The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทบาทของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ปัจจัยที่มีผลต่อธุรกิจสัตว์น้ำ โครงการพัฒนาระบบการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ สัตว์น้ำที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ สัตว์น้ำจืดที่สำคัญทางเศรษฐกิจ สัตว์น้ำกร่อยที่สำคัญทางเศรษฐกิจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teerapol6469, 2021-09-17 00:26:51

ความสำคัญ การตลาด และสถานการณ์ของการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ

บทบาทของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ปัจจัยที่มีผลต่อธุรกิจสัตว์น้ำ โครงการพัฒนาระบบการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ สัตว์น้ำที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ สัตว์น้ำจืดที่สำคัญทางเศรษฐกิจ สัตว์น้ำกร่อยที่สำคัญทางเศรษฐกิจ

บทเรียนโมดลู

เร่อื ง ความสาคญั การตลาด และสถานการณข์ องการเพาะพนั ธส์ุ ัตว์นา้
วิชาการเพาะเลี้ยงสตั วน์ า้ เศรษฐกจิ รหัสวิชา 20501-2806

หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2562

จดั ทาโดย
นางสาวนันณภชั สรณ์ วรรณจนั ทร์
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยกี ระบ่ี
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา

บทเรยี นโมดลู ชุดที่ 1 เรือ่ ง ความสา้ คัญ การตลาด และสภาวะการของการเพาะพันธุ์สัตวน์ า้
ในรายวิชา การเพาะเล้ียงสัตว์น้าเศรษฐกิจ รหัสวิชา 20501-2806 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
เล่มนี้ จัดท้าข้ึนเพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการสอน ได้แบ่งเน้ือหา ประกอบด้วย บทบาทของการเพาะเล้ียง
สัตว์น้า ปัจจัยที่มีผลต่อธุรกิจสัตว์น้า โครงการพัฒนาระบบการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์สัตว์
นา้ สตั ว์น้าท่ีมคี วามสา้ คญั ทางเศรษฐกิจ สัตว์นา้ จืดทส่ี า้ คญั ทางเศรษฐกิจ สตั ว์นา้ กร่อยทีส่ า้ คญั ทางเศรษฐกิจ

บทเรียนโมดูลเล่มนี้ได้เรียบเรียงเน้ือหาและกระบวนการเรียนตามจุดประสงค์และค้าอธิบายรายวิชา
มีการบูรณาการ การจัดเรียนการสอน การจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับผู้เรียนโดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข พร้อมทั้งสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ตามนโยบายของส้านักงาน
คณะกรรมการอาชีวศึกษา และกระทรวง ศึกษาธิการไว้ด้วย โดยมีการประเมินผลการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย
รวมท้ังการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะอาชีพแท้จริง และบูรณาการกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งและมงุ่ พัฒนาให้ผเู้ รียนมีคุณลกั ษณะ 3D ไปใช้ในการเรยี นและการดา้ เนินชวี ิตประจ้าวันได้

พยายามอย่างยิ่งที่จะเอ้ืออ้านวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนและหวังว่าบทเรียนโมดูลเล่มน้ีคงจะ
เกิดประโยชน์กับเพ่ือนครูสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนของท่านได้ หากมีสิ่งใดขาดตก
บกพรอ่ งผจู้ ัดทา้ ยนิ ดนี อ้ มรบั เพือ่ ปรบั ปรุงแก้ไขให้ดีและสมบูรณ์ ขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสน้ี

นางสาวนนั ณภชั สรณ์ วรรณจนั ทร์

สารบญั หนา้

เรือ่ ง

ค้านา้
สารบัญ
คา้ ช้ีแจงในการใช้มอดลู สา้ หรับนกั เรยี น
สมรรถนะการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
การประเมินผลหลังเรยี น
การซ่อมเสริม
ขอบข่ายเนื้อหา
สาระสา้ คญั
แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียนหน่วยที่ 1
เนอื้ หา
แบบฝกึ หัด หนว่ ยท่ี 1

คาชีแ้ จงในการใชม้ อดลู สาหรบั นกั เรียน
การใชบ้ ทเรียนโมดูล

1. ครแู นะนา้ นักเรยี นเกี่ยวกับองค์ประกอบของบทเรยี นโมดูล ชดุ ที่ 1 เร่อื ง ความสา้ คัญ การตลาด
และสภาวะการของการเพาะพันธุส์ ตั วน์ า้
2. นักเรียนศึกษา และตรวจสอบองค์ประกอบของบทเรยี นโมดูล ชดุ ท่ี 1ความสา้ คญั การตลาด และ
สภาวะการของการเพาะพันธ์ุสัตวน์ ้า
3. นกั เรยี นศกึ ษา และปฏบิ ัติกจิ กรรมตามลา้ ดับ ดังนี้

3.1 นักเรียนท้าแบบทดสอบก่อนเรยี น
3.2 นกั เรียนศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการเรยี น
3.3 นกั เรยี นปฏิบตั กิ ิจกรรมตามเอกสารประกอบการเรียน
4. ในระหว่างการปฏิบัติกิจกรรม หากนักเรียนมีข้อสงสัย สามารถซักถามสามารถ
ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
5. เมื่อปฏบิ ัติกจิ กรรมในแตล่ ะช่ัวโมง ครูและรกั เรยี นร่วมกันอภิปรายความรู้ และเฉลยค้าตอบของ
การปฏิบตั ิกิจกรรม
6. นกั เรียนรว่ มกันซักถาม และอภปิ รายความรู้เกีย่ วกบั ความส้าคญั การตลาด และสภาวะการของ
การเพาะพันธ์ุสัตว์น้า
7. นกั เรียนท้าแบบฝึกหัดหลงั เรยี น

สมรรถนะการเรยี นรู้

1. บอกสถานการณ์การตลาดและ วิเคราะห์การตลาดการเพาะเลยี้ ง สตั ว์น้าในปัจจบุ นั ได้
2. วางแผนการเพาะเลี้ยงสตั ว์น้า เศรษฐกจิ ในอนาคตได้
3. สามารถวเิ คราะห์การตลาดการ เพาะเลย้ี งสตั ว์น้าของประเทศไทยได้ ถูกต้อง

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
ด้านความรู้

1. บอกสถานการณ์การตลาดและวเิ คราะห์การตลาดการเพาะเลย้ี งสัตวน์ ้าเศรษฐกจิ ในปัจจุบนั ได้
2. วางแผนการเพาะเล้ยี งสัตวน์ ้าเศรษฐกิจในอนาคตได้

ดา้ นทักษะ
1. สามารถวเิ คราะห์การตลาดการเพาะเล้ยี งสตั ว์น้าเศรษฐกิจของประเทศไทยไดถ้ กู ตอ้ ง
2. สามารถสา้ รวจตลาดสตั วน์ ้าเศรษฐกิจในจังหวัดกระบี่ได้ถูกต้อง

ด้านคุณลักษณะ
1. ปฏบิ ตั ิงานท่ีได้รบั มอบหมายเสรจ็ ตามกา้ หนด (ความรับผดิ ชอบ)
2. ใชว้ สั ดอุ ุปกรณอ์ ย่างคุ้มคา่ ประหยัด (ความประหยัด)
3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรยี นและการปฏิบัติงาน (ความขยัน ความอดทน)
4. ให้ความร่วมมือกบั การทา้ กิจกรรมของส่วนรวม อาสาช่วยเหลอื งานครแู ละผู้อนื่ (แบง่ ปนั )

การประเมนิ ผลหลงั เรียน

นักเรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินผลผ่านเกณฑร์ ้อยละ 70 สามารถเรยี นบทเรียนโมดูลต่อไปได้แต่ถา้ ไม่
ผ่านการประเมินร้อยละ 70 นักเรียนต้องรีบซอ่ มเสรมิ

การเรียนซ่อมเสริม

ถา้ นักเรยี นไม่ผ่านเกณฑ์ที่ระบไุ ว้ ให้นกั เรียนได้ศึกษาดามจุดประสงค์ที่ไมผ่ า่ น แลว้ ท้า
แบบทดสอบภาคความรู้หลังเรยี นให้ผา่ นเกณฑท์ ก่ี า้ หนดไว้
การเรยี นซ่อมเสรมิ ใหน้ กั เรยี นปฏิบตั ิ ดงั นี้
1. ใชเ้ วลามากกว่าเดิม
2. ใหเ้ พ่อื นช่วยเหลือ
3. ครอู ธิบายเพ่ิมเดิม

ขอบข่ายเนอื้ หา

1 บทบาทของการเพาะเลี้ยงสัตวน์ ้า
2 ปจั จัยทม่ี ีผลต่อธุรกจิ สัตว์น้า
3 โครงการพฒั นาระบบการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดบิ และผลิตภณั ฑ์สตั วน์ ้า
4 การวางแผนฟาร์มเพาะเลยี้ งสตั ว์น้า

สาระสาคญั

สินค้าและผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้าท่ีได้จากการเพาะเลี้ยง นอกจากต้องแข่งขันกันเองระหว่างแหล่ง
ผลผลติ ต่างๆ แล้ว ยังต้องแขง่ กับสัตวน์ ้าท่ีจบั ได้จากธรรมชาติ เพราะสินค้าจากธรรมชาติสามารถลดต้นทุน
ด้านการเพาะเลี้ยงและชาวบา้ นบางคนยงั รงั เกยี จเร่ืองวิธกี ารเพาะเล้ียงที่มกี ารเตมิ ปุย฻ คอก ป฻ุยมูลสัตว์ และยา
ปฏิชีวนะต่าง ๆ ที่ผู้เพาะเล้ียงใส่ลงไปเพ่ือปรับปรุงคุณภาพน้าและฆ่าเช้ือโรค ตัวอย่างเช่น กุ้งแม่น้าราคา
แพงกว่ากุ้งเลี้ยง นอกจากนผ้ี ลิตภัณฑ์สตั วน์ า้ ยังตอ้ งแขง่ ราคากับผลิตภณั ฑจ์ ากสัตวบ์ กอีกหลายชนิด

แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรยี นหนว่ ยท่ี 1

1. ข้อใดเป็นปจั จัยสา้ คัญทมี่ ผี ลตอ่ การลงทุนในการด้าเนินธรุ กิจการเพาะเล้ียงสตั วน์ า้
ก. พ่อพนั ธส์ุ ตั ว์นา้
ข. แม่พันธุส์ ัตวน์ า้
ค. พันธุ์สตั วน์ ้าที่จะน้ามาเลี้ยง
ง. ถูกทุกขอ้

2. ข้อใดไม่ใชส่ ัตว์น้าจดื ที่มีความส้าคญั ทางเศรษฐกิจ
ก. กบ
ข. ตะพาบนา้
ค. ปลาแขยง
ง. ปลาจีน

3. ข้อใดไม่ใชส่ ัตวน์ ้ากร่อยทีม่ ีความส้าคญั ทางเศรษฐกิจ
ก. ปลาส้าลี
ข. ปลากะรัง
ค. กุ้งแชบ๊วย
ง. หอยนางรม

4. ข้อใดไม่ใช่ทรัพยากรสตั ว์ทะเลประเภทไม่มีกระดูกสันหลัง
ก. ก้งุ กลุ าดา้
ข. มา้ น้า
ค. หมกึ กระดอง
ง. ปูม้า

5. ข้อใดเป็นสัตวน์ า้ สวยงามที่มคี วามส้าคญั ทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
ก. ปลาม้าลาย
ข. ปลานอี อน
ค. ปลากาแดง
ง. ปลากดั

6. ปลานลิ ในประเทศไทยนา้ เข้ามาจากประเทศใด
ก. จีน
ข. อินโดนเี ซีย
ค. ญ่ปี นุ
ง. พม่า

7. ปลาในข้อใดเป็นปลาทไ่ี มจ่ ัดอยใู่ นตระกูลเดียวกบั ปลาตะเพยี น
ก. ปลาเกลด็ เงนิ
ข. ปลาสลดิ
ค. ปลาไน
ง. ปลาหวั โต

8. ปลากะรังมีช่อื เรียกอกี ชอ่ื ว่าอะไร
ก. ปลาเก๋า
ข. ปลาล่ิน
ค. ปลาเฉา

9. หอยในข้อใดสมัยกอ่ นเล้ยี งร่วมกบั การท้าโปฺะ
ก. หอยมุก
ข. หอยนางรม
ค. หอยแมลงภู่
ง. หอยโขง่ ทะเล

10. ปลาในขอ้ ใดออกลูกเป็นตัว
ก. ปลาหมอสี
ข. ปลาหางนกยงู
ค. ปลานิล
ง. ปลาอะโรวาน่า

เฉลย

1. ง
2. ค
3. ก
4. ข
5. ง
6. ค
7. ข
8. ก
9. ค
10. ข

หน่วยท่ี 1

ความสาคญั การตลาด และสถานการณ์ของการเพาะพนั ธ์ุสัตว์น้า

1. ความสาคัญของการเพาะเล้ยี งสตั ว์น้าเศรษฐกิจ
1.1 บทบาทของการเพาะเลยี้ งสัตวน์ า้
สินค้าและผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้าท่ีได้จากการเพาะเลี้ยง นอกจากต้องแข่งขันกันเองระหว่างแหล่ง

ผลผลิตต่าง ๆ แล้ว ยังต้องแข่งกับสัตว์น้าที่จับได้จากธรรมชาติ เพราะสินค้าจากธรรมชาติสามารถลดต้นทุน
ดา้ นการเพาะเลย้ี ง และชาวบ้านบางคนยังรังเกียจเรื่องวิธีการเพาะเล้ียงที่มีการเติมป฻ุยคอก ป฻ุยมูลสัตว์ และยา
ปฏิชีวนะต่าง ๆ ที่ผู้เพาะเลี้ยงใส่ลงไปเพ่ือปรับปรุงคุณภาพน้าและฆ่าเชื้อโรค ตัวอย่างเช่น กุ้งแม่น้าราคาแพง
กว่ากุ้งเล้ียง นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ายังต้องแข่งราคากับผลิตภัณฑ์จากสัตว์บกอีกหลายชนิด เช่น ไก่ หมู
โค กระบือ เม่ือปริมาณการผลิตมีมากจนล้นตลาดก็ต้องแข่งขันกันลดราคา เพ่ือระบายสินค้าออกให้หมด ท้า
ใหผ้ ปู้ ระกอบการหลายรายตอ้ งประสบกับภาวะขาดทุน ถูกยึดทรัพย์สินและกิจการต่าง ๆ จนล้มละลายดังค้า
พงั เพยท่ชี าวบา้ นพดู กันวา่ “ก้งุ กนิ โฉนด ไกก่ ินบ้าน หมูกนิ เมือง”

1.2 ปจั จยั ทม่ี ีผลต่อธรุ กิจสัตว์นา้
ปัจจัยส้าคัญที่มีผลต่อการลงทุนในการด้าเนินธุรกิจการเพาะเล้ียงสัตว์น้า คือ พ่อพันธุ์ แม่พันธ์ุ

และพันธ์ุสัตว์น้าที่จะน้ามาเล้ียง เพราะมีความผันแปรสูง ตัวอย่าง เช่น การขอสั่งจองพันธ์ุกุ้งทะเลของสถาน
เพาะขยายพันธ์ุกุ้งตามจังหวัดต่างๆ ในปี พ.ศ. 2526-2528 ตกประมาณปีละ 250-300 ล้านตัว ซึ่งสถานเพาะ
ขยายพนั ธุก์ ุ้งของกรมประมงไม่สามารถผลิตได้เพียงพอกับความต้องการ ต่อมาภาคเอกชนต่าง ๆ ก็ได้ให้ความ
สนใจและหันมาด้าเนินการผลิตพันธุ์กุ้งทะเลเพ่ือจ้าหน่ายให้แก่เกษตรกรรายย่อยที่ซ้ือพันธุ์ไปเพาะเลี้ยงเพื่อ
การจ้าหน่ายแตเ่ พยี งอยา่ งเดียว

การผลิตลูกกุ้ง คล้ายกับธุรกิจการเพาะเล้ียงสัตว์น้าและธุรกิจการเกษตรทั่วไป ที่จะต้องเผชิญกับ
ความไม่แน่นอนทางธรรมชาติและปัจจัยต่าง ๆ ท่ีไม่อาจควบคุมได้ เช่น มลภาวะ โรคระบาด การขาดแคลน
พอ่ -แม่พันธุ์ นักลงทนุ ควรคา้ นงึ ถึงความไมแ่ นน่ อนของการลงทนุ และผลตอบแทนด้วย ดังเช่น หน่วยเพาะพันธุ์
สัตว์น้าของกรมประมงจ้าหน่ายพันธุ์กุ้งแชบ๊วยให้แก่เกษตรกรในราคาตัวละ 7 สตางค์ ต้นทุนจริงราคาตัวละ
6.47 สตางค์ แต่เอกชนจากโรงเพาะฟักแห่งหน่ึงสามารถผลิตลูกกุ้งได้ ด้วยราคาต้นทุนเพียง 3 สตางค์เท่านั้น
แตเ่ อกชนบางแห่งต้องขาดทุนเพราะเกดิ โรคระบาดในการเพาะฟักลูกกุ้ง

1.3 โครงการพฒั นาระบบการตรวจสอบคณุ ภาพวัตถดุ ิบ และผลิตภัณฑ์สัตวน์ ้า
ปัจจุบันน้ีผลิตภัณฑ์สัตว์น้ามีความส้าคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมากในปี พ.ศ.

2535 มูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์สัตว์น้าของไทยมีมากถึงร้อยละ 70 ของมูลค่าการส่งออกสินค้าแปรรูป
ทัง้ หมดของประเทศ กุ้งทะเลนับวา่ เป็นสินค้าหลักประเภทแช่เย็นหรือแช่เยือกแข็ง ตลาดส่งออกของไทยได้แก่
ประเทศญ่ีปุน สหรัฐอเมริกา และกลุ่มประชาคมยุโรป ประเทศเหล่าน้ีต่างก็มีมาตรฐานคุมเข้ม เกี่ยวกับ
คุณภาพเพ่ือความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นหลัก พร้อมท้ังผลักดันให้ประเทศผู้ส่งออกรับประกันคุณภาพ
สินค้า โดยรับรองคุณภาพตลอดทุกขั้นตอนตั้งแต่วัตถุดิบ การเพาะเลี้ยง การจับ การขนส่ง การใช้ยาและ
สารเคมีในระหว่างการเลี้ยงและหลังการจับ การผลิต ตลอดจนถึงข้ันตอนการส่งออก การก้าหนดข้ันตอน
ดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาแก่ผู้ประกอบการผลิตในประเทศไทยเป็นอย่างมาก เพราะประเทศไทยยังไม่มี

หน่วยงานควบคุมและรับประกันคุณภาพแบบครบวงจร ผู้ประกอบการผลิตยังขาดความรู้เร่ืองการควบคุม
คุณภาพใหไ้ ดม้ าตรฐานส่งออก ทา้ ให้เกิดปัญหาเรอื่ งการตรวจพบยาปฏิชวี นะตกคา้ งในกุ้งแชเ่ ยือกแข็งจนสินค้า
ถูกส่งกลับมาและท้าให้ผู้สั่งเพิ่มมาตรการที่เข้มงวดมากขึ้นเป็นผลให้การส่งออกสินค้าชะงักงัน ท้าให้ประเทศ
คู่แข่งแย่งตลาดสินค้าไปได้ ด้วยเหตุนี้ เม่ือวันที่ 21 ธันวาคม 2536 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบให้กรม
ประมงด้าเนินการจัดตั้งหน่วยงานที่ท้าหน้าท่ีวิเคราะห์สินค้าสัตว์น้าที่ส่งไปยังประชาคมยุโรปและประเทศต่าง
ๆ ท่เี ปน็ ลูกค้าของไทย ระบบตรวจสอบสนิ คา้ ผลติ ภัณฑ์สตั วน์ ้าแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ

1) หน่วยตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบสัตว์น้า (Raw Materials Inspection Unit) ประจ้าจังหวัดท้า
หน้าท่ีบริการตรวจ รังรองวัตถุดิบสัตว์น้า ซึ่งเป็นผลผลิตท่ีได้จากฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้า โดยจัดตั้งท่ีจังหวัด
สงขลา ภูเก็ต สรุ าษฎรธ์ านี และจันทบุรี ข้นึ กอ่ น 4 แห่ง

2) จัดตั้งศูนย์ตรวจสอบสินค้าสัตว์น้าเพื่อการส่งออก (Fishery Export Products Inspection
Center) ศูนย์ตรวจสอบสินค้าสัตว์น้าเพ่ือการส่งออก เดิมมีอยู่แล้ว 3 แห่ง คือท่ีกรุงเทพฯ สงขลา และ
สุราษฏร์ธานี ต่อมาได้ตั้งเพ่ิมขึ้นอีก 2 แห่ง คือ จังหวัดชุมพร และ จังหวัดสมุทรปราการ โดยให้บริการ
ตรวจสอบทางด้าน สุขาภิบาล กระบวนการผลิตและแปรรูปต่าง ๆ โดยมีระยะเวลาด้าเนินการ 2 ปี คือ
พ.ศ. 2537 – 2538 ด้วยงบประมาณท้งั ส้ินเกอื บ 250 ล้านบาท (กรมประมง, 2537)
2. สัตวน์ า้ ทม่ี ีความสาคัญทางเศรษฐกิจ

สัตว์น้าท่ีมีความส้าคัญทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ปลา กุ้ง กั้ง ปู หอย กบ ตะพาบน้า จระเข้ และสาหร่าย
เป็นต้น ซ่ึงเป็นท้ังที่น้ามาเป็นอาหาร เป็นเคร่ืองประดับ และเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ โดยสามารถแยกกล่าว
เป็นกลุม่ ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้

2.1. สัตว์น้าจืดที่สาคัญทางเศรษฐกิจ สัตว์น้าจืดเป็นอาหารคู่กับคนไทยมาต้ังแต่โบราณ โดยที่ผ่านมา
จากการจับจากธรรมชาติ ส่วนในปัจจุบันนี้แหล่งที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของสัตว์น้าเสื่อมโทรมลง ใน
ขณะเดียวกันความต้องการสัตว์น้าจืดเพื่อการบริโภคเพ่ิมมากข้ึน จึงเริ่มมีการพัฒนาการเพาะเล้ียงสัตว์น้าจืด
เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการของการตลาด ท้าให้อาชีพการท้าการประมงน้าจืดเป็นอาชีพที่ส้าคัญของชาว
ไทยอกี อาชีพหน่ึง โดยสตั วน์ า้ ท่ีมคี วามส้าคัญทางเศรษฐกิจของไทยมดี งั น้ี

1) ปลานิล ( Nile tilapia : Oreochromis niloticus ) เป็นปลาเศรษฐกิจท่ีรู้จักกันอย่างแพร่หลาย
แม้ว่าไม่ใช่ปลาพ้ืนเมืองของไทย แต่น้าเข้ามาจากญี่ปุน (ถิ่นก้าเนิดของปลานิลอยู่ในทวีปแอฟริกา) เมื่อปี พ.ศ.
2508 โดยมกุฎราชกุมารอากิฮิโต แห่งประเทศญ่ีปุน ได้จัดส่งปลานิลขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงทรงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เพาะเลี้ยงบริเวณพระ
ต้าหนักสวนจิตรดา พระราชวังดุสิต และพระราชทานชื่อว่าปลานิล หลังจากน้ัน 1 ปี ก็ทรงพระราชทานปลานิล
แก่กรมประมงเพื่อเพาะและขยายพันธุ์ ส่งเสริมการเพาะเล้ียงไปทั่วประเทศดังเช่นปัจจุบัน ปลานิลเป็นปลาท่ีมี
ลักษณะคล้ายปลาหมอเทศ แพร่พันธ์ุได้เร็ว อัตราการเจริญเติบโตสูง รสชาติดี อาจเล้ียงในบ่อ หรือในกระชังก็ได้
ปริมาณการผลิตปลานิลเพ่ิมข้ึนทุกปี ภาคกลางนับเป็นแหล่งเล้ียงปลานิลที่ส้าคัญ รองลงมาคือภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ

2) ปลาไน ( Common carp : Cyprinus carpio ) เป็นปลาที่จัดอยู่ในตระกูลเดียวกับปลา
ตะเพียน ที่รู้จักกันทั่วโลก แม้ในต้าราการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเล่มแรกของโลกก็ได้กล่าวถึงปลาไนไว้ด้วย เชื่อว่า
คนจีนท่ีอพยพเข้ามาในประเทศไทยเป็นผู้น้าเข้ามาเล้ียง ปลาไนเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตได้ในน้าที่มี
สภาพเป็นด่างอ่อน เป็นปลากินพืช ตะไคร่น้า ไรน้า แหน กากถ่ัว เลี้ยงกันมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคเหนือ

3) ปลาตะเพียนขาว ( Thai silver barb : Puntius gonionotus ) เป็นปลาพ้ืนเมืองของไทย
พบทั่วไปในแม่น้าสายต่างๆ เป็นปลากินพืชที่ขยายพันธ์ุได้รวดเร็ว มีความเป็นอยู่คล้ายกับปลานิล เป็นปลาท่ี
ผู้บริโภคนิยมมากชนิดหน่ึง ภาคกลางนับเป็นแหล่งเล้ียงปลาตะเพียนขาวท่ีส้าคัญ รองลงมาคือภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื

4) ปลาสลิด ( Sepat siam : Trichogaster pectoralis ) เป็นปลาพื้นเมืองของไทยมีรูปร่าง
คล้ายใบไม้ จึงมีช่ือเรียกอีกอย่างว่าปลาใบไม้ ชอบอาศัยในแหล่งน้านิ่ง โดยเฉพาะแถบลุ่มน้าภาคกลางจึง
เจรญิ เติบโตไดด้ ใี นบอ่ และในนา จัดเป็นปลากินพืช เช่น พวกแหน ตะไคร่น้า ผักบุ้ง ร้า เป็นต้น มีการเลี้ยงปลา
สลดิ กันมากในภาคกลาง โดยเฉพาะจงั หวัดสมทุ รปราการ นยิ มบริโภคเป็นปลาสลิดแดดเดียวเป็นส่วนใหญ่

5) ปลาจีน เป็นปลาที่มีแหล่งก้าเนิดมาจากประเทศจีน ท่ีนิยมเลี้ยงมี 3 ชนิดคือ ปลากินหญ้า (เฉาฮ้ือ
Grass carp : Ctenopharyngodon idellus ) ปลาเกล็ดเงิน (เล่งฮ้ือ หรือลิ่นฮ้ือ Silver
carp: Hypophthalmichthys molitrix ) และปลาหัวโต (ซ่งฮ้ือ Bighead carp : Aristichthys nobilis ) ปลา
ดังกล่าวจัดอยู่ในพวกเดียวกับปลาตะเพียน แต่มีลักษณะต่างกันดังนี้ ปลาเฉาล้าตัวกลมยาว สีค่อนข้างเขียว หา
กินผิวน้า ปลาเล่งตัวแบนเกล็ดละเอียด สีเงิน หากินบริเวณกลางน้า ส่วนปลาซ่ง มีลักษณะคล้ายปลาเล่ง แต่มีหัว
โตกว่า หากินตามพ้ืนก้นบ่อ อาหารของปลาจีนคือ พืชผัก หญ้า ไรน้า โดยเฉพาะปลาเฉา ต้องการผักหญ้า
มากกว่าปลาชนิดอ่ืน มูลของปลาเฉาเป็นปุ฻ย และ เป็นอาหารของปลาเล่ง และปลาซ่ง จึงสามารถน้ามาเลี้ยงรวมกัน
ได้ เล้ยี งกันมากในภาคกลาง

6) ปลาดุก ปลาดุกทเ่ี ลยี้ งกันมากในปจั จุบันจะเป็นลูกผสม ระหวา่ งแม่ปลาดุกอุย ( Walking catfish
: Clarias macrocephalus ) กับพ่อปลาดุกยักษ์ (African catfish : Clarias gariepinus ) ที่เรียกว่าปลา
ดุกบ๊ิกอยุ ซ่ึงเป็นปลาทร่ี วมลกั ษณะดขี องพ่อแม่ปลาคือ เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย โตเร็ว เนื้อมีสีเหลืองน่ากิน ในการ
เลี้ยงปลาดุกนิยมเลี้ยงในบ่อดิน เป็นปลากินเน้ือ อาหารท่ีส้าคัญ ได้แก่ แมลง เศษเนื้อสัตว์ ปลาปุน
อาหารสา้ เร็จรปู พบว่าเล้ียงกนั ท่วั ทกุ ภาคของประเทศไทย

7) ปลาช่อน ( Snake head fish : Channa striatus ) ปลาช่อนเป็นปลากินเน้ือ ท่ีพบ
แพร่กระจายในแหล่งน้าจืดทั่วทุกภาคของประเทศ เป็นปลาท่ีมีความอดทนและปรับตัวตามสภาพแวดล้อม
ต่าง ๆ ได้ดี ในธรรมชาติ ปลาช่อนชอบอาศัยอย่เู ดย่ี ว ๆ หรอื เป็นคู่ ตามพนื้ หนา้ ดนิ ท่ีเปน็ โคลน ในฤดแู ล้งปลา
ช่อนสามารถหมกตัวอยู่ในโคลนและสามารถมีชีวิตอยู่ได้เป็นเวลานาน เป็นปลาที่นิยมบริโภคอีกชนิดหนึ่ง
ปัจจบุ นั การจบั จากธรรมชาติไดน้ อ้ ยลง จงึ มผี ้นู า้ ปลาช่อนมาเล้ยี งในบอ่ แหลง่ เลี้ยงที่ส้าคญั คือ ภาคกลาง

8) ปลาสวาย ( Striped catfish : Pangasius sutchi ) เป็นปลาน้าจืดขนาดใหญ่ ไม่มีเกล็ด
มคี วามอดทนตอ่ สภาพแวดล้อมไดด้ ี กินอาหารง่าย ชอบทั้งอาหารประเภทเนอ้ื สัตว์และพืช รวมทั้งมูลสัตว์บาง
ชนิดคือ สุกรและไก่ จึงมีการน้ามาเล้ียงร่วมกันแบบผสมผสาน แหล่งเล้ียงท่ีส้าคัญคือ ภาคกลาง
รองลงมาคือภาคเหนือตอนล่าง

9) ปลาบ่ทู ราย ( Sand goby : Oxyeleotris marmoratus ) เปน็ ปลาที่ ไม่ค่อยนิยมบริโภค ใน
หมู่คนไทยนัก แต่ตลาดต่างประเทศต้องการมาก ราคาดี นิยมน้ามาเลี้ยงในกระชัง ในแม่น้าท่ีมีความขุ่น
กระแสน้าค่อนข้างแรงปลาบู่จะเจริญได้ดี ปลาบู่จัดเป็นปลากินเนื้อ เช่น ปลาสด ปลาเป็ด แหล่งเล้ียงท่ีส้าคัญ
คือ ภาคกลาง และ ภาคเหนอื ตอนล่าง

10) ปลาย่ีสกเทศ หรือปลาโรฮู่ ( Rohu : Labeo rohita ) เป็นปลาที่มีถิ่นก้าเนิดมาจากประเทศ
อินเดีย ปัจจุบันนิยมน้ามาเล้ียงในบ่อดิน กินพืชเป็นอาหารรวมทั้งแพลงตอนพืชชนิดต่าง ๆ แหล่งเลี้ยงท่ี
สา้ คญั คือ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือรองลงมาคือภาคกลาง

11) ปลาแรด ( Giant gourami : Osphronemus goramy ) เป็นปลาน้าจืดที่มีขนาดใหญ่ พบมี
น้าหนักถึง 6-7 กิโลกรัม ยาว 65 เซนติเมตร เป็นปลาจ้าพวกเดียวกับปลาหมอ ปลากระดี่ ปลาสลิด แต่มี
ขนาดใหญ่กว่า ปลาแรดมีเนื้อนุ่มสีเหลืองอ่อน มีรสชาติดี มีถิ่นก้าเนิดอยู่ในประเทศอินโดนีเชีย แถบหมู่
เกาะสุมาตรา ชวา บอร์เนียว และหมู่เกาะอินเดียตะวันออก ส้าหรับในประเทศไทย แม้ไม่มีหลักฐาน
ยนื ยนั วา่ เป็นปลาพืน้ บ้านของไทย แตก่ พ็ บเห็นปลาแรดได้ท่ัวไปตามแหล่งน้าต่าง ๆ ปลาแรดจัดเป็นปลากิน
พืชท่ีชอบกินพืชน้า ไข่น้า แหน ผักบุ้ง เศษอาหาร และแมลงในน้า การเลี้ยงปลาแรดสามารถเล้ียงได้ทั้งใน
บ่อและในกระชัง นิยมเล้ียงกันบริเวณภาคกลาง เช่น จังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี กาญจนบุรี นครปฐม
ปทุมธานี เป็นต้น

12) ปลาหมอไทย ( Climbing fish : Anabus testudineus ) เป็นปลากินเน้ือที่พบได้ทั่วทุก
ภาค ของประเทศ ปลาหมอไทยจัดอยู่ในกลุ่มของปลาแปลกในโลกอีกชนิดหนึ่งเพราะมีความสามารถในการ
ปืนขึ้นมาคืบคลานอยู่บนบกได้ หรือหลบซ่อนในดินท่ีแห้งแตกระแหง เน่ืองจากมีอวัยวะช่วยในการหายใจ
มีครีบหูที่แข็งแรง และมีเกล็ดที่แข็งสามารถปูองกันตัวในระหว่างอยู่บนบกได้เป็นเวลานาน ปลาหมอไทยเป็น
ปลาที่มคี วามอดทนสูงมาก สามารถเลยี้ งไดท้ ้งั ในบอ่ และในกระชัง เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร โดยอาหาร
ท่ีใหอ้ าจเปน็ ปลาเปด็ ผสมร้า และ ปลายข้าว หรอื ตดิ ไฟลอ่ แมลงเพ่อื เปน็ อาหารเสริม มีการเล้ียงปลาหมอไทย
กนั มากในจังหวดั ปราจีนบุรี และบรเิ วณภาคใต้ของประเทศไทย

13) ปลาบึก ( Mekong giant catfish : Pangasianodon gigas ) เป็นปลาน้าจืดไม่มีเกล็ด
ขนาดใหญ่ท่ีสุดในโลก เมื่อโตเต็มท่ีมีน้าหนักประมาณ 200 กิโลกรัม มีแหล่งท่ีอยู่อาศัยเฉพาะในแม่น้าโขง
และแม่น้าสาขา เช่น แม่น้ามูล จังหวัดอุบลราชธานี แม่น้าสงคราม จังหวัดนครพนม แม่น้างึม ในประเทศ
ลาว เปน็ ต้น ปลาบกึ สามารถกนิ อาหารไดท้ กุ ชนดิ และจากการศึกษาเชอ่ื ได้วา่ สามารถเลยี้ งได้เช่นเดียวกันกับ
ปลาสวาย การเลี้ยงในเชิงพาณิชย์ในบ่อดิน ในกระชัง ในคอก อยู่ในขั้นการศึกษาเนื่องจากยังขาดลูกพันธ์ุ
ปลา จ้านวนปลาท่ีจับได้จากธรรมชาติลดลงทุกปี แต่ความต้องการของตลาดสูงข้ึน จึงต้องเร่งพัฒนาวิธีการ
และสง่ เสรมิ การเพาะเลีย้ งในเชิงพาณชิ ย์ใหม้ ากขน้ึ

14) กงุ้ ก้ามกราม ( Giant freshwater prawn : Macrobrachium rosenbergii ) เป็นกุ้งน้า
จืด ที่มีขนาด ใหญ่ท่ีสุด อาศัยในแหล่งน้าจืดท่ีมีทางติดต่อกับทะเล เน่ืองจากตอนวางไข่ และระยะท่ีเป็นตัว
ออ่ นต้องอาศยั อยใู่ นน้ากร่อย ปจั จุบันนิยมน้ามาเล้ียงในบ่อ เนื้อมีรสชาติดี ราคาค่อนข้างสูง อาหารที่น้ามา
เลี้ยงส่วนใหญเ่ ปน็ อาหารเม็ดสา้ เรจ็ รปู แหล่งเลีย้ งท่ีส้าคัญคอื ภาคกลาง รองลงมาคือภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

15) ตะพาบน้า ( Soft - shelled turtles ) ในประเทศไทยตะพาบน้าได้รับความนิยมในการ
บรโิ ภคมานานแลว้ แตก่ ารเลยี้ งตะพาบน้า เริ่มท้ากันอย่างจริงจังเม่ือ 20 กว่าปีท่ีผ่านมา และเป็นท่ีน่าดีใจ
ทีก่ ารเล้ยี งตะพาบนา้ ในไทยน้ัน มีความไดเ้ ปรียบในเรื่องสภาพภูมิอากาศ และอุณหภูมิค่อนข้างมาก จึงท้าให้
การเจรญิ เติบโตของตะพาบใช้ระยะเวลาส้ัน ชนิดที่เลี้ยงกันในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ ตะพาบน้าพันธุ์ไทย
( Trionyx cartilaginous ) และตะพาบน้าพันธุ์ไต้หวัน ( T . sinensis ) โดยเฉพาะตะพาบน้าพันธ์ุไต้หวัน
สามารถส่งเป็นสินค้าออกไปประเทศต่างๆ ทั่วโลก ตะพาบน้าชอบกินเนื้อเป็นอาหาร แต่ในการเลี้ยงจะให้
อาหารผสมได้แก่ ร้า ข้าวเปลือก แร่ธาตุจ้าพวกแคลเซียม ทองแดงและวิตามินรวม ให้อาหารเสริมพวกไส้เป็ด
ไส้ไก่ และผักกระถิน เป็นต้น ท้าเลท่ีตั้งบ่อเล้ียงตะพาบน้าไม่ควรอยู่ใกล้ที่ชุมชน เนื่องจากตะพาบน้าจะตกใจ
และไม่ยอมกินอาหารได้ นิยมเลี้ยงกันทั่วทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะจังหวัดชลบุรี ระยอง นครปฐม

16) กบ ( Frog ) การเลี้ยงกบเป็นอาชีพหน่ึงท่ีเกษตรกรให้ความสนใจกันมากขึ้นเรื่อยๆ ด้วยเหตุท่ี
กบเป็นสัตว์ที่เล้ียงง่าย ใช้เวลาน้อย ลงทุนต่้า ดูแลรักษาง่าย จ้าหน่ายได้ง่ายและราคาสูง การเล้ียงกบใน
ประเทศไทย เร่ิมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2496 โดยชนิดที่เล้ียงกันมากมี กบนา ( Rana regulosa ) เป็นกบพ้ืนเมือง

ของไทย และกบบูลฟร็อกซ์ ( R . catesbeiana ) เป็นกบน้าเข้าจากต่างประเทศ ในธรรมชาติลูกกบจะกิน
อาหารมีชีวติ เช่น แมลง ไส้เดอื น ปลวก หนอน ลูกปลา ลูกกุ้ง เป็นต้น แต่ในการเลี้ยงอาจจะหัดให้กินอาหาร
สา้ เร็จรูปหรอื ปลาสับได้ หรอื อาจใชป้ ลายข้าวตม้ สุกคลุกอาหารไก่ หรอื ใชแ้ สงไฟลอ่ แมลงไว้ในบอ่ กบ นิยมเลี้ยง
กนั ทวั่ ทุกภาคของประเทศไทย โดยการเลย้ี งสามารถเลย้ี งไดท้ ง้ั ในบอ่ ดนิ และบอ่ ปูน
2.2. สตั วน์ ้ากรอ่ ยที่สาคญั ทางเศรษฐกจิ

การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ากร่อยในประเทศไทย มีการเพาะเล้ียงกันมานาน และเลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย ตาม
พื้นท่ชี ายฝ่งั ทะเล และบริเวณปากแมน่ ้า โดยสัตว์น้ากร่อยท่ีมีความส้าคัญทางเศรษฐกิจทน่ี ยิ มเลี้ยงกันได้แก่

1) กุ้งทะเล การเล้ียงกุ้งทะเลในประเทศไทยมีมานานกว่า 60 ปีมาแล้ว รู้จักกันโดยท่ัวไปในลักษณะ
ของการท้านากุ้ง ซึ่งเป็นการดัดแปลงพ้ืนที่ท้านาเกลือและนาข้าวมาใช้ส้าหรับเลี้ยงกุ้ง นอกจากนี้มีการใช้
ประโยชน์จากพื้นที่ปุาชายเลนท่ีเส่ือมสภาพท้าเป็นนาเลี้ยงกุ้ง โดยมีการเลี้ยงกุ้งแพร่หลายในพื้นที่จังหวัด
ชายฝ่งั ทะเลเขตภาคกลาง ต้งั แตบ่ รเิ วณปากแมน่ ้าเจา้ พระยา แม่น้าท่าจีน แม่น้าแม่กลอง และแม่น้าบางปะกง
และได้ขยายออกไปยังพ้ืนท่ีบริเวณชายฝ่ังทะเลตะวันออกในเขตจังหวัด ระยอง จันทบุรี และตราด ทาง
ภาคใต้ก็ขยายลงไปในเขตของ จังหวัดสุราษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช และสงขลา เป็นต้น ปัจจุบันนี้ประเทศ
ไทยเป็นแหล่งผลติ กุง้ แหลง่ ใหญป่ ระเทศหน่ึงของโลก และการส่งกุ้งไปจ้าหน่ายยังตลาดต่างประเทศท้าราย ได้
ใหแ้ ก่ประเทศไทยปีละหลายหม่ืนล้านบาท กงุ้ ทะเลที่เล้ยี งในปจั จบุ ันมี กงุ้ แชบ๊วย กงุ้ กุลาด้า กงุ้ ขาววานาไม เป็น
ต้น

2) ปลาน้ากร่อย การเล้ียงปลาน้ากร่อยในลักษณะเป็นการค้าได้เร่ิมเล้ียงกันมาประมาณ 40 ปีเศษ
ปลาน้ากร่อยชนิดที่เลี้ยงส่วนใหญ่ เป็นชนิดที่อยู่ในความนิยมของผู้บริโภค ได้แก่ ปลากะพงขาว ปลากะรัง
ปลานวลจันทรท์ ะเล ปลากระบอก ปลากะพงแดง เปน็ ต้น

- ปลากะพงขาว ( Seabass : Lates calcarifer ) เป็นปลาท่ีนิยมเล้ียงมานานแล้ว โดยใน
ระยะแรกนั้นชาวประมงรวบรวมลูกพันธ์ุจากธรรมชาติมาเลี้ยงในนาหรือในบ่อ แต่ปัจจุบันปลากะพงขาว
สามารถท้าการเพาะขยายพันธ์ุได้ จึงมีการเลี้ยงปลากะพงขาวกันแพร่หลายมากข้ึน ตามจังหวัดชายฝ่ังทะเล
ทวั่ ไป ปลากะพงขาวแมจ้ ะเปน็ ปลากนิ เนือ้ แต่ก็มีคุณสมบัติเหมาะที่จะเลี้ยงเป็นการค้าได้ เพราะเล้ียงง่ายโต
เร็ว สามารถปรับตัวได้ดีทั้งน้าจืด น้ากร่อย และน้าเค็ม การเลี้ยงปลากะพงขาวมีหลายวิธีด้วยกันคือ การ
เลี้ยงในกระชงั เลีย้ งในบอ่ การเลย้ี งในนา เลี้ยงในคอกหรอื ท่ีล้อมขงั

- ปลากะรังหรือปลาเก๋า ( Grouper ) เป็นปลาทะเลอีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมบริโภคกันอย่าง
แพรห่ ลาย ปลากะรังในนา่ นน้าไทยพบประมาณ 40 ชนิด มีแหล่งแพร่กระจายอยู่ท่ัวไป ท้ังในย่านน้าเค็ม และ
น้ากร่อย ปลากะรังส่วนใหญ่ท่ีนิยมเล้ียง ได้แก่ ปลากะรังจุดสีน้าตาล ( Epinephelus malabaricus ) และ
ปลากะรังลายต๊กุ แก ( E . moara ) เนอื่ งจากสามารถหาลกู พนั ธุ์ไดง้ ่ายกว่าชนิดอนื่ ซึ่งการเล้ียงปลากะรังส่วน
ใหญ่ยังอาศัยการรวบรวมลูกพันธุ์จากธรรมชาติ จึงมีปัญหาการขาดแคลนลูกพันธ์ุ แม้ว่าขณะนี้กรมประมง
สามารถทา้ การทดลองเพาะพนั ธุไ์ ด้สา้ เร็จ แต่กย็ งั มีผลผลิตจ้านวนจ้ากัดไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้เล้ียง
การเล้ียงปลากะรังส่วนใหญน่ ิยมเลย้ี งในกระชัง มกี ารเลีย้ งในบอ่ บ้างแต่ไม่มาก

- ปลานวลจันทรท์ ะเลหรือปลาดอกไม้ ( Milk fish : Chanos chanos ) เป็นปลาที่นิยมบริโภค
และเลี้ยงกันในหลายประเทศ เช่น ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และไต้หวัน เป็นต้น ส่วนในประเทศไทยมีการเลี้ยง
บา้ ง แตย่ งั ไม่นิยมบริโภคกันแพรห่ ลายนกั เพราะเป็นปลาท่ีมีก้างมาก และราคาซ้ือขายในท้องตลาดค่อนข้าง
ตา้่ การเพาะเลีย้ งสว่ นใหญเ่ กบ็ รวบรวมลกู พันธุจ์ ากธรรมชาติ และน้ามาเลยี้ งในบอ่

- การเล้ียงปลากระบอก ( Grey mullet : Mugil dussumieri ) เป็นปลาท่ีมีความส้าคัญทาง
เศรษฐกิจชนิดหนึ่ง ที่มีแหล่งอาศัยชุกชุมบริเวณปากแม่น้า ล้าคลอง ทะเลสาบ และชายฝั่งท่ัวไป การเล้ียง

ปลากระบอกท้ามานานแล้ว แต่เป็นการเลี้ยงแบบธรรมชาติ จึงให้ผลผลิตต่้าและยังไม่มีการเลี้ยงแบบจริงจัง
เน่ืองจากการเล้ียงต้องอาศัยพันธ์ุจากธรรมชาติ จึงขาดแคลนลูกพันธ์ุปลา และอัตราการเจริญเติบโตช้า
ผลผลิตตา่้ การศกึ ษาพัฒนาเทคนคิ การเลยี้ งยังไมก่ ว้างขวาง

- ปลากะพงแดง ( Red snapper : Lutianus sanguineus ) เป็นปลาเศรษฐกิจที่สามารถเล้ียง
ได้ดีในแหล่งน้ากร่อยท่ัวไป การเล้ียงยังอาศัยการรวบรวมลูกพันธุ์จากธรรมชาติ เช่นเดียวกับปลากะรัง การ
เลย้ี งจึงยงั ไมค่ อ่ ยแพร่หลายนัก ปัจจุบันแม้ว่าสามารถเพาะขยายพันธ์ุได้ แต่ก็ยังต้องพัฒนาประสิทธิภาพ และ
เทคนคิ ในการผลิตอีกมาก เพื่อใหไ้ ด้ผลผลติ ในปริมาณมากเพียงพอต่อความต้องการ ก็จะเป็นการกระตุ้นให้มี
การเลีย้ งได้เช่นเดียวกับปลากะพงขาว

3) หอย เป็นสัตว์ทะเลที่มีความส้าคัญทางเศรษฐกิจอย่างหน่ึงของประเทศไทย หอยท่ีส้าคัญ ได้แก่
หอยแมลงภู่ หอยนางรม หอยแครง หอยกะพง หอยลาย และหอยเชลล์ เป็นต้น ผลผลิตหอยส่วนใหญ่ได้มา
จากการเพาะเลยี้ ง ยกเว้นหอยลาย กับหอยเชลล์ ปัจจบุ นั เน้ือทใ่ี นการเลย้ี งหอยต่างๆ ลดลงจากอดีต อย่างไรก็
ตามพ้ืนที่ท่ีเหมาะสมต่อการเลี้ยงหอยตามจังหวัดชายฝั่งทะเลท้ังด้านอ่าวไทย และทะเล อันดามันยังมีอีกมาก
ซงึ่ สามารถพฒั นาเป็นแหล่งเลย้ี งหอยชนิดตา่ ง ๆ ได้ ประเทศไทยแม้จะมีการเล้ียงหอยมานาน แต่วิธีการเลี้ยง
ไม่ได้มีการพัฒนามากนัก หากมีการพัฒนาและส่งเสริมอย่างถูกหลักวิชาการแล้ว การเล้ียงหอยก็จะเพิ่ม
ผลผลติ ได้อีกมาก นอกจากนี้แล้วยังมีหอยที่สามารถน้ามาส่งเสริมในการเพาะเลี้ยงได้เช่น หอยเป฻าฮื้อ หอย
หวาน หอยตลับ และหอยมกุ เปน็ ต้น

- หอยแมลงภู่ ( Green mussel : Perna viridis ) พบแพร่กระจายอยู่ท่ัวไป แทบทุกจังหวัด
ชายฝัง่ ทะเล ทัง้ ด้านฝ่ังอา่ วไทยและทะเลอันดามัน การเลีย้ งหอยแมลงภู่มีมานานกว่า 70 ปีแล้ว โดยการใช้
ไม้ปีกโปฺะในการเลี้ยงหอยร่วมกับการท้าโปฺะ ต่อมาการท้าโปฺะลดน้อยลง ท้าให้ผลผลิตหอยแมลงภู่ลดน้อยลง
ด้วย จึงมีการทดลองสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารเลี้ยง โดยปกั หลักไมไ้ ผเ่ ปน็ แปลงๆ ให้ลกู หอยมาเกาะ

- หอยนางรม ( Oyster ) ในประเทศไทยมีการเล้ียงมานานไม่น้อยกว่า 60 ปี หอยนางรมที่พบ
ในน่านน้าไทยมีอยู่หลายชนิด ท่ีรู้จักกันดีได้แก่ หอยนางรมปากจีบ ( Saccostrea cucullata ) ซ่ึงเป็นหอย
นางรมพันธุ์เล็ก มชี ุกชุมตามชายฝงั่ จังหวัดชลบรุ ี ระยอง จนั ทบุรี และประจวบคีรีขนั ธ์ สว่ นหอยนางรมพันธุ์
ใหญ่รจู้ ักกนั ในชือ่ หอยตะโกรม ในไทยมี 2 ชนิด คือ Crassostrea belcheri และ C . lugubris ซึง่ มีมากทาง
ภาคใต้ การเลี้ยงหอยนางรมในไทยส่วนใหญ่เป็นการเล้ียงโดยอาศัยลูกพันธุ์จากธรรมชาติ โดยการน้าก้อนหิน
ไปวาง เรียงเป็นแถวบริเวณชายฝ่ัง จะมีลูกหอยมาเกาะอาศัย แล้วปล่อยให้ลูกหอยเจริญเติบโตเป็นตัวเต็ม
วยั ตามธรรมชาติ ต่อมากรมประมงได้ส่งเสรมิ และสาธิต ให้มีการเล้ียงหอยนางรมในรูปแบบต่างๆ เช่น การ
เล้ียงบนหลักซีเมนต์ ท่อซีเมนต์ หลักไม้ ในกระบะ แบบแขวนบนหลักไม้ การเล้ียงแบบพวงแขวน และวิธี
อ่นื ๆ ตามความเหมาะสมในแตล่ ะทอ้ งถ่ิน จงึ ทา้ ให้มีการเลี้ยงหอยนางรมในหลายจังหวัด เช่น ชลบุรี ระยอง
จนั ทบุรี ตราด ประจวบครี ขี ันธ์ สุราษฏรธ์ านี สงขลา เป็นต้น

- หอยแครง ( Bloody cockle ) เป็นหอยทะเลอีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมบริโภคกันอยา่ งแพรห่ ลาย มีอยู่
หลายชนิดด้วยกัน แต่ท่ีนิยมเลี้ยงและมีความส้าคัญคือ หอยแครงเทศ ( Anadara granosa ) อาชีพการเลี้ยง
หอยแครงในประเทศไทยน้ันมีมานานเป็นร้อยปี โดยแหล่งส้าคัญที่มีการเลี้ยงกันมากคือ พื้นท่ีชายฝ่ังบริเวณที่เป็น
หาดโคลน ของจังหวัดเพชรบุรี โดยเฉพาะพ้ืนท่ีในตา้ บลบางตะบนู อ้าเภอบ้านแหลม การเล้ียงหอย แครง จะใช้
เฝอื กไมก้ ัน้ เป็นคอก โดยมรี ะดับสูงกว่าพื้นโคลนประมาณ 50-60 เซนติเมตร ขนาดพ้ืนท่ี 1-6 ไร่ โดยนา้ พนั ธ์ลุ ูกหอย
ทเ่ี กบ็ รวบรวมมาจากพืน้ ท่ตี า้ บลบางขุนไทร มาหว่านเล้ยี งในคอกประมาณ 1- 2 ปี จึงเก็บเกย่ี วผลผลิตโดยใชก้ ระดาน
ถีบเก็บหอย ต่อมาการเล้ียงได้ขยายออกไปตามบริเวณชายฝั่งท่ีมีสภาพแวดล้อมเหมาะสม ในปี 2515 เกิด
วิกฤตการณ์น้าเสียบริเวณก้นอ่าวไทย ท้าความเสียหายกับการเล้ียงหอยแครง และขาดแคลนพันธุ์หอย จึงมีการน้า

พันธ์ุหอยแครงจากประเทศมาเลเซียเข้ามาเล้ียงในพ้ืนท่ีภาคใต้บริเวณจังหวัดสตูล สุราษฎร์ธานี และ
นครศรีธรรมราช โดยการเล้ียงได้พัฒนาเป็นการเล้ียงเชิงธุรกิจขนาดใหญ่ ใช้พื้นท่ีเล้ียงขนาดต้ังแต่ 100 ไร่ข้ึนไป
การเกบ็ หอยก็ท้าโดยการใชค้ ราดด้วยเรือติดเคร่ืองยนต์ท้าการลาก การเล้ียงหอยแครงแม้จะมีการพัฒนาได้ในระดับ
หน่ึง แตผ่ ลผลติ ก็ยังไมเ่ พยี งพอกบั ความต้องการ จงึ ต้องมีการนา้ เขา้ เพอื่ ให้เพียงพอกับความต้องการบรโิ ภค

- หอยกะพง ( Horse mussel : Modiola spp .) เป็นหอยสองฝา มนุษย์น้ามาบริโภค และใช้
เป็นอาหารเล้ียงสัตว์ เช่น เป็ด และกุ้งทะเล หอยชนิดนี้พบได้ท้ังในน้ากร่อยและน้าเค็มที่ระดับน้าลึก 0.5-1
เมตร ในประเทศไทยมีการแพร่กระจายอยู่ไม่มากนัก แหล่งท่ีส้าคัญคือ จังหวัดชลบุรี โดยเป็นแหล่งที่มีการ
เลี้ยงหอยกะพงมานานกว่า 40 ปี การเลี้ยงเป็นการเล้ียงแบบธรรมชาติ โดยเก็บรวบรวมพันธุ์หอยมาปล่อย
เลีย้ งจนมขี นาดตามต้องการ การเล้ียงหอยกะพงในปัจจุบันมีพ้ืนท่ีลดลงมาก เน่ืองจากแหล่งเล้ียงหอยกะพงได้
เปล่ยี นสภาพ และเส่ือมโทรมจนไมเ่ หมาะกับการเลีย้ งหอยอีกต่อไป

- หอยมุก ( Pearl ) เร่ิมเล้ียงในประเทศไทยต้ังแต่ พ.ศ. 2503 โดยในระยะแรกเป็นการลงทุน
โดยชาวต่างชาติคือ ญ่ีปุน โดยเริ่มเล้ียงที่เกาะพะยาม จังหวัดระนอง โดยหอยมุกท่ีเลี้ยงคือหอยมุกจาน
( Pinctada maxima ) จากนั้นมฟี าร์มเลยี้ งหอยมกุ มากขึ้น โดยในปัจจุบันมีไม่น้อยกว่าสิบแห่ง ทั้งในอ่าวไทย
และฝั่งทะเลอันดามัน ในปี พ.ศ. 2534 กรมประมงเริ่มประสบผลส้าเร็จในการเพาะพันธ์ุหอยมุกจาน
หลงั จากน้ันกส็ ามารถเพาะพันธห์ุ อยมุกกัลปังหา ( Pteria penguin ) และหอยมุกแกลบ (Pinctada fucata )
หอยมุกที่ได้จากโรงเพาะฟกั พวกน้สี ามารถน้าไปเลี้ยงในแหล่งนา้ ธรรมชาติได้

- หอยเปา๋ ฮือ้ หอยโขง่ ทะเล หรือหอยร้อยรู ( Abalone ) เป็นสัตว์กินพืชเป็นอาหาร อาศัยอยู่ตาม
กองหิน หรือแนวปะการังใต้น้า เท่าท่ีค้นพบในโลกมีประมาณ 75 ชนิด ซึ่งประมาณ 20 ชนิดมีขนาดใหญ่ มี
ราคาสูง และสามารถเพาะเล้ียงในเชิงพาณิชย์ได้ ในน่านน้าไทยพบว่ามีหอยเป฻าฮ้ืออยู่ 3 ชนิดด้วยกัน
คอื Haliotis asinina, H . ovina และ H . varia หอยเปา฻ ฮือ้ เปลอื กรปู ยาวรี ยอดเตยี้ ลักษณะคล้ายจานรี มี
สีเขียวเขม้ น้าตาล หรือแดงคลา้ ตามขอบเปลอื กมชี ่องเล็ก ๆ วางเป็นแถวยาวไปจนถึงขอบปาก ไม่มีฝาปิด
เปลอื ก เท้าใหญ่ กลา้ มเนอ้ื แข็งแรง

- หอยหวาน ( Areila babylon : Babylonia areolata ) เป็นหอยฝาเดียวท่ีเปลือกค่อนข้าง
หนา ผิวเรียบมีแต้มสีน้าตาลบนพื้นขาว ท่ีหัวมีหนวด 1 คู่ มีตา 1 คู่ มีงวงยาวใช้ในการกินอาหาร อาศัย
อยตู่ ามพื้นทะเลในระดบั น้าคอ่ นขา้ งต้นื มีการแพร่กระจายจากมหาสมุทรอินเดียฝั่งตะวันออกถึงอินโดนีเซีย ด้าน
เหนือถึงไต้หวัน ด้านใต้แพร่ไปถึงตอนใต้ของอินโดนีเซีย การเพาะเลี้ยงในประเทศไทยเป็นการเพาะเล้ียงข้ัน
ทดลอง เพอ่ื ปลอ่ ยลงแหล่งนา้ ธรรมชาติ หอยหวานเป็นหอยท่ีมีศักยภาพสูง โดยสามารถส่งเป็นสินค้าออกและ
ยังมีราคาดีภายในประเทศ เป็นหอยท่ีเอกชนให้ความสนใจในเร่ืองการเพาะเลี้ยงเป็นอันมาก และพบว่าสามารถ
เลยี้ งในลกั ษณะครบวงจร คอื สามารถเพาะพนั ธ์แุ ละอนุบาลลูกหอย จนเป็นพ่อแมพ่ ันธไุ์ ด้ในบ่อซีเมนต์

- หอยเชลล์ หรือหอยพัด ( Scallop : Amusium pleuronectus ) เป็นหอยท่ีมีมูลค่าสูงและนิยม
บริโภคกันโดยท่ัวไป เป็นหอยท่ีมีลักษณะการด้ารงชีวิตที่แตกต่างจากหอยสองฝาชนิดอ่ืน คือสามารถว่ายน้า
เพ่ือเปลี่ยนที่อยู่อาศัยหรือเพื่อการหลบหนีศัตรูได้ โดยใช้กล้ามเน้ือยึดเปลือก (adductor muscle) ขนาดใหญ่ที่
ท้าหน้าท่ีปิดและเปิดเปลือก ซ่ึงกล้ามเน้ือดังกล่าวนี้เป็นส่วนที่คนใช้ในการบริโภค หอยเชลล์ในประเทศไทยพบใน
บริเวณ จังหวัดระยอง สงขลา สมุทรสงคราม ซ่ึงเป็นหอยที่ได้จากการประมงในแหล่งธรรมชาติ การ
เพาะเลี้ยงหอยชนิดนี้ในประเทศไทยยังอยู่ในข้ันทดลองเท่าน้ัน แต่มีความต้องการในการบริโภคสูงจึงถือได้ว่าเป็น
หอยที่มีความส้าคัญทางเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่ง จึงมีหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ท้ังภาครัฐและเอกชนได้มี
การศึกษาทดลองเพาะเลี้ยง กันอย่างกวา้ งขวางพบวา่ ไดผ้ ลการเล้ยี งทด่ี ี

2.3. สตั วน์ า้ เค็มท่สี าคญั ทางเศรษฐกจิ

ทรัพยากรสัตว์น้าเค็มในน่านน้าไทย ได้จากแหล่งท้าการประมงทะเลในอ่าวไทยประมาณร้อยละ 85 ของ
ปริมาณการจับสัตว์ทะเลในน่านน้าไทย ส่วนอีกประมาณร้อยละ 15 ได้จากแหล่งประมงในทะเลอันดามัน และ
สามารถแบ่งสัตว์น้าทะเลตามที่อยู่อาศัย เครื่องมือท่ีจับและลักษณะส้าคัญตามหลักวิชาการ ได้ 3 ประเภท คือ
ทรพั ยากรปลาผิวนา้ ทรพั ยากรปลาหนา้ ดนิ และทรัพยากรสัตว์ทะเลประเภทไมม่ ีกระดูกสนั หลังหรือสัตวน์ ้าอื่นๆ

1) ทรัพยากรปลาผิวน้า ปลาผิวน้ามักมีพฤติกรรมการกินอาหารอยู่บริเวณผิวน้า กินอาหารจ้าพวก
พืชและสัตว์ที่มีขนาดเล็ก เช่น แพลงตอนพืชและแพลงตอนสัตว์ และลูกปลาชนิดต่างๆที่ล่องลอยตาม
กระแสน้า ปลาผิวน้าเป็นปลาที่มีมีพฤติกรรมการรวมฝูง รูปร่างเพรียวมีครีบท่ีแข็งแรง ว่ายน้าเร็ว
เคลื่อนย้ายไปมาในระยะทางไกล มักชอบตอมแสงไฟ ชนิดที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจท่ีส้าคัญ คือ ปลาทู ปลาลัง
ปลาหลังเขียว ปลาทูแขก ปลาโอด้า ปลาโอลาย ปลาอินทรี ปลาสีกุน ปลาแข้งไก่ ปลากะตัก ปลาดาบลาว
ปลาจาระเมด็ ขาว ปลาจาระเม็ดดา้ ปลากุเรา ปลาส้าลี ปลากระบอก และปลาตาโต ส่วนปลาผิวน้าที่ไม่ได้
น้ามาบริโภคโดยตรงเน่ืองจากคุณภาพไม่ดีหรือขนาดยังเล็กซึ่งส่วนใหญ่จับได้ด้วยเคร่ืองมืออวนลาก เรียกว่า
ปลาเปด็

2) ทรัพยากรปลาหน้าดิน ปลาหน้าดินมักมีพฤติกรรมการกินอาหารอยู่บริเวณพื้นท้องทะเล กิน
อาหารจ้าพวกเน้ือสัตว์ เช่น ปลา กุ้ง และหมึก มีฟันท่ีแหลมคม และแข็งแรง มักเคล่ือนย้ายถ่ินไม่ไกลนัก
ทรัพยากรปลาหน้าดินท่ีส้าคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทยมีประมาณ 18 ชนิด คือ ปลากะพง ปลาทรายแดง
ปลาทรายขาว ปลาปากคม ปลานา้ ดอกไม้ ปลาเหด็ โคน ปลาตาโต ปลาสรอ้ ยนกเขา ปลากดทะเล ปลาจวด ปลา
กระเบน ปลาลิน้ หมา ปลาใบขนุน ปลาดาบเงนิ ปลาดกุ ทะเล ปลาฉลาม ปลาจกั รผาน และปลายอดจาก

3) ทรัพยากรสัตว์ทะเลประเภทไม่มีกระดูกสันหลัง ในบรรดาทรัพยากรสัตว์ทะเลประเภทไม่มี
กระดกู สนั หลัง จัดได้ว่า กุ้งทะเล(กุ้งทะเลขนาดใหญ่ เช่น แชบ๊วย กุลาด้า กุลาลาย กุ้งเหลือง กุ้งเหลืองหางสีฟูา กุ้ง
ลายเสือ กุ้งโอคกั หรือกุง้ ตะกาด และกุ้งที่มีขนาดเล็ก ใช้ท้ากุ้งแห้ง เช่นกุ้งทราย กุ้งหิน กุ้งปล้อง) เป็นทรัพยากรท่ีมี
ความส้าคัญมากที่สุด รองลงมาคือหมึก(แบ่งออกเป็นหมึกกล้วย หมึกหอม หมึกกระดอง และหมึกสายหรือหมึก
ยักษ)์ หอยชนดิ ตา่ งๆ (เช่น หอยลาย หอยเชลล์ เป็นต้น ) นอกจากน้ียังรวมถึง ปูม้า ปูลาย ปูชนิดอื่นๆ แมงกะพรุน
ปลิงทะเล เคย และ สาหร่ายทะเล พฤติกรรมการกินอาหารของสัตว์น้าเหล่าน้ีมีหลายแบบท่ีแตกต่างกัน กล่าวคือ
กลุ่ม กุ้ง ปู มีพฤติกรรมการกินอาหารเน่าเป่ือยที่อยู่ตามท้องทะเล หมึกมีตาที่มีประสิทธิภาพสูง มีฟันและครีบ
ท่ีแข็งแรง มีพฤติกรรมการกินอาหารประเภทเน้ือสัตว์ โดยจะเป็นผู้ล่าเหยื่อจ้าพวกปลา และหมึกด้วยกันเอง
แมงกะพรุน และเคย กินอาหารจ้าพวกแพลงตอนพืช และแพลงตอนสัตว์ ส้าหรับ เคย และ แมงกะพรุน นั้นมี
พฤติกรรมในการรวมฝูง มักจะถูกจับคราวละมาก ๆ ส่วนหอยลาย และหอยเชลล์ มีพฤติกรรมการกินอาหารโดย
การกรองอาหารจ้าพวกแพลงตอนพืชและแพลงตอนสัตว์

2.4. ปลาสวยงามทส่ี าคญั ทางเศรษฐกิจ
ในปจั จุบันปลาสวยงามก็เข้ามามีบทบาทกับคนเรามากขึ้นเพราะเป็นสัตว์เลี้ยง ที่ให้ความเพลิดเพลิน โดย

การเล้ียงปลาสวยงามอาจท้าเป็นงานอดิเรก หรือเป็นอาชีพ โดยพบว่ามูลค่าการส่งออกปลาสวยงามท่ัวโลกกว่า
200 ล้านเหรียญสหรัฐ นับว่าไม่สูงนักเม่ือเทียบกับการส่งออกสัตว์น้าที่ใช้บริโภคเป็นอาหาร แต่เม่ือเทียบปริมาณ
หรือจ้านวนตัวแล้ว ถือว่า เป็นสัตว์น้าที่มีมูลค่าต่อหน่วยสูงสุด การเล้ียงปลาสวยงามนับได้ว่าเป็นอาชีพท่ีมี
อนาคตและนา่ สนใจ ตลาดปลาส่งออกของไทยอยู่ท่ีสิงคโปร์ สหรัฐอเมริกาและประเทศอ่ืนๆ ท่ัวโลก เส้นทางพัฒนา
ตัวเองให้เป็นผู้ส่งออกนั้นทางราชการต้องใช้ 2 อย่าง คือ ใบรับรองสุขภาพและฟาร์มมาตรฐาน ปัจจุบันกรม
ประมงได้อ้านวยความสะดวก ในการออกใบรับรองสุขภาพตามแบบท่ีประเทศปลายทางต้องการแล้ว โดยลด
ขั้นตอนและระยะเวลาการขอใบรับรองลง แต่ปัญหาคือ ความต้องการของแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน ผู้ส่งออก
จ้าเป็นต้องศึกษาให้ดีก่อนด้าเนินการส่งปลาสวยงามออกไป มาตรการด้านสุขอนามัยเป็นส่ิงส้าคัญ ที่ต้อง

ค้านึงถึงซ่ึงแต่ละประเทศมีความต้องการท่ีเหมือน ๆ กันอย่างหนึ่ง ก็คือ ปลาน้ันต้องมาจากฟาร์ม ที่ได้
มาตรฐานเพ่ือการส่งออก กล่าวคือ ต้องมีระบบฟาร์มตามแบบของกรมประมง มีระบบน้าครบถ้วนมีบ่อพักน้า
ระบบกรองน้าและระบบบ้าบัดน้าเสียแยกชัดเจน สภาพในฟาร์มสะอาด มีการบันทึกข้อมูลต่าง ๆ รวมท้ังลักษณะ
การปวุ ยหรือตาย มีระบบเฝูาระวังโรคและปูองกันโรคที่เข้มงวด มีการสุ่มตัวอย่างปลาตรวจเช้ือโรคทุก 6 เดือน เป็น
ต้น ชนิดของสัตว์น้าสวยงามท่มี ีความส้าคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย อาทิเช่น

1) ปลากัด ( Siamese fighting fish : Betta splendens Regan ) เป็นปลาพ้ืนเมืองของไทย
ท่ีนิยมเพาะเลี้ยงกันเป็นเวลาหลายร้อยปีมาแล้ว ทั้งน้ีเพื่อไว้ดูเล่นและเพ่ือกีฬากัดปลา และเป็นที่รู้จักกันดีใน
ตา่ ง ประเทศมานาน ปัจจุบันประเทศไทยมีการเพาะเล้ียงปลากัดกันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากเป็นปลาที่เลี้ยงและ
เพาะพันธ์ุได้ง่าย ปีหน่ึงๆ ประเทศไทยได้ส่งปลากัดไปขายต่างประเทศคิดเป็นมูลค่าไม่น้อยกว่า 20 ล้านบาท ปลา
กดั พันธด์ุ ้งั เดมิ ในธรรมชาติ มสี ีน้าตาลข่นุ หรือสีเทาแกมเขียว ครีบและหางสั้น ปลาเพศผู้มีครีบและหางยาวกว่าปลา
เพศเมียเล็กน้อย จากการเพาะพันธ์ุ และการคัดพันธ์ุติดต่อกันมานาน ท้าให้ได้ปลากัดท่ีมีสีสวยงามหลายสี
อีกท้ังลักษณะครีบก็แผ่กว้างใหญ่สวยงามกว่าพันธุ์ด้ังเดิมมาก และจากสาเหตุนี้ท้าให้มีการจ้าแนกพันธ์ุปลากัด
ออกไปได้เป็นหลายชนิด เช่น ปลากัดหม้อ ปลากัดทุ่ง ปลากัดจีน ปลากัดเขมร เป็นต้น การแพร่กระจายของ
ปลากดั พบท่วั ไปทกุ ภาคของประเทศไทย อาศัยอย่ใู นอ่างเก็บนา้ ทะเลสาบ หนอง บึง แอง่ น้า ลา้ คลอง ฯลฯ

2) ปลาทอง ( Goldfish : Garassius auratus Linn .) มีถ่ินก้าเนิดในประเทศจีนและได้มีการ
น้าเขา้ มาเพาะขยายพันธใ์ุ นประเทศไทยจนไดร้ บั ความนิยมอย่างแพร่หลาย มีการคัดพันธุ์เพ่ือให้ได้สายพันธ์ุใหม่ๆ ที่
มีลกั ษณะและสสี นั แปลกออกไปจากเดิม พันธุ์ปลาทองที่ได้รับความนิยมในตลาดปัจจุบัน ได้แก่ พันธุ์หัวสิงห์ (Lion
head ) พันธุ์ออแรนดา (Oranda) พันธ์ุเกล็ดแก้ว (Pearl scale ) พันธุ์ตาโปน (Telescope eye) พันธุ์ริวกิ้น
(Ryukin) พันธ์ุตาลูกโปุง ( Bubble eye ) พันธุ์ชูบุงก้ิน (Shubunkin) เป็นต้น ปลาทองเกล็ดแก้ว (Pearl scale)
เป็นปลาทองที่ชาวไทยเป็นผู้เพาะพันธ์ุได้ส้าเร็จเป็นชาติแรกของโลก มีลักษณะล้าตัวกลมมากดูคล้ายลูกปิงปอง
โดยเฉพาะเกล็ดบนล้าตัวจะมลี ักษณะนนู ขึ้นจนเป็นตุ่ม ซึ่งผิดกับเกล็ดของปลาทองโดยทัว่ ไป ส่วนหัวมขี นาดเลก็

3) ปลาหางนกยูง ( Guppy หรือ Million Fish : Poedilia reticulata ) เป็นปลาท่ีออกลูกเป็น
ตัว และมีถิ่นก้าเนิดทางทวีปอเมริกาใต้แถบเวเนซูเอล่า หมู่เกาะคารีเบียนของประเทศบาร์บาโดส และใน
แถบลุ่มน้าอะเมซอน ในธรรมชาติอาศัยอยู่ในแหล่งน้าจืดและน้ากร่อยที่เป็นแหล่งน้าน่ิงจนถึงน้าไหลเอื่อยๆ
ปลาตัวผู้มขี นาด 3-5 เซนติเมตร ส่วนปลาตวั เมียมขี นาด 5-7 เซนติเมตร ปลาหางนกยูงท่ีนิยมเล้ียงเป็นปลา
สวยงาม ( Fancy guppies ) จะเป็นปลาที่ได้รับการคัดและปรับปรุงพันธุ์มาจากพันธุ์พ้ืนเมือง ( Wild
guppies ) ที่พบแพร่กระจายอยู่ในธรรมชาติ ในปัจจุบันมีการเพาะเล้ียงและคัดพันธ์ุเพ่ือซื้อขายเป็นปลา
สวยงามได้มากมายหลายสายพนั ธุ์ ( Varieties ) แต่ละสายพันธ์ุเน้นความส้าคัญท่ีรูปแบบของครีบหาง สี
หรือลวดลายบนล้าตัวและครีบ จะมีการตั้งชื่อทางการค้าของแต่ละสายพันธุ์ตามลักษณะซึ่งพอจะสรุป
รายละเอียดของลกั ษณะท่สี ามารถนา้ มาตง้ั ชื่อไดด้ งั น้ี สายพันธ์ุคอบบร้า ( Cobra ) อาทิเช่น คอบร้าเหลือง
( Yellow cobra ) , คอบร้าแดง ( King cobra หรือ Red cobra ) , เจ็ดสี (Multicolour) เป็นต้น สาย
พนั ธุ์ทักซโิ ด้ ( Tuxedo ) อาทิเช่น German tuxedo หรือ Neon tuxedo สายพันธ์ุโมเสค (Mosaic) สาย
พันธุก์ รา๊ ซ (Grass) สายพันธุ์หางดาบ ( Sword tail )

4) ปลาสอด หรือปลาหางดาบ ( Swordtail : Xiphophorus helleri ) มีแหล่งก้าเนิด ในทวีป
อเมริกากลางและประเทศเม็กซิโก ในธรรมชาติอาศัยอยู่ในแหล่งน้าที่มีน้าไหลแรง และค่อนข้างใส โดยเฉพาะ
ล้าธารต้ืน ๆ บริเวณที่มีพันธ์ุไม้น้าขึ้นประปรายจะพบปลาชนิดนี้อาศัยอยู่มาก ในธรรมชาติปลาชนิดนี้จะมีสี
น้าเงินอมเขียว ส่วนท้องสีขาวหรือสีเงิน ล้าตัวยาวเรียวแบนข้างเล็กน้อย สีของปลาเพศผู้ และเพศเมียไม่
แตกต่างกัน ขนาดปลาเพศผู้โตเต็มท่ียาว ประมาณ 10 เซนติเมตร เพศเมียยาว ประมาณ 12 เซนติเมตร

กินอาหารได้ทุกชนิด เป็นปลาท่ีเล้ียงง่าย เจริญเติบโตเร็ว เพาะพันธ์ุได้ง่าย ท้าให้มีการคัดพันธุ์จนได้สาย
พันธ์ุใหม่ๆ ข้ึนมาหลายสายพันธุ์ เช่น ปลาสอดแดง ( Red swordtail ) ปลาสอดหางไหม้ ( Red wagtail
swordtail ) ปลาสอดด้า ( Black swordtail ) ปลาสอดทับทิม ( Golden swordtail ) ปลาสอดทักซิโด้หาง
บว่ ง ( Red tuxedo lyretail swordtail) ปลาสอดหางไหม้กระโดงยาว (Red hifin wagtail swordtail)

5) ปลาแฟนซีคาร์พ (Fancy carp : Cyprinus carpio Linn.) หรือท่ีเรียกกันว่าปลาไนแฟนซี
ปลาไนสี หรือปลาไนทรงเคร่ือง ปลาชนิดน้ีจัดเป็นปลาน้าจืดในกลุ่ม ปลาตะเพียน เป็นปลาน้าจืดที่สามารถ
พบได้ทั่วไป บริเวณที่ถือว่าเป็นแหล่งก้าเนิดด้ังเดิมของปลาไน คือ พื้นที่บริเวณประเทศอิหร่านในปัจจุบัน
ปลาแฟนซีคาร์พ เป็นปลาท่ีสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี มีความสวยงาม เป็นส่ิงมีชีวิตท่ีมีศิลปะ
มีความอ่อนโยน เชื่อง และมีอายุยืนยาว ถือเป็นปลาท่ีมีราคาแพงท่ีสุดในบรรดาปลาสวยงามท้ังหลาย
ลักษณะรูปร่างล้าตัวของปลาชนิดน้ีโดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ แบบล้าตัวเพรียวยาว เป็นพวกท่ีพบได้
ทวั่ ไปในเอเชยี และแบบล้าตัวกว้าง มาจากทวีปยุโรป ในการแยกชนิดปลาคาร์พน้ันจะดูท่ีเกล็ด โดยปลา
คาร์พของญ่ีปุนจะมีเกล็ดแบบธรรมดาตลอดทั้งตัว ส่วนปลาคาร์พของเยอรมัน จะมีเกล็ดที่มีความ
แปรปรวนไปกวา่ เกลด็ ธรรมดา ความแปรปรวนท่พี บในปลาคาร์พเยอรมัน มีอยู่ 3 พวกใหญ่ๆ คือ Leather
carp เปน็ ปลาคารพ์ พวกไมม่ ีเกล็ด Mirror carp เป็นปลาคารพ์ ที่มีเกล็ดขนาดใหญ่เรียงเป็นแถวบนสันหลังข้าง
ตัว หรือส่วนท้อง Armored german type koi เป็นปลาที่มีเกล็ดขนาดใหญ่มาก และเรียงกันอยู่อย่างไม่เป็น
รปู แบบท่แี นน่ อน

6) ปลาตะพัดหรือปลาอะโรวาน่า (Dragon fish หรือ Arowana : Scleropages sp. ,
Osteoglossum sp.) เปน็ ปลาโบราณ ที่มกี ารสา้ รวจพบในคร้ังแรกในปี ค.ศ. 1844 ทป่ี ระเทศอนิ โดนีเซีย ชอบ
อาศยั อยู่ในแหลง่ น้าที่ไหลเออื่ ย ๆ และมกี ารพบซากของปลาชนิดน้ีกระจายอยู่ท่ัวไปในพื้นโลก ได้น้าเอาซาก
โบราณมาค้านวณอายุพบว่ามอี ายปุ ระมาณ 60 ลา้ นปี ปลาชนิดน้ีค่อนข้างหายาก และใกล้จะสูญพันธุ์จึง
มีกฎหมายคุม้ ครองปลาชนิดนี้ในอนุสญั ญา CITES โดยห้ามน้าเข้าและส่งออกไปจ้าหน่ายยังต่างประเทศ ถ้าจะ
น้ามาเพาะเล้ียงต้องขออนญุ าตจากกรมประมง ปลาชนิดน้ีแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มคือปลาตะพัด ลักษณะล้าตัว
ค่อนข้างเรียวยาวแบนข้าง หางกลมใหญ่คล้ายพัด ปลาอะโรวาน่า ล้าตัวแบนข้างมากปลายหางเรียวเล็ก
ปลาอะราไพม่า ล้าตัวกลม เรียวยาวคล้ายปลาช่อน ปลาอะโรวาน่าแอฟริกา ล้าตัวยาวแบนข้างเล็กน้อย หัว
คอ่ นขา้ งแบนสัน้

7) ปลาปอมปาดัวร์ ( Discus : Symphysodon discus และ S . aequifasciata ) มีถ่ิน
กา้ เนิดอยทู่ ่ลี มุ่ น้าอะเมซอน ในทวีปอเมริกาใต้ นกั เล้ยี งปลาสวยงามของประเทศไทยไดน้ ้าเข้ามาเล้ียงและมีการ
พัฒนาสายพันธุ์ ได้ปลาที่มีสีสันสวยงาม นับเป็นปลาเศรษฐกิจที่ท้ารายได้เข้าประเทศไทยเป็นจ้านวนมาก
ชนดิ ท่นี ยิ มเลยี้ งกันในปจั จุบนั คอื ปอมปาดวั ร์ห้าสี ปอมปาดวั รเ์ จ็ดสี ปอมปาดัวร์บลูเยอรมัน แต่ท่ีนิยมเล้ียงกัน
มากที่สุดคือปอมปาดวั ร์เจด็ สี

8) ปลาหมอสี เป็นปลาท่ีได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่องจากนักเลี้ยงปลาบ้านเรา เริ่มต้นนั้นผู้เลี้ยง
โดยท่ัวไปเชื่อว่า ปลาหมอสีเป็นปลาท่ีถูกน้ามาย้อมสี หรือฉีดสีเข้าไป แท้ท่ีจริงแล้วสีของปลาหมอเกิดจาก
สายพนั ธ์ุของมันเอง ปลาหมอสีก่อนท่ีจะเข้าสู่ตลาดเอเชียเป็นปลาท่ีเลี้ยงกันมากในอเมริกา และ ยุโรป ใน
ประเทศไทย มีผู้เล้ียงปลาสวยงามจ้านวนมา นิยมน้าปลาชนิดน้ีมาเล้ียงพร้อมกับพัฒนาสายพันธุ์ ผลิตลูก
พันธุ์ขายให้กับผู้สนใจท้ังในประเทศและต่างประเทศ ท้าเงินเข้าประเทศปีละหลายล้านบาท ปลาหมอสีเป็น
ปลาท่ีกระจายอยู่ตามลุ่มน้า หรือทะเลสาบ เป็นปลาท่ีค่อนข้างรักถิ่น และหวงที่อยู่อาศัย แบ่งออกเป็นสอง
กลุ่มตามแหลง่ ก้าเนิด คือ กลุ่มโลกใหม่ ( New world ) ปลาในกลุ่มนี้จะอยู่ในแถบอเมริกา เท็กซัสตอนใต้
เร่ือยมาจนถงึ อาเจนตนิ าของทวปี อเมริกาใต้ คอสตาริกา นกิ ารากัว เกาะมาดากัสกา เกาะ ศรีลังกา ชายฝ่ัง

ทะเลตอนใต้ของอินเดีย กลุ่มโลกเก่า ( Old world ) ปลากลุ่มน้ีอาศัยแถบแอฟริกาใต้ ทะเลสาบมาลาวี
ทะเลสาบแทนกานยกิ า และทะเลสาบวิคตอเรยี ซ่งึ ปลากลุม่ น้เี ป็นกลุ่มท่ีนิยมเลย้ี งกันมากในประเทศไทย

9) ปลาออสก้า ( Oscars : Astronotus ocillatus ) เป็นปลากินเน้ือ มีถิ่นก้าเนิดในทวีปอเมริกา
ใต้ แถบลุ่มแม่นา้ อเมซอนมลี ักษณะลา้ ตวั ค่อนขา้ งกว้างและหนา ปากยื่น ส่วนบนของล้าตัวจะมีลักษณะโค้งมน
ขณะวัยออ่ นจะมีสีเขยี ว ตามผิวหนังจะมีแถบสีหรือลายต่าง ๆ เม่ือโตข้ึนล้าตัวจะมีสีด้า และท่ีบริเวณแถบหรือ
ลายจะเกิดมีสีแดงหรือส้มทองขึ้นมา ท้าให้ดูสวยงามมากขึ้น ในธรรมชาติปลาชนิดน้ีจะมีสีสันไม่สวยงาม แต่
เมื่อน้ามาเล้ียงในตู้กระจก มีการดูแลและให้อาหารอย่างดี ตลอดจนมีการคัดพันธ์ุจนได้ปลาที่มีสีสันสวยงาม
เชน่ ออสก้าลายเสอื ออสก้าสที อง และออสก้าหางยาว การเล้ียงปลาออสกา้ ควรเลีย้ งปลาที่มีขนาดเท่าๆ กัน
ในตเู้ ดยี วกัน เพ่ือปอู งกนั การกัดกนั เอง อาหารทีใ่ ช้เล้ียงควรเปน็ ประเภทกงุ้ ปลา เปน็ ตน้

10) ปลาเทวดา ( Angle fish : Pterophyllum sp .) มีถ่ินก้าเนิดในทวีปอเมริกาใต้ แถบ
ลุ่มแมน่ ้า อเมซอนมีลักษณะล้าตัวแบนกว้าง จัดเป็นปลาที่มีนิสัยเรียบร้อย ในธรรมชาติมีอยู่ 2-3 ชนิด แต่เม่ือ
น้ามาเลยี้ งเปน็ ปลาสวยงาม นักเพาะเลี้ยงปลาสามารถพัฒนาสายพันธ์ุจนมีสีสันแปลกๆ เช่น เทวดาด้า เทวดา
ลาย เทวดาหินอ่อน เทวดาเผอื ก เทวดาหางยาว เป็นต้น ปลาเทวดาเป็นปลาทเี่ ลย้ี งงา่ ย กินพืชและแมลงเล็กๆ
เปน็ อาหาร

แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 1
1. ระบบตรวจสอบสนิ คา้ ผลติ ภณั ฑส์ ัตวน์ ้าแบ่งออกเป็นกป่ี ระเภท อะไรบ้าง
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ...........................................................
2. ปลานลิ มถี ิ่นกา้ เนดิ ที่ประเทศใด นา้ เข้ามาสูป่ ระเทศไทยเมอ่ื ใด และใครเปน็ ผ้นู า้ เขา้ มา
............................................................................................................... ..............................................
3. ปลาสลดิ มชี อื่ เรียกอีกชอ่ื ว่าอะไร
............................................................................................................................. ................................
4. ปลาจนี ที่นยิ มเล้ยี งมชี นดิ ใดบา้ ง
............................................................................................................................. ................................
5. ปลาดกุ บกิ๊ อุยเปน็ ปลาที่ได้รบั การผสมระหว่างปลาชนิดใด
.................................................................................................................................................... .........
6. ปลาทคี่ นไทยไม่ค่อยนิยม แตช่ าวต่างชาติต้องการมาก คอื ปลาชนิดใด
............................................................................................................................. ................................
7. ปลาทม่ี ถี ิน่ ก้าเนิดมาจากประเทศอินเดยี คือปลาชนิดใด
............................................................................................................................. ................................
8. ปลาท่ีมถี ่นิ กา้ เนิดมาจากประเทศอนิ โดนีเซยี คือปลาชนดิ ใด
.............................................................................................................................................................
9. หอยท่มี คี วามสา้ คัญทางเศรษฐกจิ มีหอยชนดิ ใดบา้ ง
............................................................................................ .................................................................
10. ปลาผวิ น้าท่ีมีความสา้ คญั ทางเศรษฐกิจมปี ลาชนิดใดบา้ ง
............................................................................................................................. ................................
11. ปลาหน้าดินที่มคี วามสา้ คัญทางเศรษฐกิจมีปลาชนิดใดบ้าง
............................................................................................................................. ................................
12. สัตวท์ ะเลประเภทไม่มีกระดกู สันหลงั ที่มคี วามส้าคญั ทางเศรษฐกจิ มีอะไรบา้ ง
............................................................................................................................. ................................
13. ปลาสวยงามทม่ี ีความสา้ คญั ทางเศรษฐกจิ มีปลาชนิดใดบ้าง
............................................................................................................................. ................................


Click to View FlipBook Version