The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

6. Social Lab ต.บ้านตุ่น อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา พร้อม QR code

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaweewong88, 2020-08-22 10:28:03

6. Social Lab ต.บ้านตุ่น อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา พร้อม QR code

6. Social Lab ต.บ้านตุ่น อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา พร้อม QR code

การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตุน จงั หวัดพะเยา 1

พน้ื ทีป่ ฏบิ ตั กิ ารพฒั นาสงั คม (Social Lap)

องคก ารบรหิ ารสวนตาํ บลบานตุน อําเภอเมืองพะเยา จงั หวัดพะเยา

“การปอ งกันและแกไขปญหา COVID-19 ดว ยชมุ ชน”

จดั ทาํ โดย
ศนู ยบ รกิ ารวชิ าการพฒั นาสงั คมและจดั สวสั ดกิ ารสงั คม
สํานกั งานสงเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 9
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย

ทอ่ี ยู
บรเิ วณศนู ยร าชการจงั หวดั เชยี งใหม
ถ.โชตนา ต.ชางเผอื ก อ.เมืองเชยี งใหม จ.เชียงใหม 50300
โทรศัพท 053-112485-6 โทรสาร 053-112491

ศนู ยบ ริการวชิ าการพัฒนาสังคมและจดั สวสั ดกิ ารสังคม สสว.9
www.tpso-9.m-society.go.th

เผยแพร
กรกฎาคม 2563

กการปองกนั และแกไ ขปญหา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตําบลบา นตนุ จังหวดั พะเยา

คํานาํ

การดําเนินงานพ้ืนท่ีปฏิบัติการพัฒนาสังคม(Social Lab) เปนกิจกรรมตามโครงการศูนยบริการ
วิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม ประจําป พ.ศ.2563 ซึ่งดําเนินการโดยสํานักงานสงเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 9 รวมกับหนวยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยในพื้นที่
จังหวัดพะเยา โดยเปนการศึกษาสภาพปญหา รวมดําเนินงาน ติดตามและถอดบทเรียน เพ่ือสงเสริมใหเกิด
การมีสวนรวมของประชารัฐเพ่ือสังคมในชุมชน โดยมีองคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนเจาภาพ ซึ่งจังหวัด
พะเยา ดําเนินการในพ้ืนท่ีตําบลบานตุน อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา โดยเร่ิมที่การจัดการขอมูล
ชวยเหลือ คุมครอง ปองกัน นําไปสูการจัดสวัสดิการสังคมและพัฒนาสังคมอยางเปนระบบ ซ่ึงตําบลบานตุน
เปนตําบลตนแบบดานการพัฒนาสังคม มีการทํางานท่ีโดดเดนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนทุกวัยดวยการ
มีสวนรวมจากชุมชน โดยในป2563 มีการแพรระบาดของโรคโคโรนาไวรัส(COVID-19) การดําเนินงานพ้ืนที่
ปฏิบัตกิ ารพัฒนาสังคม(Social Lab) จงึ เปนการศึกษาการขับเคล่ือนการดําเนินงาน “การปองกันและแกไข
ปญหา COVID-19 ดวยชุมชน” ผานการศึกษาขอมูล รวบรวมขอมูลและการสํารวจขอมูลตามแบบสํารวจ
ขอมูลการดําเนินงานในพื้นที่ เพ่ือวิเคราะหปจจัยความสําเร็จในการดําเนินงานและทิศทางการพัฒนางาน
ในอนาคตในพื้นทป่ี ฏบิ ตั ิการพฒั นาสงั คม(Social Lab)

ขอขอบคุณทุกพลังการทํางาน ทุกความคิด ทุกการแลกเปล่ียน การแบงปนความรู และการ
ปฏิบัติการเรียนรูรวมกัน จากทีมงานหนวยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
ในพื้นที่จังหวัดพะเยา (ทีม One Home จังหวัดพะเยา) ทุกทาน รวมถึงพลังจากชุมชนในตําบลบานตุน
ผานการทํางานท่ีเขมแข็งของทีมงานองคการบริหารสวนตําบลบานตุน ท่ีไดรวมเปนกําลังสําคัญ ในการ
ขับเคล่ือนการการดําเนินงานดานการพัฒนาสังคมในพ้ืนท่ี กอเกิดพัฒนางานพื้นที่ปฏิบัติการพัฒนาสังคม
(Social Lab) ในมิติเชิงประเด็น ในการปองกันและแกไขปญหา COVID-19 ดวยชุมชน เพ่ือนําไปสูพัฒนา
สังคมและจัดสวสั ดิการสงั คมท่เี หมาะสมกับบริบทของสภาพปญหาและพืน้ ทต่ี อไป

สํานักงานสงเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 9
กรกฎาคม 2563

ขการปอ งกนั และแกไขปญหา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตุน จังหวดั พะเยา

บทสรปุ ผบู รหิ าร

การดําเนินงานพื้นที่ปฏิบัติการพัฒนาสังคม(Social Lab) เปนกิจกรรมตามโครงการศูนยบริการ
วิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม ประจําป พ.ศ.2563 ซึ่งดําเนินการโดยสํานักงานสงเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 9 รวมกับหนวยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยในพื้นท่ี
จังหวัดพะเยา โดยเปนการศึกษาสภาพปญหา รวมดําเนินงาน ติดตามและถอดบทเรียน เพื่อสงเสริมใหเกิด
การมีสวนรวมของประชารัฐเพ่ือสังคมในชุมชน โดยมีองคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนเจาภาพ ซึ่งจังหวัด
พะเยา ดําเนินการในพื้นท่ีตําบลบานตุน อําเภอเมืองพะเยา โดยเร่ิมที่การจัดการขอมูล ชวยเหลือ คุมครอง
ปองกัน นําไปสูการจัดสวัสดิการสังคมและพัฒนาสังคมอยางเปนระบบ ซ่ึงตําบลบานตุน เปนตําบลตนแบบ
ดา นการพัฒนาสงั คม มกี ารทํางานทโ่ี ดดเดนในการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนทุกวัยดวยการมีสวนรวม จากชุมชน
โดยในป2563 มีการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา(COVID-19) การดําเนินงานพื้นท่ีปฏิบัติการ
พัฒนาสังคม(Social Lab) จึงเปนการศึกษาการขับเคล่ือนการดําเนินงาน “การปองกันและแกไขปญหา
COVID-19 ดวยชุมชน” ผานการศึกษาขอมูล รวบรวมขอมูลและการสํารวจขอมูลตามแบบสํารวจขอมูล
การดําเนนิ งานในพนื้ ท่ี เพอ่ื วเิ คราะหปจจยั ความสําเร็จในการดําเนินงานและทิศทางการพัฒนางานในอนาคต
ในพืน้ ท่ีปฏิบตั ิการพัฒนาสังคม(Social Lab)

สถานการณในการ “การปองกันและแกไขปญหา COVID-19 ดวยชุมชน” การชวยเหลือ
การเยียวยา ผูประสบปญหาทางสังคมจังหวัดพะเยาน้ัน หนวยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย รวมถึงภาคีเครือขายภายนอกกระทรวง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่ดําเนินงาน
ชว ยเหลอื ผูประสบปญหาทางสังคมจังหวัดพะเยา ทุกหนวยงานรวมกันขับเคล่ือนภารกิจดานสวัสดิการสังคม
และสังคมสงเคราะห ในดานการสงเคราะหและคุมครองสวัสดิภาพ การจัดบริการทางสังคมท่ีเกี่ยวกับ
การปองกัน แกไขปญหา การพัฒนา และการสงเสริมการเขาถึงสิทธิและความมั่นคงในชีวิตและทรัพยสิน
ใหค วามชวยเหลอื ผูป ระสบปญหาทางสงั คมในภาวะวิกฤติเรงดวนตามสถานการณ ใหการชวยเหลือคุมครอง
สวัสดิภาพ และจัดบริการสวัสดิการสังคมสําหรับทุกกลุมเปาหมาย ไมวาจะเปน เด็ก เยาวชน สตรี
ผูดอยโอกาส รายไดนอย ไรที่พ่ึง เรรอน และกลุมเปาหมายอื่นๆ ที่ประสบปญหาทางสังคมในภาวะ
การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 โดยทุกหนวยงานจะไดรับงบประมาณ
สนับสนุนจากกรม กระทรวงตนสังกัดและมีการดําเนินการภายใตระเบียบการดําเนินงานของแตละงาน
เพื่อรว มกันดําเนินการในการปองกนั และแกไขปญ หา COVID-19 อยางเตม็ ที่

การพัฒนา“การปองกันและแกไขปญหา COVID-19 ดวยชุมชน” ปจจัยท่ีสําคัญในการ
ดําเนินการ คือ การส่ือสารที่มีประสิทธิภาพและระบบภาคีเครือขายในการทํางานอยางมีสวนรวม เพื่อให
ชมุ ชนสามารถสรางการรับรู และสรางความเขาใจรวมกันและสามารถนําไปปฏิบัติตามไดอยางถูกตอง ทั้งใน
ระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน หนวยงาน เน่ืองจากภาวะการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 หรือ COVID-19 เปนส่ิงที่ไมเคยเกิดขึ้นและแพรระบาดอยางรวดเร็วไปท่ัวโลก มีผูคนติดเชื้อและ
เสียชีวิตเปนจํานวนมาก ประชาชนสวนใหญตางมีความหวาดกลัวการติดเชื้อ และพรอมใหความรวมมือใน
การดําเนินการอยางเขมงวดตามมาตรการของภาครัฐ ซ่ึงการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพและระบบภาคี
เครอื ขา ยในการทํางานอยางมีสวนรวม เปนแนวคิดสําหรับการพัฒนาการดําเนินการในการปองกันและแกไข
ปญ หาโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 หรอื COVID-19 ไดอยา งยงั่ ยืน

คการปองกนั และแกไ ขปญหา COVID-19 ดวยชุมชนตําบลบา นตนุ จงั หวัดพะเยา

นอกจากน้ี การทํางานภายใตมาตรการและนโยบายที่ชัดเจนจากภาครัฐ และการดําเนินการตาม
มาตรการของภาครัฐและจังหวัดอยางเครงครัด โดยจังหวัดพะเยา มีคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดพะเยา
มีการจัดต้ังศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 ) ศูนยขาว
โควิด19 พะเยา ศูนยขอมูล COVID-19 ซ่ึงเปนการบูรณาการทํางานจากทุกภาคสวนท่ีเก่ียวของ เพ่ือสราง
ความเปนเอกภาพ ชัดเจน ในการทํางาน การส่ือสาร ประชาสัมพันธ และการประสานความรวมมือในการ
ปองกันและแกไขปญหาการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 อยางเขมแข็งและ
ตอเน่ือง มีการรายงานสถิติ ประกาศ ขาวสาร สรุปมาตรการตางๆ อยางตอเนื่อง รวดเร็วทันตอสถานการณ
วันตอ วนั การรบั เรื่องรอ งเรยี น แจง เหตุ โดยการบรู ณาการการทํางานจากทกุ ภาคสวน ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาชน ท้ังในระยะทมี่ กี ารแพรระบาดของโรค ระยะของการบังคับใชมาตรการตางๆอยางเขมงวด
ในชวงลอคดาวน จนกระท่ังเขา สกู ารผอนคลายมาตรการตางๆลง เพื่อการส่ือสาร การสรางความเขาใจอยาง
มีประสิทธิภาพ นําไปสูการรับรู ความเขาใจ และการปฏิบัติตามอยางเครงครัด และตอเน่ือง เริ่มจาก
มาตรการที่ชัดเจนของรัฐบาลในระดบั ประเทศ ระดับจังหวัด ระดับอําเภอ นําไปสูระดับชุมชน เปนการสราง
การรับรู สรางความเขาใจ แนวทางในการปฏิบัติตนและดําเนินการรวมกัน สงผลใหการปองกันและแกไข
ปญหา COVID-19 ดวยชุมชน เปน ไปอยางดีเยี่ยมและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งมีการประสานความรวมมือและ
การใหค วามรว มมอื จากทกุ ภาคสว นอยางเต็มท่ี.

งการปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตุน จงั หวดั พะเยา

สารบัญ

เร่ือง หนา

คํานํา ก
บทสรุปผูบริหาร ข
สารบญั ง

บทที่ 1 สถานการณการแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 ) 1
-สถานการณท ่วั โลก 2
-สถานการณใ นประเทศไทย 5
-สถานการณในระดับจังหวัดพะเยา 7
-สถานการณในระดับชุมชนและขอมูลชุมชนตําบลบานตุน
20
บทที่ 2 ผลกระทบทเ่ี กิดจากสถานการณการแพรร ะบาดของ COVID-19 21
-ผลกระทบดา นเศรษฐกิจ
-ผลกระทบดานสงั คม การศึกษา สาธารณสุข และวฒั นธรรม 26
32
บทที่ 3 การบริหารจัดการสถานการณการแพรร ะบาดของ COVID-19
-การบรหิ ารจัดการและมาตรการการดาํ เนินการในระดบั จังหวดั พะเยา 36
-การบริหารจดั การและมาตรการการดาํ เนินการในระดบั ชุมชนตาํ บลบา นตนุ 36

บทที่ 4 ผลสําเร็จของการดําเนินงานในระดบั พ้ืนที่ 40
- ผลสาํ เร็จของการดําเนนิ งานในระดับพื้นที่ตําบลบา นตุน 41
- ทศิ ทางการพฒั นาในอนาคต 42
47
บทท่ี ๕ สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ 48
-สรุปผลการศกึ ษา
-ขอ เสนอแนะ

ภาคผนวก
เอกสารอางองิ
เอกสารวชิ าการ ประจําป 2563

การปอ งกนั และแกไขปญหา COVID-19 ดว ยชุมชนตําบลบา นตนุ จังหวัดพะเยา 1

บทที่ 1
สถานการณก ารแพรระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 )
สถานการณทว่ั โลก

ไวรัสโคโรนา (Coronavirus) เปนไวรัสที่ถูกพบครั้งแรกในป 1960 แตยังไมทราบแหลงท่ีมาอยาง
ชัดเจนวามาจากที่ใด แตเปน ไวรัสท่ีสามารถติดเช้ือไดท้งั ในมนษุ ยแ ละสัตว ปจ จุบันมีการคน พบไวรัส สายพันธุนี้
แลว ทัง้ หมด 6 สายพันธุ สว นสายพันธทุ กี่ ําลงั แพรระบาดหนกั ทั่วโลกตอนน้เี ปนสายพนั ธุท ี่ ยังไมเ คยพบมากอน
คือ สายพนั ธุที่ 7 จึงถกู เรยี กวาเปน “ไวรัสโคโรนาสายพันธใุ หม” และในภายหลงั ถกู ตง้ั ชือ่ อยางเปนทางการวา
“โควดิ -19” (COVID-19) นนั่ เอง

แมว า อาการโดยท่ัวไปจะดูเหมอื นเปน เพยี งไขหวดั ธรรมดา แตที่กลัวกันท่ัวโลกเปนเพราะ เช้ือไวรัสนี้
เปนสายพันธุใหม ท่ียังไมมียาปฏิชีวนะตัวไหนท่ีสามารถรักษาใหหายไดโดยตรง การรักษาเปนไปแบบ
ประคับประคองตามอาการเทานนั้

นอกจากนี้ อันตรายที่ทําใหเสี่ยงถึงชีวิต จะเกิดข้ึนเมื่อระบบภูมิตานทานโรคของเราไมแข็งแรง หรือ
เช้อื ไวรสั เขาไปทําลายการทํางานของปอดได จนทาํ ใหเชื้อไวรสั แพรก ระจายลุกลามมากขึ้น รวดเรว็ ขึ้น

องคการอนามัยโลก (WHO) ประกาศใหการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหมเปน "การระบาด
ใหญ" หรือ pandemic หลังจากเชื้อลุกลามไปใน 118 ประเทศและดินแดนทั่วโลก และมีผูติดเช้ือกวา 121,000 คน
ทั้งไดคราชีวิตผูคนไปแลวกวา 4,300 คน อีกท้ังยังประกาศใหการแพรระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุใหมเปน
"ภาวะฉกุ เฉนิ ดา นสาธารณสุขระหวา งประเทศ" เน่ืองจากมีการพบ ผูติดเชื้อรายใหมอยางตอเน่ือง ทําใหเกิดความกังวล
วาการระบาดของไวรัสชนดิ นี้ จะแพรไ ปสปู ระเทศทมี่ รี ะบบสาธารณสขุ ออนแอ

การปอ งกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตนุ จังหวดั พะเยา 2

สถานการณใ นประเทศไทย

กระทรวงสาธารณสุขประกาศ "โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019" หรือ "โรคโควิด-19" เปนโรคติดตอ
อนั ตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดตอ พ.ศ. 2558 โดยใหม ผี ลบังคับใชตั้งแตว นั ท่ี 1 มี.ค.2563

ผูติดเชื้อรายใหมสวนใหญพบในกรุงเทพฯ เปนคนวัยหนุมสาวที่มีอาการเล็กนอย จึงออกไปใชชีวิต
ตามปกติ มีการขอความรวมมือประชาชนทุกคนวาอยาเดินทางกลับภูมิลําเนา แมวาจะมีการหยุดงาน
เนื่องจากอาจแพรเชื้อสูคนในตางจังหวัดได ขณะที่คนในตางจังหวัดก็ไมควรเดินทางขามจังหวัด เพราะอาจ
เส่ียงตอการติดเชื้อได หนากากปองกัน เจลทําความสะอาด และเคร่ืองฟอกอากาศหลากชนิด กลายเปนของ
หายาก ขาดแคลน หรอื ราคาพงุ สูงขน้ึ หลายเทา โรงพยาบาลหลายแหงเรียกรองรัฐบาลใหชวยจัดหาหนากาก
อนามัยในเจาหนา ที่ของโรงพยาบาล สว นหนว ยงานรัฐหลายแหง ออกมาสอนใหคนทวั่ ไปเย็บหนา กากผาไวใชเ อง

เว็บไซตราชกิจจานุเบกษา เผยแพรประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง "ช่ือและอาการสําคัญของ
โรคตดิ ตอ อนั ตราย (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2563" โดยประกาศให "โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019" หรือ "โรคโควิด19"
เปนโรคตดิ ตอ อันตรายตามพระราชบญั ญตั โิ รคติดตอ พ.ศ. 2558

การปอ งกนั และแกไ ขปญหา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตุน จงั หวัดพะเยา 3

โดยท่ีเปนการสมควรใหมีการประกาศใหโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 หรือโรคโควิด-19
(Coronavirus Disease 2019 COVID-19 ) เปน โรคติดตออนั ตรายตามพระราชบญั ญตั ิโรคติดตอ พ.ศ. 2558
เพ่ือประโยชนในการเฝา ระวงั ปอ งกัน และควบคมุ โรคตดิ ตออนั ตราย

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 วรรคหน่ึง และมาตรา 6 (1) แหงพระราชบัญญัติโรคติดตอ
พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขโดยคําแนะนําของคณะกรรมการโรคติดตอแหงชาติ
จึงออกประกาศไว ดังตอ ไปนี้

ขอ 1 ประกาศน้ีเรียกวา "ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ช่ือและอาการสําคัญ ของโรคติดตอ
อนั ตราย (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2563 "

ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคบั ตั้งแตว ันถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ 3 ใหเพ่ิมความตอไปนี้เปน (14) ของขอ 1 แหงประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและ
อาการสําคัญของโรคติดตอ อันตราย พ.ศ. 2559
"(14) โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 Coronavirus Disease 2019 (COVID-19 )
มีอาการไข ไอ เจ็บคอ หอบเหนื่อย หรือมีอาการของโรคปอดอักเสบ ในรายท่ีมีอาการรุนแรง จะมีอาการ
ระบบทางเดินหายใจลม เหลว และอาจถงึ ข้ันเสยี ชวี ติ "
ประกาศ ณ วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2563

ประกาศดังกลาวน้ี เปนผลมาจากการประกาศภาวะฉุกเฉินดานสาธารณสุขระหวางประเทศ
สงผลใหก ระทรวงสาธารณสุขของไทยยกระดบั มาตรการปองกันการระบาดของไวรสั ชนดิ น้ี

หลังจากประกาศดังกลาวมีผลบังคับใช ท้ังประชาชน ผูประกอบการ เชน โรงแรม มีหนาท่ีตาม
กฎหมายทตี่ องรายงานและแจง เม่อื สงสยั หรือมีเหตอุ นั ควรสงสัยวา จะเปน โรคติดตออันตราย ในกรณีเดินทาง
กลับมาจากพื้นท่ี ที่มีการระบาด หรือมีโอกาสใกลชิดกับผูปวย เม่ือมีอาการไข หรืออาการเกี่ยวกับระบบ
ทางเดินหายใจ ตองใหขอมูลที่เปนจริงกับแพทย พยาบาล และเจาหนาที่ ต้ังแตข้ันตอนของการ ซักประวัติ
เพือ่ ชว ยในการรกั ษาและปอ งกันตนเองดวย

สถานการณไวรัสโควิด-19 เปนวิกฤตท่ีกระทบรุนแรงกวาท่ีเคยเกิดข้ึนกอนหนานี้ เพราะเปนวิกฤต
ที่แพรกระจายสงผลกระทบไปทั่วโลก ตางจาก Hamburger Crisis ในป 2008 ท่ีมีผลเฉพาะสหรัฐและยุโรป
แตด า นเอเชยี ยังดีอยู และวกิ ฤตตมยาํ กงุ ในป 1997 ทกี่ ระทบแคกับไทยและประเทศเอเชยี ไมไปถึงยุโรปและ
สหรฐั แตวิกฤตโควิด-19 กระจายรุนแรงไปท่ัวโลกกวา 208 ประเทศท่ีมีผูติดเช้ือ และมากกวา 144 ประเทศ
ที่มผี ตู ดิ เชื้อมากกวารอยรายขน้ึ ไป

ในสวนประเทศไทย แมเราจะสามารถจัดการกับสถานการณไดดี โดยตัวเลขผูติดเชื้อลดนอยลง
ในลักษณะ Flatten the Curve แตก็ตองจับตาดูชวงหลังการผอนคลายมาตรการล็อกดาวน ซ่ึงเปนส่ิงท่ี
ทุกประเทศท่ัวโลกก็จับตามองในประเทศตัวเองเชนกัน โดยเฉพาะการทดสอบตรวจหาผูติดเชื้อ (Testing)
ในสวนประเทศไทย จํานวน Testing ไป 227,00 ราย คิดเปนจํานวน 3,300 คนตอจํานวนประชากร
1 ลานคน ซ่ึงนับวาคอนขางนอยอยู จึงตองติดตามสถานการณและมาตรการ Testing ในชวงหลังจาก
ผอ นคลายล็อกดาวน

การปองกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชุมชนตําบลบา นตุน จงั หวดั พะเยา 4

ทั้งน้ีเมื่อดูจากดัชนีล็อกดาวนของประเทศที่มีการปดเมือง มาพล็อตกับดัชนีภาคอุตสาหกรรม
จะออกมาเปน กราฟ Downward Sloping หมายความวา ย่งิ ลอ็ กดาวนมาก เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมลดลง
มาก ชี้ใหเห็นวา การล็อกดาวนมีนัยยะสําคัญตอผลผลิตเศรษฐกิจอุตสาหกรรม อยางไรก็ดี เศรษฐกิจ
จะกลับมาฟนตัวเร็วหรือชา ไมไดข้ึนอยูกับการผอนคลายล็อกดาวนอยางเดียว แตขึ้นอยูกับความเช่ือม่ันและ
พฤติกรรมผูบริโภคที่จะกลับมาใชจาย ออกไปท่ีชุมชนเหมือนกอนเกิดเกิดวิกฤติโควิด ซ่ึงตรงนี้ มาตรการ
Testing ติดตามผูป ว ยท่มี ีประสทิ ธภิ าพมสี ว นสาํ คญั ในการสรางความเชอ่ื ม่ันใหผบู ริโภค

การระบาดของท่ัวโลก ยังมีอัตราในการเพิ่มข้ึนมาโดยตลอด เมื่อเดือนเมษายนถึงตนพฤษภาคม
อัตราการติดเชื้อเพิ่มข้ึน 1 ลานคนจะใชเวลา 12 วัน ตอมาเม่ือถึงกลางเดือนพฤษภาคม ถึงตนมิถุนายน
เปนตนมา อัตราการเพิ่มข้ึนในอัตรา 1 ลานคนทุก 10 วัน มาในเดือนมิถุนายน 2563 มีแนวโนมที่จะเพิ่มขึ้น
อาทิตยละ 1 ลานคน ที่สําคัญ โรคระบาดเขาสูประเทศ ลาตินอเมริกา และมีอัตราการเพ่ิมตัวสูงมาก
โดยเฉพาะในบราซิล นอกจากนี้การแพรระบาดอยางรวดเร็วยังเพ่ิมขึ้นในอินเดีย บังคลาเทศ และประเทศ
ในตะวันออกกลางสิ่งท่ีนาเปนหวงคือการระบาด จะเขาสูทวีปแอฟริกาในท่ีสุด ตัวเลขท่ีไมไดวินิจฉัยจะมี
จํานวนมากในประเทศเพื่อนบานเรา ที่มีการระบาดมากและรวดเร็ว ก็คงจะเปนอินโดนีเซีย และฟลิปปนส
การระบาดท่ัวโลกยังสูงอยู รวมทั้งประเทศที่ไมอยูไกลจากบานเรานักเรายังคงตองระมัดระวังอยางมาก
ไมใหมีการระบาดภายในประเทศเกิดขึ้นเราคงจะตองตอสูไปอีกยาวนานทุกคนจะตองชวยกัน ที่จะไมลืม
กาํ หนดระยะหางสาํ หรับบุคคล สงั คม ลา งมือ ใสหนากากอนามยั

96 วนั ไมพ บผตู ดิ เช้ือ
ขอ มูล ณ วนั ท่ี 12 กรกฎาคม 2563

การปองกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดว ยชุมชนตําบลบา นตนุ จังหวดั พะเยา 5

สถานการณใ นระดบั จังหวัดพะเยา
ดวยสถานการณระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด 19 Coronavirus Disease

2019 (COVID-19 ) อันเปนโรคติดตออันตรายตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ช่ือและอาการสําคัญ
ของโรคติดตออันตราย (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2563 มีแนวโนมการแพรกระจายและพบการเพ่ิมข้ึนของผูปวยอยาง
รวดเรว็ จังหวัดพะเยา จึงมีความจําเปนเรงดวนที่จะตองดําเนินการปองกันและยับย้ังการแพรระบาดของโรค
เริ่มจากมีการแตง ต้ังคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดพะเยา จัดตั้งศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 ) ศูนยขาวโควิด19 พะเยา ศูนยขอมูล (COVID-19 ) ซ่ึงเปนการ
บูรณาการทํางานจากทุกภาคสวนที่เก่ียวของเพ่ือประสานความรวมมือในการปองกันและแกไขปญหาการ
ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โควิด 19 อยางเขม แขง็ และตอ เนือ่ ง

จังหวัดพะเยา มีผูติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด19 จํานวน 3 คน และมีการรักษาหาย 2 ราย
และเสียชีวิต 1 รายขอมูล ณ วันที่ 12 กรกฎาคม 2563 ไมพบผูติดเช้ือมาแลว 96 วันนับวาประสบความสําเร็จในการดําเนิน
การปองกันและควบคุมโรคไดดียิ่งดวยความรวมมือจากทุกภาคสว นในจังหวดั พะเยา

การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตุน จงั หวัดพะเยา 6

การปอ งกนั และแกไขปญหา COVID-19 ดวยชุมชนตาํ บลบา นตนุ จังหวัดพะเยา 7

สถานการณในระดับชมุ ชนและขอ มลู ชุมชนตําบลบา นตุน
องคการบรหิ ารสวนตําบลบานตุน อําเภอเมอื งพะเยา จังหวดั พะเยา
วสิ ัยทัศน

“ตาํ บลบานตนุ นาอยู เชิดชูการศึกษาประชารว มคิดรว มทาํ วฒั นธรรมอนุรักษ
พทิ ักษส่ิงแวดลอม นอ มนําเศรษฐกิจพอเพยี ง”

1 สภาพทั่วไปและขอมูลพ้ืนฐาน
1.1 ประวัติความเปน มา
ท่ที ําการองคก ารบริหารสว นตําบลบานตุน ตั้งอยู ณ เลขท่ี 115 หมูท่ี 2 บานตุนกลาง ตําบลบานตุน

อาํ เภอเมือง จังหวัดพะเยา อยูหางจากตัวอําเภอเมืองพะเยาไปทางทิศตะวันตกประมาณ 12 กิโลเมตร และมี
ถนนทางหลวงแผนดินหมายเลข 1193 สายแมนาเรือ – แมใจ เปนถนนสายหลักตัดผานตําบลบานตุน เน้ือท่ี
ตําบลบานตนุ มเี นือ้ ทปี่ ระมาณ 29.97 ตารางกโิ ลเมตรหรอื 7,492,500 ตารางวา หรือประมาณ 18,731 ไร

แผนทีอ่ งคการบรหิ ารสวนตําบลบา นตนุ
อําเภอบา นเมอื งพะเยา จังหวัดพะเยา

การปองกันและแกไ ขปญหา COVID-19 ดวยชุมชนตําบลบา นตนุ จังหวัดพะเยา 8

1.2 ภมู ิประเทศ
ตําบลบานตุนมีลักษณะภูมิอากาศรอนช้ืน สภาพพ้ืนท่ีท่ัวไปขององคการบริหารสวนตําบล

บานตนุ มสี ภาพท่ัวไปของพน้ื ท่เี ปน ทีร่ าบลมุ มลี ําหวย คลอง และสระน้าํ กระจายตามพ้ืนที่ จึงเหมาะแกการ
ทาํ การเกษตร

ตาํ บลบานตนุ มีลักษณะพน้ื ท่ีเปน ท่ีลาดเอียงจากอทุ ยานแหงชาติดอยหลวงทอดยาวสูกวาน
พะเยา มแี มนา้ํ แมตนุ เปนแมน ํ้าสายหลักทไี่ หลผานตาํ บลลงสกู วานพะเยา

อาณาเขต ทิศเหนือ ติดตอ กับ ต.บา นสาง และ อ.เมอื งพะเยา
ทศิ ตะวันออก ติดตอ กับกวา นพะเยา
ทศิ ใต ติดตอ กับ ต.แมนาเรอื และ ต.แมใส อ.เมืองพะเยา
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอกับ อ.วงั เหนือ จ.ลาํ ปาง

1.3 ลกั ษณะภมู อิ ากาศ
สภาพอากาศทั่วไปของเขตพืน้ ท่ตี ําบลบานตนุ มี 3 ฤดู ดงั น้ี
ฤดรู อน อยใู นระหวา งเดือน มีนาคม ถึงเดือน เมษายน อากาศรอนจดั ในเดอื นเมษายน

อณุ หภูมสิ งู สดุ วัดได 42 องศาเซลเซียส
ฤดูฝน อยูในระหวา งเดือนพฤษภาคม ถงึ เดือนตุลาคม ฝนตกซกุ หนาแนน ในเดอื น

พฤษภาคม และเดอื นกันยายนปริมาณนํา้ ฝนบางแหงอยูในเกณฑดี บางแหง แหงแลง จนไมส ามารถทาํ นาได
ฤดหู นาว อยูใ นระหวางเดือน พฤศจิกายนถึงเดอื นกมุ ภาพันธ อากาศจะหนาวจดั ในเดือน

ธันวาคมและมกราคม อุณหภูมิตาํ่ สดุ เฉล่ียตลอดป 20.2 องศาเซลเซียส

การปอ งกนั และแกไขปญหา COVID-19 ดวยชุมชนตาํ บลบา นตุน จงั หวัดพะเยา 9

1.4 ลกั ษณะของดิน
สภาพดินในเขตตําบลบานตนุ จํานวน รอ ยละ 90 มลี กั ษณะเปนดินเหนียวปนทราย สามารถ

เก็บนาํ้ ไดดี พน้ื ท่ีเพาะปลูกสวนใหญ เปนพชื ไรแ ละพชื หมนุ เวียน

2. ดานการเมอื ง/การปกครอง
2.1 เขตการปกครอง
องคการบรหิ ารสวนตาํ บลบานตนุ มีจํานวนหมบู า นทั้งส้นิ 11 หมูบ า น และมีพ้ืนที่อยใู นเขต

องคการบรหิ ารสว นตาํ บลบา นตุนเต็มพ้นื ทที่ กุ หมูบา น ประกอบดว ย

ท่ี ช่ือหมูบาน ช่ือกํานนั /ผใู หญบา น
1 หมูท่ี 1 บา นตนุ ใต นายวจิ ติ ร ใหมนา / ผใู หญบาน
2 หมูที่ 2 บา นตุนกลาง นายวันชยั ไชยวงศ / กํานนั
3 หมูท่ี 3 บานตุนกลาง นายสวัสด์ิ ปานา / ผใู หญบ า น
4 หมทู ี่ 4 บานบวั นายบาล บญุ กา้ํ / ผใู หญบ าน
5 หมูที่ 5 บานหวยหมอ นายสุรมัย เลหดี / ผูใหญบ า น
6 หมทู ี่ 6 บา นหว ยลึก นายอินจันทร แสงดี / ผใู หญบ าน
7 หมทู ่ี 7 บา นตุน ใต นายสงกรานต บุญมา / ผูใหญบ าน
8 หมูที่ 8 บานสนั กวา น นายชาตชิ าย อปู แกว / ผใู หญบา น
9 หมทู ่ี 9 บานเหลา นายผดั วิทูล / ผูใหญบา น
10 หมทู ่ี 10 บานทุง กิ่ว นายบุญทิศ ไทยกลุ / ผูใ หญบา น
11 หมทู ี่ 11 บา นหว ยลึก นายปยวัฒน จําปา / ผูใหญบ า น

2.2 การเลอื กต้งั
องคการบริหารสวนตําบลบานตุน มีทั้งหมด 11 หมูบาน ประชาชนใหความรวมมือดาน

การเลือกตงั้ เปนอยางดี เชน การเลือกตั้งสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ในป พ.ศ. 2556 ประชาชน
มาใชสทิ ธิเลอื กต้งั จํานวนผมู าใชส ิทธิเลือกตั้งนายกองคก ารบรหิ ารสว นตาํ บล 3,027 คน จากผมู ีสิทธิเลือกต้ัง
ทง้ั สิ้น 4,113 คน คิดเปน รอยละ 73.60 จํานวนผูม าใชสิทธิเลือกต้ังสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล
3,016 จากผูมสี ทิ ธเิ ลอื กต้งั ทั้งสิ้น 4,097 คน คดิ เปนรอ ยละ 73.61

จาํ นวนผูม สี ทิ ธเิ ลอื กตั้ง (ขอมูลเมื่อวนั ท่ี 19 ตุลาคม พ.ศ. 2556)
- จาํ นวนผมู สี ทิ ธิเลอื กตง้ั นายกองคก ารบริหารสว นตําบล 4,113 คน
- จํานวนผูมีสทิ ธิเลอื กต้ังสมาชกิ สภาองคก ารบรหิ ารสวนตําบล 3,016 คน

การปอ งกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตนุ จงั หวัดพะเยา 10

3. ประชากร
3.1 ขอมูลเก่ยี วกับขอมลู ประชากร

ที่ หมบู าน ป. พ.ศ. 2559 ป. พ.ศ. 2560 ป. พ.ศ. 2561 ป. พ.ศ.2562 คาดการณใน
ชาย หญงิ ชาย หญิง ป. พ.ศ.2563
1 บา นตุน ใต ชาย หญิง ชาย หญิง 188 217 187 218 ชาย หญิง
2 บานตุนกลาง 185 223 184 217 142 147 142 145 คาดวา จาํ นวน
3 บานตนุ กลาง 143 150 144 145 245 277 242 273 ประชากรทั้ง
4 บา นบัว 250 289 248 282 359 392 359 398 ชายและหญงิ
5 บา นหวยหมอ 361 392 364 394 230 204 231 201 ในอนาคตจะ
6 บา นหว ยลึก 234 206 235 206 323 327 317 328
7 บานตนุ ใต 334 323 320 323 82 97 83 96 ลดลง
8 บา นสันกวา น 86 92 84 94 255 265 257 263 (เปรยี บเทียบ
9 บานเหลา 245 265 252 267 153 132 154 133 จากจาํ นวน
10 บานทงุ กว่ิ 151 132 152 130 227 258 225 254 ประชากรในป
11 บานหวยลกึ 225 267 223 258 177 198 179 193 ที่ผานมา)
รวมประชากร 188 195 181 199 2,381 2,514 2376 2502
2,399 2,534 2,387 2,515
ทั้งหมด

3.2 ชว งอายแุ ละจํานวนประชากร

ประชากร

ขององคก ารบริหารสวนตําบลบานตนุ (ป พ.ศ. 2562)

ประชากร หญงิ ชาย ชวงอายุ
จํานวนประชากรเยาวชน 784 709 อายุตา่ํ กวา 18 ป
จาํ นวนประชากร อายุ 18 – 60 ป
จาํ นวนประชากรผูสงู อายุ 1,097 1,126 อายุมากกวา 60 ป
624 541 ท้ังส้ิน 4,878 คน
รวม
2,502 2,376

การปอ งกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดว ยชุมชนตําบลบา นตุน จังหวัดพะเยา 11

4 . สภาพทางสังคม
4.1 การศกึ ษา
ศูนยพฒั นาเด็กเลก็ จํานวน 1 แหง
- ตงั้ อยบู รเิ วณท่ีทําการองคก ารบรหิ ารสว นตําบลบา นตุน อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา
โรงเรียนระดับประถมศึกษา จํานวน 1 แหง
- ร.ร.ดอกบัว (ราษฎรบ าํ รุง)
โรงเรยี นระดบั มธั ยมศึกษา จํานวน 1 แหง
- ร.ร.ฟากกวา นวิทยาคม
ทอ่ี านหนงั สือพิมพป ระจาํ หมูบาน จํานวน 11 แหง
- (11 หมูบาน)
ศนู ยการศึกษานอกโรงเรียนตําบล จาํ นวน 1 แหง
- (ต้งั อยูโรงเรยี นบา นตุน กลาง)
ศนู ยเ รียนรชู ุมชน จํานวน 1 แหง

4.2 สาธารณสขุ จาํ นวน 1 แหง
โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพประจาํ ตาํ บลบานตุน จาํ นวน 4 คน
พนกั งานสาธารณสุข จํานวน 174 คน
อาสาสมัครสาธารณสุขหมบู าน

การเกิดโรคระบาดในพืน้ ทต่ี ําบลบานตุน เชน โรคไขเ ลอื ดออก โรคไขหวดั นก โรคไขห วัด
ใหญ โรคมอื เทา มกั พบตามฤดูกาล องคการบรหิ ารสวนตําบลบา นตุน ไดตั้งงบประมาณไวเพอื่ สนับสนุนใน
การปอ งกนั โรคระบาดดังกลา ว

4.3 อาชญากรรม
องคการบริหารสวนตําบลบานตุนไมมีเหตุอาชญากรรมเกิดข้ึน แตมีเหตุการณลักขโมย

ทรพั ยสินประชาชนบาง แตปญ หาท่พี บเปนประจาํ คือการทะเลาะววิ าทของกลมุ วัยรุนโดยเฉพาะในสถานท่ีจัด
งานดนตรี งานมหรสพ เปนปญหาท่ีชุมชนไดรับผลกระทบเปนอยางมาก การแกไขปญหา คือการแจงเตือน
ใหผูปกครองดแู ลบุตรหลานของตน ประชาสัมพันธใหทราบถึงผลกระทบ ผลเสียหาย และโทษท่ีไดรับจาก
การเกิดเหตทุ ะเลาะววิ าท การขอความรวมมอื ไปยงั ผูนาํ การขอกําลังจาก ตาํ รวจ ผูนํา อปพร.เพ่ือระงับเหตุ
ไมใหเกิดความรุนแรง แตจะไมใหเกิดขึ้นเลยยังเปนปญหาที่ปจจุบันไมสามารถที่จะแกไขได ท้ังที่มีการ
รวมมือกันหลายฝาย เปนเรื่องที่ทางองคการบริหารสวนตําบลจะตองหาวิธีที่จะแกไขปญหาใหกับประชาชน
ตอไปตามอาํ นาจหนา ทท่ี ีส่ ามารถดําเนนิ การได

4.4 ยาเสพติด
ปญหายาเสพตดิ เปนปญ หาท่ีตอ งแกไข โดยเฉพาะเยาวชนในพื้นที่มักจะมั่วสุมกันเสพยาเสพ

ติด แตไดรับความรวมมือกับทางผูนํา ประชาชน หนวยงานขององคการบริหารสวนตําบลบานตุนที่ชวย
สอดสองดูแลอยูเปนประจํา การแกไขปญหาขององคการบริหารสวนตําบลบานตุนสามารถทําไดเฉพาะตาม
อํานาจหนาท่ีเทาน้ัน เชน การณรงค การประชาสัมพันธ การแจงเบาะแส การฝกอบรมใหความรู

การปองกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดว ยชุมชนตาํ บลบา นตุน จงั หวดั พะเยา 12

ถานอกเหนอื จากอํานาจหนา ที่ กเ็ ปน เรือ่ งของอาํ เภอหรือตํารวจแลว แตกรณี ทั้งนี้ องคการบริหารสวนตําบล
บานตุนก็ไดใ หค วามรว มมือมาโดยตลอด

4.5 การสังคมสงเคราะห จํานวน 15 คน
อาสาสมัครพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยห มูบาน จํานวน 238 คน
คนพกิ าร จาํ นวน
เดก็ กาํ พรา จาํ นวน 10 คน
ผูติดเช้อื เอดส จาํ นวน 56 คน
ผสู ูงอายุยากจน 45 คน

5. ระบบบริการพืน้ ฐาน

5.1 การคมนาคมขนสง
องคการบริหารสวนตาํ บลบานตนุ มกี ารคมนาคมที่สะดวกมีเสน ทางหลกั ที่สามารถเขามาสู

ตัวอําเภอเมืองไดคือถนนทางหลวงหมายเลข 1193 สายแมน าเรือ-แมใ จ

ถนนภายในตาํ บล

1. ถนนลกู รงั จํานวน 30 สาย
2. ถนนคอนกรีต จาํ นวน 65 สาย
3. ถนนลาดยาง จํานวน 3 สาย

5.2 การไฟฟา
- ประชาชนในตาํ บลบานตนุ มไี ฟฟาใชครบทกุ ครวั เรือน
- ไฟกงิ่ สาธารณะ จํานวน 424 จดุ

5.3 การประปา
ตําบลบา นตุนมีระบบประปาหมูบ า นที่สง นํา้ ไปใชในครัวเรือน จาํ นวน 19 แหง ดงั น้ี
หมูที่ 1 บานตุนใต จํานวน 1 แหง
หมูท ่ี 2 บา นตนุ กลาง จํานวน 2 แหง
หมูที่ 3 บานตนุ กลาง จํานวน 2 แหง
หมทู ่ี 4 บา นบวั จาํ นวน 2 แหง
หมทู ี่ 5 บา นหว ยหมอ จํานวน 2 แหง
หมทู ่ี 6 บา นหว ยลึก จาํ นวน 2 แหง
หมูท ี่ 7 บานตนุ ใต จํานวน 1 แหง
หมูท่ี 8 บา นสนั กวาน จํานวน 2 แหง
หมูท่ี 9 บานเหลา จาํ นวน 2 แหง
หมทู ี่ 10 บานทุงกว่ิ จํานวน 2 แหง
หมทู ี่ 11 บา นหว ยลึก จํานวน 1 แหง

การปอ งกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดว ยชุมชนตําบลบา นตนุ จังหวดั พะเยา 13

5.4 โทรศพั ท
ปจจุบันในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลบานตุน ไมมีโทรศัพทสาธารณะ เนื่องจาก

ประชาชนไดนิยมใชโทรศัพทสวนบุคคลแทน ซึ่งสามารถติดตอส่ือสารไดรวดเร็ว และสามารถใชระบบ
อนิ เตอรเนต็ ได เชน โทรศพั ทมอื ถือสําหรับสถานที่ราชการยงั คงใชร ะบบโทรศัพทพ ืน้ ฐานในการตดิ ตอสอื่ สาร

5.5 ไปรษณียหรอื การส่ือสารหรือการขนสง และวัสดุ ครภุ ณั ฑ
ตาํ บลบา นตนุ มีหนวยบรกิ ารไปรษณีย จาํ นวน 1 แหง ใหบ ริการเวลา 08.00 – 16.00 น.

ในวันจันทร – เสาร (วนั เสารค รงึ่ วัน) หยดุ วันอาทติ ย

6. ระบบเศรษฐกิจ
6.1 การเกษตร
พน้ื ท่อี งคก ารบริหารสว นตําบลบานตุน ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดย
มีกิจกรรมการเกษตรท่ีสําคัญ ไดแก ทํานา รองลงมา คือ ทําไร เลี้ยงสัตว รับจาง นอกจากน้ียังมี
กิจกรรมอื่นๆ ซงึ่ ไมสามารถจําแนกเปน รายหมูบา นได คือ ทําสวนผลไม โดยจาํ แนกพ้นื ที่โดยประมาณดังนี้
- พนื้ ท่ีการเกษตร จํานวน 6,576 ไร
- พืน้ ท่ีอื่น ๆ จํานวน 733 ไร

6.2 การประมง
- ประมงทุกชนดิ เนือ้ ทเ่ี ลย้ี ง 104.25 ไร โดยประมาณ

6.3 การปศุสัตว
การปศุสัตวในเขตองคการบริหารสวนตําบลบานตุน เปนการประกอบการในลักษณะเลี้ยง

ในครัวเรือนเปนอาชีพหลักและอาชีพเสริม เชน การเล้ียงไก เปด โค สุกร กระบือ เพื่อจําหนายและ
บรโิ ภคเองในครัวเรอื น

6.4 การบรกิ าร จาํ นวน 50 หลงั
โฮมสเตย จํานวน 1 แหง
รา นอาหาร/คาราโอเกะ

6.5 การทอ งเที่ยว
ตาํ บลบา นตุนมแี หลงทองเทยี่ วจาํ นวน 9 แหง ประกอบดว ย
- ดอยหลวง - น้ําตกหวยแมตุน
- นาํ้ ตกสามโชค - ปงรอ ยบอ (บอแรเ กา)
- สวนภกู ลองฮลิ - ทาเรอื โบราณบา นทุงกวิ่
- หมูบานเศรษฐกจิ พอเพยี งบานดอกบัว - อางเกบ็ น้าํ หว ยแมต ุน
- วัดตนุ ใต (ทป่ี ระดษิ ฐสถานธรรมมาสนโบราณ)

การปอ งกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลบา นตุน จังหวดั พะเยา 14

6.6 อตุ สาหกรรม
ในเขตองคการบรหิ ารสว นตําบลบา นตุนไมมีอตุ สาหกรรม

6.7 การพานชิ ยแ ละกลุมอาชีพ
กลุมวิสาหกิจชุมชน จาํ นวน 7 กลุมดังนี้
กลมุ เครือขา ยสายใยรัก
กลมุ เลยี้ งโคพ้นื เมอื งหมูท ี่ 4 บานบวั
กลมุ แมบ า นเกษตรกรหมทู ี่ 1 และหมทู ่ี 7 บานตนุ ใต
กลุมกสิกรรมไรส ารพิษหมูท่ี 3 บานตนุ กลาง
กลุม เล้ียงโคหมทู ่ี 6 บา นหว ยลึก
กลมุ เพาะเห็ดและแปรรปู หมูที่ 2 และหมทู ่ี 3 บานตนุ กลาง
กลมุ ผักตบชวาบา นหวยลกึ

6.8 แรงงาน
กลุมประชากรที่มีอายุ 15-60 ป อยูในกําลังแรงงาน ประมาณรอยละ 95 แตคาแรงใน

พื้นท่ีตํ่ากวาระดับจังหวัดไมเพียงพอกับรายจายโดยเฉพาะแรงงานดานการเกษตร ประชากรอายุระหวาง
25–50 ป บางสวนไปรบั จางทาํ งานนอกพ้ืนท่รี วมทง้ั แรงงานทีไ่ ปทาํ งานตา งประเทศปญหาท่ีพบคือ ประชากร
ตองไปทํางานนอกพื้นที่ในเมืองที่มีโรงงานอุตสาหกรรมบริษัทหางรานใหญๆเพราะในพ้ืนที่ ไมมีโรงงาน
อุตสาหกรรมทม่ี กี ารจา งแรงงานเยอะ เพราะพื้นทส่ี วนมากเปนที่อยอู าศัย ปญ หาน้ียงั ไมสามารถแกไขได
7. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม

7.1 การนบั ถือศาสนา
ประชาชนในตาํ บลบานตุนสวนใหญน บั ถอื ศาสนาพุทธโดยมีวัดเปน เคร่ืองยดึ เหนย่ี วจติ ใจ

ของประชาชน ประกอบดว ยวัด จํานวน 8 แหง
- วัดตุน ใต ต้ังอยูหมูท่ี 1 บา นตุนใต
- วัดตุนกลาง ตั้งอยูหมูท่ี 2 บานตนุ กลาง
- วัดดอกบัว ต้ังอยูหมูที่ 4 บานบัว
- วัดหว ยหมอ ตั้งอยูห มูที่ 5 บานหว ยหมอ
- วดั หวยลึก ตง้ั อยูหมูท่ี 6 บานหวยลึก
- วดั สันกวา น ตัง้ อยูหมูท่ี 8 บานสันกวา น
- วดั ทุง ก่ิว ตั้งอยูหมูท่ี 10 บานทงุ ก่วิ
- วัดสวนดอก ตัง้ อยหู มูท่ี 6 บา นหวยลึก
- สาํ นกั ปฏบิ ตั ธิ รรม จาํ นวน 1 แหง
- สาํ นักปฏิบตั ธิ รรม ต้ังอยูหมูท ่ี 8 บานสันกวาน

การปองกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดว ยชุมชนตําบลบา นตนุ จงั หวัดพะเยา 15

7.2 ประเพณีและงานประจําป ประมาณเดอื น เมษายน
- ประเพณรี ดนํ้าดําหวั ประมาณเดอื น มนี าคม-เมษายน
- ประเพณีปอยหลวง ประมาณเดอื น กันยายน
- ประเพณตี านกว ยสลาก ประมาณเดือน ตุลาคม
- ประเพณีทอดกฐนิ ประมาณเดือน กรกฎาคม ตุลาคม
- ประเพณีวนั เขา พรรษา ออกพรรษา ประมาณเดอื น พฤศจิกายน
- ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดอื น มถิ นุ ายน
- ประเพณีเลย้ี งผีขุนนํ้า

7.3 ภูมปิ ญญาทองถ่ิน ภาษาถิ่น
ภูมิปญ ญาทองถนิ่ ประชาชนในเขตพนื้ ทไี่ ดอนรุ ักษภ ูมิปญญาทอ งถน่ิ ไดแก เตาชวี มวล

สานแขง สมุ ไก การรักษาดวยยาสมุนไพร

ภาษาถนิ่ ประชาชนสว นใหญใ นตาํ บลบา นตุนพูดภาษาเหนือเปนภาษาพืน้ เมือง

7.4 สินคาพน้ื เมืองและของทีร่ ะลึก
ผลิตภัณฑจักสานดว ยไมไผ ตั้งอยู หมู 4 ต.บา นตุน อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา
ผลิตภัณฑข าวอินทรี ตั้งอยู หมู 4 ต.บานตุน อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา
ผลิตภณั ฑพ รมเชด็ เทา ต้ังอยู หมู 1 ต.บานตุน อ.เมอื งพะเยา จ.พะเยา

8. ทรัพยากรธรรมชาติ จํานวน 3 สาย
8.1 น้าํ จํานวน 24 แหง
แหลงนาํ้ ธรรมชาติ จาํ นวน 807 บอ
ลาํ นํ้า จาํ นวน 6 บอ
แหลงน้ําทีส่ รางขึ้น จาํ นวน 3 แหง
ฝาย จาํ นวน 19 แหง
บอ นํ้าตน้ื จํานวน 1 แหง
บอโยก จํานวน 12 แหง
อางเก็บนํ้า จาํ นวน 2 แหง
ประปาหมบู าน จํานวน 8 แหง
สถานสี บู นาํ้
บอบาดาล
ประปาภูเขา
สระนาํ้ สาธารณะ

การปองกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตุน จังหวดั พะเยา 16

8.2 ปาไม
ตาํ บลบา นตนุ มีพื้นปาไมเปน ปาเบญ็ พรรณอยบู รเิ วณอุทยานดอยหลวงแหงชาติไมท่ีพบ

ไดแ ก ไมสกั ไมป ระดู ไมมะคา ไมต ะเคยี น ไมแ ดง เปน ตน

8.3 ภเู ขา
ลักษณะภเู ขาเปนภูเขาสงู โดยเฉพาะดอยหลวง มรี ะดบั ความสูง 1,200 เมตร

8.4 ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่สี าํ คัญขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
ทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนที่ตําบลบานตุนยังถือวามีความอุดมสมบรูณ มีพ้ืนปาไมที่มีชุม

ช้นื บริเวณอทุ ยานแหง ชาตดิ อยหลวง ซึ่งมสี ตั วนํ้าที่หาดูไดยากเชน กบจกุ ปจู ่วั เตา ปูรู เปนตน

9. อ่ืนๆ (ถามีระบดุ ว ย)
9.1 พชื เศรษฐกิจ
- ขาวทุกชนิด เนื้อท่ีเพาะปลกู 6,576 ไร ผลผลิตรวม 3,500 ตนั โดยประมาณ
- ไมผ ลทุกชนดิ เน้อื ที่ 468 ไร ผลผลติ รวม 15 ตนั โดยประมาณ
- พืชไรท ุกชนิด เนอื้ ท่เี พาะปลูก 265 ไร ผลผลติ รวม 132 ตัน โดยประมาณ

9.2 หนว ยงานธรุ กจิ 3 แหง
ปมน้าํ มนั (หยอดเหรยี ญ) จํานวน 1 แหง
ปมนํา้ มนั (ปม หลอด) จํานวน 4 แหง
ตลาดในชมุ ชน จาํ นวน 11 แหง
โรงสีขา ว จาํ นวน 32 แหง
รา นคาในชมุ ชน จาํ นวน 4 แหง
รา นซอ มรถ จํานวน 2 แหง
รา นเสรมิ สวย จาํ นวน 5 แหง
บา นเชา จํานวน 1 แหง
ตดั เยบ็ เส้ือผา จํานวน

9.4 ดานการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย จาํ นวน 107 คน
อาสาสมัครปองกันภยั ฝายพลเรอื น (อปพร.) จาํ นวน 10 คน
หนว ยกชู ีพกภู ัยตําบลบานตุน (OTOS) จาํ นวน 90 คน
ชุดรักษาความปลอดภัยหมูบาน (ชรบ.) จาํ นวน 250 คน
อาสาสมัครตํารวจบา น (สตบ.) จาํ นวน 9 คน
ผชู ว ยรกั ษาความสงบประจาํ หมูบ าน (ผรส.)

การปอ งกนั และแกไขปญหา COVID-19 ดว ยชุมชนตําบลบา นตนุ จงั หวดั พะเยา 17

9.5 กีฬา
ลานกีฬา จาํ นวน 8 แหง

- ลานกฬี าโรงเรยี นบานตนุ
- ลานกีฬาโรงเรียนบา นดอกบวั (ราษฎรบ าํ รุง)
- ลานกีฬาบานหว ยลึก
- ลานกฬี าโรงเรียนบา นสนั กวา นทงุ ก่วิ
- ลานกฬี าโรงเรียนฟากกวานวทิ ยาคม
- ลานกฬี าบานหวยหมอ
- ลานกฬี าบา นเหลา
- ลานกีฬาท่ีทําการอบต.บานตุน

9.7 โครงสรา งพนักงานสว นตําบล

ปลัดองค์การบริหารส่วน
ตาํ บลบ้านต่นุ

นายมนตรี นทนี าถวรกุล

นักวชิ าการตรวจสอบ
ภายใน

รองปลัดองค์การบริหารส่วน
ตาํ บลบ้านต่นุ

นางสุภา วงศ์ช่างเงนิ

หวั หน้าสาํ นักปลดั ผู้อาํ นวยการกองคลัง ผู้อาํ นวยการกองช่าง
นางสาวศุจิรัตน์ โสภณ นางนงเยาว์ หัวนํา้ นายอาํ นาจ วรรณ

การปอ งกนั และแกไขปญหา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตําบลบา นตุน จงั หวัดพะเยา 18

งานตรวจสอบภายใน

พนกั งานสว นตําบลจํานวน 1 อัตรา ดงั นี้
1. เจาหนาท่ตี รวจสอบภายใน จํานวน 1 อตั รา

สาํ นกั ปลดั

รบั ผิดชอบดา นบรหิ ารงานทว่ั ไป งานสารบรรณ งานนโยบายและแผนงานนิติการ งานประชาสัมพันธ
งานปองกันและบรรเทาสาธารณภยั งานการเกษตร งานสาธารณสขุ งานสงั คมสงั เคราะห งานการศกึ ษา
งานกีฬา ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม และนันทนาการ
พนักงานสว นตําบลจํานวน 12 อัตรา ดังน้ี

1. นักบริหารงานทวั่ ไป (หวั หนาสาํ นักปลดั ) จํานวน 1 อตั รา
2. นักวเิ คราะหน โยบายและแผน จาํ นวน 1 อตั รา
3. นักพัฒนาชมุ ชน จาํ นวน 1 อัตรา
4. นกั วชิ าการการศึกษา จํานวน 1 อัตรา
5. นกั วชิ าการสาธารณสุข จํานวน 1 อตั รา
6. นักจัดการงานทั่วไป จํานวน 1 อตั รา
7. นกั ทรพั ยากรบุคคล จํานวน 1 อตั รา
8. เจา พนักงานธุรการ จํานวน 1 อัตรา
9. เจา พนักงานประชาสัมพันธ จํานวน 1 อัตรา
10. เจาพนกั งานปองกันและบรรเทาสาธารณภยั จํานวน 1 อตั รา
11. ครผู ูดแู ลเด็ก จํานวน 2 อัตรา
พนกั งานจา งตามภารกจิ จํานวน 4 อัตรา ดังน้ี
1. ผชู ว ยเจาหนา ทพ่ี ฒั นาชมุ ชน จํานวน 1 อัตรา
2. ผชู ว ยครูผูดแู ลเด็ก จาํ นวน 1 อัตรา
3. พนักงานขับรถยนต จาํ นวน 1 อตั รา

กองคลัง

รับผดิ ชอบดา นงานการเงนิ งานบัญชี งานพฒั นาและจัดเก็บรายได รวมท้ังงานทะเบียนทรัพยสนิ
และพสั ดุพนักงานสว นตําบลจาํ นวน 4 อัตรา ดังนี้

1. นักบรหิ ารงานคลงั (ผูอ ํานวยการกองคลัง) จาํ นวน 1 อัตรา
2. นกั วชิ าการการเงินและบัญชี จาํ นวน 2 อตั รา
3. นกั วชิ าการจดั เก็บรายได จาํ นวน 1 อตั รา
4. เจา พนกั งานพัสดุ จํานวน 1 อตั รา

การปองกันและแกไ ขปญหา COVID-19 ดว ยชุมชนตาํ บลบา นตนุ จงั หวดั พะเยา 19

พนักงานจางตามภารกิจ 1 อัตรา ดงั นี้
1. ผชู วยเจา หนา ทพ่ี สั ดุ จาํ นวน 1 อตั รา

กองชาง

รบั ผิดชอบดานกอสรา ง งานออกแบบและควบคุมอาคาร งานสาธารณปู โภคและงานผังเมือง
พนักงานสว นตาํ บลจาํ นวน 5 อัตรา ดงั นี้

1. ผูอํานวยการกองชา ง (นักบรหิ ารงานชา ง) จํานวน 1 อัตรา
2. นายชา งโยธา จํานวน 3 อตั รา
3. เจา พนกั งานธรุ การ จํานวน 1 อัตรา

9.8 โครงสรา งคณะผูบ ริหารองคก ารบริหารสว นตาํ บลบานตุน

นายกองค์การบริหารส่ วนตําบล
นายรัฐวุฒชิ ัย ใจกล้า

เลขานุการนายก อบต.
นายสมศักด์ิ ใจเยน็

รองนายก อบต. รองนายก อบต.
นายสุพล สีไชย น.ส.จรี นันท์ เครือสาร

การปอ งกนั และแกไ ขปญหา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตําบลบา นตุน จงั หวดั พะเยา 20

บทที่ 2
ผลกระทบท่ีเกิดจากสถานการณการแพรร ะบาดของ (COVID-19 )

ผลกระทบดานเศรษฐกิจ

อาการปวยจาก (COVID-19 ) อาจจะไมรุนแรงสําหรับคนสวนใหญ (รอยละ 81) แตกลับเปนโรค
ที่นากลัวสําหรับผูสูงอายุและผูที่มีโรคประจําตัวบางอยาง เชน โรคหัวใจ โรคหอบ ฯลฯ และสิ่งที่จะชวยลด
หรือ ปองกันการระบาดของไวรัสเพ่ือมิใหระบาดไปถึงกลุม เสี่ยง คือ การหลีกเล่ียงการปฏิสัมพันธระหวาง
มนุษย ไมวาจะเปนคนกลุมเส่ียงหรือไม มนุษยเปนสัตวสังคม ดวยความสามารถในการปฏิสัมพันธท่ีซับซอน
ของมนุษย ทําใหสังคมมนุษยมีการพัฒนากาวหนาอยางรวดเร็ว ไมวาจะเปนการพบปะหารือเพื่อแลกเปล่ียน
ความคดิ และเจรจาตอ รอง การรวมตัวเพ่ือถายทอดความรูเชนในหองเรียน และการเดินทางขามรัฐ ขามแดน
ดว ยเทคโนโลยีคมนาคมตา งๆ โดยเฉพาะในยุค Globalization ทม่ี นษุ ยทวั่ โลกเชอื่ มตอกนั ไมท างใดก็ทางหนึ่ง
แตตอนน้ีกิจกรรมทางสังคม เหลานี้ ไดกลายเปนการสนับสนุน การระบาด รัฐบาล และ ผูเชี่ยวชาญท่ัวโลก
ขอความรวมมือจากประชาชน ใหงดการเดินทางท้งั ในและตางประเทศ งดการออกจากบาน งดการ รวมกลุม
ขอปฏิบัติตางๆ เหลาน้ี สงผลกระทบทําใหการดําเนินชีวิตและการเขาสังคมของมนุษยเปล่ียนไปโดยสิ้นเชิง
เกิดผลกระทบหลากดาน หลายปจจัย
อาชพี ที่จาํ เปนในชว งวิกฤต

เม่อื พูดถงึ อาชีพท่ีมีความสําคญั อยา งมากในชวงวิกฤตการระบาดของ Coronavirus แพทย พยาบาล
และผูใหบริการทางการแพทยในสวนตางๆ คงเปนคนกลุมแรกที่ทุกคนนึกถึง เพราะเปนสายอาชีพที่เปน
ดานหนาในการรับมือกับไวรัสและผูปวย อยางไรก็ตาม ในขณะที่คนสวนใหญ สามารถเก็บตัวในบานหรือ
ทํางานจากที่บา น (Work from Home) เพ่อื ปอ งกันตวั เองจากการระบาด ยงั มีคนในอีกหลายสายอาชีพ ท่ียัง
ตองออกทํางานและเผชิญกับความเสี่ยง เชน พนักงานในหางสรรพสินคาแผนกอาหาร และซุปเปอรมารเก็ต
ยงั คงตองทาํ งานหนกั ในการจัดเตรยี มสนิ คา เพอื่ ใหลูกคาสามารถซื้อหาสินคาท่ีตองการได พนักงานทําความ
สะอาด และเกบ็ ขยะทตี่ อ งเผชญิ กับสถานการณท มี่ คี วามเส่ียง เพ่ือรักษาความสะอาดของบานเมือง คนขับรถ
แทก็ ซี่ และบรษิ ัทขนสงตางๆ ที่ยงั ชวยใหบริการคนในพื้นที่ตางๆ ยังสามารถเดินทางหรือสงของหรือสินคาให
กันได รวมถึง เจาหนาที่รักษาความปลอดภัยตางๆ ที่ยังตองปฏิบัติหนาท่ีเพ่ือมั่นใจวา ประชาชนอยูใน
กฎระเบียบ และ เจาหนาท่ีภาครัฐบางภาคสวน เชน สถานเอกอัครราชทูตในตางประเทศท่ีมีหนาท่ีใหขอมูล
ใหความชว ยเหลือกับประชาชน

ในขณะเดียวกัน มีหลายอาชีพ ท่ีเปนที่ยอมรับกันวาสามารถทําเงินไดมากกวาอาชีพอื่นๆ หรือมี
ความม่ันคง เปน ทใี่ ฝฝน ของหลายคน แตก ลบั เปน สายอาชพี แรกๆ ทถ่ี ูกกระทบโดยวิกฤต (COVID-19 ) กอน
ใคร เชน นักบินสายการบินพาณิชย ซ่ึงจะมีนักบินจํานวนมากตองตกงาน เน่ืองจากสายการบินตางๆ กําลัง
ประสบปญหา ไมสามารถใหบริการไดตามปกติ นักรอง นักแสดง เน่ืองจากงานแสดงงานโชวตางๆ
ตอ งถูกยกเลิก วิกฤตครง้ั นท้ี ําใหเหน็ วา อาชีพท่ีเกี่ยวของกับปจจัยสี่และความอยูรอดของมนุษยเปนอาชีพ
ท่ีจะยังอยตู อไปได โดยเฉพาะในสถานการณไ มป กติ

การปอ งกนั และแกไ ขปญหา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตาํ บลบา นตุน จงั หวดั พะเยา 21

เม่ือความตระหนักกลายเปนความตระหนัก
จริงอยูที่ประชาชนจะตองปรับตัว และเปลี่ยนพฤติกรรมหลายอยาง เพื่อปองกันตัวเองและชวยลด

การระบาด แตการตระหนัก บางคร้ังก็มีมากเกินไป จนกลายเปนความตระหนกและกอใหเกิดความวุนวาย
ขึ้นในสังคม ปรากฏการแรก ทเ่ี ราไดเ ห็นกัน คอื การเหยียดเช้ือชาติในสถานการณ (COVID-19 ) การเกลียด
กลัวชาวตา งชาติหรือ คนจีน (Xenophobia) เกิดจากความไมรู ความกลัว และการตัดสินคนท่ี Stereotype
ซึ่งชาวตะวันตกมองวา (COVID-19 ) เปนโรคที่เกิดจากคนจีน จึงเกิดความกลัวและความเกลียดชังคนเอเชีย
จงึ เกดิ เหตกุ ารณทาํ รายชาวเอเชียข้ึนตามที่เห็นในขาว แตในปจจุบัน เหตุการณก็เร่ิมกลับตาลปตร กลายเปน
คนเอเชียก็เรมิ่ กลวั ฝรงั่ บาง เพราะการแพรระบาดในยุโรป และสหรฐั อเมรกิ า ดจู ะรุนแรงขนึ้ เร่อื ยๆ

การกักตนุ สินคา เปนทเี่ ขา ใจไดวา ในสถานการณท ไ่ี มปกติ มนษุ ยเ รา ตองการเตรียมความพรอมเพ่ือ
ความอยรู อด อยางไรกต็ ามโดยหลักการแลว การกักตุนสินคาจํานวนมากๆ ไมมีความจําเปนในสถานการณน้ี
ถึงแมวาหลายคนจะมองวาเปนสิทธิสวนบุคคลในการกักตุนสินคา แตการทําเชนนี้กอใหเกิดปญหาที่ตามมา
เชน คนท่ีมีรายไดนอยหรือผูสูงอายุ ไมสามารถเขาถึงสินคาที่จําเปนได ความวุนวาย การแกงแยงสินคา
ปญหาการโกงราคาและผูคาท่ีฉวยโอกาส ไปจนถึงปญหาหนากากขาดแคลน ซ่ึงกระทบไปถึงแพทยและ
ผใู หบ ริการทางการแพทยซงึ่ มคี วามจําเปน ซึ่งหากประชาชนมีความเขาใจและปฏิบัติตนในแบบท่ีเหมาะสม
จะทาํ ใหเ ราสามารถหลกี เลยี่ งปญหาเหลา น้ีได
ผลกระทบตอเศรษฐกจิ โลกและความเหล่ือมลํา้ ทางสงั คม

การเจบ็ ปวย เสยี ชีวิต การหยุดงาน หรือตกงาน สงผลไปสูการสูญเสียรายได ซ่ึงจะสงผลกระทบไปสู
คาใชจายภายในครัวเรือน โดยการสูญเสียงานหรือเสียรายไดน้ี จะมีโอกาสเกิดขึ้นกับคนที่มีฐานะยากจน
ท่ีเปน แรงงานนอกระบบ (Informal Worker) มากกวาคนท่ีมรี ายไดแนนอนจากงานประจํา และมีโอกาสที่จะ
เกิดข้นึ ในประเทศดอยพฒั นา/กาํ ลงั พัฒนามากกวาประเทศทพ่ี ฒั นาแลว ดังนั้นผลกระทบจากการแพรระบาด
ของเชอื้ ไวรสั โควิด-19 นี้ จะสง ผลตอเนอ่ื งไปสรู ะดบั ความยากจนและความเหล่ือมลํา้ ทจ่ี ะเพ่ิมสงู ขนึ้ ได

ผลกระทบในระยะสั้นเหลานี้ อาจสงผลไปสูผลกระทบระยะยาวได เชน การที่ประเทศจะสูญเสีย
ขีดความสามารถในการแขงขันและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว (Long-Term Economic
Growth) เน่ืองจากจะตองใชทรัพยากรจํานวนมากในการปองกันและรักษาเช้ือไวรัสโควิด-19 นี้ จนขาด
แคลนทรัพยากรในการลงทุนในโครงสรางพ้ืนฐานท่ีจําเปน นอกจากน้ียังเกิดการสูญเสียทางดานทุนมนุษย
(Human Capital) ของประเทศ ที่จะตองเจ็บไขไดปวยเร้ือรัง (เชนโรคที่เก่ียวของกับปอด) หรือการที่เด็ก
นักเรียนนักศึกษาจะตองหยดุ เรียน โดยเฉพาะในประเทศที่มีฐานะยากจน ที่ระบบการพัฒนาทุนมนุษยอยาง
ระบบสาธารณสขุ และระบบการศึกษายงั ไมครอบคลมุ ทวั่ ถงึ นัก
ผลกระทบดานสังคม การศึกษา สาธารณสุข และวัฒนธรรม

ในประวัติศาสตร มนุษยเราไดผานวิกฤตโรคระบาดมาแลวหลายคร้ัง แตคงไมมีครั้งไหน
ท่สี ง ผลกระทบตอมนุษย สงั คม และโลก ไดค รอบคลุมมิติไดกวางขวางไดเทากับ (COVID-19 ) เพราะไวรัสตัว
นี้ไมเพียงแตสงผลใหเกิดความเจ็บปวยสูญเสียในระดับบุคคลแลว การระบาดของ coronavirus ยังสงผล
กระทบไปทั่วทุกมติ ิ และเกือบทกุ ประเทศ เนื่องจากนบั แตเราไดเขาสู ยุคโลกาภิวัตน แมเสนเขตแดนรัฐยังจะ
แบง โลกออกเปน ประเทศ ตามท่ีแสดงในแผนที่ แตก ารตดิ ตอ คาขาย การไปมาหาสู รวมท้ัง การสื่อสารบนโลก
ออนไลน ทําใหผูคนบนโลก ถูกผูกไวอยางใกลชิด และผลกระทบของการสัมผัสทางตรง ท่ีมาจากการสัมผัส
และติดเชื้อ และผลกระทบทางใจ ที่มาจากการสื่อสารในโลกออนไลน ที่ทําใหการรับรูขาวสาร การตั้งสติ

การปองกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลบา นตุน จังหวดั พะเยา 22

และการตื่นตระหนก เกิดเปนกระแสไปทั่วโลก และมีพลวัตที่รวดเร็ว รวมทั้งยังไมมีใครคาดเดาไดวา
วกิ ฤตการณครัง้ น้ี จะยตุ ิและผา นพน ไปเมื่อใด

“เปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (SDGs)” ขององคการสหประชาชาติจะไดรับผลกระทบจากการแพร
ระบาดของไวรัสครั้งใหญแหงศตวรรษเชนกัน โดยกลุมคนที่เปราะบางและไดรับผลกระทบจากวิกฤตรอบนี้
หนักท่สี ุดก็คือ ผูหญงิ เดก็ ผูสูงอายุ และแรงงานนอกระบบ

สําหรับดานส่ิงแวดลอมน้ัน หากมองในระยะส้ัน ทุกอยางก็ดูเหมือนจะดีข้ึน มลพิษลดลงไปตาม
กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่นอยลง เพราะผูคนตองเก็บตัวอยูกับบาน มีการเดินทางนอยลง หลายอุตสาหกรรม
ตองหยุดงานช่ัวคราว เชน การบิน โรงงานอุตสาหกรรม ทําใหมีการปลอยคารบอนนอยลง แตก็เช่ือวาหาก
ขาดความมุงมั่นที่จะพัฒนาอยางย่ังยืนแลว มลพิษตางๆ ก็คงกลับมาเหมือนเดิมเม่ือเศรษฐกิจโลกกลับมา
เดินหนา ตามปกติอกี ครงั้
โควิด-19 สง ผลอยา งไรตอเปาหมายการพัฒนาอยา งยง่ั ยืน
วิกฤตโรคระบาดครั้งนีส้ ง ผลกระทบตอเปา หมายการพัฒนาท่ียง่ั ยืน

• เปา หมายท่ี 1 การสูญเสียรายไดจะทําใหกลุมคนท่ีมีความเปราะบางในสังคมและหลายบานมีรายได
ตาํ่ กวา เสนความยากจน

• เปา หมายท่ี 2 เกิดปญหาในการผลิตและการกระจายอาหาร
• เปา หมายที่ 3 ผลกระทบรายแรงตอสุขภาพ
• เปาหมายท่ี 4 หลายโรงเรียนถูกปด การเรียนทางไกลอาจทําใหการเรียนมีประสิทธิภาพนอยลงและ
นักเรียนบางคนไมส ามารถเขาถงึ การเรียนออนไลนได
• เปาหมายท่ี 5 ผลประโยชนทางเศรษฐกิจของผูหญิงจะตกอยูในความเสี่ยง ความรุนแรงของผูหญิง
เพมิ่ ระดับข้ึน และสว นใหญของคนทาํ งานสาธารณสุขและสงั คมเปนผูหญงิ จึงมโี อกาสไดรบั ความเส่ียงมาก
• เปา หมายที่ 6 การเขาถงึ นํ้าสะอาดท่ีไมเพียงพอเปน อุปสรรคตอ การเขาถึงส่ิงอํานวยความสะดวกเพื่อ
ลางมือซงึ่ เปน หนึ่งในมาตรการปอ งกัน โควดิ -19 ท่สี ําคญั ทสี่ ุด
• เปาหมายท่ี 7 การจัดหาพลังงานและกําลังคนขาดแคลน ทําใหการเขาถึงไฟฟาชะงักลง การ
ตอบสนองของระบบดแู ลสขุ ภาพและสมรรถภาพตาํ่ ลง
• เปา หมายท่ี 8 กิจกรรมทางเศรษฐกิจหยุดชะงัก ไดรับรายไดนอยลง เวลาทํางานลดลง บางอาชีพตก
งาน
• เปาหมายที่ 11 ประชากรท่ีอยูอาศัยในสลัมตองเผชิญความเส่ียงในการติดเช้ือโควิด-19มากกวา
เพราะความหนาแนน ในพ้ืนทแ่ี ละปญ หาเรอื่ งสขุ าภบิ าล
• เปาหมายที่ 13 ความเขมแข็งกับการตอสูกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศลดลง แตผลกระทบ
ตอส่ิงแวดลอ มกล็ ดลงจากการผลติ ลดลง เนอ่ื งจากปรมิ าณการผลิตและการขนสงลดลง
• เปาหมายท่ี 16 ความขัดแยง ทาํ ใหมาตรการตอ สโู ควิด-19 ไมมีประสิทธิภาพ ประชาชนท่ีอาศัยอยูใน
พ้ืนที่ทีม่ คี วามขัดแยงมีความเสยี่ งมากที่สดุ ท่จี ะเกิดความสญู เสยี จากโรค
• เปาหมายท่ี 17 ซ้ําเติมความเหน็ ดา นลบตอ โลกาภวิ ตั น แตก็เปนการเนนยํ้าใหเห็นถึงความสําคัญของ
ความรว มมอื ระหวา งประเทศดานสาธารณสขุ
ท้ังนี้ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเปาหมาย ที่ 11, เปาหมายท่ี 8,เปาหมายท่ี 5 และเปาหมายท่ี 4 จะสงผล
กระทบอยา งมากกับเปา หมายท่ี 10 ในการลดความเหล่อื มลาํ้
ทม่ี า https://thaipublica.org/2020/04/un-sdgs-effect-covid19/

การปอ งกันและแกไขปญหา COVID-19 ดวยชุมชนตําบลบา นตุน จงั หวดั พะเยา 23

ในรายงานระบุผลกระทบจากเปาหมายดานสุขภาพ ความเปนอยูท่ีดี การพัฒนาเมืองและชุมชน
ย่งั ยนื (เปาหมายท่ี 11) การมีน้ําสะอาดและสขุ อนามยั ที่ดี (เปา หมายท6่ี ) เพราะการระบาดของโรค สงผลเสีย
รุนแรงตอสุขภาพของคน โดยเฉพาะคนท่ีอยูในสลัมจะตองเส่ียงติดเช้ือมากกวา เพราะพื้นท่ีอาศัยแออัด
มีปญหาดานสุขอนามัย ไมตางจากคนที่อยูในพ้ืนที่ขัดแยงท่ีมีความเสี่ยงเสียชีวิตจากโรค เพราะความขัดแยง
ทําใหมาตรการรับมือโรคไมมีประสิทธิภาพ ขณะท่ีคนจํานวนมากที่ไมมีน้ําสะอาดใชหรือมีไมเพียงพอก็ไดรับ
ผลเสยี เชนกัน เพราะน้ําสะอาดเปน หนึง่ ในมาตรการปองกนั โควิด-19 ทด่ี ที ี่สุด

ขณะเดียวกัน ผลกระทบจากโควิด-19 ทําใหโอกาสในการบรรลุเปาหมายดานการเติบโตทาง
เศรษฐกิจ ไดแก การมีงานทํา (เปาหมายที่ 8) การขจัดความยากจน (เปาหมายที่ 1) และขจัดความหิวโหย
(เปาหมายที่ 2) ความเทาเทยี มทางเพศ (เปาหมายที่ 5) ลดความไมเทาเทียมโดยรวม (เปาหมายท่ี10) เพราะ
การปองกันการแพรระบาดของไวรัส ประเทศตางๆ ไดตัดสินใจปดเมือง ปดประเทศ สงผลใหกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจหยุดชะงัก คนมีรายไดนอยลง เวลาทํางานนอยลง และบางคนก็ตกงานทันทีโดยไมไดตั้งตัว
โดยเฉพาะหากเกิดกับคนกลุมเปราะบางในสังคม ปญหาก็จะย่ิงหนักหนวงกวาทั่วไป ทําใหหลายครอบครัวมี
รายไดตํ่ากวาเสนความยากจน และเมื่อพูดถึงงานพบวา คนทํางานดานสาธารณสุขและสังคมสงเคราะหสวน
ใหญเ ปน ผหู ญิง ซึ่งมีความเสี่ยงที่จะติดเช้อื (COVID-19 ) มากกวา คนอาชีพอนื่ อีกทั้งการระบาดของโรคทําให
หลายพืน้ ท่เี กดิ ปญหาดา นการผลติ และการกระจายอาหารอีกดวย

นอกจากน้ี วิกฤตโควิด-19 ยังสงผลตอคุณภาพการศึกษา (เปาหมายท่ี 4) เมื่อสถาบันการศึกษาปด
การเรียนการสอนทางไกลยงั ไมม ีประสิทธิภาพเทาที่ควร และเด็กจํานวนมากก็ขาดอุปกรณจําเปนสําหรับการ
เรียนทางไกล สวนในแงของเปาหมายพลังงานสะอาด (เปาหมายท่ี 7)ในราคาสมเหตุสมผลก็ไดรับผลกระทบ
เชนกัน เนื่องจากการขาดแคลนบุคลากรและอุปทานทําใหเกิดปญหาการเขาถึงไฟฟา ซ่ึงสงผลตอเนื่องไปยัง
ระบบดูแลสขุ ภาพ

อยางไรก็ตามในวิกฤตครั้งนี้ถือเปนโอกาสดีท่ีไดเห็นวา ความรวมมือระหวางประเทศมีความจําเปน
อยางมากท่ีจะเดินหนาไปสูเปาหมายท่ีตองการได ดังจะเห็นไดจากความรวมมือระหวางประเทศดาน
สาธารณสุขเพ่อื แกวิกฤตใหญข องมวลมนุษยชาตเิ ราจะกา วผานวิกฤตใหสาํ เร็จอยางยั่งยนื ไดอยา งไร
มาตรการระดบั โลกรบั มือวิกฤต

การล็อกดาวนเพ่ือสูวิกฤต โควิด-19 สงผลกระทบรุนแรงตอเศรษฐกิจทั่วโลกทั้งในแงของอุปสงค
และอุปทานทช่ี ะงักงนั รัฐบาลประเทศตางๆ จึงตองออกมาตรการกระตุนเศรษฐกิจครั้งใหญเพื่อพยุง เยียวยา
ผูไดรับผลกระทบ และฟนความเช่ือมั่นใหคืนกลับมาในอนาคต นอกจากชวยเหลือองคกรธุรกิจทุกขนาด
ใหย ืนหยัดในวงการไดตอไป เพ่ือหลีกเลี่ยงการปลดพนักงาน ขณะเดียวกันก็ตองใหความสําคัญและชวยเหลือ
ซัพพลายเออรและผูบ ริโภคไปพรอ มๆ กันดว ย

มาตรการการเงินการคลังที่ใชจะตองชวยเหลือแรงงานทุกกลุม รวมถึงลูกจางรายวัน และแรงงาน
นอกระบบ เพ่ือชวยใหคนเหลาน้ีมีงานทําและมีรายไดเลี้ยงดูตัวเองและครอบครัว มีการชดเชยคาจางอยาง
เหมาะสม

มาตรการกระตุนเศรษฐกิจตองเนนการกระจายทรัพยากรไปยังคนทุกกลุม โดยเฉพาะกลุมท่ี
เปราะบางทส่ี ดุ พรอมยกระดบั ความพรอมดา นการสาธารณสขุ ฉุกเฉิน การดแู ลทางสังคม มีการลดหยอนภาษี
ชวยเหลอื ใหค นเขาถงึ สนิ เชอ่ื ดอกเบ้ยี ตํ่า การประกนั สุขภาพ และเงนิ ชดเชยวางงาน เปนตน

การปองกันและแกไ ขปญหา COVID-19 ดว ยชุมชนตาํ บลบา นตุน จังหวัดพะเยา 24

ชวงวิกฤต โควิด-19 จําเปนตองผอนปรนมาตรการกีดกันทางการคาตางๆ โดยเฉพาะการขนสงยา
และอุปกรณทางการแพทยที่จําเปนระหวางประเทศ ดวยการลดภาษีนําเขาหรือการยกเลิกการหามขนสง
เปนตน เพ่ือใหทุกประเทศมียาและอุปกรณทางการแพทยเพ่ือสกัดการแพรระบาดของไวรัสและรักษาผูปวย
อกี ทงั้ ตองยกเลิกการคว่ําบาตรประเทศตางๆ เพื่อใหประเทศเหลานั้นมีอาหาร และเครื่องมืออุปกรณจําเปน
สําหรบั การปอ งกันการแพรระบาดและรกั ษาผูปว ย โควดิ -19 เพียงพอกับความตอ งการ

นอกจากนี้ ตอ งมมี าตรการปรับโครงสรา งหนี้ใหกับประเทศพัฒนานอยที่สุดและประเทศกําลังพัฒนา
ท่มี รี ายไดน อย เชน ไมต องจายดอกเบ้ียตลอดปนี้ การลดหน้ี การสว็อปหนี้ เปนตน รวมถึงการปลอยเงินกูแก
ประเทศท่ีตองการความชวยเหลือ ซึ่งที่ผานมา องคกรระหวางประเทศ เชน กองทุนการเงินระหวางประเทศ
(IMF) ธนาคารโลก กไ็ ดประกาศปลอยกเู พอ่ื ชวยเหลือประเทศสมาชกิ ใหฝ าวิกฤตคร้ังน้ีไปใหส ําเรจ็

ขณะที่บรรดาธนาคารกลางประเทศสําคัญๆ ของโลก และสถาบันการเงินระหวางประเทศสามารถ
ผนึกกําลังกันเพื่อชวยเพ่ิมสภาพคลองใหกับระบบการเงิน โดยเฉพาะในประเทศกําลังพัฒนาและตลาดเกิด
ใหมไดด วย
มาตรการระดับภูมภิ าค…รอดไปดวยกนั

ในชวงวิกฤต การคาเสรีสินคาและบริการภายในภูมิภาคเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่ง ตองยกเลิกมาตรการ
กีดกันทางการคาทุกรูปแบบท่ีจะสงผลกระทบตอการนําเขาและสงออกยาและอุปกรณเคร่ืองมือทาง
การแพทยท่จี ําเปน รวมถึงตองมรี ะบบที่ชวยใหการขนสง สินคาขา มแดนไปยังประเทศตา งๆ ไดอยางสะดวก

สวนดานการเงิน ควรมีความรวมมือกับสถาบันการเงิน ซึ่งรวมบริษัทประกันเพ่ือหาโซลูช่ันและ
แนวทางเพ่อื ชวยใหภ าคธุรกจิ สามารถฟน ตัวไดห ลงั สถานการณค ล่คี ลายแลว

วิกฤตโควิด-19 ทําใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจชะงัก สะทอนถึงความเปราะบางของซัพพลายเชนและ
การใชทรัพยากรที่ขาดประสิทธิภาพในชวงที่ผานมา ดังน้ันจึงถึงเวลาตองทบทวนเรื่องเหลาน้ีกันใหม
เพื่อสรางความยืดหยุนใหกับระบบซัพพลายเชนและสงเสริมการใชทรัพยากรอยางคุมคาท่ีสุด เชน การให
ความสําคัญและนําแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)ไปปฏิบัติอยางจริงจัง การมีมาตรการ
ดูแลจัดการสภาพภูมิอากาศ และการยกระดับเปาหมายการลดกาซเรือนกระจกของประเทศตางๆ เปนตน
รวมถึงควรมีนโยบายดานสง่ิ แวดลอมแบบเบด็ เสร็จเพ่ือจดั การประเด็นปญหาขามพรมแดน ที่อาจชวยปองกัน
และลดผลกระทบของโรคระบาดระดบั โลกแบบน้ใี นอนาคต ควรมีการวางกรอบนโยบายรวมกัน เชน กําหนด
มาตรฐานสุขอนามัยที่สอดคลองกัน การแกปญหาภัยคุกคามท่ีเก่ียวกับการคาผิดกฎหมาย การเปล่ียนแปลง
ของสภาพภูมอิ ากาศ เปน ตน
มาตรการระดับประเทศ… ไมทง้ิ ใครไวขา งหลงั

มาตรการการคลังท่ีมีเปาหมายชัดเจนเปนส่ิงท่ีจําเปนตองทํา เพ่ือชวยเหลือคนท่ีไดรับผลกระทบ
หนกั ทีส่ ุดจากการแพรระบาดของไวรสั ครงั้ นี้ เพือ่ ใหพวกเขาไดรับบริการทางการแพทยอยางเหมาะสมและใช
ชีวติ ตอไปได เชน การแจกเงินใหผูไดร บั ผลกระทบ การจัดสวัสดิการสังคม การชดเชยรายไดระหวางเจ็บปวย
สวนในระดับผูประกอบการอาจมีการลดหยอนภาษีหรือยืดเวลาเสียภาษี สมทบการจายคาจางพนักงานเพ่ือ
ทาํ ใหบรษิ ัทดาํ เนนิ ธุรกจิ ตอ ไปไดแ ละไมปลดพนกั งานชวงเกดิ วิกฤต

ขณะเดยี วกนั ตองดูแลเร่ืองสิทธมิ นุษยชนและไมเลอื กปฏิบัติ โดยเฉพาะคนกลุมเปราะบางของสังคม
ทีม่ กั ไดร ับผลกระทบหนักที่สุด เชน ทุกคนตองมีสิทธิรับบริการตรวจคัดกรองเช้ือและการรักษากรณีเจ็บปวย

การปอ งกนั และแกไ ขปญหา COVID-19 ดวยชุมชนตําบลบา นตนุ จงั หวัดพะเยา 25

โดยไมม ีการเลือกปฏิบัติ มีการใหขอมูลจําเปนและชัดเจนแกคนทุกกลุมอยางเทาเทียมกัน ใหความชวยเหลือ
ทางการเงนิ แกผ ูพกิ ารและครอบครวั ดูแลคนไรบานและคนกลุมเปราะบางอื่นๆ เพื่อลดความเสี่ยงการติดเชื้อ
และมีการเตรียมมาตรการเปดเรียนหลังวิกฤต ตลอดจนมีนโยบายสงเสริมการจางงานในระยะสั้นและ
ระยะยาวใหค นทกุ กลุมโดยเฉพาะคนรุนหนมุ สาวดวย

ในสว นของผปู ระกอบการ SMEs ตองมีมาตรการชวยเหลือเรงดวนโดยตรงทันที เพ่ือชวยใหทําธุรกิจ
ตอไปได หนวยงานราชการอาจมีการจัดซื้อฉุกเฉินเพื่อสนับสนุนธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม มีมาตรการ
ลดการจา ยสมทบประกันสังคมชวั่ คราว ลดภาษีมูลคา เพม่ิ มีสวนลดภาษี และอาจมีการอุดหนุนเงินทุนเพ่ือให
SMEs สามารถนําไปใชจายคาเชา คานํ้าคาไฟ จายเงินเดือนพนักงาน และใชจายจําเปนอื่นๆ ท้ังนี้ ตองมี
มาตรการเพื่อธุรกิจนอกระบบ ซ่ึงมีสัดสวนสูงถึง 80% ของผูประกอบการทั่วโลก และโดยทั่วไปคนกลุมน้ี
จะไดร บั ประโยชนจากนโยบายภาครัฐ

อกี ภาคสวนท่ีไดรับผลกระทบหนักจากวิกฤต โควิด-19 คือ สถาบันการศึกษาที่ตองปดทําการ ทําให
นักเรยี นนักศกึ ษาตอ งหนั ไปเรียนทางไกลแทน สําหรบั เรอ่ื งนี้ ตองรว มมือกนั คิดคนและจัดหาโซลูชั่นการศึกษา
ทางไกลทมี่ ีประสิทธิภาพ พรอ มชวยใหครูและผูปกครองคุนเคยและบริการจัดการการเรียนท่ีบานไดดีมากขึ้น
ตองมีนโยบายและแนวทางปฏิบัติตางๆ ท่ีทําใหทุกคนมีโอกาสเรียนรูไดเหมือนกัน โดยไมปลอยใหวิกฤต
ซ้ําเตมิ ความเหล่ือมลํา้ ทางการศกึ ษาใหยํา่ แยลงไปอีก

นอกจากน้ี ตองมีมาตรการสงเสริมการกระชับความสัมพันธทางสังคม หลังจากผูคนตองเวน
ระยะหางทางกายเพ่ือลดความเส่ียงการแพรระบาดของไวรัสมาระยะหนึ่ง ดวยการเปดโอกาสใหเขาถึง
แหลงขอ มลู ดานวัฒนธรรมและการศึกษาไดฟ รี เพือ่ ชว ยเยยี วยาความรูสกึ โดดเด่ียวทางสงั คมของผคู นลงได

วิกฤต โควิด-19 คือ ความทาทายครั้งสําคัญของมวลมนุษยชาติ ที่จะพลิกโฉมสรรพส่ิงไปตลอดกาล
ซึ่งหากมีมาตรการรับมือวิกฤตไดดีในทุกขั้นตอน และรวมมือรวมใจปฏิบัติกันอยางจริงจัง ก็เช่ือวา เราจะฝา
วิกฤตครง้ั ใหญค ร้งั น้ีไปได และพรอมจะรบั มือวกิ ฤตอ่ืนๆ ในอนาคตไดอยางดีเชน กนั

การปอ งกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดว ยชุมชนตําบลบา นตนุ จังหวดั พะเยา 26

บทที่ 3
การบรหิ ารจดั การสถานการณการแพรร ะบาดของ (COVID-19 )

การบรหิ ารจดั การและมาตรการการดําเนินการในระดับจังหวัด

จังหวัดพะเยามีการบริหารจัดการและมาตรการการดําเนินการในระดับจังหวัด โดยมีคําส่ัง
คณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดพะเยา วันท่ี 26 มีนาคม ๒๕๖๓ ถึง 1 กรกฎาคม 2563 จํานวนท้ังส้ิน 20
ฉบับ ในเร่ือง มาตรการเรงดวนในการปองกันวิกฤตการณจากโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด 19
และมาตรการตางๆตามสถานการณในขณะน้ัน และมาตรการดําเนินงานควบคุมปองกันโรคติดตออันตราย
การบริหารจัดการสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ แนวทางและมาตรการในการจัดกิจกรรม
ประเพณีวันสงกรานต ป พ.ศ.2563 การบริหารจัดการสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือ (ยกเลิก
ฉบับที่ 2) มาตรการเรงดวนในการปองกันวิกฤตการณสําหรับกิจกรรม พิธีการทางสังคมตามประเพณี มงคล
อวมงคลตางๆ มาตรการเรงดวนในการเฝาระวงั ปองกันและควบคมุ โรคติดตอ มาตรการกักตัวผูที่เดินทางเขา
มาในพ้ืนที่จังหวัดพะเยา มาตรการกักตัวผูท่ีเดินทางเขามาในพื้นที่จังหวัดพะเยา(เพิ่มเติม) มาตรการแยก
เพอื่ สังเกตอาการดว ยตนเอง (Self Quarantine) ผทู ่ีเดนิ ทางเขามาในพ้ืนทจี่ ังหวดั พะเยา

จงั หวดั พะเยา มผี ตู ิดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 หรือ โควิด 19 จํานวน 3 คนและมีการรักษาหาย2 ราย
และเสียชีวิต 1 ราย ขอมูล ณ วันท่ี 12 กรกฎาคม 2563 ไมพบผูติดเช้ือต้ังแตวันท่ี 7 เมษายน 2563 รวม
96 วัน นับวาประสบความสําเร็จในการดําเนินการปองกันและควบคุมโรคไดดียิ่ง ดวยความรวมมือจากทุก
ภาคสว นในจงั หวดั พะเยา

นอกจากนีก้ ารชวยเหลือ การเยียวยา ผูประสบปญหาทางสังคมจังหวัดพะเยาน้ัน หนวยงานในสังกัด
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย รวมถึงภาคีเครือขายภายนอกกระทรวง ท้ังภาครัฐและ
ภาคเอกชนที่ดําเนินงานชวยเหลือ ผูประสบปญหาทางสังคมจังหวัดพะเยา ทุกหนวยงานรวมกันขับเคลื่อน
ภารกิจดานสวัสดิการสงั คมและสังคมสงเคราะห ในดานการสงเคราะหและคุมครองสวัสดิภาพ การจัดบริการ
ทางสังคมท่ีเก่ียวกับการปองกัน แกไขปญหา การพัฒนา และการสงเสริมการเขาถึงสิทธิและความมั่นคงใน
ชีวิตและทรัพยสิน ใหความชวยเหลือ ผูประสบปญหาทางสังคมในภาวะวิกฤติเรงดวนตามสถานการณ
ใหการชวยเหลอื คุมครองสวสั ดภิ าพ และจัดบริการสวสั ดิการสังคมสําหรับทุกกลุมเปาหมาย ไมวาจะเปน เด็ก
เยาวชน สตรี ผูดอยโอกาส รายไดนอย ไรที่พ่ึง เรรอน และกลุมเปาหมายอ่ืนๆ ที่ประสบปญหาทางสังคมใน
ภาวะการแพรร ะบาด ของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรอื (COVID-19 )

โดยทุกหนวยงานจะไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกรม กระทรวงตนสังกัดและมีการดําเนินการ
ภายใตระเบียบการดําเนินงานของแตละงาน เพื่อรวมกันดําเนินการในการปองกันและแกไขปญหา
(COVID-19 ) อยา งเตม็ ที่

การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตุน จงั หวดั พะเยา 27

การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตุน จงั หวดั พะเยา 28

การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตุน จงั หวดั พะเยา 29

การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตุน จงั หวดั พะเยา 30

การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตุน จงั หวดั พะเยา 31

การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตาํ บลบา นตนุ จงั หวัดพะเยา 32

การบรหิ ารจัดการและมาตรการการดําเนนิ การในระดบั ชมุ ชน
การจดั การในการดาํ เนินงาน ปอ งกนั และแกไ ขปญ หา COVID – 19 ดว ยชมุ ชน

แนวนโยบายและระเบียบปฏิบตั ิ

การดําเนนิ งานปองกันและแกไขปญหา COVID -19 ดวยชุมชน
ตาํ บลบา นตุน อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

ดว ยสถานการณก ารระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) มีแนวโนมการแพรระบาด
ที่เพ่ิมมากขึ้น ดังน้ัน เพ่ือเปนการปองกัน และลดความเสี่ยงในการแพรระบาดเขาสูหมูบานและชุมนุมของ
ตําบลบานตุน อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ตลอดจนเพ่ือปองกันกลุมผูสูงอายุซ่ึงเปนกลุมเส่ียงที่งายตอ
การติดเช้ือที่อยใู นหมูบา นและชุมชน แจงเทศบาลฯ ดาํ เนนิ การในการคนหาและเฝาระวังคนในพื้นที่ท่ีมีความ
เสี่ยงตอการติดเชื้อโควดิ -19 ทุกแหง ในตําบล ดงั นี้
1. ขอ มลู พน้ื ฐานประชากร

-ขอ มลู ชมุ ชน จํานวน 11 ชุมชน/หมูบ าน ไดแ ก
หมทู ่ี 1 บานตนุ ใต
หมทู ่ี 2 บา นตุนกลาง
หมทู ี่ 3 บา นตุน กลาง
หมทู ่ี 4 บา นบัว
หมทู ี่ 5 บา นหวยหมอ
หมูท่ี 6 บานหวยลึก
หมูท ี่ 7 บา นตุนใต
หมทู ี่ 8 บา นสันกวา น
หมูที่ 9 บานเหลา
หมูท ่ี 10 บา นทุงก่วิ
หมูท ่ี 11 บานหว ยลึก

-จํานวนประชากร 4,837 คน ชาย 2,355 คน หญิง 2,437 คน ผสู งู อายุ 1,182 คน
-จาํ นวนครวั เรือน 1,919 ครัวเรือน
ขอ มลู ผปู ระสบปญหาความเดือดรอน

ท่ี ประเภท จํานวน หมายเหตุ
1 จาํ นวนผูม บี ัตรสวสั ดิการแหง รัฐ (คน)
2 จํานวนมารดาทร่ี ับเงนิ โครงการเงินอุดหนุนเด็กแรกเกดิ ไมม ีขอ มูล
3 จํานวนผูสูงอายทุ ีร่ ับเงนิ เบี้ยยังชพี ผสู ูงอายุ
4 จํานวนคนพกิ ารทร่ี บั เงินเบ้ยี ยังชพี คนพิการ 66
5 ผูประสบปญหาความเดือดรอน ยากลําบาก ในการครองชีพ 1,162
6 เด็กและเยาวชนอยใู นสภาวะยากลาํ บาก
233
65
15

การปองกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชุมชนตําบลบา นตนุ จงั หวดั พะเยา 33

ที่ ประเภท จาํ นวน หมายเหตุ
7 เด็กออกจากโรงเรยี นกลางคัน (คน)
8 เด็ก เยาวชน มีพฤติกรรมเสี่ยงตอ การกระทําผิด
9 มารดาวัยรนุ 1
10 มารดาเล้ียงเดี่ยว 3
11 ครอบครัวแหวง กลาง(ปูยา ตายาย หรือ ญาติ ดแู ลแทนบิดา 2
3
มารดา) 8
12 ครอบครัวประสบปญหาความรนุ แรงในครอบครัว
13 ผูส งู อายอุ าศยั อยตู ามลําพัง 5
14 ผปู ว ยติดเตยี ง 55
15 ผูปว ยเรอ้ื รัง 5
16 คนพกิ าร 430
17 คนเรร อ น ไรทพี่ ่งึ 232
18 กลุมชาติพนั ธ(ุ ระบุ.....) 1
19 ผูประสบปญ หาทางสงั คมอื่นๆ(ระบ.ุ ....)
-
-

2. ขอ มลู สถานการณ ในการดาํ เนินงาน ปอ งกันและแกไขปญหา COVID -19 ดวยชุมชน
- จาํ นวนผปู ว ย COVID -19 ในพ้นื ที่บา นตนุ ไมพบผูปวยในพืน้ ที่
- จํานวนผูท่มี ีการดําเนินการในการกกั ตัว (State Quarantine )……1…………..คน
- สถานทรี่ องรบั การกักตวั (State Quarantine )………1………..แหง ไดแก สถานทร่ี องรบั การกกั ตัว
อบต.บานตนุ
- จํานวนผูไดร ับผลกระทบจากสถานการณ COVID -19 จาํ นวน..........35..........คน

๓. การจัดการในการดาํ เนนิ งาน ปอ งกนั และแกไ ขปญ หา COVID -19 ดว ยชุมชน
3.1 แนวนโยบายและระเบียบปฏบิ ัตใิ นการดําเนนิ การปอ งกนั และแกไขปญหา COVID -19 ดวยชุมชน
การเฝาระวังการแพรระบาด การรณรงคสวมหนากากอนามัย การลางมือดวยแอลกอฮอล

การจัดตั้งสถานที่รองรบั การกักตัว และการเขม งวดการจัดงานในชุมชน
3.2 รปู แบบ แนวทางและขั้นตอนการดําเนินงานการปองกนั และแกไขปญหา COVID -19 ดวยชมุ ชน
1. มีการกักตัวผูทีเ่ ดนิ ทางมาจากตางถน่ิ ระยะเวลา 14 วนั
2. มี อสม.รว มกบั ทอ งที่ ทองถน่ิ และ รพ.สต.เฝา ปอ งกนั การแพรระบาด
3. การสอนประชาชนทําหนา กากอนามัยเพอื่ ใชเ อง
4. การอบรมใหความรแู กป ระชาชน
3.3 งบประมาณในการดําเนินงานการปองกนั และแกไ ขปญหา COVID -19 ดว ยชุมชน
ใชงบประมาณจากองคการบริหารสวนตําบลบานตุน เพื่อจัดซื้อเจลลางมือ หนากากอนามัย

การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ ( เคร่ืองวัดไข ) การจายคาตอบแทนบุคลากรท่ีปฏิบัติงาน ในสถานรองรับที่กักตัว
จา ยเปนคา อาหารกักตวั จํานวน 150,000 บาท

การปอ งกนั และแกไ ขปญหา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตําบลบา นตนุ จังหวัดพะเยา 34

3.4 ผลการดาํ เนินงานการปองกนั และแกไขปญ หา COVID -19 ดว ยชุมชน
ไดร บั ความรว มมือเปน อยา งดีจากภาคีเครือขายในตาํ บลในการปองกันการแพรระบาดของโรค โดย
ไมป รากฏผูติดเชื้อในพ้นื ที่
3.5 ทรัพยากรและทุนทางสังคมในการรวมดําเนินงานการปองกันและแกไขปญหา COVID -19 ดวย
ชุมชนไดแก ภาคีเครอื ขายในชุมชนประกอบดว ย อปท. หนวยงานในพื้นท่ี ฝา ยปกครองและประชาชนในพนื้ ที่
3.6 ปจจัยความสําเรจ็ ในการดําเนินงานการปองกันและแกไขปญหา COVID -19 ดวยชมุ ชน
ความรว มมือของภาคีเครือขา ยในพื้นที่
3.7 ปญ หาและอปุ สรรคในการดําเนนิ งานการปองกนั และแกไขปญ หา COVID -19 ดว ยชมุ ชน
ขาดงบประมาณในการดําเนนิ การ และแนวทางในการปฏบิ ัติยังไมช ัดเจนทาํ ใหเจา หนา ที่ อปท.
ไมกลาดําเนินการ เชน การจัดซอ้ื จดั จางวสั ดุอุปกรณทางการแพทย เปน ตน
3.8 ขอ เสนอแนะในภาพรวมตอ การดําเนินงานการปองกันและแกไขปญหา COVID -19 ดว ยชุมชน
ภาครัฐควรจดั สรรงบประมาณในการปองกันและแกไขปญหา COVID -19 ใหแก อปท.เพื่อให
สะดวกแกการเบิกจา ยและรวดเรว็

การปอ งกนั และแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตุน จงั หวดั พะเยา 35

การปอ งกนั และแกไขปญหา COVID-19 ดว ยชมุ ชนตําบลบา นตุน จังหวดั พะเยา 36

บทท่ี 4
ผลสําเร็จของการดําเนนิ งานในระดบั พ้นื ท่ี

ตาํ บลบา นตนุ อาํ เภอเมอื งพะเยา จังหวดั พะเยา มีการดาํ เนินการในการปอ งกัน และลดความเส่ียงใน
การแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ซึง่ มีแนวโนม การแพรร ะบาดที่เพ่ิมมากขึ้น ไมให
เขา สหู มูบา นและชมุ ชน ตลอดจนเพอื่ ปองกันกลมุ ผสู ูงอายซุ ง่ึ เปนกลุมเส่ียงท่ีงายตอการติดเช้ือท่ีอยูในหมูบาน
และชุมชน มีการดําเนินการในการคนหาและเฝาระวังคนในพ้ืนที่ ที่มีความเสี่ยงตอการติดเช้ือโควิด-19
ทุกแหงในตําบล ในชวงที่มีสถานการณการระบาดของโรค โดยมีการดําเนินงานการปองกันและแกไขปญหา
(COVID-19 ) ดวยชุมชน ไดแก
การดาํ เนินงานการปอ งกันและแกไขปญหา COVID-19 ดวยชมุ ชน

1. กจิ กรรมการตดั เยบ็ หนา กากอนามยั (ผา แมส) จากสมาชกิ ของชุมชนทกุ คน โดยไดรับการสนับสนุน
งบประมาณโดย องคการบริหารสวนตําบลบานตุน ดําเนินงานโดย กองสวัสดิการสังคมและกองสาธารณสุข
องคการบริหารตําบลบานตุน พรอ มดวยเครอื ขา ยชุมชนเชน กลุม สตรแี มบ าน และกลุมผูส ูงอายุ

2. จดั ใหมเี สยี งไรส ายขององคการบริหารตําบลบานตุน และเสียงตามสายในชุมชน ใหความรูในการ
ระวังและปองกนั เก่ียวกับโรคโควิด-19 โดยเนนการปฏิบัติตามแนวทางที่กระทรวงสาธารณสุขไดกําหนดหรือ
แนะนาํ ไว โดยไดรบั การประชาสมั พนั ธโดยตัวแทนสภาเดก็ และเยาวชนตําบลศรีเตี้ย,เจาหนาท่ีประชาสัมพันธ
องคการบรหิ ารตําบลบานตุน

3.จัดมอบเบ้ียยังชีพใหแก ผูสูงอายุ คนพิการ โดยวิธีเนนเสี่ยงตอ Social Distancing โดยให
ผสู งู อายุ คนพิการ รอรับเบ้ียยังชีพอยูท่ีบาน และองคการบริหารตําบลบานตุน ไดจัดทีมเจาหนาท่ีลงพื้นท่ีได
โยจดั ใหมีการใสหนา กาก /ลา งมอื ดวยเจลและแอลกอฮอล ทง้ั ผใู หและผูรับ

4.ในงานพิธศี พ เนนการจัดงานใหเรียบงายใหเรียบรอยและมีระยะเวลาใหนอยท่ีสุด โดยเนนใชหลัก
Social Distancing คือ จัดระยะหางระหวางเกาอี้ไมนอยกวา 1 เมตร / ใชเจลแอลกอฮอลลางมือ /
จัดอาหารและน้ําดื่ม โดยเนนการใชเฉพาะบุคคลไมใ ชนงั่ ลอ มวงกนั เหมือนที่ผานมา(เปนขาวกลอง)

5. สภาเด็กและเยาวชนตําบลบานตุน (องคกรสาธารณะประโยชน) ลงมอบผาแมสปดจมูก ใหกับ
ผสู ูงอายแุ ละคนพิการในพื้นที่องคการบรหิ ารตําบลบานตุน

ทศิ ทางการพฒั นาในอนาคต
จากสถานการณการแพรระบาดเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่เกิดข้ึน ทําใหสภาพเศรษฐกิจในประเทศไทย
ชะลอตัว สงผลกระทบตอระบบสังคมและระบบเศรษฐกิจ ไมวาจะเปนผูประกอบการรายใหญ รายยอย
ลกู จางทว่ั ไป พอ คา แมคา เกษตรกร ชาวไร ชาวนา นักเรียนนักศึกษา หรือแมแตพนักงานประจํา ลวนไดรับ
ผลกระทบดว ยกันท้ังส้นิ แตห ากเรามองใหดี สถานการณในครั้งน้ีไดมอบบทเรียนสําคัญใหเราทุกคน มีสติ ไม
ประมาท และเริ่มตนวางแผนชีวิต การงาน สําหรับการเตรียมความพรอมเมื่อเกิดสถานการณฉุกเฉินขึ้น
อีกครั้ง ในยุค New Normal ภายหลังผานวิกฤติโควิด-19 ชีวิตของเราทุกคน รวมท้ังการทํางานจะตอง
เปล่ียนแปลงไป ไมเหมือนเดิม สิ่งสําคัญในการทํางาน คือ การทํางานเปนทีมและบูรณาการการทํางานกับ

การปอ งกนั และแกไ ขปญหา COVID-19 ดวยชุมชนตาํ บลบา นตนุ จังหวัดพะเยา 37

เครือขายทุกภาคสวน อาจจะตองรักษาระยะหางทางสังคม สรางพลังใจใหทีมงานใหพรอม ฟนฝาอุปสรรค
ตา งๆท่ีตอ งเผชิญรว มกัน กาวเดินรว มกนั อยางมีความสขุ ดวยความหวังและพลังใจเพ่ือกาวขามผานทุกปญหา
และทกุ อุปสรรค

“ชวงที่รัฐบาลมีการคลายล็อก พนักงานทยอยกลับเขามาทํางาน หนวยงานยังตองคงนโยบายเดิมที่
ทํามาต้ังแตชวงที่มีการระบาด ปองกันตนเองไมใหรับและแพรเชื้อใหคนอื่น การท่ีจะตองใสหนากากอนามัย
มาทีท่ ํางาน ในระหวางทาํ งาน การลางมอื เวลาจบั สัมผัสพื้นที่ตางๆ ในสถานที่ทํางาน พื้นที่ใชรวมกัน ส่ิงของ
ท่ีใชร วมกนั การวัดอณุ หภมู ิกอนเขา ท่ที ํางาน การสังเกตอาการ วามีอาการไมสบาย เจ็บปวย หรือคนท่ีบานท่ี
มอี าการเจบ็ ปว ย ตอ งรายงานหัวหนา หนว ยงาน การแยกตนเองออกจากผอู ื่น และควรรีบไปพบแพทย เพื่อรับ
การตรวจวินจิ ฉยั ตอ ไป”

“ท่สี าํ คัญ พนักงานทไ่ี มไดเดินทางดว ยพาหนะสวนตัว ใชร ะบบขนสง สาธารณะตองดูวา นโยบายของ
การขนสงสาธารณะน้ันๆ ใชมากนอยแคไหน มีการเวนระยะหางหรือไม ตองระวัง แมกระท่ังหองน้ํา ลิฟท
สาธารณะ ในอาคารทท่ี าํ งาน เปนส่งิ ทเี่ ราตองปฏิบัติตอไป”

การปอ งกนั และแกไ ขปญหา COVID-19 ดวยชุมชนตําบลบา นตุน จงั หวัดพะเยา 38

New Normal คืออะไร?
New Normal คือ ความปรกติใหม หรือฐานวิถีชีวิตใหม ซึ่งหมายถึง รูปแบบการดําเนินชีวิตอยาง

ใหม ท่ีแตกตางจากอดีตเพราะไดรับผลกระทบจากบางสิ่ง บางเหตุการณ จนแบบแผนและแนวทางที่คุนเคย
เกิดการเปล่ียนแปลงสูวิถีชีวิตใหม เม่ือเวลาผานไปจะทําใหเกิดความคุนชิน และกลายเปนสวนหนึ่งของวิถี
ชวี ติ ปรกติ
ที่มาของ New Normal

New Normal ถูกใชคร้ังแรกโดยบิลล กรอส (Bill Gross) ผูกอตั้งบริษัทบริหารสินทรัพยชาว
อเมริกัน โดยใชอธิบายสภาวะเศรษฐกิจโลก หลังจากเกิดวิกฤติเศรษฐกิจแฮมเบอรเกอร ในสหรัฐฯ ชวง
ระหวางป 2007-2009 และถูกนํามาใชสําหรับการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ถดถอยลง และมีโอกาสที่จะไม
กลับมาเติบโตถงึ ระดบั เดมิ ไดอ กี
พฤติกรรมแบบ New Normal

1. การใชเ ทคโนโลยี และอินเทอรเนต็
เทคโนโลยีควบคูก บั อินเทอรเน็ตจะเขา มามบี ทบาทกบั การใชชีวิตมากขึ้น ท่ีจากเดิมมีมากอยูแลว แต
ในสังคมยุค New Normal สิ่งเหลาน้ีจะเขาไปอยูในแทบทุกจังหวะชีวิต ไมวาจะเปน การเรียนออนไลน การ
ทํางานท่ีบาน การประชุมออนไลน การซ้ือสินคาออนไลน การทําธุรกรรม และการเอ็นเตอรเทนชีวิตรูปแบบ
ตางๆ อยา งดหู นัง ฟง เพลง
2. การเวนระยะหา งทางสังคม
ผูคนในสังคมจะเห็นความสําคัญของการเวนระยะหางท่ีเปนแนวทางการใชชีวิตชวงวิกฤติโควิด-19
และจะดําเนินชีวิตแบบน้ันตอไป โดยรักษาระยะหางทางกายภาพเพ่ิมขึ้น และใชเทคโนโลยีเขามามีสวนชวย
ในการส่ือสารและการใชชีวิต ลดการปฏิสัมพันธ การไปในสถานที่สาธารณะ และเนนการทํากิจกรรมที่บาน
มากขึน้
3. การดแู ลใสใจสุขภาพทงั้ ตัวเองและคนรอบขาง
โดยเกิดความคุนชินจากชวงวิกฤติโควิด-19 ที่ตองดูแลดานสุขภาพและความสะอาดเพ่ือปองกันการ
แพรเชือ้ ดงั นน้ั พฤติกรรมการใชหนากากอนามัย เจลแอลกอฮอล และการลางมืออยางถูกวิธี และหม่ันสังเกต
ตัวเองเมื่อไมสบายจะยังคงมีตอไป รวมถึงการหันมาใสใจสุขภาพ การออกกําลังกาย และการทําประกัน
สขุ ภาพจะมีแนวโนม มากข้นึ
4. การใชเ งินเพอ่ื การลงทุน
ยุค New Normal เปนจังหวะที่ผูคนยังระมัดระวังการลงทุนใหมๆ และลดการใชจายฟุมเฟอย
เพราะแนวโนมเศรษฐกจิ ยังไมแนนอน
5. การสรางสมดุลชีวติ
การมีโอกาสไดทํางานที่บาน ลดจํานวนวันการเขาทํางานในสํานักงาน หรือการลดการพะปะผูคนใน
สังคม แลวหันมาใชชีวิต และทํางานท่ีบาน ทําใหผูคนมองเห็นแนวทางท่ีจะสรางสมดุลชีวิตระหวางอยูบาน
มากขน้ึ และจะเปนแนวทางในการปรับสมดุลชวี ติ ระหวางเวลาสว นตัว การงาน และสงั คมใหส มดลุ มากย่งิ ขน้ึ

การปองกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดวยชุมชนตําบลบา นตุน จงั หวัดพะเยา 39

ประชาชนคนทํางาน
1. การรกั ษาระยะหางในที่ทํางาน คนทํางานที่เปล่ียนจากการทํางานท่ีบาน และกลับมาเขาทํางาน

ท่ีสํานักงาน ยังคงคุนเคยกับการปฏิบัติแบบรักษาระยะหางเพื่อลดความเสี่ยงการติดเช้ือไวรัส และยังคงเห็น
ความสําคัญจากการดูแลสขุ ภาพในทีท่ ํางานมากข้ึน

2. ใชเทคโนโลยีชวยทํางานมากย่ิงข้ึน จากการรักษาระยะหางทางสังคมและการ work from
home ท่ีเคยปฏิบัติจนเคยชิด ทําใหเทคโนโลยีเขามามีบทบาทในการทํางาน โดยเฉพาะอินเทอรเน็ต และ
แอปพลิเคชนั ตา งๆ เชน การประชุมงาน การสงงาน

3. มีการพัฒนาทักษะผา นคอรสออนไลน ในการทํางานชวงโควิด-19 ทําใหผูคนบางกลุมถูกเลิกจาง
หรือถูกลดเงินเดือน การพัฒนาตัวเองเพื่อใหมีความสามารถ และเปนผูเช่ียวชาญตามที่ตลาดแรงงานยัง
ตองการจึงมีความสําคัญ ดังนั้นการเรียนรูอยูตลอดเวลา เพื่อพัฒนาความรู ทักษะ และประสบการณ ผาน
ชอ งทางออนไลน จงึ เปน ทางเลอื กของพนกั งานทท่ี ําใหไดพฒั นาตวั เองพรอมกบั ทยี่ งั ทํางานประจาํ ไดอยู

New Normal ในวันนี้อาจเปนแนวทางในการปรับตัวใหเขากับสถานการณท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต
และจะกลายเปนคําที่ถูกพูดถึงอยางปรกติวิธีในอนาคตเหมือนกับที่เคยเกิดขึ้นแลวในวิกฤติตางๆ กอนหนาน้ี
แตก ารเตรียมพรอมและตั้งรับอยางดียังเปนสิ่งสําคัญท่ีจะทําใหท้ังธุรกิจและชีวิตสามารถดํารงอยูไดไมวาจะมี
อกี ก่วี กิ ฤติผา นเขา มา

การปอ งกันและแกไขปญ หา COVID-19 ดว ยชุมชนตําบลบา นตนุ จังหวัดพะเยา 40

บทที่ 5
สรปุ ผลการศึกษาและขอ เสนอแนะ
สรุปผลการศึกษา

สถานการณในการ “การปองกันและแกไขปญหา (COVID-19 ) ดวยชุมชน” การชวยเหลือ
การเยียวยา ผูประสบปญหาทางสังคมจังหวัดพะเยาน้ัน หนวยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย รวมถึงภาคีเครือขายภายนอกกระทรวง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่ดําเนินงาน
ชวยเหลือ ผูประสบปญหาทางสังคมจังหวัดพะเยา ทุกหนวยงานรวมกันขับเคลื่อนภารกิจดานสวัสดิการ
สังคมและสังคมสงเคราะห ในดานการสงเคราะหและคุมครองสวัสดิภาพ การจัดบริการทางสังคมที่เก่ียวกับ
การปองกัน แกไขปญหา การพัฒนา และการสงเสริมการเขาถึงสิทธิและความม่ันคงในชีวิตและทรัพยสิน
ใหความชวยเหลือ ผูประสบปญหาทางสงั คมในภาวะวกิ ฤตเิ รง ดว นตามสถานการณ ใหการชวยเหลือคุมครอง
สวัสดิภาพ และจัดบริการสวัสดิการสังคมสําหรับทุกกลุมเปาหมาย ไมวาจะเปน เด็ก เยาวชน สตรี
ผูดอยโอกาส รายไดนอย ไรที่พ่ึง เรรอน และกลุมเปาหมายอื่นๆ ที่ประสบปญหาทางสังคมในภาวะการแพร
ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หรอื (COVID-19 ) โดยทุกหนวยงานจะไดรับงบประมาณสนับสนุน
จากกรม กระทรวงตนสังกัดและมีการดําเนินการภายใตระเบียบการดําเนินงานของแตละงาน เพ่ือรวมกัน
ดาํ เนินการในการปอ งกนั และแกไขปญหา (COVID-19 ) อยางเตม็ ท่ี

การพฒั นา“การปอ งกนั และแกไขปญหา COVID-19 ดวยชุมชน” ปจจัยท่ีสําคัญในการดําเนินการ
คือ การส่ือสารที่มีประสิทธิภาพและระบบภาคีเครือขายในการทํางานอยางมีสวนรวม เพื่อใหชุมชนสามารถ
สรางการรับรู และสรางความเขาใจรวมกันและสามารถนําไปปฏิบัติตามไดอยางถูกตอง ท้ังในระดับบุคคล
ครอบครัว ชุมชน หนวยงาน เน่ืองจากภาวะการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือ
(COVID-19 ) เปนส่ิงท่ีไมเคยเกิดขึ้นและแพรระบาดอยางรวดเร็วไปทั่วโลก มีผูคนติดเช้ือและเสียชีวิตเปน
จํานวนมาก ประชาชนสว นใหญต างมคี วามหวาดกลัวการติดเช้ือ และพรอมใหความรวมมือในการดําเนินการ
อยา งเขม งวดตามมาตรการของภาครัฐ ซ่ึงการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพและระบบภาคีเครือขายในการทํางาน
อยางมีสวนรวม เปนแนวคิดสําหรับการพัฒนาการดําเนินการในการปองกันและแกไขปญหาโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 หรอื (COVID-19 ) ไดอยางย่งั ยืน

นอกจากน้ี การทํางานภายใตมาตรการและนโยบายที่ชัดเจนจากภาครัฐ และการดําเนินการตาม
มาตรการของภาครัฐและจังหวัดอยางเครงครัด โดยจังหวัดพะเยา มีคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดพะเยา
มีการจัดตั้งศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 ) ศูนยขาว
โควิด19 พะเยา ศูนยขอมูล (COVID-19 ) ซ่ึงเปนการบูรณาการทํางานจากทุกภาคสวนท่ีเก่ียวของ เพื่อสราง
ความเปนเอกภาพ ชัดเจน ในการทํางาน การส่ือสาร ประชาสัมพันธ และการประสานความรวมมือในการ
ปองกันและแกไขปญหาการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด 19 อยางเขมแข็งและ
ตอเนื่อง มีการรายงานสถิติ ประกาศ ขาวสาร สรุปมาตรการตางๆ อยางตอเนื่อง รวดเร็วทันตอสถานการณ
วนั ตอวัน การรบั เร่ืองรองเรยี น แจง เหตุ โดยการบูรณาการการทํางานจากทกุ ภาคสวน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาชน ท้งั ในระยะทมี่ กี ารแพรร ะบาดของโรค ระยะของการบังคับใชมาตรการตางๆอยางเขมงวด
ในชว งลอ คดาวน จนกระท่ังเขาสูก ารผอ นคลายมาตรการตางๆลง เพ่ือการส่ือสาร การสรางความเขาใจอยาง
มีประสิทธิภาพ นําไปสูการรับรู ความเขาใจ และการปฏิบัติตามอยางเครงครัด และตอเน่ือง เริ่มจาก

การปองกันและแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชุมชนตําบลบา นตุน จงั หวดั พะเยา 41

มาตรการท่ชี ัดเจนของรัฐบาลในระดบั ประเทศ ระดับจังหวัด ระดับอําเภอ นําไปสูระดับชุมชน เปนการสราง
การรับรู สรางความเขาใจ แนวทางในการปฏิบัติตนและดําเนินการรวมกัน สงผลใหการปองกันและแกไข
ปญหา (COVID-19 ) ดวยชุมชน เปนไปอยางดีเยี่ยมและมีประสิทธิภาพ อีกท้ังมีการประสานความรวมมือ
และการใหค วามรวมมอื จากทกุ ภาคสวนอยางเตม็ ท่ี

ขอ เสนอแนะ
1. รัฐบาลและหนวยงานตางๆรวมถึงชุมชน ควรมีการเตรียมความพรอม เพ่ือรองรับกรณีการแพร
ระบาดของโควิด-19 คล่ีคลายลง ใหทุกภาคสวน รวมถึงประชาชนทุกคนมีความพรอมเดินหนาตอไป เพื่อให
สามารถดูแลตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม รวมไปถึงการแขง ขนั กบั ประเทศอืน่ ๆ ท่ัวโลก
2. รัฐบาลและหนวยงานตางๆท่ีเกี่ยวของ ควรมีนโยบายในการชวยเหลือประชาชนทุกคนและภาค
ธุรกจิ ใหมากท่ีสดุ ครอบคลมุ ทุกกลมุ เปา หมายเพ่ือเยียวยาประชาชนและภาคธรุ กจิ อยางเทาเทียมและทวั่ ถงึ
3. รัฐบาลและหนวยงานตางๆรวมถึงชุมชน ควรมีการเตรียมความพรอม เพื่อรองรับวิกฤติและ
สถานการณต า งๆท่ีอาจเกิดขึ้นในอนาคต.

การปองกนั และแกไขปญหา COVID-19 ดวยชุมชนตาํ บลบา นตนุ จงั หวดั พะเยา 42

ภาคผนวก

การปอ งกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตนุ จังหวัดพะเยา 43
ภาพกิจกรรมองคก ารบริหารสวนตําบลบา นตุน

วนั ศุกรที่ 13 มนี าคม 2563
ณ หองประชมุ องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลบานตุน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการตัดเย็บหนากากอนามัย(ผาแมส) จากสมาชิกของชุมชนทุกคน โดยไดรับ
การสนับสนนุ งบประมาณโดย องคก ารบริหารสวนตําบลบานตุน ดาํ เนินงานโดย กองสวัสดิการสังคมและกอง
สาธารณสุของคการบริหารสวนตําบลบานตุน พรอมดวยเครือขายชุมชนเชน กลุมสตรีแมบาน และกลุม
ผูสงู อายุ

การปอ งกนั และแกไ ขปญ หา COVID-19 ดวยชมุ ชนตําบลบา นตุน จังหวดั พะเยา 44

กจิ กรรมท่ี 2 จดั ใหม ีศนู ยค ัดกรอง แยกกกั กักกัน คุมไวสังเกตอาการ กรณีการระบาดของโรคติดตอ
เช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธใหม 2019 (COVID-19) โดยเนนการปฏิบัติตามแนวทางท่ีกระทรวงสาธารณสุขได
กาํ หนดหรือแนะนาํ ไว ในพื้นทต่ี ําบลบา นตุน อําเภอเมอื งพะเยา จังหวดั พะเยา


Click to View FlipBook Version