รายงาน
กฬี าเปตอง
เสนอ
อาจารย์ ณฏั ฐ์ณดิ า นพพรวณชิ กลุ
จดั ทำโดย ม.4/6 เลขท่ี 20
ม.4/6 เลขท่ี 24
นางสาวกษมา ตนั ติพงศ์ ม.4/6 เลขท่ี 26
นางสาวญาดา ขนานทอง ม.4/6 เลขที่ 28
นางสาวธนาพร ภตู าโก ม.4/6 เลขที่ 30
นางสาวธันยนันท์ ธนพชรพัชร์ ม.4/6 เลขท่ี 36
นางสาวนธิ นิ นั ท์ สวยสอาด ม.4/6 เลขท่ี 38
นางสาวปุณฑรกิ มงุ คณุ แสน ม.4/6 เลขท่ี 42
นางสาวพทิ ยาภรณ์ วงศ์สถติ วทิ ยา
นางสาวอนนั ตญา บญุ บรรเทงิ
รายงานนีเ้ ปน็ สว่ นหนึ่งของวิชาพลศึกษา (พ31202)
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สงิ หเสน)ี ๒
ก
คำนำ
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาพลศึกษา (พ31202) จัดทำข้ึนเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
ของวิชาพลศึกษา เป็นการจัดทำข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับกีฬาเปตองสากล ไม่ว่าจะเป็นประวัติความเป็นมา กติกา
วิธีการเล่น การวัดระยะและการวัดคะแนนของกีฬาเปตอง เพื่อให้ผู้ที่สนใจศึกษาและสนใจในการเล่นกีฬา
เปตองไดท้ ราบถึงรายละเอยี ดทเี่ กีย่ วข้องต่างๆ สามารถนำไปฝกึ ฝนทกั ษะดา้ นการเลน่ กีฬาเปตองไดเ้ ปน็ อย่างดี
คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการหาความรู้ได้อย่าง
มีประสทิ ธภิ าพของผอู้ า่ น นกั เรยี น ครู อาจารย์ และผ้ทู ่ีกำลังหาข้อมูลหรือสนใจในเร่ืองกีฬาเปตอง ขอขอบคุณ
ข้อมูลบนเว็ปไซต์ที่สามารถทำให้การจดั ทำรายงานเล่มนี้สำเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี หากมีความผิดพลาดประการใด
คณะผจู้ ัดทำขออภัยมา ณ โอกาสนี้
คณะผูจ้ ัดทำ
สารบญั ข
คำนำ หน้า
สารบัญ
คำตรสั ของ สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี ก
1. ประวตั คิ วามเปน็ มากีฬาเปตองสากล ข
2. กตกิ ารของกีฬาเปตองสากล ค
3. วธิ กี ารเลน่ 1
4. ทกั ษะและวิธีการเลน่ เปตอง 3
5
1. การจบั และบังคับลูกเปตอง
2. การโยนลกู 12
3. วธิ กี ารเข้าลูก 15
5. การวัดระยะและการวัดคะแนน 17
6. จดุ เดน่ และประโยชน์ของกีฬาเปตอง 18
1. จุดเดน่ ของกฬี าเปตอง 22
2. ประโยชน์ของกีฬาเปตอง 22
22
- พฒั นาทางดา้ นร่างกาย
- พฒั นาการทางดา้ นสตปิ ัญญา 24
- พัฒนาทางด้านจิตใจ
- พฒั นาทางดา้ นสงั คม
บรรณานกุ รม
ค
“เปตองเป็นยาวเิ ศษสำหรับฉนั ”
คำตรสั ของสมเดจ็ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี หรอื สมเด็จย่าของปวงชนชาวไทย
พระองคโ์ ปรดการเลน่ กฬี าเปตองเปน็ อย่างยง่ิ
1
1. ประวัตคิ วามเป็นมากีฬาเปตองสากล
เปตองเปน็ กีฬาที่มีมาแต่ดึกดำบรรพ์ ประวัติทแ่ี นน่ อนไม่มบี ันทึกไว้ แตห่ ลักฐานการเล่าสืบต่อ ๆ
กันมาว่า กำเนิดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศกรีซเมื่อประมาณ 2,000 ปี ก่อนคริสตกาล โดยเก็บก้อนหินที่เป็น
ทรงกลมจากภูเขาและใต้ทะเลมาเล่นกัน วิธีการเล่นคือ ใครจะโยนไอ้แม่นและไกลที่สุดกว่ากัน ต่อมากีฬา
ประเภทนี้ได้แพร่หลายเข้ามาในทวีปยุโรป เมื่ออาณาจักรโรมันครองอำนาจ และเข้ายึดครองดินแ ดน
ชนชาวกรีกได้สำเร็จ ชาวโรมันก็ได้รับเอาวัฒนธรรม และการเล่นกีฬาประเภทนี้ไปจากชนชาวกรีกด้วย ต่อมา
ชาวโรมันได้ใช้การเล่นกีฬาประเภทนี้เป็นเครื่องทดสอบกำลังข้อมือและกำลังกายของผู้ชายในสมัยน้ัน
ครั้นต่อมา เมื่ออาณาจักรโรมันเขา้ ยึดครองดินแดนชาวโกล หรือประเทศฝรั่งเศสปัจจุบัน ชาวโรมันกไ็ ด้นำเอา
การเล่นลูกบูลประเภทนี้เข้าไปเผยแพร่ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส การเล่นลูกบูลนี้จึงได้พัฒนาข้ึน
โดยเปล่ียนมาใชไ้ ม้เน้ือแขง็ ถากเป็นรูปทรงกลม แล้วใช้ตะปูตอกรอบ ๆ เพอ่ื เพิ่มนำ้ หนักของลูกบูลให้พอเหมาะ
กับมอื
ในยุคกลางประมาณ ค.ศ 400-1000 การเล่นลูกบูลนี้จึงเป็นที่นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลาย
ในประเทศฝรั่งเศส ครั้งพอถึงสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 พระองค์ได้ทรงประกาศ และสงวนกีฬาการเล่น
ลกู บูลน้ีไว้สำหรับผสู้ งู เกยี รติ และให้เล่นไดเ้ ฉพาะในพระราชสำนกั เทา่ น้นั
ต่อมาในสมัยพระเจา้ นโบเลียนมหาราชข้ึนครองอำนาจ พระองค์ได้ทรงประกาศใหม่ให้มีการเล่น
ลกู บูลนี้เปน็ กฬี าประจำชาตขิ องประเทศฝร่งั เศส และเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนท่ัวไปไดเ้ ลน่ กันอย่างเสมอภาคกัน
ทกุ คน การเล่นลกู บูลนจี้ งึ ได้มีการพัฒนาข้นึ เรื่อย ๆ ตลอดมา เชน่ โดยการนำเอาลูกปนื ใหญท่ ี่ใช้แล้วมาเล่นกัน
อย่างสนุกสนานเพลิดเพลิน จนมีการตั้งชื่อเกมกีฬาประเภทนี้ขึ้นมาอย่างมากมายต่าง ๆ กัน เช่น บูลแบร-รอตรอง,
บูลลิ-โยเนส่ ์, บูลเจอร์-เดอรล์ อง และบลู -โปรวงั ซาล เป็นต้น
ในปลายศตวรรษที่ 19 ประเทศฝรั่งเศสได้เป็นประเทศแรกของโลกที่ได้ออกกฎเกณฑ์ข้อบังคับ
กติกาการเล่นกีฬาลูกบูล-โปรวังซาลขึ้น โดยให้วิ่ง 3 ก้าวก่อนโยนลูกบูล การเล่นกีฬาประเภทนี้จึงเป็นที่นิยม
เล่นกนั อย่างแพร่หลายไปท่วั ประเทศฝรัง่ เศส และมกี ารแข่งขนั ชิงแชมปก์ นั ข้ึนโดยท่ัวไป
2
จนถึงต้นศตวรรษที่ 20 ใน ค.ศ 1910 ณ ตำบลลาซิ-โอต้าท์ เมืองท่ามาร์แชลด์ซึ่งอยู่ทางตอนใต้
ของประเทศฝรั่งเศส การเล่นกีฬาลูกบูล-โปรวังซาล ได้มีการเปลี่ยนแปลงกติกาการเล่นขึ้นใหม่ โดยนายจูลร์-
เลอนัวร์ ซึ่งเป็นผู้ที่มีฝีมือการเล่นกีฬาลูกบูล-โปรวังซาลที่เก่งที่สุดได้ประสบอุบัติเหตุร้ายแรงจนขาสองข้าง
พิการ ไม่สามารถเล่นตอ่ ไปได้ จนน้องชายเห็นวา่ พชี่ ายมอี าการหงอยเหงา จงึ ใหพ้ ช่ี ายทดลองโยนดู ขณะน่ังอยู่
บนรถเข็น โดยการเอาลูกเป้าโยนไว้ใกล้ ๆ ประมาณ 3-4 เมตร นายจูลร์ เลอนัวร์ ก็สามารถโยนลูกบูลไปด้วย
กำลังแขนและข้อมือได้ด้วยความแม่นยำ น้องชายจึงได้ดัดแปลงแก้ไขกติการเล่นลูกบูลขึ้นมาใหม่ โดยการ
ขดี วงกลมลงบนพ้ืน แลว้ ใหผ้ ู้เลน่ เข้าไปยนื อยู่ในวงกลม ให้ขาทงั้ สองขา้ งยืนชดิ ติดกัน และไมต่ อ้ งวิง่ เหมือนกีฬา
โปรวังซาล เกมส์นี้กำเนิดขึ้นโดยมีสมาชิกครั้งแรกประมาณ 50 คน พวกเขาพยายามประชาสัมพันธ์เพื่อ
เผยแพร่เกมใหม่นี้เป็นเวลาถึง 30 ปี จึงได้มีสมาชิกเพิ่มขึ้นรวดเร็ว ในที่สุดก็ได้ก่อตั้ง “สหพันธ์เปตองและโปร
วงั ซาล” ขึ้นใน ค.ศ 1938 โดยมีสมาชกิ เพิ่มข้ึนนับเป็นแสน ๆ คน มีบุคคลทุกระดับช้ัน ทุกเพศ ทกุ วัย เข้าเป็น
สมาชิก ลูกเปตองทใี่ ช้เล่นกันก็ทันสมัยมากข้นึ เพราะมีผ้คู ดิ ค้นทำเป็นลูกโลหะผสมเหลก็ กล้า ขา้ งในกลวง การ
เล่นจงึ มคี วามสนกุ สนานเร้าใจยิ่งกวา่ เดิม
เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน ค.ศ 1945 การเล่นกีฬาลูกบูล-โปรวังซาลที่ได้ดัดแปลงแก้ไขใหม่นี้
จึงได้รับความนิยมมากขึ้นตามลำดับ และได้แพร่หลายไปอย่างรวดเร็วตามเมืองต่างๆ ทั่วประเทศฝรั่งเศส
ตลอดจนถึงดินแดนอาณานคิ มของฝรั่งเศสอีกดว้ ย การเล่นกีฬาลูกบลู นี้ไดแ้ บ่งแยกการเล่นออกเป็น 3 ประเภท คอื
1. ลโิ ยเน่ส์
2. โปรวงั ซาล (ว่ิง 3 กา้ วก่อนโยนลูกบูล)
3. เปตอง (ท่ีนิยมเล่นกนั ในปัจจุบัน)
ปัจจุบันกีฬาเปตองเป็นที่นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลาย เกือบทุกประเทศในทวีปยุโรป อเมริกา
และเอเชีย นิยมเล่นกันมาก เช่น ฝรั่งเศส สวิสเซอร์แลนด์ เบลเยี่ยม เยอรมันตะวันตก เวเนซูเอลา อังกฤษ
ฮอลแลนด์ สเปน สวีเดน แคนาดา ตนู เี ซยี อัลจีเรยี โมรอคโค มาดากัสกา ฯลฯ สำหรบั ทวีปเอเชียประเทศไทย
เป็นประเทศหนึ่งที่มีผู้นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลาย และกว้างขวางมาจนถึงปัจจุบัน ไทยเป็นประเทศแรก
และเป็นประเทศที่ 17 ของโลกที่เป็นสมาชิกของสหพันธ์เปตองนานาชาติ นอกจากนั้นยังมีประเทศเพื่อบ้าน
ในทวปี เอเชยี เลน่ กันเกือบทุกประเทศในปจั จบุ นั
คำว่า “PETANQUE” นี้มาจากคำในภาษาฝรั่งเศสว่า “บิเยส์ ตองแกร์” ซึ่งมีความหมายว่า
“ใหย้ ืนสองเทา้ ชิดติดกัน” ซ่งึ เปน็ คำตรงกันข้ามกับ “บูลโปรวังซาล” ท่ตี อ้ งวิ่ง 3 ก้าวก่อนโยนลกู บมลู
3
2. กตกิ าของกฬี าเปตอง
สากลการเลน่ เปตองของสหพันธ์เปตองนานาชาติ
หลกั การทวั่ ไป
ข้อ 1. เปตองเปน็ กีฬาทีเ่ ล่นโดยมีผ้เู ล่น 2 ฝ่าย และแบ่งการเลน่ ออกได้ ดังน้ี
- ผเู้ ล่นฝ่ายละ 3 คน (Triples)
- ผเู้ ลน่ ฝา่ ยละ 2 คน (Doubles)
- ผ้เู ลน่ ฝ่ายละ 1 คน (Single)
1.1 ในการเลน่ ฝ่ายละ 3 คนผเู้ ลน่ แต่ละคนต้องมลี กู เปตองคนละ 2 ลกู
1.2 ในการเล่นฝ่ายละ 2 คนผเู้ ล่นแต่ละคนต้องมลี ูกเปตองคนละ 3 ลกู
1.3 ในการเล่นฝา่ ยละ 1 คนผู้เล่นแตล่ ะคนต้องมลี กู เปตองคนละ 3 ลกู
1.4 ห้ามจดั ใหม้ กี ารเล่นนอกเหนอื จากกฎท่ไี ดก้ ำหนดไวใ้ นขอ้ 1 น้ี
ข้อ 2. ลูกเปตองที่ใช้เล่นต้องได้รับการรับรองจากสหพันธ์เปตองนานาชาติหรือสมาคมสหพันธ์ เปตอง
แหง่ ประเทศไทยฯ และต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้
1. เป็นโลหะ
2. มีเสน้ ผ่านศนู ย์กลางระหว่าง 7.05-8.00 เซนติเมตร
3. มีน้ำหนักระหว่าง 650 - 800 กรัม จะต้องมีเครื่องหมายของโรงงานผู้ผลิต ตัวเลขแสดง
นำ้ หนกั และเลขรหัสปรากฏบนลกู เปตองอย่างชดั เจน
4. เป็นลูกเปตองที่ผลิตจากโรงงานที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์ฯ และห้ามเปลี่ยนแปลง
สภาพเดมิ ไมว่ ่าจะใชต้ ะกวั่ บัดกรี หรอื นำเอาดินทราย มาตดิ เพมิ่ หรือใสล่ งในลูกเปตองในลักษณะท่ีมีเจตนาส่อ
ไปในทางทจุ รติ แตอ่ นญุ าตใหเ้ จ้าของสลกั ช่อื หรือเครื่องหมายบนลกู เปตอง
2.1 ผเู้ ลน่ ทฝี่ า่ ฝนื หรือละเมิดกฎขอ้ 2 (4) จะถกู ลงโทษใหอ้ อกจากการแขง่ ขนั
2.2 ลูกเปตองที่ถกู เปลีย่ นแปลงสภาพเดมิ ผู้กระทำผดิ จะถูกลงโทษดงั นี้
ก. กรณีปลอมแปลงลูกเปตองผู้กระทำผิดจะถูกถอนใบอนุญาต (บัตรประจำตัวนักกีฬา)
15 ปี และอาจถูกลงโทษจากคณะกรรมการวนิ ัยอีกด้วย
ข. กรณีใช้ความร้อนเพื่อดัดแปลงสภาพของลูกเปตอง ผู้กระทำผิดจะถูกถอนใบอนุญาต
(บัตรประจำตัวนักกีฬา) 2 ปี และห้ามเข้าทำการแข่งขันชนะเลิศแห่งชาติ และ
นานาชาติเปน็ ระยะเวลา 3 - 5 ปี
2.3 กรณีหนึ่งกรณีใดที่ได้ระบุไว้ใน ข้อ 2.2 (ก) และ (ข) ถ้าผู้เล่นได้ยืมลูกเปตองจากผู้อื่นมาเล่น
เจา้ ของลูกเปตองผู้ให้ยมื จะถกู ลงโทษภาคทณั ฑ์เป็นระยะเวลา 2 ปี
4
2.4 ถ้าลูกเปตองนั้นมิได้ถูกกระทำทุจริต แต่เนื่องจากลูกเปตองนั้นเก่ามากหรือมีการผิดพลาดจาก
โรงงานผู้ผลิตและเมื่อตรวจสอบแล้วไม่ได้ลักษณะตามที่ได้กำหนดไว้ในข้อ 2 (1) (2) และ (3) จะต้องเปลี่ยน
ลูกเปตองนนั้ ทันทแี ละอาจเปลี่ยนแปลงเกมสก์ ารเลน่ ใหม่
2.5 เพื่อประโยชน์ของฝ่ายตน ก่อนทำการแข่งขันทุกครั้ง ผู้เล่นทั้งสองฝ่ายควรตรวจสอบลูกเปตอง
ของตนและฝา่ ยตรง ข้ามใหถ้ กู ต้องตามเงื่อนไขทไ่ี ด้กำหนดไว้ในขอ้ 2 (1) (2) และ (3)
2.6 ในกรณที มี่ ีการผา่ ลูกเปตองเพอ่ื ตรวจสอบ ถ้าลูกเปตองนั้นมไิ ด้ถูกกระทำการทุจรติ ฝา่ ยประทว้ ง
จะตอ้ งรับผดิ ชอบชดใช้ หรือเปลย่ี นลกู เปตองน้นั ให้แก่ฝา่ ยเสียหายและเจ้าของลูกเปตองไม่มสี ทิ ธิ์ท่จี ะเรียกร้อง
คา่ เสียหายใด ๆ อกี
2.7 ในระหว่างการแข่งขัน ผู้ตัดสินและกรรมการชี้ขาดอาจตรวจสอบลูกเปตองของผู้เล่นทุกคนได้
ทุกเวลา
2.8 การประท้วงของนักกีฬาว่าด้วยเรื่องการตรวจสอบลูกเปตองจะกระทำได้ในระหว่างการเล่น
2 เท่ียวแรกเทา่ นัน้
2.9 หลังจากเล่นเที่ยวที่ 3 แล้วถ้ามีการประท้วงเกี่ยวกับลูกเปตองของฝ่ายตรงข้ามเมื่อตรวจสอบ
แล้วพบว่าลูกเปตอง นั้นไม่ผิดกติกาแต่อย่างใด ฝ่ายที่ประท้วงจะถูกปรับ 3 คะแนนโดยนำไปเพิ่มในป้าย
คะแนนฝา่ ยตรงขา้ ม
2.10 ลูกเป้าต้องทำด้วยไม้หรือใยสังเคราะห์ มีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 25 - 35 มิลลิเมตร
และอาจทาสีได้แต่ต้องสามารถมองเหน็ ไดช้ ัดเจนในขอบเขตของสนาม
ข้อ 3. ก่อนเริ่มการแข่งขันหากกรรมการผู้ตัดสินหรือผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามขอตรวจสอบใบอนุญาต
(บัตรประจำตัวนักกีฬา) ผู้เล่นนั้น ๆ จะต้องแสดงให้ดูทันที ใบอนุญาต (บัตรประจำตัวนักกีฬา) ทุกประเภท
ต้องออกโดยสมาคมสหพันธ์เปตองแห่งประเทศไทยฯ มรี ปู ถา่ ยขนาด 1 น้ิว มีลายเซ็นของผู้ถอื บตั ร และต้องมี
ตราของชมรมหรือสมาคมนน้ั ประทบั ตราอยูบ่ นรปู ถ่ายดว้ ย
ข้อ 4. หา้ มผเู้ ลน่ ทุกคนเปล่ียนลูกเป้าหรอื ลกู เปตองในระหวา่ งการแข่งขันเว้นแตใ่ นกรณีดงั นี้
4.1 ลกู เป้าหรอื ลูกเปตองหาย หาไมพ่ บ (กำหนดเวลาในการค้นหา 5 นาที)
4.2 ถา้ ลูกเปตองหนึ่งแตกเป็น 2 ช้ินหรือหลายชนิ้ ใหป้ ฏิบตั ิตามกฎข้อย่อยดังน้ี
ก. ถา้ หมดลูกเปตองเล่นแลว้ ใหน้ ับคะแนนจากชน้ิ ทใ่ี หญท่ ี่สดุ
ข. ถา้ ยังมลี กู เปตองเหลือเล่นอยู่ ใหน้ ำลกู เปตองอ่ืนท่ีมีลักษณะใกล้เคียงกันมาเปลี่ยนทันที
โดยให้นำมาวางแทนที่ตำแหน่งชนิ้ ใหญ่ ทีส่ ดุ ของลูกเปตองท่แี ตกนัน้ แล้วเล่นต่อไปตามปกติกฎข้อ 4.2 นี้ ให้ใช้
กับลกู เป้าด้วย
5
3. วธิ กี ารเล่น
ข้อ 1. เปตองเป็นกีฬาที่เล่นได้กับสนามทุกสภาพ ยกเว้นพื้นคอนกรีตพื้นไม้ และพื้นดินที่มีหญ้าขึ้นสูง
โดยมีคณะกรรมการจัดการแข่งขนั หรือผู้ตัดสินเป็นผู้กำหนด ผเู้ ลน่ ทกุ ทีมต้องเล่นในสนามท่ีกำหนดให้ สำหรับ
การแข่งขันชิงชนะเลิศระดบั ชาติ และนานาชาติ สนามต้องมีขนาดกวา้ ง 4 เมตร ยาว 15 เมตร เป็นอย่างน้อย
1.1 ส่วนการแข่งขันอื่นๆ สมาคมสหพันธ์ฯ อาจอนุโลมให้เปลี่ยนแปลงขนาดของสนามได้ตามความ
จำเปน็ และเหมาะสมแตต่ ้องมขี นาด กว้าง 3.50 เมตร และยาว 13 เมตร เป็นอยา่ งน้อย
1.2 เกมส์หนึ่งกำหนดให้ใช้ 13 คะแนน สำหรับการแข่งขันในรอบแรกและรอบต่อ ๆ ไป (จะใช้เพียง
11 คะแนนก็ได)้ สำหรับรอบชิงชนะเลิศ ในระดับนานาชาติ หรือแห่งชาตใิ หใ้ ช้ 15 คะแนน
ขอ้ 2. ผ้เู ลน่ ทุกคนต้องลงสสู่ นามแข่งขันตามเวลาทีก่ ำหนดให้ และทำการเสย่ี งวา่ ฝ่ายใดจะเป็นฝา่ ยโยนลูกเป้า
2.1 ผู้เล่นคนหนึ่งคนใดในทีมซ่ึงเป็นฝ่ายชนะในการเสี่ยง เป็นผู้โยนลูกเป้าเมื่อเลือกจุดเริ่มแล้วให้
เขียนวงกลมบนพื้นมีขนาดพอที่เจ้าทัง้ สองข้าง เข้าไปยืนอยู่ได้ (เส้นผ่านศูนย์กลาง ระหว่าง 0.35-0.50 เมตร)
วงกลมนัน้ จะต้องห่างจากส่ิงกีดขวางต่างๆ และเส้นเขตสนามไม่น้อยกว่า 1 เมตร สำหรบั การแข่ง ขันในสภาพ
สนามที่ไม่มขี อบเขตของสนามใหเ้ ขยี นวงกลมหา่ งจากวงกลมของสนามอืน่ ไมน่ ้อยกวา่ 2 เมตร
2.2 ที่เตรียมเล่น จะต้องเข้าไปยืนอยู่ภายในวงกลมห้ามเหยียบเส้นรอบวงห้ามยกเท้าพ้นพ้ืน
และห้ามออกจากวงกลมก่อนที่ลูกเปตองจะตกถึงพื้นส่วนส่วนอื่นของร่างกายจะถูกพื้นนอกวงกลมไม่ได้
เว้นแต่คนขาพิการซึ่งได้รับอนุญาตเป็นกรณีพิเศษให้วางเท้าข้างเดียวในวงกลมได้ ส่วนนักกีฬาพิการที่ต้อง
น่ังรถเขน็ ให้ ขดี วงกลมรอบลอ้ รถเขน็ ไดแ้ ละที่วางเทา้ รถเข็นตอ้ งให้อยูส่ งู เหนือขอบวงกลม
2.3 ผเู้ ล่นคนหน่ึงคนใดในทีมซง่ึ เป็นผโู้ ยนลูกเป้าไม่บงั คับว่าจะต้องเปน็ ผูโ้ ยนลูกเปตองลูกแรกเสมอไป
2.4 ในกรณีที่สนามไม่ดี (ชำรุด) ห้ามผู้เล่นตกลงกันเองไปแข่งขันสนามอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
จากผูต้ ดั สิน
ขอ้ 3. ลูกเปา้ ท่ีโยนไปแล้วถือวา่ ดจี ะต้องมีกฎเกณฑด์ ังน้ี
3.1 มรี ะยะหา่ งระหวา่ งขอบวงกลมด้านใกล้ทส่ี ุดถึงลูกเปา้
ก. ไมน่ อ้ ยกว่า 4 เมตร และไมเ่ กิน 8 เมตร สำหรบั เด็กเลก็ (อายุไม่เกนิ 12 ปี)
ข. ไมน่ อ้ ยกวา่ 5 เมตร และไมเ่ กิน 8 เมตร สำหรบั ยวุ ชน (อายรุ ะหวา่ ง 13-14 ปี)
ค. ไม่น้อยกว่า 6 เมตร และไม่เกนิ 10 เมตร สำหรบั เยาวชน (อายรุ ะหวา่ ง 15-17 ปี)
ง. ไม่นอ้ ยกว่า 6 เมตร และไม่เกิน 10 เมตร สำหรับผู้ใหญ่ (ไม่จำกัดอายุ)
3.2 วงกลมตอ้ งอยู่ห่างจากสง่ิ กดี ขวางตา่ งๆ และเส้นเขตสนามหรือเส้นฟาลว์ ไม่น้อยกว่า 1 เมตร
3.3 ตำแหน่งลกู เป้าต้องอยู่ห่างจากสง่ิ กีดขวางต่างๆ และเส้นเขตสนามไม่นอ้ ยกว่า 1 เมตร
3.4 ลูกเป้าจะต้องอยู่ในตำแหน่งที่มองเป็นได้อย่างชัดเจน ขณะยืนตัวตรงอยู่ในวงกลม (ถ้ามีการ
โต้แยง้ ในกรณีนี้ผู้ตดั สินเปน็ ผูช้ ี้ขาด
6
3.5 การโยนลูกเป้าในเที่ยวต่อๆ ไปให้เขียนวงกลมรอบตำแหน่งที่ลูกเป้าอยู่ในเที่ยวที่แล้ว เว้นแต่
กรณดี ังนี้
ก. วงกลมมีระยะห่างจากส่ิงกีดขวางและเส้นเขตสนามน้อยกว่า 1 เมตร ในกรณีนี้ ผู้เล่น
ตอ้ งเขยี นวงกลมใหห้ ่างจากส่งิ กดี ขวางและเส้นขอบสนามตามที่กติกาได้กำหนดไว้
ข. โยนลูกเป้าไม่ได้ระยะตามที่กติกากำหนดไว้ แม้จะโยนไปในทิศทางใดก็ตาม กรณีนี้ ผู้เล่น
ต้องถอยหลังตามแนวตรง (ตั้งฉาก) จากตำแหน่ง เดิมของลูกเป้าในเที่ยวที่แล้วจนกว่าจะได้ระยะในการโยน
ตามที่กติกากำหนดไว้ แต่ทั้งนี้วงกลมนั้นจะถอยหลังได้ไม่เกิน 11 เมตร นับจากเส้นสนามด้านบน จนถึงเส้น
ขอบวงกลมด้านใกล้สดุ
ค. ลูกเป้าที่อยู่ในระยะการโยนหรือเล่นได้ แต่ผู้เล่นที่มีสิทธิ์โยนลูกเป้าไม่ประสงค์จะเล่น
ในระยะนั้น ๆ กรณีนี้ผู้เล่นสามารถถอยหลังตาม แนวตรง (ตั้งฉาก) จากตำแหน่งเดิมของลูกเป้าในเที่ยวที่แล้วนน้ั
ได้ตามความพอใจ แต่ทั้งนี้วงกลมนั้นจะถอยหลังได้ไม่เกิน 11 เมตร นับจากเส้นสนามด้านบน จนถึงเส้นขอบ
วงกลมดา้ นใกลส้ ดุ
ง. ถ้าผู้เลน่ ฝา่ ยเดียวกัน โยนลูกเปา้ ไปแลว้ 3 คร้ัง ยงั ไม่ไดด้ ีตามกติกาที่กำหนด จะต้องเปลีย่ น
ให้ผเู้ ลน่ ฝา่ ยตรงข้ามเป็นผโู้ ยน ซ่ึงมสี ทิ ธโิ์ ยนได้ 3 ครั้งเชน่ เดียวกนั และอาจย้ายวงกลมถอยหลังไดต้ ามแนวตรง
(ตั้งฉาก) แต่ทั้งนี้วงกลมนั้นจะถอยหลังได้ไม่เกิน 11 เมตร นับจากเส้นสนามด้านบนจนถึงเส้นขอบวงกลม
ด้านใกล้สุด วงกลมที่เขียนขึ้นใหม่นั้นจะเปลี่ยนแปลงอีกไม่ได้แม้ว่าผู้เล่นของทีมหลังนี้จะโยนลูกเป้าไม่ดีทั้ง
3 ครงั้ กต็ าม
จ. ถึงแม้ทีมที่โยนลกู เป้า 3 ครั้งแรก โยนไม่ได้ดีตามที่กติกากำหนดก็ตาม แต่ทีมที่โยนลูกเปา้
ครง้ั แรกน้นั ยังมสี ิทธ์เิ ป็นฝา่ ยโยนลูกเปตอง ลูกแรกอยู่
ข้อ 4. ลูกเป้าที่โยนไปแล้วถูกผู้ตัดสิน ผู้เล่น ผู้ดู สัตว์ หรือสิ่งที่เคลื่อนไหวอื่น ๆ แล้วหยุดให้นำมาโยนใหม่
โดยไม่นับรวมอยใู่ นการโยน 3 คร้ังที่ไดก้ ำหนดไว้
4.1 หลังจากการโยนลูกเป้าและลูกเปตองลูกแรกไปแล้ว ฝ่ายตรงข้ามยังมีสิทธิ์ประท้วงว่าด้วย
ตำแหนง่ ของลกู เป้าน้ันได้ ถา้ การประทว้ งนัน้ ถูกตอ้ ง ใหเ้ ริม่ โยนลูกเป้าและลกู เปตองใหม่
4.2 ถ้าฝ่ายตรงข้ามได้โยนลูกเปตองไปด้วยแล้ว 1 ลูก ให้ถือว่าตำแหน่งลูกเป้านั้นดี และไม่มีสิทธิ์
ประท้วงใดๆ ท้ังสนิ้
ข้อ 5. ลูกเปา้ ทีโ่ ยนไปแล้วถือวา่ ฟาล์วมี 5 กรณี ดังน้ี
5.1 เม่อื ลกู เปา้ ทโ่ี ยนไปแล้วไมไ่ ดต้ ำแหน่งทถ่ี กู ต้องตามทก่ี ำหนดไว้ในข้อ 3
5.2 เมื่อลูกเป้าเคลื่อนที่ออกนอกเส้นฟาล์ว แต่ลูกเป้าคาบเส้น ยังถือว่าดีอยู่ลูกเป้าที่ถือว่าฟาล์ว
คือลกู เป้าทไี่ ดอ้ อกเสน้ ฟาลว์ เทา่ นั้น
7
5.3 เมื่อลูกเป้าเคลื่อนที่ไปแล้ว ผู้เล่นไม่สามารถมองเห็นจากวงกลมตามที่กำหนดไว้ในข้อ 3.4
แต่ถ้าลูกเป้าถูกลูกเปตองบังอยู่ไม่ถือว่าฟาล์ว ทั้งนี้ผู้ตัดสินมีสิทธิ์ที่จะยกลูกเปตองที่บังอยู่ออกชั่วคราว
เพอื่ ตรวจสอบวา่ ลูกเป้านั้นมองเห็นไดช้ ดั เจนหรือไม่
5.4 เมอื่ ลูกเปา้ เคลื่อนทีไ่ ปมีระยะห่างจากวงกลมเกนิ กวา่ 20 เมตร หรือนอ้ ยกวา่ 3 เมตร
5.5 เม่ือลูกเป้าเคล่อื นท่ไี ปแลว้ หาไมพ่ บ ภายใน 5 นาที
ข้อ 6. ก่อนหรือหลังการโยนลูกเป้าห้ามผู้เล่นปรับพื้นที่ หรือเคลื่อนย้ายสิ่งต่าง ๆ เช่น กรวด หิน ดิน ทราย
ใบไม้ ฯลฯ ในบริเวณสนามแขง่ ขันโดยเดด็ ขาด เว้นแต่ผู้เตรยี มตวั จะลงเลน่ เทา่ นั้นมีสทิ ธ์ทิ ีจ่ ะปรบั สนามทีม่ ีหลุม
ซึ่งเกินจากการโยนลูกเปตองของผู้เล่น คนที่แล้วและอาจใช้ลูกเปตองปรับหลุมนั้นได้ไม่เกิน 3 ครั้ง ผู้เล่น
ที่ฝา่ ฝืนกฎจะต้องถกู ลงโทษดงั น้ี
6.1 ถูกเตอื น
6.2 ปรบั ลูกทเ่ี ลน่ ไปแลว้ นั้นหรอื ลกู ท่ีกำลังจะเลน่ เป็นลูกฟาลว์
6.3 ปรับเฉพาะผกู้ ระทำผิดใหง้ ดเล่น 1 เที่ยว
6.4 ปรับเป็นแพท้ ั้งทมี
6.5 ปรับให้แพท้ ง้ั 2 ทีม ถ้ากระทำผดิ เหมอื นกัน หรือสมรู้รว่ มคิดกัน
ขอ้ 7. ในระหว่างการเลน่ แต่ละเทีย่ วหากมใี บไม้ กระดาษหรือส่ิงอนื่ ๆมาบังลกู เป้าโดยบังเอิญใหเ้ อาออกได้
7.1 เมื่อลูกเป้าหยุดนิ่งแล้ว และเคลื่อนที่ไปใหม่โดยแรงลมพัด หรือจากการลาดเอียงของพื้นสนาม
จะต้องนำกลับมาวางทต่ี ำแหน่งเดิม
7.2 เมื่อลูกเป้าเคลื่อนที่โดยอุบัติเหตุอันเกิดขึ้นจากผู้ตัดสิน ผู้ดู สัตว์ สิ่งเคลื่อนไหวอื่น ๆ รวมทั้ง
ลูกเป้าหรือลูกเปตองที่เคลื่อนที่มาจาก สนามอื่นให้นำลูกเป้านั้นมาวางที่ตำแหน่งเดิม ทั้งนี้ต้องมีเครื่องหมาย
กำหนดจดุ เดิมของลูกเป้า
7.3 เพือ่ หลกี เล่ียงการประทว้ งท้งั ปวง ผเู้ ลน่ ควรทำเคร่อื งหมายบนพน้ื สนามตามตำแหนง่ ของลูกเป้า
หรอื ลูกเปตองไว้มิฉะน้ันจะไมม่ ี สิทธิป์ ระท้วงใด ๆ ทงั้ ส้ิน
7.4 ลูกเป้าทอ่ี ยู่บนพ้นื สนามซงึ่ มีนำ้ ขังอยู่ถือว่าดี หากลูกเปา้ น้นั ยังไมล่ อยบนนำ้
ข้อ 8. ในระหวา่ งการเลน่ แต่ละเท่ยี วหากลูกเป้าเคลอื่ นทไ่ี ปอยอู่ ีกสนามหนึง่ ให้ถือวา่ ลูกเป้าน้ันยงั ดอี ยู่
8.1 ถ้าสนามนั้นมีการแข่งขันอยู่ฝ่ายที่ต้องใช้ลูกเป้านั้นจะต้องหยุดรอเพื่อคอยให้ผู้เล่นที่กำลังเล่น
อยู่ในสนามน้ันเลน่ จบกอ่ น
8.2 ผเู้ ลน่ ทมี่ ีปญั หาตามขอ้ 8.1 จะต้องแสดงออกถงึ ความมีนำ้ ใจความอดทนและความเอ้ืออารีย์ต่อกนั
8
ขอ้ 9. ในระหวา่ งการเล่นแต่ละเทย่ี ว ถา้ ลกู เปา้ เกดิ ฟาลว์ ขน้ึ ให้ปฏิบัติตามกฎขอ้ ย่อยดงั นี้
9.1 ถ้าผู้เล่นทั้งสองฝ่ายมีลูกเปตองเหลือเล่นอยู่การเล่นเท่ียวนั้น ถือว่าโมฆะ ต้องเริ่มเล่นใหม่
ทด่ี า้ นตรงข้าม
9.2 ถ้าฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดมีลูกเปตองเหลืออยู่เพียงฝ่ายเดียว ฝ่ายนั้นจะได้คะแนนเท่ากับจำนวน
ลกู เปตองทเี่ หลอื อยู่โดยไมต่ ้องเล่น และจะเร่ิมเล่นใหม่ท่ีดา้ นตรงข้าม
9.3 ถา้ ทง้ั สองฝา่ ยหมดลูกเปตองเหมือนกัน ใหเ้ ริ่มเลน่ ใหมท่ ่ีด้านตรงข้ามโดยให้ทีมที่ไดค้ ะแนนเท่ียว
ท่แี ล้วเป็นฝ่ายโยนลูกเปา้
ขอ้ 10. ลูกเป้าทถี่ กู ยงิ แลว้ เคล่ือนที่ไปจากตำแหนง่ เดิม
10.1 ถ้าลกู เปา้ ทีถ่ กู ยงิ แล้วเคล่ือนท่ีไปถูกผดู้ ู หรอื ผู้ตัดสนิ แล้วหยุด ให้ลกู เป้านัน้ อยู่ในตำแหนง่ ใหม่
10.2 ถ้าลกู เป้าถูกยงิ แล้วเคล่ือนที่ไปถูกผู้เล่นคนหน่ึงคนใดแลว้ หยดุ ฝ่ายตรงขา้ มที่ทำให้ลูกเป้าหยุด
มสี ิทธิ์เลอื กปฏบิ ัตติ ามกฎขอ้ ยอ่ ยดงั น้ี
ก. ให้ลูกเป้าอยูต่ ำแหนง่ ใหม่
ข. นำลูกเป้ามาวางทต่ี ำแหนง่ เดิม
ค. วางลูกเป้าตามแนวยาวตรงระหว่างตำแหน่งเดิมกับตำแหน่งใหม่แต่ต้องอยู่ในพื้นท่ี
ทกี่ ำหนดไวใ้ นกตกิ าแลว้ เร่ิมเล่นตอ่ ไปตามปกติ
10.3 กรณีตามข้อ 10.2 (ข) และ(ค) จะกระทำได้ต่อเมื่อผู้เล่นได้ทำเครื่องหมายที่ตำแหนง่ ลูกเป้าไว้
เท่านนั้ มฉิ ะนัน้ จะต้องให้ลูกเปา้ นั้นอยทู่ ตี่ ำแหน่งใหม่
ขอ้ 11. ในระหวา่ งการเล่นแตล่ ะเท่ยี วหากลูกเป้าเคล่ือนท่ีไปอยู่ในสนามอนื่ ถือวา่ ยงั ดีอยู่ ในเที่ยวต่อไปจะต้อง
กลับมาเล่นทส่ี นามเดมิ ด้านตรงข้ามแตต่ ้องเป็นไปตามที่กำหนดไวใ้ นกตกิ าขอ้ 3 ในวธิ ีการเล่น
ข้อ 12. ในระหวา่ งการเลน่ แต่ละเที่ยวหากลูกเปา้ เคลื่อนทไ่ี ปอยู่อกี สนามหน่ึง ใหถ้ อื ว่าลูกเป้าน้ันยังดีอยู่
12.1 ถ้าสนามน้ันมีการแข่งขันอยู่ฝ่ายที่ต้องใช้ลูกเป้านั้นจะต้องหยุดรอเพื่อคอยให้ผู้เลน่ ที่กำลังเล่น
อยใู่ นสนามนัน้ เล่นจบก่อน
12.2 ผู้เลน่ ที่มีปัญหาตามขอ้ 12.1 จะต้องแสดงออกถงึ ความมีน้ำใจความอดทนและความเอื้ออารยี ์ตอ่ กัน
ขอ้ 13. ในระหว่างการเลน่ แตล่ ะเทย่ี ว ถา้ ลกู เป้าเกิดฟาลว์ ขน้ึ ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามกฎข้อย่อยดงั นี้
13.1 ถา้ ผู้เลน่ ท้ังสองฝ่ายมีลูกเปตองเหลือเลน่ อยูก่ ารเลน่ เทย่ี วนนั้ ถือวา่ โมฆะ ตอ้ งเรมิ่ เลน่ ใหม่ทดี่ ้านตรงข้าม
13.2 ถ้าฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดมีลูกเปตองเหลือผยู่เพียงฝ่ายเดียว ฝ่ายนั้นจะได้คะแนนเท่ากับจำนวน
ลกู เปตองท่ีเหลอื อยโู่ ดยไมต่ อ้ งเล่น และจะเรมิ่ เลน่ ใหมท่ ด่ี ้านตรงขา้ ม
13.3 ถ้าทั้งสองฝ่ายหมดลูกเปตองเหมือนกัน ให้เริ่มเล่นใหม่ที่ด้านตรงข้ามโดยให้ทีมที่ได้คะแนน
เท่ียวทแี่ ล้วเป็นฝ่ายโยนลูกเป้า
9
ขอ้ 14. ลกู เปา้ ท่ถี กู ยิงแล้วเคลื่อนที่ไปจากตำแหน่งเดิม
14.1 ถ้าลกู เปา้ ที่ถกู ยิงแล้วเคลอ่ื นท่ีไปถูกผู้ดู หรือผ้ตู ดั สินแล้วหยุดใหล้ ูกเป้านน้ั อยใู่ นตำแหนง่ ใหม่
14.2 ถา้ ลูกเปา้ ถกู ยิงแลว้ เคล่ือนท่ีไปถูกผู้เล่นคนหนึง่ คนใดแล้วหยุด ฝ่ายตรงขา้ มท่ีทำให้ลูกเป้าหยุด
มีสิทธ์เิ ลือกปฏบิ ตั ติ ามกฎขอ้ ยอ่ ยดังนี้
ก. ใหล้ กู เป้าอยตู่ ำแหนง่ ใหม่
ข. นำลกู เป้ามาวางทต่ี ำแหน่งเดมิ
ค. วางลูกเป้าตามแนวยาวตรงระหว่างตำแหน่งเดิมกับตำแหน่งใหม่แต่ต้องอยู่ในพื้นที่
ที่กำหนดไว้ในกติกาแลว้ เริ่มเล่นต่อไปตามปกติ
14.3 กรณตี ามข้อ 14.2 (ข) และ (ค) จะกระทำได้ต่อเมื่อผู้เลน่ ได้ทำเคร่ืองหมายที่ตำแหน่งลูกเป้าไว้
เท่าน้ันมิฉะนั้นจะต้องใหล้ ูกเป้าน้นั อยู่ท่ีตำแหน่งใหม่
ข้อ 15. ในระหว่างการเล่นแต่ละเที่ยวหากลูกเป้าเคลื่อนที่ไปอยู่ในสนามอื่นถือว่ายังดีอยู่ ในเที่ยวต่อไป
จะตอ้ งกลบั มาเลน่ ที่สนามเดมิ ด้านตรงขา้ มแต่ต้องเปน็ ไปตามท่กี ำหนดไวใ้ นกติกาข้อ 7 ลกู เปตอง
ข้อ 16. ผ้เู ลน่ คนหน่งึ คนใดในทีมท่ชี นะในการเสี่ยงหรือชนะในเทีย่ วทีแ่ ล้วเป็นผโู้ ยนลูกเป้า และลูกเปตองลูกแรก
16.1 ห้ามผู้เล่นใช้เครื่องช่วยอื่นใดหรือแม้แต่ขีดเส้นบนพื้นสนามเพื่อเป็นที่สังเกตจุดตกของลูก
เปตองที่ตนจะโยนและไม่อนุญาตให้ ผู้เล่นถือลูกเปตองหรือสิ่งอื่นในมืออีกข้างหนึ่งในขณะโยนลูกเปตอง
ลูกสุดท้ายของตน (ยกเวน้ ผา้ เชด็ ลูกเปตอง)
16.2 ห้ามทำใหล้ กู เปตองหรอื ลูกเปา้ เปียกนำ้ (ยกเวน้ กรณีฝนตก)
16.3 ถ้าลูกเปตองลูกแรกที่เล่นไปแล้วเกิดฟาล์ว ต้องเปลี่ยนให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามเป็นผู้เล่น
และถ้าลูกที่โยนไปยังฟาล์วอยู่จะสลับกันโยน ฝ่ายละ 1 ลูก จนกว่าฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดโยนลูกเปตองได้ดีแล้ว
จงึ เล่นตอ่ ไปตามปกติ
16.4 ฝา่ ยใดท่ที ำให้ลูกเปตองในสนามฟาล์วทั้งหมดโดยไมม่ ีลูกเปตองเหลืออยู่ในสนาม ฝา่ ยที่ทำให้
ลูกเปตองฟาลว์ จะต้องเป็นฝา่ ยเล่น ลกู ต่อไป ทั้งนห้ี ากมปี ัญหาใหใ้ ชก้ ติกาข้อ 29 เป็นหลัก
ข้อ 17. เมื่อผู้เล่นคนหนึ่งคนใต ได้เข้าไปยืนอยู่ในวงกลมเพื่อเตรียมเล่นแล้ว ผู้ดูและนักกีฬาทุกคนต้องอยู่
ใน ความสงบ
17.1 ห้ามผู้เลน่ ฝ่ายตรงข้ามเดินหรือแสดงท่าทางอย่างหนึง่ อย่างใดที่เป็นการรบกวนสมาธิของผู้ที่
กำลงั เล่นเว้นแต่ผู้รว่ มทมี เทา่ นัน้ ท่ีมีสทิ ธเิ์ ข้าไปอย่ใู นสนาม เพอื่ แนะแนวทางการโยนลกู เปตองของฝ่ายตนได้
17.2 ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามจะต้องยืนอยู่ด้านข้าง หรือด้านหลังของผู้เตรียมเล่นและจะต้องอยู่ห่าง
ไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตร
17.3 ผู้เล่นทฝ่ี า่ ฝนื กฎข้อ 17 ผตู้ ดั สนิ จะตอ้ งเตือนก่อน 1ครง้ั และถา้ มีการฝ่าฝืนซ้ำอีกผู้ตัดสินอาจ
พิจารณาใหอ้ อกจากการแขง่ ขันกไ็ ด้
10
ข้อ 18. ลูกเปตองทุกลูกที่โยนไปแล้ว ห้ามนำมาโยนใหม่เว้นแต่ลูกเปตองที่โยนไปแล้วถูกหยุด หรือเปลี่ยน
ทิศทางโดยบังเอิญเนื่องจากถูกลูกเปตองหรือลกู เป้าซ่ึงเคลือ่ นทีม่ าจากสนามอื่นหรือถูกสัตว์และสิ่งเคลื่อนไหว
อนื่ ๆ กรณีนใ้ี หน้ ำลูกเปตองกลบั มาโยนใหม่ได้
18.1 หา้ มทดลองโยนลูกเปตองในระหว่างการแขง่ ขัน
18.2 เมื่อคณะกรรมการจัดการแข่งขันได้กำหนดเส้นเขตสนามแต่ละสนามเรียบร้อยแล้ว ผู้เล่น
แต่ละทีมจะต้องลงทำการแข่งขันใน สนามที่กำหนดให้ ในระหว่างการเล่นหากลูกเปตองออกนอกสนาม
ให้ถอื วา่ ยงั ดอี ยู่ (เว้นแต่ทไ่ี ดก้ ำหนดไว้ในข้อ 19)
18.3 ในการณีที่สนามแข่งขันทั้งหมดมีขอบกั้นอยู่ ขอบกั้นนั้นจะต้องอยู่รอบนอกขอบเส้นฟาล์ว
และจะตอ้ งหา่ งกันไมน่ อ้ ยกวา่ 0.30 เมตร
18.4 เส้นฟาล์วจะต้องอยู่รอบนอกเส้นเขตสนามและจะต้องห่างกัน 1 เมตร เป็นอย่างน้อย และไม่เกิน
4 เมตรเป็นอยา่ งมาก
ข้อ 19. ลูกเปตองทุกลูกที่กลิ้งผ่านเส้นฟาล์วและย้อนกลับเข้ามาในสนามถือว่าเป็นลูกฟาล์วแต่ถ้าลูกเปตอง
ทับอยู่บนเส้นฟาล์วยงั ไมผ่ า่ นเลยออกไปให้ถือว่าเป็นลูกดีอยู่ ลกู จะฟาล์วก็ตอ่ เมื่อได้ผา่ นพ้นเสน้ เขตสนาม และ
เสน้ ฟาลว์ ออกไปท้ังลกู
19.1 ถ้าลูกเปตองผ่านพ้นเส้นฟาล์วและไปกระทบกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือจากความลาดเอียงของพื้นที่
ทำให้ลูกเปตองนั้นย้อนกลับ เข้ามาในสนามอีก ถือว่าเป็นลูกฟาล์ว และทุกสิ่งที่ถูกเคลื่อนที่โดยลูกเปตอง
ท่ีฟาล์วนนั้ ใหก้ ลบั มาวางทีต่ ำแหนง่ เดมิ ท้งั หมด ส่วนสงิ่ ของทีไ่ ม่อยใู่ นการเล่นให้ เอาออกพ้นสนามทันที
19.2 ลูกเปตองที่ฟาล์วแล้ว ต้องนำออกนอกสนามทันที มิฉะนั้นจะถือว่าเป็นลูกดี หลังจากการโยน
ลกู เปตองอีกลกู หนึ่งไปแลว้
ข้อ 20. ลกู เปตองลกู ท่โี ยนไปแลว้ ถูกทำให้หยดุ ใหป้ ฏบิ ัติตามกฎข้อยอ่ ย ดังน้ี
20.1 โดยผดู้ ู หรอื ผ้ตู ัดสินให้ลกู เปตองน้นั อยู่ในตำแหนง่ ทถี่ กู ทำใหห้ ยุด
20.2 โดยผู้เลน่ ฝา่ ยเดยี วกนั ถอื ว่าเปน็ ลกู ฟาล์ว
20.3 โดยผ้เู ล่นฝา่ ยตรงขา้ มฝ่ายผู้เลน่ จะโยนใหม่หรือรักษาตำแหนง่ ท่ลี ูกเปตองน้ันหยุดก็ได้
20.4 เม่ือลกู เปตองหนึง่ ท่ีถูกยิงไปแล้วถกู ทำใหห้ ยุดโดยผู้เล่นคนหน่งึ ผเู้ ลน่ ฝา่ ยตรงข้ามของผู้ที่ทำให้
ลูกเปตองนน้ั หยุดอาจเลอื กเล่น ตามกฎข้อยอ่ ย ดงั นี้
(ก) ให้ลูกเปตองนั้นอย่ใู นตำแหน่งทีถ่ กู ทำให้หยดุ
(ข) ให้นำลูกเปตองนั้นมาวางตามแนวตรงระหว่างตำแหน่งเดิมกับตำแหน่งใหม่ตามความ
พอใจแตต่ อ้ งเปน็ ตำแหนง่ ที่สามารถเลน่ ต่อไดแ้ ละ ได้ทำเครอ่ื งหมายไว้กอ่ นเทา่ น้ัน
(ค) ผ้เู ลน่ ท่มี ีเจตนาทำให้ลูกเปตองทเ่ี คลื่อนทห่ี ยดุ จะถกู ปรบั ใหแ้ พท้ ัง้ ทีมทนั ที
11
ข้อ 21. เมื่อโยนลูกเปตอง หรือลูกเป้าไปแล้วผูเ้ ล่นทุกคนมีเวลาสำหรับโยนลกู เปตองภายใน 1 นาที โดยเร่ิม
จับเวลาตั้งแต่ลูกเป้าหรือลูกเปตองที่เล่นไปแล้วนั้นหยุด หากมีการวัดเกิดขึ้น ให้เริ่มจับเวลาเมื่อการวัดน้ัน
เสรจ็ สนิ้ ลง
21.1 กฎกำหนดเวลานี้ให้ใชส้ ำหรับการโยนลูกเป้าทุกคร้งั ดว้ ย
21.2 ผู้เล่นทไ่ี ม่ปฏบิ ัติตามกฎกำหนดเวลานี้ จะถกู ลงโทษตามทีไ่ ด้กำหนดไวใ้ นขอ้ 10.
ข้อ 22. ถ้าลูกเปตองลูกหนึ่งหยุดนิ่งแล้วเคลื่อนที่ไปใหม่ เนื่องจากถูกลมพัดหรือเนื่องจากความลาดเอียง
ของสนามก็ตามจะต้องนำลูกเปตองนั้นมาวางที่ตำแหน่งเดิมสำหรับลูกเปตองนั้นมาวางที่ตำแหน่งเดิมสำหรับ
ลูกเปตองที่เคลื่อนที่โดยอุบัติเหตุจากผู้เล่น ผู้ดู สัตว์ สิ่งที่เคลื่อนไหวอื่น ๆ ก็จะต้องนำกลับมาวางที่ตำแหน่ง
เดิมเช่นเดียวกันเพื่อหลีกเลี่ยงการประท้วงทั้งปวงผู้เล่นทุกคนควรทำเครื่องหมายตามตำแหน่งลูกเป้าและลูก
เปตองไวท้ งั้ หมด
ข้อ 23. ผู้เล่นที่นำลูกของผู้อื่นไปเล่นจะถูกเตือน 1 ครั้ง และลูกเปตองที่เล่นไปนั้นยังคงถือว่าเป็นลูกดี
และต้องนำลูกเปตองของตนไปเปล่ยี นแทนที่ตำแหน่งน้ันทนั ที เม่อื การวดั ได้ส้ินสุดลง
23.1 ถ้ามีการกระทำผิดซ้ำในเกมส์เดียวกันให้ถือว่าลูกเปตองนั้นเป็นลูกฟาล์วและทุกส่ิงที่ถูก
ลกู เปตองนน้ั ทำใหเ้ คลอื่ นท่ีไปจะต้องนำกลบั มาวางไว้ที่เดิม
23.2 กอ่ นการโยนลกู เปตองทุกครั้งผเู้ ลน่ จะต้องทำความสะอาดลูกเปตองของตน มใิ ห้มีส่ิงหนึ่งสิ่งใด
ตดิ อยู่มิฉะนัน้ จะถูกลงโทษตามทก่ี ำหนดไวใ้ นข้อ 10.
ข้อ 24. ลูกเปตองทุกลูกที่โยนไปผิดเงื่อนไขตามกติกา ถือว่าเป็นลูกฟาล์วและทุกสิ่งที่ถูกลูกเปตองนั้น
ทำให้เคลื่อนที่ไปจะต้องนำมาวางที่ตำแหน่งเดิม กฎนี้ให้ใช้สำหรับลูกเปตองที่ผู้เล่นยืนผิดวงกลม ซ่ึงไม่ใช่
วงกลมเดมิ ทโ่ี ยนลูกเป้าที่ถูกต้อง (ทีมทโ่ี ยนลูกเปา้ ต้องลบรอยขีด วงกลมเก่าท่ีอยู่บรเิ วณใกล้เคียงออกให้หมด)
ในกรณีเช่นนนีฝ้ ่ายตรงขา้ มมสี ิทธิป์ ฏิบตั ิตามกฎวา่ ด้วยการได้เปรียบและยอมให้ลูกเปตองท่ีโยนไปน้ันเป็นลกู ดี
กไ็ ดถ้ ้าเห็นว่า ลกู ของฝา่ ยตนได้เปรยี บคู่ตอ่ สู้
12
4. ทกั ษะและวธิ กี ารเลน่ เปตอง
1. การจับและบังคับลกู เปตอง
1.1 แบบนิ้วหัวแม่มือทั้งหมดอยู่ห่างกัน หรือเรียกอีกอย่างว่าการจับด้วยปลายนิ้วมือ วิธีนี้พบเหน็
ทั้งการโยนลูกเข้าเป้า และการยิง แต่พบเป็นจำนวนไม่มากนัก ลักษณะการจับลูกเปตองคล้ายกับการหยิบ
สิง่ ของหรอื วัตถุต่างๆ ตามธรรมชาติ
การจับลูกเปตองโดยวิธีนี้เหมาะสำหรับผู้เล่นที่กำลังของข้อมือไม่ค่อยแข็งแรง อาศัยช่วงแขนส่ง
ลูกเปตองออกไป ลูกที่ออกจากมือจะเกิดการหมุนกลับแบบลูกสกรู (Screw) น้อยมากหรือไม่มีเลย ทำให้
ไม่เกิดแรงเหนี่ยวรั้งของลูก ควบคุมยากท้งั ทศิ ทางและระยะทาง สำหรับมือวางหรือมือเกาะ หากสนามมีสภาพ
ที่เรียบ เช่น สนามหิน ฝุ่น สนามลูกรังแบบละเอียดหรือสนามลู่วิ่ง การจับแบบนี้จะโยนลูกได้ดี
พอสมควร เพียงแต่กะน้ำหนักของการโยนให้สัมพันธ์กับระยะทางระหว่างจุดที่โยนกับตำแหน่งที่ลูกเป้าอยู่
แต่ถ้าหากเป็นสนามวิบาก ซึ่งต้องใช้เทคนิคในการโยนลูกโด่ง หรือที่นักกีฬาเปตองส่วนใหญ่เรียกกันว่า
ลูกดร๊อป (Drop) แลว้ การจบั ลูกแบบนีแ้ ทบจะใช้ไม่ไดผ้ ลเลยเพราะการโยนลูกดรอ๊ ปต้องอาศัยข้อมือสะบัดลูก
ขึ้นไปและนิ้วมือทั้งหมดจะควบคุมทิศทางในการปล่อยลูก เมื่อนิ้วมือถูกปล่อยให้เป็นอิสระไม่ชิดกันโอกาส
ทล่ี ูกเปตองจะหลดุ จากมือก่อนอนั เน่ืองมากจากแรงเหว่ียงจะมีมาก อกี ประกาศหนึ่งนิ้วมือของคนเราแต่ละน้ิว
น้ันจะมคี วามแขง็ แรงไม่เทา่ กัน ในขณะทโ่ี ยนลูกหากน้วิ มือนว้ิ ใดไมส่ ามารถควบคุมแรงส่งของลูกเปตองท่ีปล่อย
ออกไปก็จะทำให้เสียทิศทาง สำหรับมือยิงการจับลูกเปตองแบบนี้มีให้พบเห็นน้อยมาก ไม่ค่อยมีใครนิยม ที่
เป็นเช่นนีน้ า่ จะเป็นเพราะว่าในการย่ิงลูกนั้นต้องใช้แรงมากในการเหว่ยี งเพ่ือส่งลูกให้ไปถงึ เป้าหมาย โอกาสที่
ลูกจะหลุดจากมอื กอ่ นและลูกจะเสยี ทิศทางจะเปน็ ไปไดม้ ากเชน่ เดียวกบั การโยนลกู ดร๊อป
1.2 แบบนิ้วมือทั้งสี่อยู่ชิดกัน ส่วนนิ้วหัวแม่มืออยู่ตรงข้ามกับนิ้วทั้งส่ี การจับลูกเปตองลักษณะน้ี
มีพบเห็นโดยทั่วไป แต่ก็มากกว่าแบบแรก โดยเฉพาะพบเห็นมือยิงมากกว่ามือวางหรือมือเกาะ เหมาะสำหรับ
ผู้เล่นที่มีกำลังข้อมือแข็งแรงปานกลาง นิ้วมือทั้งสี่จะควบคุมลูกให้ไปตามทิศทาง นิ้วหัวแม่มือจะช่วยยก
และประคองลูกเปตองขนึ้ การโยนสว่ นใหญ่จะใช้ช่วงแขนออกแรงสง่ ลกู เปตองมากกวา่ ขอ้ มือ
13
ลูกเปตองที่ถูกปล่อยออกไปจากมือจะเป็นไปในลักษณะส่งลูกไปข้างหน้า ทั้งมือเกาะ และมือยิง
การปล่อยลูกเปตองจะมีลักษณะเดียวกัน ใช้โยนได้ทั้งสนามเรียบและสนามวิบาก สำหรับมือเกาะการโยก
ลกู ดรอ็ ปท่จี บั แบบน้หี วังผลได้ไม่มากนัก โดยเฉพาะลูกดร๊อปทีต่ ้องโยนให้ลูกลอยสูงแล้วตกใกล้ ๆ กับตำแหน่ง
ที่ลูกเป้าวางอยู่ เพราะลูกจะหมุนสกรูกลับไม่ถึงตำแหน่งการบังคับลูกให้ตกลงตามจุดที่ต้องการก็ยาก
และโอกาสที่ลูกเปตองจะหลุดจากมือก่อนก็มีมากเช่นกัน สำหรับมือยิงแล้วใช้ได้ผลพอสมควรโดยเฉพาะ
ในระยะ 8 – 10 เมตร แต่ถ้าระยะ 6 – 7 เมตร แล้วลูกที่ยิงมักจะข้ามเป้าหมาย นักเปตองที่จับลูกโดยวิธีน้ี
ตา่ งพูดวา่ ชว่ ยผ่อนแรงดี บงั คบั ลูกไดต้ รงทาง
1.3 แบบนิ้วมือทั้งสี่ชิดกันโดยปล่อยนิ้วหัวแม่มือเป็นอิสระ การจับลูกเปตองแบบนี้พบเห็น
มากกว่าสองแบบแรกทั้งมือเกาะและมือยิง ลักษณะการจับลูกเปตองจะอยู่ในตำแหน่งกลางฝ่ามือ นิ้วทั้งสี่
จบั แบบโอบลกู ไว้ส่วนนวิ้ หวั แมม่ อื ปลอ่ ยเปน็ อิสระไมส่ มั ผัสลูกเปตองจงึ เหน็ ได้วา่ จะเป็นการจับเพียงส่ีน้ิวเท่านั้น
การจับลูกแบบนี้เหมาะสำหรับผู้ที่มีกำลังข้อมือแข็งแรง การส่งลูกจะใช้ช่วงแขนกับข้อมือเป็นหลัก
ข้อมือจะบังคับให้ลูกเปตองลอยสูงหรือต่ำ ลูกสกูรกลับมากหรือน้อยก็ได้ นิ้วทั้งสี่จะบังคับให้ลูกที่ปล่อยอกไป
ในทิศทางที่ต้องการได้ดี ใช้ได้ผลทั้งสนามเรียบและสนามวิบาก สามารถโยนและบังคับลูกตกพื้นสนามได้
ทุกระยะ การจับแบบนมี้ ขี อ้ จำกดั บางประการ คือ น้ิวมือท้ังสจ่ี ะเมือ่ ยลา้ งา่ ยเมอื่ โยนลกู เปตองติดตอ่ กนั นาน ๆ
เนื่องจากนิ้วทั้งสี่ต้องจับและกดลูกแน่กว่าปกติเพื่อมิให้ลูกหลุดมือในขณะโยนและยิง หากความเมื่อยล้า
ของนว้ิ มอื เกิดข้ึนแลว้ โอกาสทลี่ กู เปตองจะหลุดจากมือก่อนจะมมี ากข้ึน
14
1.4 แบบนิ้วมือทั้งสี่ชิดกันและใช้นิ้วหัวแม่มือยึดลูกเปตอง แบบนี้เป็นแบบที่นักเปตองนิยมมาก
ที่สุดทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะในการแข่งขันเปตองระดับโลกแทบจะกล่าวได้ว่าผู้เล่นทุกคน
จับลูกเปตองแบบนี้ท้ังในการโยนและการยิง ลักษณะการจับนิ้วมือทั้งสี่จะโยนลูกและบังคับลูกให้อยู่
ในตำแหน่งกลางฝ่ามือ ส่วนนิ้วหัวแม่มือจะยึดลูกไว้ในลักษณะช่วยบังคับลูกให้อยู่กลางฝา่ มือเช่นกัน โดยนิ้วทั้งส่ี
จะทำหน้าที่ปล่อยและบังคับลูกให้เป็นไปตามทิศทางที่ต้องการ ส่วนนิ้วหัวแม่มือทำหน้าที่กันลูกไม่ให้หลุด
ออกไปทางด้านข้างของนิ้วการจับลูกด้วยวิธีนี้นอกจากจะสามารถโยนและบังคับลูกได้ดีทุกระยะเช่นเดียวกับ
แบบที่ 3 แล้วยังมีจุดเด่นอีกบ้างประการ คือแม้จะโยนลูกโด่งสูง ๆ ก็สามารถบังคับลูกได้โดยไม่หลุดจากมือ
ก่อนเนื่องจากลูกเปตองถูกบังคับไว้ด้วยนิ้วมือท้ังหมด อีกประการหนึ่งความเมื่อยล้าของนิ้วมือซึ่งเกิดจากการ
โยนหรือยิงติดตอ่ กนั นานๆ จะไมเ่ กิดข้ึน
จากที่ได้เสนอรูปแบบการจัดลูกเปตองทั้ง 4 แบบ ซึ่งแต่ละแบบต่างมีข้อดีและข้อจำกัดแตกต่างกันไป
แต่เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกันดูแล้วจะเห็นได้ว่าวิธีการจับลูกเปตองในแบบที่ 4 เป็นแบบที่ถูกต้อง
ตามหลักสากลนิยมที่สุด ที่กล่าวเช่นนี้เป็นเพราะว่านอกจากจะมีจุดเด่นทั้งในการโยน การยิง การบังคับลูก
ที่ได้เปรียบกว่าวิธีอื่น รวมทั้งไม่มีข้อจำกัดแล้ว การจับลูกเปตองวิธีนี้ผู้เล่นทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ต่างกใ็ หค้ วามนยิ มและเปน็ ทยี่ อมรับกนั มากกวา่ แบบอนื่
หลักการบังคับลกู เปตอง
นักเปตองที่ฝึกหัดใหม่ มักจะประสบปัญหาเกี่ยวกับการบังคับลูกเปตองอย่างมาก สาเหตุอาจมาจาก
การฝกึ ทผ่ี ดิ หรือการไปจำวธิ ีการผูอ้ ่นื แล้วนำมาฝึกอย่างผิด โดยขาดการแนะนำ หรือจากการฝกึ ที่ฝืนธรรมชาติ
ของตนเอง การฝึกการบังคับลูก ไม่ว่าจะเป็นลูกเข้าหรือลูกตี ลูกหมุนซ้าย หมุนขวา หรือลูกสกรู (ลูกหมุน
กลบั หลงั ) ปลายน้วิ มอื และขอ้ มือมสี ่วนสำคญั เป็นอยา่ งมากในการบังคบั ลูก
15
2. การโยนลกู
การโยนลูกเปตอง มีรปู แบการโยน 2 รูปแบบ คือ การยืนโยน และการนั่งโยน
1. การยืนโยน มีอยู่ 3 ลักษณะ คือ การยืนแบบเท้านำเท้าตาม (ชิดหรือห่าง) การยืนแบบเท้า
คู่ขนาน (ชิดหรือหา่ ง) และการยนื แบบเท้าแยก 450 (ชดิ หรือหา่ ง) เทา้ ทง้ั สองอยูใ่ นวงกลม วางเท้าให้เสมอกัน
หรือเหลื่อมกันเล็กน้อย ลักษณะการโยนลูกเปตองนี้ส่วนใหญ่แล้วจะเหมือนกับการโยนไม่ว่าจะเป็นการจั บ
ลูกเปตอง การส่งลกู ด้วยแขน การทำให้ลูกหมนุ กลบั และลอยสงู ต่ำด้วยการสะบัดข้อมือและการควบคุมทิศทาง
ของลูกโดยใชน้ ้ิวมอื
การยืนโยนนี้เหมาะสำหรับการเล่นที่ตำแหน่งของลูกเป้าอยู่ไกลจากวงกลมหรือสนามวิบาก สนาม
เปียกชื้น สนามที่เต็มไปด้วยก้อนหินหรือสิ่งกีดขวาง หากตำแหน่งของลูกเป้าอยู่ในระยะ 6 – 8 เมตร
จากวงกลมผู้โยนควรจะก้มตัวและย่อเข่าลงเพื่อบังคับมิให้ลูกเปตองลอยสูงและเกิดแรงส่งมากเกินไป
แต่ถ้าหากลูกเป้าอยู่ไกลกว่า 8 เมตรขึ้นไป ควรจะยืดลำตัวขึ้นขณะโยนเข่าจะงอเล็กน้อย แต่เวลาปล่อย
ลูกเปตองออกจากมือนั้นจะต้องเขย่งเท่าทั้งสองขึ้น พร้อมทั้งยืดเข่าในท่าสปริงตัวขึ้นเพื่อช่วยในการส่งลูก
ให้แรงและลูกลอยสูง
ข้อจำกดั ของการยืนโยนน้ีมีอยู่บ้าง กล่าวคือ หากไปเลน่ ในสนามที่เรียบมาก ๆ พ้ืนแห้งและแข็งแล้ว
การโยนมักจะไม่ได้ผล ควบคุมลูกลำบาก ลูกมักจะเลยเป้าหมาย อีกประการหนึ่ง ผู้โยนมักจะลืมตัวโดยยกขา
ข้างใดข้างหน่ึงจากพ้นื โดยเฉพาะนักกีฬาเปตองใหม่ ๆ ซึง่ ยงั ไม่ชำนาญในการโยนลกู เปตองแบบน้ี และประการ
สุดท้ายคือ จุดตกของลูกเปตองที่โยนไป หากผู้โยนไม่สามารถบังคับลูกให้ตกพื้นสนามตามที่ต้องการแล้ว
การโยนแบบนกี้ จ็ ะไมค่ ่อยประสบผลสำเรจ็ นัก
16
2. การนั่งโยน ลักษณะการนงั่ โยน มีอยู่ 2 ลกั ษณะ คือ
2.1 การนงั่ บนสน้ เท้าขา้ งเดยี ว
2.2 นงั่ บนส้นเท้าทัง้ สองขา้ ง
ก่อนการโยนผู้เล่นจะต้องปฏิบัติตามกติกาสากลการเล่นเปตองอย่างเคร่งครัดเสียก่อน คือ เท้าท้ัง
สองข้างต้องอยู่ภายในวงตามขนาดที่กำหนด (เส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 35-50 เซนติเมตร) ห้ามเหยียบเส้น
รอบวง ห้ามยกเท้าและห้ามออกจากวงกลมก่อนที่ลูกเปตองจะตกถึงพื้น ส่วนอื่นของร่างกายจะถูกพื้นนอก
วงกลมไม่ได้ การฝึกหัดปฏิบัติตามกติกานี้ควรจะปฏิบัติทั้งการฝึกและการซ้อมและแข่งขัน ทั้งนี้เพื่อจะได้เกิด
เป็นความเคยชนิ และป้องกันไมไ่ ห้เกิดปัญหาในภายหลัง
หลังจากเท้าทั้งสองข้างอยู่ภายในวงกลมแล้วการวางเท้าจะเสมอหรือเหลือมกันเล็กน้อยก็ได้ เขย่งเท้า
ทั้งสองขึ้นแล้วนั่งลง ลำตัวยืดตรง ทิ้งน้ำหนักลงบนส้นเท้าทั้งสองจับลูกเปตองตามวิธีท่ีถูกต้อง เหยียดแขน
ให้ตรงแล้วลองแกว่งแขนไปข้างหลังและข้างหน้าเป็นการทดสอบว่าหลังมือจะถูกพื้นสนามได้หรือไม่
เม่ือเตรียมตวั จะโยนทำจิตใจไห้สงบและมีสมาธิ (เพราะหากจิตใจเกิดความเครียดจะทำให้กล้ามเน้ือและข้อมือ
เกร็ง) สายตามองไปที่ลูกเป้า ดูพื้นสนามระหว่างจุดที่ตัวเองยืนอยู่ว่ามีสภาพอย่างไรเรียบ ขรุขระหรือลาดเท
แล้วเตรียมปรับให้สัมพันธ์กันกับสภาพของสนาม คำนวณแรงส่งของลูกเปตองกับระยะทาง เวลาโยนให้แขน
โน้มไปข้างหลังให้พอเหมาะเพ่ือจะไดม้ ีแรงส่งแล้วแกวง่ แขนไปข้างหนา้ เพือ่ ส่งลูก ขณะเดียวกันให้สะบดั ข้อมือ
ข้นึ เพอื่ ให้ลกู เปตองหมนุ กลับหลงั พรอ้ มทงั้ ปลอ่ ยมือออกจากปลายนวิ้ มือทงั้ ส่ี ลกู ทพี่ ุง่ ออกไปจากมือนี้จะตกพื้น
ใกล้หรือไกลอยู่ที่แรงส่งของแขน ขณะเดียวกันลูกเปตองจะหมุนกลับหลังมากหรือน้อย ลอยสูงหรือต่ำขึ้นอยู่
กับการสะบัดข้อมือ ส่วนลูกเปตองจะเคลื่อนที่ไปทางทิศทางไหนอยู่ที่การบังคับทิศทางของนิ้วมือ ถ้าทั้งสาม
ประการน้ีมีความสัมพันธ์กันพอดี กล่าวคือ แรงส่ง แรงถ่วงรั้ง และความสามารถของนิ้วมือในการควบคุม
ทิศทางของลูกเปตองมคี ่าเท่ากันแลว้ การโยนลกู เปตองนี้จะสามารถบังคับให้เปน็ ไปตามความต้องการของผูเ้ ลน่
การนั่งโยนนี้เหมาะสำหรับการเล่นระยะใกล้ คือ ลูกเป้าอยู่ห่างจากวงกลมที่ยืนประมาณ
6 - 8 เมตร ทั้งสนามเรียบและสนามวิบาก อย่างไรก็ตามหากเป็นสนามเรียบ แห้งและลื่นแล้ว การนั่งโยนนี้
มีข้อได้เปรียบคือ ขณะโยนลูกเท้าข้างใดข้างหนึ่งจะไม่มีโอกาสยกขึ้นลอยจากพื้นเลยเพราะตัวของผู้โยนนั่ง
อยบู่ นสน้ เทา้ ทัง้ สองจงึ ตดั ปญั หาเร่ืองการฟาลว์ เน่ืองจากยกเทา้ ไปได้
17
3. วิธีการเข้าลูก
วธิ กี ารเข้าลูกมอี ยู่ 3 แบบ คอื
1. การโยนลูกระยะใกล้ (ลูกไลน์) การโยนลูกระยะใกล้ (ลูกไลน์)
เป็นการโยนลกู ให้ตกต้งั แตจ่ ุดโยนหรอื ไม่เกิน 3 เมตร จากจดุ โยน ใชแ้ รงเหวี่ยง
จากแขน ข้อมือ และปลายนิ้วส่งลูกระยะทางที่ลูกบูลวิ่งเข้าหาเป้าจะมีระยะ
ทางไกลทิศทางของลูกบูลอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ง่ายตามลักษณะของพ้ืน
สนามการโยนลกู น้ีเหมาะสำหรบั สนามเรียบเทา่ นัน้
2. การโยนลูกระยะกลาง (ฮาฟดร๊อป) การโยนลูกระยะกลาง
(ฮาฟดร๊อป) เป็นการโยนลูกให้ตกเกือบกึ่งกลางระหว่างจุดเริ่มกับลูกเข้า
ต้องโยนลูกให้สูงกว่าการโยนลูกระยะใกล้ และทุกลูกที่โยนออกไปต้องเป็นลูก
ที่หมุนกลับหลัง (ลูกสกรู) ข้อสำคัญของการโยนลูกคือ จุดตก การโยนลูกนี้
เหมาะสำหรับพื้นสนามที่ไม่เรียบ เป็นหลุม พื้นสนามแข็ง ขระขระ หรือ จุดตก
ของการปลอ่ ยลูกระยะใกลเ้ ป็นหลมุ ไม่สามารถหาจุดตกได้
3. การโยนลูกโด่ง (ดร๊อฟ) การโยนลูกโด่งต้องโยนให้สูงกว่าลูก
ระยะกลาง และต้องให้ลูกหมุนกลับหลัง (สกรู) มากกว่า โดยใช้ปลายนิ้วสกรู
ลูก ไม่ใช่เป็นการกระดกข้อมูล การโยนลูกน้ีจุดตกมีความสำคัญมาก ลูกนี้
เหมาะสมกับพื้นสนามที่ไม่เรียบ เปียกแฉะ เป็นหลุมเป็นบ่อ ต้องโยนให้เกือบ
ถึงลูกเป้า ห่างจากลูกเป้า ประมาณ 50-100 ซม. ทั้งนี้ต้องแล้วแต่พื้นสนาม
ในการแข่งขันระดับโลกส่วนใหญ่จะใช้โยนลูกลักษณะนี้ เพราะสนามแข่งขัน
เป็นหินเกร็ด
18
5. การวัดระยะและการวดั คะแนน
ข้อ 1. ในการวัดคะแนนอนุญาตให้โยกย้ายลูกเปตองหรือสิ่งกีดขวางต่างๆ ที่อยู่ระหว่างลูกเป้าและลูกเปตอง
ที่เกี่ยวข้องได้แต่ต้องทำเครื่องหมายที่ตำแหน่งสิ่งนั้น ๆ ไว้ก่อนโยกย้ายเมื่อการวัดคะแนนเสร็จสิ้น ลง ให้นำ
ทุกสิ่งที่โยกย้ายไปนั้นกลับมาวางที่ตำแหน่งเดิม ทั้งหมด ถ้าสิ่งกีดขวางที่มีปัญหานั้นไม่อาจโยกย้ายได้ ให้ใช้
วงเวียนทำการวดั
ขอ้ 2. ในการวัดคะแนนระหวา่ งลูกเปตอง 2 ลกู ซ่งึ อยใู่ กลเ้ คียงกันมากผู้เลน่ คนหนึง่ ได้วัดไปแล้ว และบอกว่า
ฝ่ายตนได้ ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามมีสิทธิ์ที่จะวัดใหม่ เพื่อความแน่ใจและถูกต้อง (ส่วนอุปกรณ์การวัด ต้องเป็น
อุปกรณ์ที่ได้มาตรฐานห้ามวัดโดยการนับระยะเท้า) เมื่อท้ังสองฝ่ายได้วัดคะแนนแล้วหลายครั้งยังตกลงไม่ได้
ต้องให้ผู้ตัดสินเป็นผู้วัดเพื่อตัดสิน และผลการตัดสินถือเป็นที่สิ้นสุดยุติและหากผู้เล่นฝ่าฝืน กติกาข้อนี้
ให้ผู้ตัดสนิ ตกั เตือน 1 ครงั้ หากยงั ฝ่าฝืนอกี ให้ปรับเปน็ แพ้
ข้อ 3. เมื่อเสร็จสิ้นการแข่งขันแต่ละเที่ยวลูกเปตองทุกลูกที่ถูกนำออกก่อนการวัดคะแนน ให้ถือว่า
เป็นลูกฟาล์วและไมม่ สี ิทธ์ิโตแ้ ยง้ ใด ๆ ทัง้ ส้ิน
19
ข้อ 4. ถ้าผู้เล่นฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดทำการวัดคะแนนแล้ว ไปทำให้ลูกเป้าหรือลูกเปตองที่มีปัญหานั้นเคลื่อนท่ี
จะต้องเป็นฝ่ายเสียคะแนนนั้นไป และในการวัดแต่ละครั้งต้องให้ผู้เล่นของทีมที่ทำให้ลูกเปตองเกิดปัญหา
ทำการวัดก่อนทุกครั้งไปในการวัดคะแนนแต่ ละครั้งก่อนทำการวัด ผู้ตัดสินต้องทำการคาดคะเนเสียก่อนว่า
ลกู ใดไดเ้ ปรยี บและถา้ ไดว้ ัดไปแล้ว บังเอญิ ผู้ตดั สินไปทำใหล้ กู เปตองหรือลูกเป้าเคลื่อนท่ี ผู้ตดั สินจะต้องทำการ
วัดใหม่และภายหลังการวัดปรากฏว่าลูกเปตองที่คาดคะเนว่าชนะยังคงชนะอยู่ ให้กรรมการตัดสินตามความ
เป็นจริง แต่ถ้าการวัด ครั้งใหม่แล้วปรากฏว่าลูกเปตองที่คาดคะเนว่าจะชนะกลับแพ้ ให้ผู้ตัดสินตัดสิน
ด้วยความเท่ยี งธรรม
ข้อ 5. ในกรณีที่ลูกเปตองของทั้งสองฝ่ายมีระยะห่างจากลูกเป้าเท่ากันหรือติดกับลูกเป้าทั้ง 2 ลูก ให้ปฏิบัติ
ตามกฎข้อย่อย ดงั นี้
5.1 ถ้าทั้งสองฝ่ายหมดลูกเปตองเล่นแล้วการเล่นเที่ยวนั้นถือว่าเป็นโมฆะ จะต้องเริ่มเล่นใหม่
ท่ดี ้านตรงข้ามโดยผูเ้ ลน่ ฝ่ายท่ไี ด้คะแนน ในเทีย่ วที่แล้วเป็นผู้โยนลูกเปา้
5.2 ถ้าฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดมีลูกเปตองเหลือเล่นอยู่เพียงฝ่ายเดียว ฝ่ายนั้นจะต้องเล่นจนหมดลูกเปตอง
เพ่ือทำคะแนนเพิม่ เตมิ ตามจำนวนลูก เปตองท่ีอยู่ใกลเ้ ป้ามากทีส่ ุด
5.3 ถ้าทั้งสองฝ่ายยังมีลูกเปตองเหลืออยู่ ฝ่ายที่โยนลูกเปตองที่หลังจะต้องเป็นฝ่ายเล่นลูกต่อไป
ถา้ ลูกเปตองท้ังสองฝา่ ยยังเสมอกนั อยอู่ ีกต้องเปลีย่ นให้อกี ฝ่ายหนึง่ เปน็ ผ้เู ล่นและต้องสลับกันโยนฝา่ ยละ 1 ลูก
จนกว่าฝา่ ยหนง่ึ ฝ่ายใดจะไดค้ ะแนนแล้วเลน่ ต่อไปตามปกติ
ขอ้ 6. หากมสี ง่ิ หนึง่ สงิ ใดเกราะติดกบั ลกู เปตองหรอื ลกู เป้าจะต้องเอาส่ิงน้ันออกก่อนการวัดคะแนนทกุ คร้ัง
ข้อ 7. การเสนอข้อประท้วงต่อผู้ตัดสินจะกระทำได้ในระหว่างการแข่งขันของแต่ละเกมส์เท่านั้น เมื่อเกมส์
การแข่งขันนั้นๆได้สิ้นสุดลงจะไม่มีสิทธิ์ประท้วงใด ๆ ทั้งสิ้น เพื่อประโยชน์ของฝ่ายตน ผู้เล่นทุกคนต้อง
คอยระวังการละเมิดกติกาของฝ่ายตรงข้าม บัตรประจำตัวนักกีฬา รุ่นของผู้เล่น สนามแข่งขัน มาตรฐานของ
ลูกเปตอง เป็นตน้
ขอ้ 8. ในขณะทำการจบั สลากและการประกาศผลการจบั สลาก ผ้เู ล่นทุกคนตอ้ งอยู่พร้อมกนั ทีโ่ ต๊ะอำนวยการ
หลังจากการประกาศผลไปแล้ว 15 นาทีทีมที่ไม่ได้ลงสนามแข่งขันจะถูกปรับเสียคะแนนให้แก่ฝ่ายตรงข้าม
1 คะแนน
8.1 หากเกินกำหนดเวลา 15 นาทไี ปแลว้ การปรบั คะแนนจะทวีเพ่ิมขึน้ 1 คะแนนทุก ๆ 5 นาที
8.2 บทลงโทษตามข้อ 32 จะมีผลบังคบั หลงั จากการประกาศใหเ้ ร่มิ ทำการแข่งขนั ทุกครัง้
8.3 หลงั จากประกาศการแขง่ ขันไดผ้ า่ นพ้นไปแลว้ 1 ช่วั โมง ทีมทย่ี ังไม่ไดล้ งแข่งขันจะถูกปรบั ให้เป็น
ผแู้ พ้ในเกมส์นน้ั
20
8.4 ทีมที่มีผู้เล่นไมค่ รบจำนวนกต็ ้องลงทำการแข่งขนั ตามเวลากำหนดโดยไม่อนุญาตให้รอผู้ร่วมทมี
ท่มี าลา่ ชา้ และจะเล่นลูกเปตอง ได้ตามจำนวนท่ีผู้เล่นมีสิทธ์เิ ท่าน้นั (ตามประเภทที่แข่งขนั )
ขอ้ 9. เม่ือการแขง่ ขนั ในเที่ยวนัน้ ไดเ้ ร่ิมเลน่ ไปแล้ว ผ้เู ล่นท่ีมาลา่ ช้าไมม่ ีสทิ ธลิ์ งเล่นในเที่ยวน้ันทนั ที แต่อนุญาต
ให้ลงเลน่ ในเทย่ี วต่อไปได้
9.1 เมอ่ื การแขง่ ขันในเกมสน์ ัน้ ไดด้ ำเนนิ ไปแลว้ 1 ชว่ั โมง ผูเ้ ลน่ ทีม่ าล่าช้าหมดสิทธิ์ลงทำการแข่งขัน
ในเกมส์นั้น
9.2 ถ้าการแข่งขันนั้นแบ่งเป็นสายจะอนุญาตให้ผู้เล่นที่มาล่าช้าลงแข่งขันในเกมส์ที่ 2 ได้ ไม่ว่า
ผลการแข่งขนั ในเกมสแ์ รกจะแพ้หรอื ชนะกต็ าม
9.3 หากทีมทมี่ ีผู้เล่นไม่ครบจำนวนสามารถชนะการแข่งขันในเกมสน์ นั้ จะอนุญาตให้ผู้เล่นท่ีมาล่าช้า
ลงแขง่ ขนั ในเกมส์ตอ่ ไปได้ แตต่ ้องเป็นผเู้ ล่นของทมี น้นั และตอ้ งมชี ื่อถกู ตอ้ งในใบสมัครด้วย
9.4 การแข่งขันแต่ละเที่ยวจะถือว่าเริ่มขึ้นแล้วก็ต่อเมื่อ ลูกเป้าที่โยนไปในสนามนั้นได้ตำแหน่ง
ถูกตอ้ งตามกตกิ า
ข้อ 10. การเปลี่ยนตัวผู้เล่น จะอนุญาตให้กระทำได้ก่อนการจับสลากการแข่งขันเท่านั้น และต้องเป็นผู้เล่น
ที่ไม่มีรายชอ่ื อยูใ่ นการแข่งขันเดียวกนั
ข้อ 11. ในระหว่างการแขง่ ขันหากมีฝนตก ให้แข่งขันต่อไปจนจบเที่ยวเว้นแตม่ ีเหตุสดุ วิสัยไม่สามารถแขง่ ขนั
ต่อไปจนจบเที่ยวหรือไม่สามรถแข่งขันต่อไปได้ผู้ ตัดสินและผู้ชี้ขาดเท่านั้นที่มีอำนาจให้หยุดพักการแข่ งขัน
ช่ัวคราวหรือยกเลกิ การแข่งขนั นัน้
11.1 หลงั จากการประกาศเพอ่ื เริ่มตน้ การแข่งขันในรอบใหมแ่ ล้รอบสองหรือรอบต่อ ๆ ไป หากยังมี
บางทีมและบางสนามยังแข่งไม่เสร็จ ผู้ตัดสินอาจดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ตนเห็นสมควรด้วยความ
เหน็ ชอบของคณะกรรมการจัดการแข่งขนั เพื่อให้การแขง่ ขันนัน้ ดำเนินไปด้วยดี
11.2 ในระหว่างการแข่งขัน ผู้เล่นทุกคนที่จะออกไปจากสนาม ต้องได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสิน
เสียกอ่ น มิฉะนนั้ จะถกู ลงโทษตามท่ีกำหนดไว้ในข้อ 32 และข้อ 33
ข้อ 12. ในการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ หรือรอบอื่นๆ ก็ตาม ห้ามผู้เล่นทั้งสองฝ่ายสมยอมกัน หรือแบ่งรางวัล
กันโดย เด็ดขาดถ้าผู้เล่นทั้งสองฝ่ายแข่งขันกันไม่สมศักดิ์ศรี เป็นการหลอกลวงผู้ดู ผู้ควบคุมทีม และผู้ตัดสิน
ผูเ้ ล่นท้งั สองทีมจะถูกลงโทษให้ออกจาก การแข่งขนั และผลการแข่งขันที่ผา่ นมาก่อนหน้านนั้ ก็ให้ถือเป็นโมฆะ
ดว้ ยนอกจากน้นั แลว้ ผเู้ ลน่ ทั้งสองทีม จะต้องถกู พจิ ารณาลงโทษตามทกี่ ำหนด ไว้ใน ขอ้ 37 อีก
21
ข้อ 13. ผู้เล่นที่มีพฤติกรรมอันเป็นการผิดมารยาทอย่างรุนแรงต่อผู้ควบคุมทีม ผู้ตัดสิน ผู้เล่นคนอื่น ๆ หรือ
ผู้ดจู ะถูกลงโทษตามสภาพของความผิด ดงั น้ี
ก. ใหอ้ อกจากการแขง่ ขัน
ข. ถอนใบอนญุ าต ( บัตรประจำตวั นักกีฬา)
ค. งดให้รางวลั หรอื เงนิ รางวลั
13.1 การลงโทษผู้เล่นทีก่ ระทำผิดอาจมีผลถึงผ้รู ว่ มทีมดว้ ย
13.2 บทลงโทษ (ก) และ (ข) เป็นอำนาจของผ้ตู ัดสนิ
13.3 บทลงโทษ (ค) เปน็ อำนาจของคณะกรรมการจัดการแข่งขนั ท่จี ะต้องทำรายงาน และส่งรางวัล
ท่ียึดไวน้ ั้นให้สมาคมสหพนั ธฯ์ ทราบภายใน 48 ช่ัวโมง เพือ่ พจิ ารณาตามที่เหน็ สมควรต่อไป
13.4 การลงโทษทุกกรณีเป็นอำนาจของคณะกรรมการบริหารสมาคมมสหพันธ์ฯที่จะพิจารณา
เป็นขัน้ ตอนสดุ ทา้ ยดว้ ย
ขอ้ 14. ผตู้ ดั สินทกุ คนที่ได้รับการแต่งตั้งจากสหพันธเ์ ปตองนานาชาติหรือสมาคมสหพันธ์เปตองแห่งประเทศ
ไทยมี หน้าที่คอยควบคุมดูแลให้การแข่งขันดำเนินไปอย่างมีระเบียบและถูกต้องตามกติกาอย่างเคร่งครัด
และมีอำนาจใหผ้ ู้เล่นทกุ คนหรือทุกทมี ทปี่ ฏิเสธไม่ปฏิบตั ติ ามคำสัดสนิ ออกจากการแข่งขนั ได้
14.1 หากมีผู้ซึ่งเป็นนักกีฬาในสังกัดของสหพันธ์ฯ เป็นต้นเหตุทำให้เกิดการจลาจลในสนามแข่งขนั
ผู้ตัดสินจะต้องรายงานให้สหพันธฯ์ ทราบทางสหพันธ์ฯจะได้เรียกตัวผูก้ ระทำผิดนั้นมาชี้แจงต่อคณะกรรมการ
ระเบยี บวนิ ยั เพ่ือพิจารณาลงโทษต่อไป
ข้อ 15. หากกรณีอื่นใดที่มิได้กำหนดไว้ในกติกานี้ เป็นหน้าที่ของผู้ตัดสินที่จะต้องขอความร่วมมือ
คณะกรรมการชี้ขาดการแข่งขันครั้งนั้นเพื่อพิจารณาตัดสินชี้ขาดตามสมควรแก่กรณี (คณะกรรมการชี้ขาด
ประกอบดว้ ยกรรมการ 3 คน หรือ 5 คน)
15.1 การชี้ขาดของคณะกรรมการผู้ตัดสินชี้ขาดถือเป็นการสิ้นสุด ในกรณีมีเสียงเท่ากันให้ประธาน
กรรมการผู้ตัดสินชข้ี าดเปน็ ผ้ชู ้ขี าด
15.2 ผเู้ ล่นทกุ คนจะต้องแตง่ กายให้เรียบร้อย การไม่สวมเสื้อ ไม่สวมรอ้ งเท้า ถอื วา่ มคี วามผิด ผู้เล่น
ที่ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎนี้ถ้าผู้ตัดสินตักเตือน 1 ครั้ง และหากยังเพิกเฉยฝ่าฝืนอยู่อีกจะถูกลงโทษให้ออกจาก
การแขง่ ขนั
22
6. จุดเด่นและประโยชน์ของกฬี าเปตอง
1. จดุ เดน่ ของกีฬาเปตอง
1.1 เป็นพื้นฐานในการเล่นกีฬาประเภทอื่น ๆ ลักษณะของการเล่นเป็นการเสริมสร้างแนวความคิด
และสติปญั ญาของผเู้ ล่น
1.2 ในระหวา่ งการเล่นรา่ งกายจะไดร้ ับการบริหารทกุ สว่ น กลา่ วได้วา่ ในการเล่นเปตอง 6 เกมส์/วัน
จะตอ้ งออกกำลังในการใช้ลูกบูลท่ีมนี ้ำหนกั 680/700 กรัม ถงึ ประมาณ 200 คร้งั ก้มขน้ึ ลงประมาณ 250 คร้ัง
เดนิ ไปมาในสนามประมาณ 3 กิโลเมตร
1.3 การเล่นกีฬาประเภทนี้ง่าย และสะดวก เล่นได้ทุกเวลาทั้งในร่ม และกลางแจ้ง สนามเดิน หญ้า
และลกู รัง
2. ประโยชน์ของกีฬาเปตอง
พฒั นาทางด้านรา่ งกาย
- กำลงั แขน ผู้เลน่ จะฝึกการใชก้ ำลังท้งั น้วิ มอื ขอ้ มือ แขน ข้อศอก และหัวไหลใ่ ห้สัมพนั ธ์กนั เพื่อการ
บังคบั ลกู ให้ได้จังหวะ และระยะที่ตอ้ งการ
- กำลังขา ผู้เล่นจะตอ้ งเดินไปเดินมาตามความยาวของสนามซึง่ มขี นาดยาว 15 เมตร กว้าง 4 เมตร
ลุกนั่ง เพอ่ื การวาง หรอื เขา้ ลูกตลอดเวลาการเล่น
- สายตา กีฬาเปตองช่วยให้เกิดการทำงานที่สัมพันธ์กันระหว่างสายตา และมือ เนื่องจากต้องใช้
สายตา กะระยะทาง พจิ ารณาแง่มมุ ต่าง ๆ ท่ีจะเขา้ ลกู ตลี กู เพ่ือใหไ้ ดป้ ระสทิ ธิภาพตามตอ้ งการ
23
พัฒนาการทางดา้ นสตปิ ญั ญา
- กีฬาเปตองเป็นเกมการเล่นทีจ่ ำเป็นต้องอาศยั การคิด คาดคะเน และการอา่ นเกมในการเล่น อย่าง
จรงิ จัง คดิ เกมรับเมอื่ เปน็ ฝา่ ยเสยี เปรยี บ และเกมรกุ ท่ีบงั คับให้ฝ่ายตรงข้ามเลน่ ตามเกมท่ีเราวางไว้
พฒั นาการทางด้านจิตใจ
- กีฬาเปตองมีท้ังเด่ียว คูท่ ีม ผเู้ ล่นจะตอ้ งเข้าใจถึงจิตใจของผู้ร่วมทีมเป็นอย่างดี มีการปรึกษาหารือ
กัน ยอมรับความคิดของกัน และกัน แสดงให้เห็นถึงการเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี สมาธิเป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่ง
ไม่ว่าเป้นการเล่นประการใด ๆ ผู้เล่นจะต้องฝึกการวางเฉย ทำจิตให้สงบ ทำสมาธิให้ได้ ตั้งความหวังให้น้อย
กว่าความเปน็ จริง ไมว่ ติ กกงั วลเกินไป ไม่ท้อถอยในการเล่น ไม่สนใจเสยี งขม่ ขวัญ เสียงเชยี ร์ท่ีดัง การสอนเกม
การเล่นของฝ่ายตรงขา้ ม เพราะส่ิงต่าง ๆ เหล่าน้ีจะทำให้เกดิ ความกงั วลสับสน จะมีผลตอ่ เกมการเล่น ถ้าสมาธิ
ไม่ดีพอ
การพฒั นาการทางด้านสงั คม
- กีฬาเปตอง เป็นกีฬาที่เล่นได้ไม่ยาก จึงมีผู้นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลายจะเห็นได้ว่าในหมู่บ้าน
หน่วยงานของรัฐและเอกชนได้จัดให้มีการแข่งขัน เพื่อให้ผู้เล่นได้มาพบปะสังสรรค์ได้รู้จักและได้ร่วมสนุกกัน
นับเป็นการสรา้ งสังคมอันดีแก่นักกีฬา นอกจากนี้ยังลดปัญหาสารเสพติด เนื่องจากคนหันมาเล่นกีฬาลง่ ผลให้
ปญั หาอาชญากรรมลดลง
- ดังน้นั การเล่นกีฬาเปตองจำเปน็ ตอ้ งรพู้ นื้ ฐานของการเลน่ การใชเ้ ทคนิคทุกรปู แบบ
24
บรรณานุกรม
นางสาวณฎั ฐาพร ฉมิ วารี และคณะ.บทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเรอื่ งกีฬาเปตอง [Online]. 2021,
แหล่งทีม่ า: https://sites.google.com/site/doisaketwittayakomsports/klu-sm-sara-sukh-
suksa-elea-phlsuksa/kila-petxng/thaksa-kar-len-kila-petxng [12 กุมภาพนั ธ์ 2564]
โรงเรยี นดอยสะเก็ดวทิ ยาคม. กติกาของกฬี าเปตอง [Online]. 2021, แหลง่ ที่มา: https://sites.google.com/
site/doisaketwittayakomsports/klu-sm-sara-sukh-suksa-elea-phlsuksa/kila-petxng/ktika-
khxng-kila-petxng [12 กุมภาพันธ์ 2564]
เศวตชยั ชูทอง.กีฬาเปตอง [Online]. 22 มถิ นุ ายน 2557, แหล่งท่ีมา: http://sawettachai.blogspot.com/2014/06/
blog-post_22.html [12 กุมภาพันธ์ 2564]