหากมีบริการท่ีนั่งสําหรับรับประทาน
อาหาร ใหจัดโตะ และนั่งหางกันไมนอยกวา 1 เมตร โดยทุกสถานประกอบการตองจัดใหมี
จุดลางมือดวยสบูและนํ้าหรือเจลแอลกอฮอส รวมท้ังทําความสะอาดดวยน้ํายาฆาเชื้ออยาง
ตอ เน่อื งทงั้ นี้ ต้งั แตบัดนเี้ ปนตนไป

20การปองกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จงั หวดั แพร

ส่งั ณ วนั ที่ 23 มนี าคม พ.ศ. 2563

21การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จงั หวดั แพร

22การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จงั หวดั แพร

23การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จงั หวดั แพร

24การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จงั หวดั แพร

25การปองกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จงั หวดั แพร

การบรหิ ารจดั การและมาตรการการดาํ เนินการในระดบั ชมุ ชน
การจัดการในการดาํ เนินงาน ปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID – 19 ดวยชมุ ชน

แนวนโยบายและระเบยี บปฏิบตั ิ
ในการดําเนนิ การปอ งกันและแกไ ขปญหา COVID – 19 ดว ยชุมชน

ตําบลแมเ กิ๋ง อาํ เภอเมอื งพะเยา จงั หวัดแพร

ดวยสถานการณการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) มีแนวโนมการแพรระบาด
ท่ีเพิ่มมากข้ึน ดังน้ัน เพื่อเปนการปองกัน และลดความเส่ียงในการแพรระบาดเขาสูหมูบานและชุมนุมของ
ตาํ บลแมเ ก๋งิ อาํ เภอวังชิ้น จงั หวัดแพร ตลอดจนเพ่ือปองกันกลุมผูสูงอายุซ่ึงเปนกลุมเส่ียงที่งายตอการติดเชื้อ
ท่ีอยูในหมูบานและชุมชน แจงเทศบาลฯ ดําเนินการในการคนหาและเฝาระวังคนในพื้นท่ี ที่มีความเสี่ยงตอ
การติดเช้อื โควดิ -19 ทกุ แหง ในตาํ บล ดงั น้ี

1. มาตรการปองกันการแพรร ะบาดของโรคติดเชือ้ เขาสหู มบู านและชุมชน
การคัดกรองผูที่มาจากพื้นท่ีเสี่ยง ใหกํานัน ผูใหญบาน ไดรับความรวมมือของบุคลากรในหมูบาน
และชุมชน ทุกภาคสวน ไดแก ขาราชการ สมาชิกสภาองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูชวยผูใหญบาน สารวัตร
กํานัน แพทยประจําตําบล คณะกรรมการหมูบาน อสม. อปพร. ฯลฯ รวมกันคนหาและคัดกรองวามีคนใน
หมูบ านทีเ่ ปน กลมุ ท่มี ีความเส่ียง เขามาพกั อาศยั อยูในหมูบานและชมุ ชน หรอื ไมดงั น้ี
- ไมม ีจํานวนผูป วย Covid-19 ในพน้ื ทต่ี ําบลแมเ กงิ๋
- จาํ นวนผูทม่ี กี ารดําเนินการในการกกั ตัว (State Quarantine) 228 คน
- สถานทีร่ องรบั การกักตวั (State Quarantine) 228 แหง ไดแก บานตนเอง
- จํานวนผไู ดรับผลกระทบจากสถานการณ COVID-19 จาํ นวน 4,638 คน
1.1 ผูทเ่ี ดินทางกลับจากกรุงเทพมหานครและจังหวัดท่ีเปนพื้นท่ีสีแดง และกลับมาจากตางประเทศ
จากประเทศเพ่ือนบาน หรือมีการเดินทางไปยังพ้ืนท่ีเสี่ยงตอการแพรระบาดที่มีคนแออัดเบียดเสียด ไดแก
สนามมวย สนามกีฬา สนามมา สนามชนโค สนามชนไก สถานบันเทิง หรือการไปรวมกิจกรรมท่ีมีคนเขารวม
เปนจํานวนมาก ฯลฯ ต้ังแตวันที่ 6 มีนาคม 2563 เปนตนมา และผูท่ีอยูในระยะใกลชิดกับผูปวยติดเช้ือ
โควิด-19 หรือไปรว มอยใู นสถานท่ที ผ่ี ูป วยโควิด-19ไปปรากฏตัว
1.2 การปฏิบตั ิในกรณีท่ีหมบู า นและชุมชนใดมีผเู ขาขายตามขอ 1.1 ใหกํานนั ผูใหญบาน จัดทําบัญชี
รายชื่อตามส่ิงท่ีสงมาดวย เพ่ือเฝาติดตามสังเกตอาการเปนระยะเวลา 14 วัน นับแตวันที่ผูนั้นเดินทางไปยัง
สถานทีเ่ สย่ี งตอการแพรร ะบาด และใหข อความรว มมือผนู น้ั ใหง ดหรือหลกี เลีย่ งการเดนิ ทางไปยังสถานท่ีตางๆ
นอกหมูบ านและชมุ ชนไวก อ นหรอื พักอาศัยอยแู ตในบานเรือนเปนเวลาไมนอยกวา 14 วัน และขอใหรายงาน
ขอมูลดังกลาวใหเทศบาล รพ.สต. อสม. ผูนําชุมชน เพื่อติดตาม และเฝาระวัง และใหสงขอมูลใหอําเภอ
ทราบเพ่ือบันทึกขอมลู เขา ระบบรายงาน
2. มาตรการเฝา ระวังโรคติดตอภายในหมูบานและชุมชน
2.1 การแจงเตือนราษฎรในหมูบาน กํานันและผูใหญบาน ฯลฯ ในฐานะเจาพนักงานควบคุม
โรคติดตอ แจง เจาบา น หรือ ผูดูแลบาน ใหปฏิบตั ิ ตามพระราชบัญญตั ิโรคติดตอ พ.ศ.2558 วา กรณีมีผูที่เปน
หรือมีเหตุอันควรสงสัยเปนโรคติดเชื้ออยูในบานใหรีบแจงกํานัน ผูใหญบาน แพทยประจําตําบล สารวัตร

26การปอ งกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเ กง๋ิ จังหวดั แพร

กํานัน ผูชวยผูใหญบาน ในฐานะเจาพนักงานควบคุมโรคติดตอโดยทันที และใหกํานัน ผูใหญบาน รีบแจง
เจา หนา ทสี่ าธารณสุขประจาํ โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตําบล หรือขององคกรปกครองสว นทอ งถ่ินทราบ

2.2 กรณีบุคคลท่ีเดินทางกลับจากกรุงเทพฯ จากจังหวัดท่ีเปนพ้ืนท่ีสีแดงและกลับมาจาก
ตางประเทศ จากประเทศเพ่ือนบาน หรือมีการเดินทางไปยังสถานท่ีที่เสี่ยงตอการแพรระบาดที่มีคนแออัด
เบียดเสียดและ มีอาการปวย ใหกํานัน ผูใหญบาน รีบแจงเจาหนาท่ีสาธารณสุขประจําโรงพยาบาลสงเสริม
สขุ ภาพตาํ บล หรอื ขององคก รปกครองสวนทองถ่ินทราบทันที เพ่ือเขารับการรักษาและประเมินอาการวาเขา
ขายสงสัยวาจะติดเชื้อโควิด-19หรือไม หากเขาขายสงสัยใหดําเนินการตามมาตรการที่คณะกรรมการ
โรคติดตอ แหงชาตกิ ําหนด

2.3 กรณีบุคคลที่เปนผูท่ีอยูใกลชิดกับผูปวยติดเชื้อโควิด-19 หรือไปรวมอยูในสถานที่เสี่ยงท่ีมีผูที่ติด
เชื้อโควิด-19ไปตามที่รัฐบาลกําหนดไวใหกํานัน ผูใหญบานรีบแจงเจาหนาท่ีสาธารณสุขประจําโรงพยาบาล
สง เสรมิ สุขภาพตําบล หรือขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ทราบทันที เพื่อดําเนินการตามมาตรการคัดกรอง
คดั แยก กกั กนั หรอื คมุ ไวส ังเกต ตามทคี่ ณะกรรมการโรคตดิ ตอแหงชาติกําหนด

2.4 กรณีมีคนในหมูบานและชุมชน ไดรับการยืนยันวาติดเช้ือโควิด-19 ใหกํานัน ผูใหญบาน
ดําเนินการกับผทู ่อี ยูใ นระยะใกลชิดกับผูปวยตามแนวทาง และใหแจงเทศบาลหรือองคการบริหารสวนตําบล
เขาไปดําเนินการทําความสะอาดฆาเช้ือพื้นท่ีท่ีผูติดเช้ือไปทํากิจกรรมเพ่ือปองกันการแพรระบาดของ
โรคตดิ ตอโดยเรว็

3. การปอ งกันและเฝาระวงั กลมุ ผสู งู อายุในหมูบานและชุมชน
ใหอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน ใหคําแนะนําแกผูสูงอายุ และกลุมผูปวยเรื้อรัง ในหมูบาน
และชุมชน ซึ่งเปนกลุมเส่ียงตอการติดเชื้อโควิด-19 ไดงาย ใหหลีกเลี่ยงการพบปะ และสัมผัสกับบุคคลท่ี
เดนิ ทางกลบั จากกรงุ เทพฯ จากจงั หวัดที่เปนพน้ื ท่สี แี ดง และกลับมาจากตางประเทศ จากประเทศเพ่ือนบาน
หรือมีการเดินทางไปยังสถานที่เส่ียง หรือบุคคลท่ีเปนผูที่อยูในระยะใกลชิดกับผูปวยติดเช้ือไวรัส โควิด-19
หรือไปรวมอยูในสถานท่ีที่ผูปวยติดเช้ือไวรัสโควิด-19 ไปปรากฎตัวตามที่รัฐบาลกําหนด ที่อยูในชวง
ระยะเวลาเฝา สงั เกตอาการ 14 วัน รวมท้ังงดกจิ กรรมนอกบา นและงดการไปในทชี่ มุ ชน.

- แนวนโยบายและระเบียบปฏิบัติในการดําเนินการปองกันและแกไขปญหา COVE-19 ดวยตนเอง
มกี ารเฝา ระวงั การระบาดของโรคติดตอในชมุ ชนของตนเอง

- รูปแบบ แนวทางและขั้นตอนการดําเนินงาน การปองกันและแกไขปญหา COVE-19 ดวยชุมชน
คือการงดกิจกรรมการรวมคนจํานวนมาก ท่ีมีความเส่ียงตอการแพรระบาดของโรคไวรัสโคโรนา เชนการ
ประชุมประจําเดือนของหมูบาน กิจกรรมศาสนาเขาวัด ฟง ธรรม และเฝาระวงั คนตางถ่ินเขา มาในพืน้ ท่ี

- ผลการดาํ เนินงานการปองกันและแกไขปญหา COVE-19 ดวยชุมชน สามารถเฝาระวังและปองกัน
การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา COVE-19ในชุมชนได

- ทรัพยากรและทุนทางสังคมในการรวมดําเนินงานการปองกันและแกไขปญหา COVE-19
ดวยชุมชน คอื การรวมมือของชุมชน วดั โรงเรยี น หนวยงานราช และเอกชนในพื้นท่ีชุมชน

27การปอ งกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกงิ๋ จงั หวดั แพร

- ปจจยั ความสาํ เรจ็ ในการดําเนินงาน การปองกันและแกไขปญหา COVE-19 ดวยชุมชน คือ ความ
มงุ มนั่ ของผูนาํ ชุมชน และคนในชุมชนทจ่ี ะเฝาระวงั ในการปองกนั และแกไขปญหา COVE-19

- ไมพ บปญหาและอปุ สรรคในการดําเนนิ งานการปองกนั และแกไ ขปญหา COVE-19 ดา นชุมชน
- ขอเสนอแนะในภาพรวมตอการดําเนินงานการปองกันและแกไขปญหา COVE-19 ควรรณรงคให
ประชาชนมจี ติ สํานึกและสรา งความรบั ผิดชอบตอสังคมอยางตอ เนอ่ื ง

28การปอ งกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกงิ๋ จังหวดั แพร

กิจกรรม

29การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จงั หวดั แพร

30การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จงั หวดั แพร

31การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จงั หวดั แพร

32การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเ กงิ๋ จงั หวดั แพร

บทที่ 4
ผลสาํ เรจ็ ของการดาํ เนินงานในระดบั พืน้ ท่ี

ตําบลแมเกิง๋ อาํ เภอวงั ชนิ้ จงั หวัดแพร มีการดําเนินการในการปองกัน และลดความเสี่ยงในการแพร
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ซึ่งมีแนวโนมการแพรระบาดที่เพ่ิมมากข้ึน ไมใหเขาสู
หมบู านและชุมชน ตลอดจนเพ่ือปองกันกลุมผูสูงอายุซึ่งเปนกลุมเสี่ยงที่งายตอการติดเชื้อท่ีอยูในหมูบานและ
ชมุ ชน มกี ารดําเนนิ การในการคนหาและเฝา ระวังคนในพน้ื ท่ี ท่ีมีความเส่ียงตอการติดเชื้อโควิด-19 ทุกแหงใน
ตําบล ในชวงท่ีมีสถานการณการระบาดของโรค โดยมีการดําเนินงานการปองกันและแกไขปญหา
(COVID-19 ) ดว ยชุมชน ไดแก
การดาํ เนนิ งานการปอ งกันและแกไขปญหา COVID-19 ดวยชุมชน

1. กิจกรรมการตัดเยบ็ หนา กากอนามัย(ผา แมส) จากสมาชกิ ของชมุ ชนทุกคน โดยไดรับการสนับสนุน
งบประมาณโดย เทศบาลตําบลแมเกิง๋ ดาํ เนนิ งานโดย กองสวัสดิการสังคมและกองสาธารณสุขเทศบาลตําบล
แมเกิง๋ พรอ มดวยเครือขายชมุ ชนเชน กลุม สตรแี มบาน และกลมุ ผูสูงอายุ

2. จัดใหม เี สียงไรสายของเทศบาลตําบลศรีเต้ียและเสียงตามสายในชุมชน ใหความรูในการระวังและ
ปองกนั เกยี่ วกับโรคโควดิ -19 โดยเนนการปฏิบัติตามแนวทางท่ีกระทรวงสาธารณสุขไดกําหนดหรือแนะนําไว
โดยไดรับการประชาสัมพันธโดยตัวแทนสภาเด็กและเยาวชนตําบลแมเกิ๋ง ,เจาหนาท่ีประชาสัมพันธตําบล
แมเกิ๋ง

3.จัดมอบเบ้ียยังชีพใหแก ผูสูงอายุ คนพิการ โดยวิธีเนนเส่ียงตอ Social Distancing โดยให
ผสู ูงอายุ คนพกิ าร รอรบั เบีย้ ยงั ชพี อยทู บ่ี าน และเทศบาลตําบลแมเ ก๋ิง ไดจัดทีมเจาหนาท่ีลงพื้นที่ไดโยจัดใหมี
การใสห นากาก /ลา งมือดวยเจลและแอลกอฮอล ทั้งผใู หและผูร บั

4.ในงานพิธีศพ เนน การจัดงานใหเรียบงายใหเรียบรอยและมีระยะเวลาใหนอยท่ีสุด โดยเนนใชหลัก
Social Distancing คือ จัดระยะหางระหวางเกาอี้ไมนอยกวา 1 เมตร / ใชเจลแอลกอฮอลลางมือ /
จัดอาหารและน้ําดมื่ โดยเนน การใชเ ฉพาะบคุ คลไมใชน งั่ ลอ มวงกันเหมือนท่ผี านมา(เปนขา วกลอง)

5. สภาเด็กและเยาวชนตําบลแมเกิ๋ง (องคกรสาธารณะประโยชน) ลงมอบผาแมสปดจมูก ใหกับ
ผสู งู อายแุ ละคนพิการในพื้นท่ีตาํ บลแมเก๋งิ อาํ เภอวงั ชนิ้ จงั หวัดแพร

ทิศทางการพฒั นาในอนาคต
จากสถานการณการแพรระบาดเช้ือไวรัสโควิด-19 ท่ีเกิดขึ้น ทําใหสภาพเศรษฐกิจในประเทศไทย
ชะลอตัว สงผลกระทบตอระบบสังคมและระบบเศรษฐกิจ ไมวาจะเปนผูประกอบการรายใหญ รายยอย
ลกู จางทวั่ ไป พอ คา แมคา เกษตรกร ชาวไร ชาวนา นักเรียนนักศึกษา หรือแมแตพนักงานประจํา ลวนไดรับ
ผลกระทบดว ยกนั ท้งั สิน้ แตห ากเรามองใหดี สถานการณในครั้งน้ีไดมอบบทเรียนสําคัญใหเราทุกคน มีสติ ไม
ประมาท และเร่ิมตนวางแผนชีวิต การงาน สําหรับการเตรียมความพรอมเม่ือเกิดสถานการณฉุกเฉินขึ้นอีก
ครั้ง ในยุค New Normal ภายหลังผานวิกฤติโควิด-19 ชีวิตของเราทุกคน รวมท้ังการทํางานจะตอง
เปล่ียนแปลงไป ไมเหมือนเดิม สิ่งสําคัญในการทํางาน คือ การทํางานเปนทีมและบูรณาการการทํางานกับ

33การปองกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จงั หวดั แพร

เครือขายทุกภาคสวน อาจจะตองรักษาระยะหางทางสังคม สรางพลังใจใหทีมงานใหพรอม ฟนฝาอุปสรรค
ตา งๆท่ตี องเผชิญรว มกนั กา วเดินรวมกันอยา งมคี วามสขุ ดว ยความหวงั และพลังใจเพื่อกาวขามผานทุกปญหา
และทุกอปุ สรรค

“ชวงท่ีรัฐบาลมีการคลายล็อก พนักงานทยอยกลับเขามาทํางาน หนวยงานยังตองคงนโยบายเดิมที่
ทํามาต้ังแตชวงท่ีมีการระบาด ปองกันตนเองไมใหรับและแพรเชื้อใหคนอ่ืน การท่ีจะตองใสหนากากอนามัย
มาทที่ ํางาน ในระหวางทํางาน การลา งมือ เวลาจับสัมผัสพื้นที่ตางๆ ในสถานที่ทํางาน พื้นท่ีใชรวมกัน สิ่งของ
ท่ใี ชรว มกนั การวดั อุณหภูมกิ อ นเขาท่ที าํ งาน การสังเกตอาการ วามีอาการไมสบาย เจ็บปวย หรือคนท่ีบานท่ี
มีอาการเจบ็ ปว ย ตองรายงานหวั หนา หนว ยงาน การแยกตนเองออกจากผอู ื่น และควรรบี ไปพบแพทย เพื่อรับ
การตรวจวนิ ิจฉัยตอไป”

“ท่ีสําคญั พนักงานทไี่ มไ ดเ ดินทางดวยพาหนะสวนตวั ใชร ะบบขนสง สาธารณะตองดูวา นโยบายของ
การขนสงสาธารณะน้ันๆ ใชมากนอยแคไหน มีการเวนระยะหางหรือไม ตองระวัง แมกระทั่งหองนํ้า ลิฟท
สาธารณะ ในอาคารท่ที าํ งาน เปนสงิ่ ทีเ่ ราตอ งปฏบิ ัตติ อไป”

34การปองกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเ กง๋ิ จงั หวดั แพร

New Normal คืออะไร?
New Normal คือ ความปรกติใหม หรือฐานวิถีชีวิตใหม ซึ่งหมายถึง รูปแบบการดําเนินชีวิตอยาง

ใหม ที่แตกตางจากอดีตเพราะไดรับผลกระทบจากบางส่ิง บางเหตุการณ จนแบบแผนและแนวทางที่คุนเคย
เกิดการเปล่ียนแปลงสูวิถีชีวิตใหม เมื่อเวลาผานไปจะทําใหเกิดความคุนชิน และกลายเปนสวนหนึ่งของวิถี
ชีวติ ปรกติ
ที่มาของ New Normal

New Normal ถูกใชครั้งแรกโดยบิลล กรอส (Bill Gross) ผูกอต้ังบริษัทบริหารสินทรัพยชาว
อเมริกัน โดยใชอธิบายสภาวะเศรษฐกิจโลก หลังจากเกิดวิกฤติเศรษฐกิจแฮมเบอรเกอร ในสหรัฐฯ ชวง
ระหวางป 2007-2009 และถูกนํามาใชสําหรับการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ถดถอยลง และมีโอกาสท่ีจะไม
กลบั มาเตบิ โตถึงระดับเดิมไดอ ีก
พฤติกรรมแบบ New Normal

1. การใชเ ทคโนโลยี และอนิ เทอรเนต็
เทคโนโลยีควบคูกับอินเทอรเ น็ตจะเขา มามบี ทบาทกบั การใชชีวิตมากข้ึน ที่จากเดิมมีมากอยูแลว แต
ในสังคมยุค New Normal ส่ิงเหลาน้ีจะเขาไปอยูในแทบทุกจังหวะชีวิต ไมวาจะเปน การเรียนออนไลน การ
ทํางานท่ีบาน การประชุมออนไลน การซ้ือสินคาออนไลน การทําธุรกรรม และการเอ็นเตอรเทนชีวิตรูปแบบ
ตา งๆ อยา งดูหนัง ฟงเพลง
2. การเวนระยะหางทางสังคม
ผูคนในสังคมจะเห็นความสําคัญของการเวนระยะหางท่ีเปนแนวทางการใชชีวิตชวงวิกฤติโควิด-19
และจะดําเนินชีวิตแบบน้ันตอไป โดยรักษาระยะหางทางกายภาพเพิ่มข้ึน และใชเทคโนโลยีเขามามีสวนชวย
ในการสื่อสารและการใชชีวิต ลดการปฏิสัมพันธ การไปในสถานที่สาธารณะ และเนนการทํากิจกรรมที่บาน
มากขนึ้
3. การดูแลใสใจสขุ ภาพทงั้ ตัวเองและคนรอบขา ง
โดยเกิดความคุนชินจากชวงวิกฤติโควิด-19 ที่ตองดูแลดานสุขภาพและความสะอาดเพ่ือปองกันการ
แพรเช้อื ดงั นัน้ พฤตกิ รรมการใชหนา กากอนามยั เจลแอลกอฮอล และการลางมืออยางถูกวิธี และหม่ันสังเกต
ตัวเองเมื่อไมสบายจะยังคงมีตอไป รวมถึงการหันมาใสใจสุขภาพ การออกกําลังกาย และการทําประกัน
สุขภาพจะมีแนวโนมมากขน้ึ
4. การใชเงนิ เพื่อการลงทุน
ยุค New Normal เปนจังหวะที่ผูคนยังระมัดระวังการลงทุนใหมๆ และลดการใชจายฟุมเฟอย
เพราะแนวโนมเศรษฐกจิ ยังไมแ นน อน
5. การสรา งสมดุลชวี ติ
การมโี อกาสไดทํางานที่บาน ลดจํานวนวันการเขาทํางานในสํานักงาน หรือการลดการพะปะผูคนใน
สังคม แลวหันมาใชชีวิต และทํางานท่ีบาน ทําใหผูคนมองเห็นแนวทางท่ีจะสรางสมดุลชีวิตระหวางอยูบาน
มากข้ึน และจะเปน แนวทางในการปรับสมดุลชีวิตระหวางเวลาสวนตวั การงาน และสงั คมใหสมดลุ มากย่ิงขึ้น

35การปอ งกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเ กง๋ิ จังหวดั แพร

ประชาชนคนทํางาน
1. การรักษาระยะหางในท่ีทํางาน คนทํางานท่ีเปลี่ยนจากการทํางานที่บาน และกลับมาเขาทํางาน

ท่ีสํานักงาน ยังคงคุนเคยกับการปฏิบัติแบบรักษาระยะหางเพ่ือลดความเส่ียงการติดเชื้อไวรัส และยังคงเห็น
ความสาํ คัญจากการดูแลสขุ ภาพในท่ที าํ งานมากข้นึ

2. ใชเทคโนโลยีชวยทํางานมากย่ิงขึ้น จากการรักษาระยะหางทางสังคมและการ work from
home ที่เคยปฏิบัติจนเคยชิด ทําใหเทคโนโลยีเขามามีบทบาทในการทํางาน โดยเฉพาะอินเทอรเน็ต และ
แอปพลิเคชนั ตา งๆ เชน การประชุมงาน การสงงาน

3. มกี ารพัฒนาทกั ษะผา นคอรสออนไลน ในการทํางานชวงโควิด-19 ทําใหผูคนบางกลุมถูกเลิกจาง
หรือถูกลดเงินเดือน การพัฒนาตัวเองเพ่ือใหมีความสามารถ และเปนผูเชี่ยวชาญตามท่ีตลาดแรงงานยัง
ตองการจึงมีความสําคัญ ดังน้ันการเรียนรูอยูตลอดเวลา เพื่อพัฒนาความรู ทักษะ และประสบการณ
ผานชอ งทางออนไลน จงึ เปนทางเลอื กของพนกั งานท่ที ําใหไดพฒั นาตวั เองพรอมกบั ทย่ี งั ทํางานประจาํ ไดอยู

New Normal ในวันนี้อาจเปนแนวทางในการปรับตัวใหเขากับสถานการณท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต
และจะกลายเปนคําท่ีถูกพูดถึงอยางปรกติวิธีในอนาคตเหมือนกับท่ีเคยเกิดข้ึนแลวในวิกฤติตางๆ กอนหนาน้ี
แตก ารเตรียมพรอ มและต้ังรับอยางดียังเปนสิ่งสําคัญที่จะทําใหท้ังธุรกิจและชีวิตสามารถดํารงอยูไดไมวาจะมี
อกี กวี่ กิ ฤติผา นเขามา

36การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเกง๋ิ จังหวดั แพร

บทที่ ๕
สรปุ ผลการศึกษาและขอเสนอแนะ
สรุปผลการศกึ ษา

สถานการณในการ “การปองกันและแกไขปญหา (COVID-19 ) ดวยชุมชน” การชวยเหลือ
การเยียวยา ผูประสบปญหาทางสังคมจังหวัดลําพูนนั้น หนวยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย รวมถึงภาคีเครือขายภายนอกกระทรวง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่ดําเนินงาน
ชว ยเหลือ ผปู ระสบปญ หาทางสังคมจงั หวดั ลาํ พนู ทุกหนวยงานรวมกนั ขบั เคล่อื นภารกิจดานสวัสดิการสังคม
และสังคมสงเคราะห ในดานการสงเคราะหและคุมครองสวัสดิภาพ การจัดบริการทางสังคมที่เก่ียวกับการ
ปองกัน แกไขปญ หา การพฒั นา และการสงเสรมิ การเขา ถงึ สทิ ธิและความมั่นคงในชวี ิตและทรัพยสิน ใหความ
ชว ยเหลือ ผูประสบปญหาทางสังคมในภาวะวิกฤติเรงดวนตามสถานการณ ใหการชวยเหลือคุมครองสวัสดิ
ภาพ และจัดบริการสวัสดิการสังคมสําหรับทุกกลุมเปาหมาย ไมวาจะเปน เด็ก เยาวชน สตรี ผูดอยโอกาส
รายไดน อ ย ไรท พ่ี ่งึ เรรอน และกลุมเปาหมายอื่นๆ ท่ีประสบปญหาทางสังคมในภาวะการแพรระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ (COVID-19 ) โดยทุกหนวยงานจะไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกรม
กระทรวงตน สังกัดและมกี ารดําเนนิ การภายใตร ะเบยี บการดําเนนิ งานของแตละงาน เพื่อรวมกันดําเนินการใน
การปอ งกนั และแกไ ขปญ หา (COVID-19 ) อยางเต็มท่ี

การพฒั นา“การปองกันและแกไ ขปญ หา COVID-๑๙ ดวยชุมชน” ปจ จัยทีส่ าํ คัญในการดําเนินการ
คือ การสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพและระบบภาคีเครือขายในการทํางานอยางมีสวนรวม เพื่อใหชุมชน
สามารถสรา งการรับรู และสรางความเขาใจรวมกันและสามารถนําไปปฏิบัติตามไดอยางถูกตอง ทั้งในระดับ
บุคคล ครอบครวั ชุมชน หนว ยงาน เน่ืองจากภาวะการแพรระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หรือ
(COVID-19 ) เปนส่ิงที่ไมเคยเกิดข้ึนและแพรระบาดอยางรวดเร็วไปทั่วโลก มีผูคนติดเช้ือและเสียชีวิตเปน
จาํ นวนมาก ประชาชนสว นใหญต างมีความหวาดกลัวการติดเช้ือ และพรอมใหความรวมมือในการดําเนินการ
อยางเขม งวดตามมาตรการของภาครัฐ ซ่ึงการส่ือสารที่มีประสิทธิภาพและระบบภาคีเครือขายในการทํางาน
อยางมีสวนรวม เปนแนวคิดสําหรับการพัฒนาการดําเนินการในการปองกันและแกไขปญหาโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 หรอื (COVID-19 ) ไดอยา งย่งั ยืน

นอกจากนี้ การทํางานภายใตมาตรการและนโยบายท่ีชัดเจนจากภาครัฐ และการดําเนินการตาม
มาตรการของภาครัฐและจังหวัดอยางเครงครัด โดยจังหวัดแพร มีคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดแพร
มีการจัดตงั้ ศนู ยบ ริหารสถานการณการแพรระบาดโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 ) ศูนยขาวโควิด
19 จังหวัดแพร ศนู ยข อมูล (COVID-19 ) ซึ่งเปนการบูรณาการทํางานจากทุกภาคสวนที่เก่ียวของ เพ่ือสราง
ความเปนเอกภาพ ชัดเจน ในการทํางาน การส่ือสาร ประชาสัมพันธ และการประสานความรวมมือในการ
ปองกันและแกไขปญหาการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด 19 อยางเขมแข็งและ
ตอเน่ือง มีการรายงานสถิติ ประกาศ ขาวสาร สรุปมาตรการตางๆ อยางตอเนื่อง รวดเร็วทันตอสถานการณ
วนั ตอวัน การรบั เร่ืองรอ งเรียน แจงเหตุ โดยการบรู ณาการการทาํ งานจากทกุ ภาคสวน ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาชน ท้ังในระยะท่ีมกี ารแพรระบาดของโรค ระยะของการบังคับใชมาตรการตางๆอยางเขมงวด
ในชว งลอ คดาวน จนกระทง่ั เขาสกู ารผอ นคลายมาตรการตา งๆลง เพ่ือการส่ือสาร การสรางความเขาใจอยาง
มีประสิทธิภาพ นําไปสูการรับรู ความเขาใจ และการปฏิบัติตามอยางเครงครัด และตอเนื่อง เร่ิมจาก

37การปอ งกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเ กง๋ิ จังหวดั แพร

มาตรการท่ชี ัดเจนของรฐั บาลในระดบั ประเทศ ระดับจังหวัด ระดับอําเภอ นําไปสูระดับชุมชน เปนการสราง
การรับรู สรางความเขาใจ แนวทางในการปฏิบัติตนและดําเนินการรวมกัน สงผลใหการปองกันและแกไข
ปญหา (COVID-19 ) ดวยชุมชน เปนไปอยางดีเย่ียมและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งมีการประสานความรวมมือ
และการใหความรว มมือจากทกุ ภาคสวนอยางเตม็ ที่

ขอ เสนอแนะ
๑. รัฐบาลและหนวยงานตางๆรวมถึงชุมชน ควรมีการเตรียมความพรอม เพ่ือรองรับกรณีการแพร
ระบาดของโควิด-19 คลี่คลายลง ใหทุกภาคสวน รวมถึงประชาชนทุกคนมีความพรอมเดินหนาตอไป เพ่ือให
สามารถดูแลตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม รวมไปถงึ การแขงขนั กบั ประเทศอืน่ ๆ ทวั่ โลก
๒. รฐั บาลและหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของ ควรมีนโยบายในการชวยเหลือประชาชนทุกคนและภาค
ธรุ กิจใหมากทสี่ ดุ ครอบคลมุ ทุกกลมุ เปา หมายเพ่ือเยยี วยาประชาชนและภาคธรุ กิจ อยา งเทา เทียมและทวั่ ถึง
๓. รัฐบาลและหนวยงานตางๆรวมถึงชุมชน ควรมีการเตรียมความพรอม เพื่อรองรับวิกฤติและ
สถานการณต า งๆทอ่ี าจเกิดขึน้ ในอนาคต.

38การปองกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเ กง๋ิ จงั หวดั แพร

ภาคผนวก

39การปองกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเ กง๋ิ จงั หวดั แพร

ภาพกจิ กรรม
การขับเคล่ือนพ้ืนท่ปี ฏิบตั ิการทางสงั คม (Social Lab : SL)

การจัดทําหนากากผา
ณ องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลแมเก๋ิง อําเภอวังชนิ้ จังหวัดแพร

40การปองกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเ กงิ๋ จังหวดั แพร

ภาพกิจกรรม
การขบั เคลอื่ นพื้นท่ีปฏบิ ัตกิ ารทางสังคม (Social Lab : SL)

การแจกหนาากากผาโดยกลมุ อสม.ตําบลแมเ กิง๋
ตําบลแมเก๋งิ อาํ เภอวงั ชิ้น จงั หวดั แพร

41การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเ กงิ๋ จงั หวดั แพร

ภาพกิจกรรม
การขับเคลือ่ นพื้นท่ีปฏบิ ัติการทางสงั คม (Social Lab : SL)

จดุ ตรวจ คดั กรอง ตาํ บลแมเ กงิ๋
ตาํ บลแมเก๋งิ อาํ เภอวงั ชน้ิ จงั หวดั แพร

42การปองกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลแมเ กงิ๋ จงั หวดั แพร

เอกสารอางองิ

กรมควบคุมโรค. (2563) สถานการณการระบาดโรคโควดิ -๑๙ . สบื คน 9 มถิ ุนายน 2563,จาก
http://www.ddc.moph.go.th/viralpneumonia/fag-more.php.

จังหวัดแพร. (2563) ขอมูลสถานการณโควดิ 19 . สบื คน 15 มถิ นุ ายน 2563,จาก
http://phrae.go.th

องคก ารบรหิ ารสวนตําบลแมเกิง๋ (2563) ขาวประชาสัมพันธ . สบื คน 19 มถิ นุ ายน 2563,จาก
http://maekerng.go.th

SCBThailand.(2563) ประเทศไทยหลังโควดิ -19 . สืบคน 9 พฤษภาคม 2563 , จาก
http://www.scb.co.th.

ThaiPublica. (2563) ผลกระทบ SDGs จากวกิ ฤตโิ ควดิ -19 และมาตรการรับมือหลังการระบาด . สบื คน
23 เมษายน 2563,จาก http:// www.thaipublica.org.

We are CP . (2563) โควิด-19กับพฤติกรรม “ New Normal” มาตรฐานวถิ ีชีวิตใหมใ นวนั น้ีและ
ตลอดไป . สบื คน ๑๙ พฤษภาคม 2563,จาก http://www.wearecp.com.

1. ประกาศ เรื่อง การขยายระยะเวลาการประกาศสถานการณฉ กุ เฉินในทุกเขตทองทีท่ ั่วราชอาณาจักร
(คราวท่ี 3)http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/153/T_0027.PD

2. ประกาศ เรื่อง การใหป ระกาศทคี่ ณะรัฐมนตรีกําหนดตามประกาศสถานการณฉุกเฉินยังคงมีผลใช
บงั คับhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/153/T_0029.PDF

3. ประกาศ เร่ือง การใหขอกาํ หนด ประกาศ และคําสั่งทนี่ ายกรัฐมนตรีกําหนดตามประกาศ
สถานการณฉกุ เฉินยังคงมผี ลใช
บงั คับ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/153/T_0030.PDF

4. ขอกําหนด ออกตามความในมาตรา 9แหงพระราชกาํ หนดการบริหารราชการในสถานการณฉ ุกเฉนิ
พ.ศ. 2548(ฉบบั ท่ี
11) http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/153/T_0031.PDF

5. ขอ กําหนด ออกตามความในมาตรา 9แหง พระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉนิ
พ.ศ. 2548(ฉบับที่
12) http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/153/T_0035.PDF

6. คาํ ส่ังศนู ยบ รหิ ารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019(โควิด -19) ที่
6/2563เรือ่ ง แนวปฏบิ ตั ิตามขอกําหนดออกตามความในมาตรา 9แหงพระราชกาํ หนดการบริหาร
ราชการในสถานการณฉุกเฉนิ พ.ศ. 2548(ฉบับที่
5) http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/153/T_0037.PDF

7. คําส่ังศูนยบริหารสถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019(โควดิ -19) ที่
7/2563เรอ่ื ง แนวปฏบิ ัติตามขอ กําหนดออกตามความในมาตรา 9แหงพระราชกาํ หนดการบริหาร
ราชการในสถานการณฉ ุกเฉิน พ.ศ. 2548(ฉบับท่ี 6)
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/153/T_0038.PD
……………………………………………………………………………….

43การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลแมเ กงิ๋ จังหวดั แพร

เอกสารวิชาการ ประจําป 2563
พืน้ ทป่ี ฏิบตั กิ ารพฒั นาสังคม (Social Lab : SL)

“การปองกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชน”

องคการบรหิ ารสว นตําบลแมเ ก๋ิง อําเภอวังชิ้น จังหวัดแพร

เจา ของและผจู ัดพิมพ :
สาํ นกั งานสงเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 9
บริเวณศนู ยร าชการจงั หวดั เชยี งใหม ถนนโชตนา
ตําบลชางเผือก อาํ เภอเมืองเชยี งใหม
จงั หวัดเชยี งใหม 50300
โทรศัพท 053-112485-6 โทรสาร 053-112491
Email: [email protected]

ทีป่ รึกษาโครงการ : ธแิ กว ผูอ ํานวยการสํานักงานสง เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 9
นายธนู สุใจ นักพัฒนาสงั คมชํานาญการพิเศษ
นางสาวอจั ฉรา ฉัตรภตู ิ นักพฒั นาสงั คมชํานาญการพเิ ศษ
นายธนากร

คณะทาํ งาน:
หนวยงานสงั กัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ยพื้นท่ีจงั หวดั แพร
องคการบริหารสว นตําบลแมเ กิง๋ อาํ เภอวงั ช้นิ จังหวัดแพร
สาํ นักงานสงเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 9
นางพรรครนิ อุดมวฒั นานนั ท นกั พัฒนาสงั คมชาํ นาญการ
นางสาวภารําพงึ อรยิ ะ นักพัฒนาสังคมชํานาญการ
นางสาวแคทริยา ฆววี งศ นักพฒั นาสังคม
นายดนพุ งศ กาญจนธรี านนท เจา หนา ท่ีพฒั นาสงั คม
นางสาวจริ ชยา ขตั ิรัตน เจา หนา ทพี่ ฒั นาสงั คม
นายไพฑูรย ชยั ชนะ พนักงานบรกิ าร

เรยี บเรยี ง-รูปเลม
นายดนพุ งศ กาญจนธีรานนท เจา หนาท่พี ัฒนาสังคม

ออกแบบปก นกั พัฒนาสังคม
นางสาวแคทริยา ฆวีวงศ

การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลแมเ ก๋งิ จงั หวดั แพร 1


Click to View FlipBook Version