The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gipghe, 2021-09-10 06:58:48

78หน้า.indd_compressed

78หน้า.indd_compressed

คำนำ

สภาเกษตรกรแหง ชาติ ไดกำหนดยทุ ธศาสตรการจดั ทำแผนแมบทเพอื่ พฒั นาเกษตรกรรมจากลางสูบน
โดยใหสภาเกษตรกรจังหวัดดำเนินการจัดประชุมเครือขายสภาฯ ระดมความเห็นเกษตรกรและผูแทน
หนว ยงาน/องคกรเกษตรกรในระดับตำบล เพอื่ ไดขอมูลปญ หาความตองการ และขอเสนอแนะแนวทางพัฒนา
แกไขปญหาการดานการเกษตร รวมทั้งโครงการระดับตำบลเปนแผนงานพัฒนาในระดับอำเภอ จนถึงร ะดับ
จังหวัดตามลำดบั

ปงบประมาณ พ.ศ.2564 ระบบเกษตรกรรมมีความสัมพันธกับเศรษฐกิจฐานรากที่ไมสามารถ
แยกออกจากกันได แตหลายปที่ผานมานโยบายการสงเสริมและการสนับสนุนภาครัฐที่มุงเนนผลิตภัณฑ
การเกษตรจนมีการทำลายทรัพยากรการเกษตร และการใชสารเคมีในปริมาณนอย เกษตรกรถูกละเลยการ
สรางความเขมแข็ง การยกระดับความคิดพึ่งพาตนเอง และความเปนเกษตรกรมืออาชีพ ดังนั้นการสราง
เขมแข็งของเกษตรกรจึงเปนกุญแจสำคัญสูความสำเร็จในการแขงขันสินคาเกษตรตอไป การปฏิรูปเศรษฐกิจ
ฐานราก จึงจำเปนตองทำทั้งระบบ ตั้งแตการคนหาทุน ทรัพยากรบุคลากร ขอมูลในชุมชน และกลไกที่ชวย
ขับเคลื่อนพื้นที่ และสุดทายการจัดทำแผนพัฒนาโดยชุมชน สภาเกษตรกรจังหวัดเปนกลไกในระดับพื้นที่ ท่ี
จะตองประสาน กระตุน และหนุนเสริมใหกลไกระดับตำบล เครือขายสมาชิกสภาเกษตรกรระดับหมูบาน
สถาบนั อดุ มศกึ ษามกี ารบูรณาการทำงานรว มกัน เกิดการเปล่ียนแปลงท่ีนำไปสคู วามเขมแขง็ ของเกษตรกรและ
องคกรเกษตรกรในระดบั พนื้ ที่อยางเปนรปู ธรรม

ดังนั้น การปฏิรูปเศรษฐกิจฐานรากโดยใชพื้นที่เปนตัวตั้ง จึงเปนโครงการที่มุงไปสูการ
เปลี่ยนแปลงโดยใหเกษตรกรเปนผูคนหาและสรางการเปลี่ยนแปลงในพ้ืนที่ดวยตนเอง สอดคลองกับ
แผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตำบลของงบประมาณป พ.ศ.2564 เปนการพัฒนาเกษตรกรรมเดนที่เกิดขึ้น
เนนการพัฒนาดานระบบการผลิตการเกษตรแบบพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดาน
คุณภาพชีวิตเกษตรกร ดานความมั่นคงในอาชีพของเกษตรกร ดานการจัดการทรัพยากรที่เอื้อประโยชนตอ
ระบบเกษตรกรรม ดานความเขม แขง็ ของเกษตรกรในมติสังคม ดา นลดความเหลือ่ มล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม
ดานโอกาสการเขา ถึงการพฒั นาเกษตรกรรมสูความย่งั ยนื และดานอ่ืนๆ สกู ารยกระดบั ศักยภาพดา นการเกษตร
ผานกระบวนการสรางการรับรูจากพื้นที่ประสบความสำเร็จความสามารถพัฒนาตนเองและสามารถถายทอด
การจดั การความรขู องชุมชน จะทำใหเ กษตรกรมีความเขมแข็งจากการพัฒนาและพึ่งตนเอง ดว ยการมสี วนรวม
ของทุกคนในชุมชน ทำใหอาชีพเกษตรกรรมเปนอาชีพที่มั่นคง สรางรายไดใหเกษตรกรอยางเพียงพอ ชุมชน
เปนสังคมที่นาอยู เกิดความรักความหวงแหน สูการพัฒนาอยางตอเนื่อง มีคุณคาและมูลคาเพิ่มของสังคม
เกษตรกรและทุกคนในชุมชนอยูในสังคมอยางมีศักดิ์ศรี และเปนปจจุบัน สภาเกษตรกรแหงชาติ ไดกำหนด
เปาหมายใหสภาเกษตรกรจังหวัด ดำเนินการในพื้นที่ทุกอำเภอๆ ละ 1 ตำบล เพื่อตอบสนองความตองการ
ของเกษตรกรและใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอการนำนโยบายไปปฏิบัติ พัฒนาเปนตำบลตนแบบของจังหวัด
กำแพงเพชร โดยคัดเลอื กตำบลทา พทุ รา อำเภอคลองขลงุ จงั หวัดกำแพงเพชรเปน พื้นท่ดี ำเนินการฯ

สว นยทุ ธศาสตรก ารเกษตร
สำนกั งานสภาเกษตรกรจงั หวัดกำแพงเพชร

2564

บทสรุปผูบรหิ าร

การจดั ทำแผนพัฒนาเกษตรกรรมตำบลทาพทุ รา อำเภอคลองขลงุ จงั หวัดกำแพงเพชร

วัตถุประสงค
1. เพื่อใหมีการจัดทำแผนพัฒนาเกษตรกรรมในระดับตำบล มุงเนนการพัฒนาอาชีพและแกปญหา

ดานการเกษตรในพื้นที่ จากการรวมคิด วิเคราะห และคนหาแนวทางพัฒนาแกปญหาความตองการของ
เกษตรกร ดวยตวั ของเกษตรกรเอง

2. เพื่อยกระดับศักยภาพและสรางความเขมแข็งของเกษตรกร/องคกรเกษตรกร ชุมชนฐานรากทั้ง
ดา นเศรษฐกิจ สงั คม และสง่ิ แวดลอม ดำเนนิ การครอบคลุมเชอื่ มโยงตั้งแตการผลติ แปรรูป จนถึงการตลาด

3. เพือ่ พัฒนาชมุ ชนเปนชุมชนเกษตรกรรมตนแบบหรอื ศนู ยเ รยี นรเู กษตรกรรมย่งั ยืน

แนวทางการดำเนินงาน
ป 2564 เปนปที่ริเริ่มการมีสวนรวมของเกษตรกรชุมชนเปนตัวตั้ง หนุนเสริมดวยหนวยงาน

รับผดิ ชอบทเ่ี กีย่ วของดานการเกษตร หนว ยงานประสานหลกั สภาเกษตรกรจังหวดั สำนักงานสภาเกษตรกร
จังหวัด และคณะผูปฏิบัติงาน สภาเกษตรกรระดับตำบล หนวยงานสนับสนุน สำนักงานเกษตรอำเภอ
สภาองคกรชุมชน องคการบริหารสวนตำบล สำนักงานปศุสัตวอำเภอ สำนักงานประมงอำเภอ สำนักงาน
สหกรณจังหวัด สถานีพัฒนาที่ดิน สำนัก/ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตร โครงการชลประทานจังหวัด
สำนักงานกองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรและสหกรณจังหวัด สำนักงานพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษยจังหวัด สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด ธนาคารเพื่อการเกษตร
และสหกรณการเกษตร สำนักงานกองทุนยุติธรรมจังหวัด สถาบันการศึกษา ภาคเอกชน และหนวยงาน/
องคกร ที่เกี่ยวของอื่นๆ หนวยงานสนับสนุน ดานการพัฒนาอาชีพดานการเกษตร เครือขายพัฒนาอาชีพ
ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.)
สำนักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) และอื่นๆ
ที่เกี่ยวของ โดยกลไกการมีสวนรวมของผูนำชุมชน ผูนำเกษตรกร เกษตรกร ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น
สภาเกษตรกรระดับหมูบาน/ตำบล สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด ผานการแตงตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนและ
พัฒนาการเกษตรระดับตำบล และคณะทำงานจัดทำแผนพัฒนาเกษตรกรรมโดยชุมชนระดับตำบล จำนวน 4
ทีม ครอบคลมุ พ้ืนท่ตี ำบล

กจิ กรรมและวิธีดำเนินงาน แบงเปน 2 กิจกรรมหลัก ไดแก
1. การจัดทำแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดบั ตำบล
ขนั้ ท่ี ๑ การรวบรวม ศกึ ษา วิเคราะหข อมูล และยกรา งแผนพฒั นาเกษตรกรรมระดับตำบล
(1) รวบรวมขอมลู การทำการเกษตรและที่เก่ียวของในพื้นทีต่ ำบล อาทิ ชนิดหรือประเภทของการทำ

การเกษตร จำนวนเกษตรกรทท่ี ำการเกษตรในแตละชนดิ หรอื ประเภทของการทำการเกษตร
(2) จำนวนพืน้ ท่ีเพาะปลูกพชื จำนวนปศุสัตวที่เพาะเลี้ยงแตละชนิด ราคาปจ จยั การผลิต ตนทุนการ

ผลติ ราคาผลผลิต



(3) คุณสมบัติ/ลักษณะทางกายภาพของดินและน้ำ ขนาดการถือครองที่ดินทำการเกษตรของ
เกษตรกร กรรมสิทธิ์ในที่ดนิ ทำกิน แหลงน้ำ แหลงเงินทุน จำนวนกลุม/องคกรเกษตรกร โรงงาน
แปรรปู สถานประกอบการ และตลาดจำหนา ยผลติ ผลและผลิตภณั ฑก ารเกษตร เปน ตน

(4) สำรวจขอมูลสภาพเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนเกษตรกร อาทิ รายได รายจาย ทรัพยสิน
หน้ีสิน และปญหาความตองการของเกษตรกรในพนื้ ท่ี

(5) วิเคราะห สังเคราะห ขอมูลที่ไดจากการรวบรวมตาม ขอ (๑) และ (๒) ขางตน และจัดทำ
“รางแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตำบล” มีรายละเอียดประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย
ยุทธศาสตร กลยุทธ และกิจกรรม/โครงการเพื่อการพัฒนาและแกปญหาดานการเกษตรของเกษตรกรในพื้นท่ี
ซ่งึ อาจประกอบดว ยการพัฒนาแกปญ หาความตองการของเกษตรกรใน ๖ ประเดน็ หลกั ไดแ ก (๑) ปญหาราคา
สินคาเกษตร (๒) ปญหาหนี้สิน (๓) ปญหาที่ดินทำกิน (๔) ปญหาแหลงน้ำทำการเกษตร (๕) ปญหาเงินทุน
และ (๖) ความตองการองคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรม สวสั ดกิ าร สิทธิเกษตรกร และการไมไดรับความเปน
ธรรมในดา นตา งๆ และการยกระดบั พฒั นาอาชีพดา นการเกษตร

โดยรางแผนพัฒนาเกษตรกรรมดังกลาว จะตองมีความสอดคลองกับปญหาความตองการของ
เกษตรกรในพื้นที่ รวมทั้งมีความสอดคลองกับยุทธศาสตรจังหวัด ยุทธศาสตรภาค ตลอดจนยุทธศาสตรชาติ
20 ป แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 แผนพัฒนาจังหวัด/ภาค และแผนแมบทตางๆ
โดยเฉพาะแผนแมบทเพือ่ พัฒนาเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔ และนโยบายของรัฐบาล

ทง้ั นี้ ควรให “ผูปฏิบตั ิงานสภาเกษตรกรระดับตำบล” ซง่ึ เปน ผแู ทนของเกษตรกรในพื้นท่ี ผูนำชุมชน
เครือขายองคกรเกษตรกร ประชาชนในพื้นที่เขามีสวนรวมในการคิด วิเคราะห เสนอแนะแนวทางการพัฒนา
แกปญ หาดานการเกษตรของเกษตรกรในพื้นที่ และยกรา งแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดบั ตำบล ตงั้ แตในขนั้ ตอนนี้

ขั้นที่ ๒ การรับฟงความเห็นจากเกษตรกรและผูเกี่ยวของ และปรับปรุง จัดทำแผนพัฒนา
เกษตรกรรมระดับตำบล

(1) จดั ใหมเี วทีเพ่ือการรับฟง ขอ มลู ขอ คดิ เห็น และขอเสนอแนะจากเกษตรกรในพ้ืนท่ี และผูเก่ียวของ
อยา งรอบดาน

(๒) ปรบั ปรงุ รา งแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตำบล ตามขอ มลู ขอคดิ เหน็ และขอเสนอแนะดังกลาว
เพื่อใหมีความครอบคลุม สมบูรณ เหมาะสม สอดคลองกับปญหาความตองการของเกษตรกร และจัดทำ
แผนพฒั นาเกษตรกรรมระดับตำบลฉบบั สมบรู ณ

ขัน้ ที่ ๓ การประสานการพฒั นาและแกป ญ หาใหแกเ กษตรกร
(๑) เสนอแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตำบล แผนงานโครงการพัฒนาอาชีพดานการเกษตร ตอผูวา
ราชการจังหวัด เพื่อบูรณาการเขาเปนสวนหนึ่งของแผนพัฒนาตำบลของจังหวัด รวมทั้งจัดสงสำนักงาน
สภาเกษตรกรแหง ชาติ เพอ่ื การดำเนินการในสว นทีเ่ ก่ยี วขอ งตอไป
(๒) ประสานงานหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อขอรับการสนับสนุน ชวยเหลือในการดำเนินการ หรือรวม
บูรณาการความรวมมือในการดำเนินกิจกรรม/โครงการ ตามแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตำบล เพื่อการ
พฒั นาอาชีพและแกป ญหาใหแ กเ กษตรกร



(๓) ประสานการดำเนินการ/รวมบูรณาการในการดำเนินการ และติดตามผลความกาวหนา ในการ
ดำเนินกิจกรรม/โครงการ ตามแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตำบล เพื่อการพัฒนาอาชีพและแกปญหาใหแก
เกษตรกร และรายงานสำนักงานสภาเกษตรกรแหง ชาติ ตลอดจนหนว ยงานท่เี กี่ยวขอ ง

2. การขบั เคล่ือนพัฒนาอาชีพและแกไ ขปญหาของเกษตรกร/กลุม/องคก รเกษตรกร
(1) คัดเลือกเกษตรกร กลุม/องคกรเกษตรกรในพื้นที่ดำเนินงาน และรวมรวมเกษตรกรที่มีประเด็น
ปญหาดานการเกษตร จัดตั้งเปนกลุม/องคกรเกษตรกรรายสินคาเกษตร (กรณียังไมมีกลุม/องคกรเกษตรกร
ดังกลาวอยูใ นพ้ืนท่ี) กำหนดแผนงานกิจรรมทน่ี ำไปขับเคลื่อนพฒั นาอาชีพและแกไขปญหาดานการเกษตรในพน้ื ท่ี
(๒) จัดประชุมเกษตรกร กลุม/องคกรเกษตรกรรายสินคาเกษตร เพื่อรวมหารือในการวางแผน
ปฏิบัติงาน (Action plan) เพื่อยกระดับการพัฒนาอาชีพของเกษตรกร กลุมเกษตรกร สอดรับการปญหาดาน
การเกษตรกร ดานการเพิ่มมูลคาผลผลิต หรือดำเนินการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลคาผลผลิต ซึ่งอาจเชื่อมโยงถึงการ
จดั การตลาดผลิตผลและผลิตภณั ฑดงั กลาว ดว ยตัวของเกษตรกร/กลุม/องคกรเกษตรกร เปนการดำเนินงานที่
ครบวงจร ครอบคลุมตงั้ แตก ารผลติ แปรรปู จนถึงการตลาด
(๓) ประสานงานหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อขอรับการสนับสนุนในสวนที่เกษตรกร/กลุม/องคกร
เกษตรกรขาดแคลนจำเปน เชน เงินทนุ เทคโนโลยี และนวตั กรรมในการผลติ แปรรปู เพ่มิ มลู คา อัตลักษณพื้น
ถ่ิน เพ่อื ขบั เคลอื่ นการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั งิ านในการพัฒนาอาชีพดานการเกษตร
(๔) ประสานงานเกษตรกร/กลมุ /องคกรเกษตรกร ในการขบั เคล่อื นการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิงาน
ในการพฒั นาอาชีพและแกไขปญหาดานการเกษตร
(๕) ติดตาม ประสานการชวยเหลือเกษตรกร/กลุม/องคกรเกษตรกร เพื่อปรับปรุงการดำเนินงานให
เปนไปตามแผนปฏบิ ัตงิ านในการพัฒนาอาชพี อยางมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผล


ภาพ : ผงั แสดงข้นั ตอนบรู ณาการแผนพฒั นาเกษตรกรรมตำบล



การพัฒนาดานการเกษตรในตำบลทาพทุ รา อำเภอคลองขลงุ จังหวัดกำแพงเพชร

1.วิสัยทัศน

“ตำบลทที่ ำการเกษตรหลากหลาย การใชเ ทคโนโลยี นวตั กรรม เชื่อมโยงการทองเทย่ี ว”
๒.พันธกิจ

1.สนบั สนนุ สง เสรมิ ภมู ิปญญาทอ งถิน่ การศกึ ษา วจิ ยั และพัฒนา การถายทอดเทคโนโลยี
ดิจทิ ลั ดานการเกษตรใหเหมาะสม ตลอดจนการนำไปใชป ระโยชนอ ยา งเปนรูปธรรม

2.การพฒั นาขีดความสามารถในการเพม่ิ ผลผลิตทางการเกษตรใหมีคุณภาพ ความ
ปลอดภัย และเพ่ิมมูลคา สินคาเกษตรแบบครบวงจร

3.พัฒนาและเช่อื มโยงเครอื ขา ยเพอ่ื เพิม่ ขีดความสามารถในการบรหิ ารจัดการ
การแปรรูป การตลาดผลผลิตทางการเกษตรอยางมีประสทิ ธภิ าพ

4.สบื สาน อนุรักษ สนบั สนนุ กิจกรรมดานศลิ ปะ วัฒนธรรมประเพณี การเชื่อมโยง
การทอ งเที่ยวเชงิ เกษตร

๓.ยทุ ธศาสตร/ กลยทุ ธ/ โครงการ

-ยุทธศาสตร ท่ี 1 การเพมิ่ ศกั ยภาพ การผลติ สนิ คา เกษตรหลักของตำบล (ขาว)
-กลยุทธ
1.การเพ่มิ ปรมิ าณผลผลิต โดยใชเ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรม
2.การลดตน ทุนการผลติ ไดแก การลดการเผาตอซงั การสงสริมการใชปยุ
อินทรีย การลดการใชสารเคมี
3.สงเสริมการแปรรูปขาว เพือ่ เพม่ิ มลู คาและชอ งทางการตลาด

-ยทุ ธศาสตร ท่ี 2 การสงเสรมิ การสนับสนุน การผลติ สินคาเกษตรทีห่ ลากหลาย
-กลยทุ ธ
1.การเพิ่มศกั ยภาพการผลติ สินคา เกษตรรองของตำบล ไดแก
มันสำปะหลัง
2.สนับสนุนใหเกษตรกรทำการเกษตรที่หลากหลายขึ้น เพื่อลดความเสี่ยง เชน
การเลี้ยงโค การเลีย้ งแพะแกะ การทำสวนไมผล
3.สง เสรมิ และอนุรักษกลว ยไขสายพันธกุ ำแพงเพชร

-ยุทธศาสตร ท่ี 3 การสนับสนนุ การเช่อื มโยง การทอ งเที่ยวเชงิ เกษตร
-กลยทุ ธ

1.จดั กิจกรรมสง เสริมการทองเท่ยี วเชงิ เกษตร
2.สงเสรมิ ใหเ กดิ แปลงเรยี นรู แปลงสาธติ เพ่ือเปนจดุ ศึกษาดูงาน
3.เชอ่ื มโยงกจิ กรรมการทอ งเทีย่ วทกุ สาขาเขาดวยกนั

สารบญั หนา
1-9
คำนำ
บทสรุปผูบริหาร 10-43
บทที่ 1 โครงการจัดทำแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตำบล

1.หลกั การ
2.วัตถุประสงค
3.เปา หมาย
4.ขน้ั ตอนและแนวทางการดำเนินงาน
5.ผลที่คาดวาจะไดรบั
6.แนวทางการดำเนินโครงการ
บทท่ี 2 สภาพพนื้ ฐานทางเศรษฐกิจ สังคมและสง่ิ แวดลอ ม
ตำบลทา พุทรา อำเภอคลองขลุง
ก.ขอมลู ทัว่ ไป

1.ประวตั ิและความเปน มา
2.ที่ตง้ั และอาณาเขต
3.การปกครอง
ข.ขอ มูลดานกายภาพ
1.สภาพภูมปิ ระเทศ
2.สภาพภมู ิอากาศ
3.ดนิ และศกั ยภาพของดินเพื่อการเกษตร

3.1 สภาพการถอื ครองที่ดนิ
3.2 ศกั ยภาพของดนิ และความเหมาะสมสำหรบั การปลกู พืช
4.น้ำและศักยภาพเพ่ือการเกษตร
5.การคมนาคม
6.สาธารณปู โภค
ค.ขอ มลู ทางชวี ภาพ
การปลูกพืชเศรษฐกจิ ท่ีสำคัญ
1.ขา วนาป
2.การทำนาปรัง
3.การปลกู มนั สำปะหลงั
4.การปลกู ออย
5.การปลูกขา วโพดเล้ยี งสัตว
6.การปลูกกลวยไข
ง.ดา นเศรษฐกจิ และสังคม
1.จำนวนประชากรและการประกอบอาชีพของประชากร
2.ดานสังคม

-2-

3.ดานสาธารณปู โภค
4.ดา นการศึกษา
5.ศาสนาละวัฒนธรรม
6.ดานเศรษฐกิจ

-เงนิ กองทนุ พฒั นาอาชพี ภายในชุมชน

บทท่ี 3 การจดั เวทีประชาคม 44-61

1.การจัดเวทีประชาคม จำนวน 7 หมบู า น

2.ภาพรวมสภาพปญ หา 6 ดานและแนวทางแกไขปญ หาระดับตำบล

2.1 ปญ หาราคาสนิ คา เกษตร

2.2 ปญหาแหลง น้ำเพ่ือการเกษตร

2.3 ขอมลู ปญ หาทดี่ นิ ทำกิน

2.4 ปญ หาสวัสดกิ ารเกษตรกร สิทธิเกษตรกรและการไมไดรบั ความเปนธรรม

2.5 ปญ หาดานสงั คมหรอื คุณภาพของชวี ติ

2.6 ขอมลู ปญ หาหน้สี นิ ของเกษตรกร

3.การสำรวจขอมูลตามแบบจัดเกบ็ ขอมลู เพอื่ ใชป ระกอบการบูรณาการแผนพัฒนาเกษตรกรรมชุมชน

เพื่อสรางความเขมแข็งเกษตรกรเศรษฐกิจฐานรากแบบมีสวนรวม (แผนพัฒนาเกษตรกรรมตำบล)

ประจำปง บประมาณ 2564 จำนวน 7 หมบู าน

4.การวเิ คราะห SWOT

3.1 จดุ แขง็

3.2 จุดออน

3.3 โอกาส

3.4 อปุ สรรค

บทที่ 4 การพัฒนาดา นการเกษตรในตำบล 62-65
1.วิสัยทศั น
2.พนั ธกจิ
3.ยทุ ธศาสตร/กลยุทธ/โครงการ
4.กลยทุ ธ/ แผนงาน/โครงการ

เอกสารอา งองิ



บทที่ 1 ๑
โครงการจัดทำแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตำบล

1.หลักการ

ตามทีค่ ณะรฐั มนตรีไดแถลงตอรฐั สภา เมอื่ วันท่ี 25 กรกฎาคม 2562 รัฐบาลใหค วามสำคญั กบั
ชุมชนในการนําความรูและทรัพยากรในพื้นที่ มาผลิตเปนสินคาและบริการ เพื่อเพิ่มศักยภาพของ
เศรษฐกิจฐานรากใหสามารถสรางรายได กระจายรายไดสูชุมชน สนับสนุนสินคาชุมชนและยกระดับ
วิสาหกจิ ชุมชนใหมีความเขม แข็ง พฒั นาชองทางการตลาดเช่ือมโยงกบั ระบบพาณชิ ยอิเล็กทรอนิกสและ
สรางพลังสังคม พลังชุมชน รวมทั้งสรางการเรียนรูฝกอาชีพกลุมอิสระในการรวมขับเคลื่อนและพัฒนา
ประเทศ รัฐบาล จึงมีนโยบายดำเนินการ ดังนี้ สงเสริมวิสาหกิจชุมชนและผลิตภัณฑชุมชน ดวย การ
สรางมูลคาเพิ่มธุรกิจชุมชนผานอัตลักษณของพื้นที่ สนับสนุนความเขมแข็งของวิสาหกิจชุมชนผาน
เทคโนโลยี สรางโอกาสและสงเสริมการเขาถึงขอมูลขาวสาร ที่ทันสมัยและบริการทางการเงินของ
วิสาหกิจชุมชน สงเสริมการลงทุนในชุมชนเพื่อสรางงานในชุมชน และสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการ
ดําเนินธุรกิจของ วิสาหกิจชุมชน สรางความเขมแข็งของชุมชน ดวยการสรางผูนําชุมชน ยกระดับ
คุณภาพตลาดชุมชน สถาบันการเงินของชุมชน สวัสดิการชุมชน สาธารณสุขชุมชน ปาชุมชน ไมมีคา
ทองเที่ยวชุมชน และสงเสริมการขยายตลาดออกสูตางประเทศ แกไขปญหาที่อยูอาศัย ที่ ดินทํากิน
สรางชุมชนที่นาอยู สรางพลังในชุมชน และสรางเครือขายชุมชนที่เขมแข็ง และสงเสริมบทบาท
ภาคเอกชนในการชวยพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจฐานราก สภาเกษตรกรแหงชาติ เปนองคกรที่จัดตั้งขึ้น
ตามพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรและองคกรเกษตรกร จึงเห็นความจำเปนในการสงเสรมิ ใหสภาเกษตรกร
จังหวัดตางๆ จัดใหมีเวทีสำหรับเกษตรกรฐานราก ที่ชวยกันคิด วิเคราะห คนหาทางออกวางแผนพัฒนา
แกป ญหาความเดือดรอน ละความตอ งการประการตา ง ๆ ของตนเอง

จึงอาศยั อำนาจตามมาตรา 4 พระราชบัญญตั ิสภาเกษตรกรแหงชาติ พ.ศ. 2553 ประกอบกบั
มาตรา 11 (6) แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 และที่แกไขเพิ่มเติม
แตงตั้งคณะกรรมการบริหารและ คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการการสรางความเขมแข็งเกษตรกร
เศรษฐกิจฐานรากแบบมีสวนรว ม ดวยเครือขายชุมชน โดยมีองคป ระกอบและอำนาจหนา ทด่ี ังน้ี

ภาพบูรณาการ ระดับสวนกลาง



2.วัตถุประสงค

2.1 เพื่อพฒั นาศักยภาพเศรษฐกจิ ชุมชนถนิ่ สูการจัดการตนเองดา นการเกษตร
2.2 เพอื่ เปล่ียนแนวทางการพัฒนาเกษตรที่เหมาะสม ตามศกั ยภาพของพื้นท่ี
2.3 เพื่อเกดิ แนวทางการแกป ญหาเกษตรกรแบบมีสวนรวม

3.เปาหมาย

ป 2564 ดำเนินการ 77 จังหวัด จงั หวดั ละ 1 ตำบล รวม 77 คน

4.ข้ันตอนและแนวทางการดำเนินงาน

4.1 การเตรยี มความพรอ มของเจาหนาที่ ไดแ ก การประชมุ ช้แี จงเจาหนา ที่ เปนรายภาค
เพือ่ ใหเกิดความเขาใจในแนวทาง และทิศทางของแผนงานโครงการใหสามารถดำเนินงานตามภารกิจได
อยางมีประสิทธิภาพ

4.2 การคัดเลือกและจำแนกตำบลเปาหมาย
4.3 การสำรวจขอ มูลและวเิ คราะหศกั ยภาพของพ้ืนที่ โดยการจดั เกบ็ และรวบรวมขอมลู
การเกษตรในตำบล เพื่อใชเปนขอ มลู เบ้ืองตนในการวางแผนและดำเนินโครงการ
4.4 การจัดทำแผนปฏิบัติการโครงการ โดยการกำหนดกจิ กรรมการทำแผนเกษตรกรรมระดับ
ตำบลโดยชุมชน โดยการสำรวจและวเิ คราะหค วามเปน ไปไดในการทำกิจกรรมเกษตร ประเภทตา งๆ
ของตำบล แลวกำหนดกจิ กรรมการสาสาธติ ทดสอบ และถายทอดเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมตอ ไป
4.5 การดำเนินงานตามกระบวนการทำแผนเกษตรกรรมระดับตำบลโดยชุมชน

1. พฒั นาและฝกอบรมผูแ ทนเกษตรกร ผูนำชมุ ชน
2. การพัฒนากลไกการจัดทำแผนเกษตรกรรมระดับตำบล โดยสภาเกษตรกร
3. พัฒนาศูนยข อ มลู เกษตรกรรมระดบั ตำบล โดยชมุ ชน
4. สรา งการเรยี นรูและทดลองในรปู แบบตา งๆ เพ่ือแกป ญหาเกษตรกรรม
4.6 การสง เสรมิ เผยแพร ประชาสมั พันธ เพ่ือแสดงผลงานรูปธรรมของแผนพัฒนา
เกษตรกรรมระดับตำบลทป่ี ระสบผลสำเรจ็ ทง้ั ในระดับการเผยแพรประชาสมั พนั ธในตำบลและระดับการ
เผยแพรประชาสมั พันธท วั่ ไป
4.7 บรู ณาการความรวมมือเพอื่ สนับสนนุ แผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับตำบลสชู ุมชนจัดการ
ตนเอง
4.8 การตรวจสอบ ตดิ ตาม และรายงาน
4.9 กาประเมินผล

5. ผลท่ีคาดวาจะไดร ับ

5.1 ทำใหเกดิ ตำบลนำรอง มงุ เนน ระบบการมสี วนรว มของเกษตรกร (People participation)
และมีรูปแบบกระบวนการเรียนรู ซึ่งเปนแนวทางในการสรางชุมชนเครือขายพัฒนาการเกษตร
(Technical Cooperation among Developing Villages = TCDV)

5.2 ทำใหมีการพัฒนาการเกษตรทีม่ ุงเนนใหม ีการเชื่อมโยง (Linkage) การปฏิบัติงานระหวา ง
เจาหนาทภี่ าครัฐ องคกร แกนนำกลมุ อาชพี และหนวยงานตา งๆ อยางมปี ระสิทธิภาพ สามารถสนองตอ
ความตองการของเกษตรกรในชมุ ชน

5.3 เกษตรกรในชุมชนมีแผนที่เหมาะสมสามารถนำไปปรับใชในการทำการเกษตรในไรนาได

จรงิ ทำใหเพิม่ ผลผลติ และตน ทนุ การผลิต และสง ผลใหเ กษตรกรมีรายไดเ พิ่มขนึ้



6. แนวทางการดำเนินโครงการ

6.1 การเตรยี มความพรอมของเจาหนา ท่ี โดยดำเนินการประชุมชี้แจงเจาหนาที่ ผูปฏิบัติงาน
โครงการ แนวทาง และข้นั ตอนการดำเนนิ งาน ใหสามารถดำเนนิ การตามภารกิจไดอยางมีประสิทธิภาพ
ใหเขาถึงหลักการของโครงการ

6.2 การคัดเลอื กและจำแนกตำบลเปา หมาย ตามหลกั เกณฑแ ละเงื่อนไข ดงั น้ี

(1) เปน ตำบลทม่ี ีความเหมาะสมตอ การเพ่มิ ศกั ยภาพดา นการเกษตร

(2) เปน พืน้ ทีม่ ศี ักยภาพเอ้อื ตอการสรา งเครือขา ยกระบวนการเรียนรู

(3) เกษตรกรในตำบลมคี วามพรอมและตองการเขา รวมโครงการ

เพื่อใหการถายทอดเทคโนโลยีเกิดประสิทธิภาพ จึงไดจำแนกกลุมของตำบล ตาม
หลักเกณฑและเงื่อนไข เปน 3 ระดับ คือ (1) ระดับเริ่มดำเนินการ (2) ระดับพัฒนา และ (3) ระดับ
สมบรู ณแ บบ

หลกั เกณฑ

ระดับตำบล ความเหมาะสมตอการ
ศกั ยภาพเอื้อตอ ความพรอมและความ

เพิ่มศักยภาพดาน
เครือขายการเรียนรู ตองการของเกษตรกร

การเกษตร

ระดับเริ่มดำเนินการ เหมาะสม ศักยภาพพอใช มีความพรอม

ระดับพฒั นา เหมาะสม ศักยภาพคอ นขางสงู มีความพรอม

ระดบั สมบรู ณแ บบ เหมาะสม ศกั ยภาพสงู มคี วามพรอม

- ใหพิจารณาดำเนินการคัดเลือกตำบลระดับพัฒนาที่มีศักยภาพ และมีกิจกรรมเกษตร
เอื้ออำนวยตอการพัฒนา เขารวมโครงการตามเปาหมายแตละป และพัฒนาตอเนื่องใหเปนระดับ
สมบรู ณแ บบตอ ไป

- ดำเนินการจัดเตรียมการพัฒนาตำบลระดับเริ่มดำเนินการ เพื่อคัดเลือกเขารวมโครงการในป
ตอ ไป

6.3 การสำรวจขอมูลและวิเคราะหศักยภาพของพื้นท่ี ตำบลเปาหมาย เพื่อปรับปรุงระบบ
การสงเสรมิ การเกษตร ใหส ามารถสนองตอบตอ ความตอ งการของชมุ ชน โดย :-

6.3.1 จัดทำทะเบียนครัวเรือน และจัดเก็บขอมูลเกษตรกร ในตำบลเปาหมาย โดย
อาศัยผนู ำทองถ่นิ คณะกรรมการหมูบ า น และ/หรอื แกนนำกลมุ อาชพี ตา ง ๆ



6.3.2 ศึกษาวิเคราะหขอมูลการผลิตทั้งดานกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม ภูมิปญญาชาวบาน และเทคโนโลยีดานการเกษตรที่มีอยูอยางละเอียด กอนเริ่มดำเนิน
โครงการ เพอื่ กำหนดกจิ กรรมตามโครงการ และใชเ ปนขอ มลู ในการประเมนิ ผล

6.4 การจัดทำแผนปฏิบัติการโครงการ โดยกำหนดกิจกรรมการถายทอดเทคโนโลยีในพื้นท่ี
จากผลการสำรวจและวิเคราะหความเปนไปไดในการทำกิจกรรมการเกษตรประเภทตางๆของตำบล
และพจิ ารณากำหนดกิจกรรม การสาธิต ทดสอบ และถา ยทอดเทคโนโลยที ี่เหมาะสม



ผงั แสดงขนั้ ตอนบรู ณาการแผนพัฒนาเกษตรกรรมชุมชนเพ่อื สรางความเขม แข็งเกษตรกรเศรษฐกจิ ฐานราก
แบบมสี วนรวม (แผนพัฒนาเกษตรกรรมตำบล)

คณะกรรมการขับเคลือ่ นและพฒั นาแผนการ ขน้ั ตอนท่ี 1 : การประชุมคณะกรรมการขับเคลอื่ น
เกษตรกรรมตำบล ประกอบดว ย การคดั เลอื กและจำแนกตำบลเปาหมาย

1. หัวหนา สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัด ขน้ั ตอนที่ 2 : การต้ังคณะกรรมการจดั ทำแผน คณะกรรมจัดทำแผนพัฒนาเกษตรกรรมโดย
2. ประธานสภาองคกรชมุ ชน จังหวัด ชมุ ชน ประกอบดวย
3. ผูแทนเครือขายชุมชนทองถิ่นนาอยู พฒั นาเกษตรกรรมโดยชุมชนระดับตำบล 1 ทมี จัดเก็บขอ มลู 2 ทีมตรวจทานขอ มลู
ประจำจังหวัด
4. ทอ งถิ่นจังหวดั ขน้ั ตอนท่ี 3 การจัดทำแผนโดยชมุ ชน 3 ทมี บนั ทกึ ขอมูล 4 ทีมวเิ คราะหขอ มูล
5. นายกสมาคมกำนันผูใ หญบา น จังหวดั ม่งุ เน้นการประสาน และกระต้นุ กลไกของ
6. หนวยงานอนื่ ๆ ท่เี กยี่ วของ สภาเกษตรกร เชน่ คณะทาํ งานสภาเกษตรกร
7. คณะทำงานเครือขา ยสภาเกษตรกร ประจําตําบล สมาชกิ สภาเกษตรกรอําเภอ

ระดบั อำเภอ
7. เจาหนาท่สี ำนกั งานสภาเกษตรกรจังหวัด
ทไี่ ดรบั มอบหมาย ทำหนาท่เี ลขา คณะ

ทมี จดั เก็บขอ มูล
โดยอาสาสมคั รจดั เกบ็ ขอ มูล หมบู านละ 2 คน

ขน้ั ตอนที่ 3.1 : การสำรวจขอมูลโดยชุมชน

ข้ันตอนที่ 3.2 : การตรวจทานขอมูล

ทีมตรวจทานขอ มลู
โดยผูนำทอ งท่ีผนู ำทองถิน่ หมลู ะ 2 ทา น

ขัน้ ตอนที่ 3.3 : การบันทกึ ขอมลู สูระบบฐานขอ มูล

เกษตรกรรมโดยชมุ ชน

ทีมบันทกึ ขอ มลู
โดยอาสาเกษตร หรอื ทายาทเกษตร เกษตรกรรนุ ใหม
/สมาชิกสภาเกษตรกรระดบั หมูบา น/ หมลู ะ 1 คน

ขนั้ ตอนท่ี 4 : วิเคราะหท นุ และศกั ยภาพ โจทยป ญ หาของเกษตรกร

ทมี วเิ คราะหขอมูล สูก ารเปลยี่ นแปลงเกษตรกรรมยั่งยนื คณะกรรมการขบั เคลื่อนและพัฒนา
แผนเกษตรกรรมตำบล
ไดแ ก นายก อปท. /กำนัน / ประธาน ศบกต. /เกษตร ตำบล /
จนท.นโยบายและแผน/ คณะทำงานสภาเกษตรกรตำบล

ขัน้ ตอนที่ 5 : การจัดเวทีทบทวน

คณะกรรมจดั ทำแผนพัฒนาเกษตรกรรมโดยชุมชน



สรางการตืน่ รปู ญหาเกษตรกร

คณะกรรมการขบั เคลือ่ นและพัฒนา ขน้ั ตอนท่ี 6 : นำเสนอในรปู แบบนิทรรส การ หรือ หนวยงานท่ีเกยี่ วขอ งในจังหวดั
แผนเกษตรกรรมตำบล หรือนำเสนอผา นส่อื เพื่อประชาสมั พันธ

คณะกรรมการพัฒนาศักยภาพและ ขนั้ ตอนท่ี 7 : การตรวจสอบ ติดตาม และรายงาน สภาเกษตรกร
แผนเกษตรกรรม แหง ชาติ

หมายเหตุ : สำนักงานสภาเกษตรกรจงั หวัด สามารถประยุกตใ ชไดต ามความเหมาะสมของแตล ะพน้ื ท่ี







๑๐

บทที่ 2
สภาพพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ สงั คมและส่งิ แวดลอ ม

ตำบลทา พทุ รา อำเภอคลองขลุง

ก.ขอมลู ทวั่ ไป
1.ประวัตแิ ละความเปน มา

ตำบลทาพุทรา เปนตำบลหนึ่งในสิบตำบลของอำเภอคลองขลุง จัดตั้งเมื่อป พ.ศ 2493
ซง่ึ เดมิ แบง เขตการปกครองออกเปน 2 หมบู า น โดยมกี ำนนั คนแรกช่ือ นายจนั ทร ปญ ญาญาณ อยูบาน

ทาพุทรามีแมน้ำปงไหลผาน ยากแกการปกครองหมูบาน จังหวัดจึงดำเนินการแบงเขตการปกครอง

โดยกรมปกครอง กระทรวงมหาดไทย ไดประกาศแบงแยกตำบลในป พ.ศ 2527 ออกเปนตำบลวงั บัว

ไดแบงแยกหมูบานออกไป 8 หมูบาน ทำใหในปจจุบัน ตำบลทาพุทรา มีจำนวน 7 หมูบาน โดยยึด

แมน ้ำปงเปนเขตแบงตำบล
พ้นื เพดงั้ เดิมของประชากร
ประชากรสวนใหญของตำบลทาพุทรา มาจากที่อื่น เชน หมูที่ 2 บานปรึกมะกรูดและหมู 4

บานคลองเจริญ สวนใหญอพยพมาทางภาคอีสาน เชน จังหวัดขอนแกน จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัด

ชัยภูมิ เปนตน เนื่องจากพื้นท่ีตำบลทาพุทรามีสภาพเปนปา ราษฎรจึงอพยพมาถางปาเพื่อประกอบ

อาชีพการเกษตร ตั้งบานเรือนอยูกันบริเวณริมแมน้ำปงซึ่งมีขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม

คลายคลงึ กัน มีความสัมพนั ธแบบเครอื ญาติ นับถือระบบอาวโุ ส นับถือศาสนาพทุ ธ

2.ท่ีตั้งและอาณาเขต

ตำบลทาพุทราตัง้ อยทู างทศิ เหนอื ของทวี่ าการอำเภอคลองขลุง อยหู างจากท่ีวาการอำเภอ
คลองขลุงประมาณ 12 กิโลเมตร มีพ้นื ทีถ่ ือครองทงั้ หมด ประมาณ 17,938 ไร โดยมีอาณาเขต
ดังน้ี

ทิศเหนือ จด ตำบลธรมรงค อำเภอเมอื งกำแพงเพชร
ทศิ ใต จด ตำบลคลองขลงุ อำเภอคลองขลงุ
ทศิ ตะวันออก จด ตำบลวงั อำเภอคลองขลุง
ทศิ ตะวนั ตก จด ตำบลหัวถนน อำเภอคลองขลุง

3.การปกครอง นางรุงลาวลั ย เหลา สิม ผูใ หญบา น
นายทรงยศ มากเมือง ผใู หญบา น
หมูท ่ี 1 บานคลองแขยง นายไพฑูรย เด่ยี ววาณชิ ผูใหญบ าน
หมทู ี่ 2 บานปรกึ มะกรูด นายเกียรติพงษ สกั กุ ผใู หญบ าน
หมูท่ี 3 บานทา พุทรา นายดาวรงุ วงั นาค ผูใหญบาน
หมูท่ี 4 บา นคลองเจรญิ นายชยั ธวฒั น คุณาพงษโ ยธิน กำนนั
หมทู ่ี 5 บา นทา พุทราเหนอื นายอาทติ ย ทิพโอสถ ผูใหญบ าน
หมูที่ 6 บานคลองยาง
หมทู ่ี 7 บานทอ งคงุ

๓ ๑๑

รูปที่ 1 แผนที่ขอบเขตการปกครอง ตำบลทา พุทรา อำเภอคลองขลุง จังหวดั กำแพงเพชร

๑๒

ข.ขอ มลู ดา นกายภาพ
1.สภาพภูมิประเทศ

ลกั ษณะและสภาพภมู ิประเทศ โดยท่ัวไปมสี ภาพเปนทร่ี าบลมุ ใชเปนพนื้ ที่ทำการเกษตรและ
ในชว งฤดูฝนจะมนี ้ำขงั หรือนำ้ ทว มในพน้ื ทเี่ ปนบางสว นเน่ืองจากการระบายน้ำไมท ัน และถา หากปใ ดฝน
ไมตกตองตามฤดกู าล ทำใหไ ดร ับผลกระทบกับพชื ที่ปลูก

2.สภาพภมู ิอากาศ

2.1 อณุ หภมู ิ เฉล่ีย ( ป 2556 – 2560 ) 30 องศาเซลเซยี ส
2.2 ปรมิ าณน้ำฝน และ การกระจายตวั ของฝน

1) ปรมิ าณนำ้ ฝนเฉลยี่ 5 ป ( 2556 – 2560 ) ปริมาณ น้ำฝนเฉลยี่ 1,345 มม.
การกระจายตวั ของฝน 128 วัน / ป

2) เดอื นทีม่ ีฝนตกมากคือ เดือน พฤษภาคม เฉลีย่ 76.5 มม. จำนวน 19 วนั / เดอื น
3) เดือนท่ีมฝี นตกกระจายตลอดทง้ั เดือน พฤษภาคม – ตุลาคม

3.ดนิ และศกั ยภาพของดนิ เพื่อการเกษตร
3.1 สภาพการถอื ครองท่ดี นิ

มีพื้นที่ถอื ครองท้ังหมด 17,938 ไร ซ่ึงแบง พนื้ ที่ประกอบการเกษตรโดยแบงการ
ถอื ครองและการใชป ระโยชนไ ด ดังน้ี

- พ้นื ทท่ี ำนา 11,275 ไร
- พนื้ ที่ทำไร 1,544 ไร
- พื้นทีท่ ำสวน 719 ไร
- พน้ื ทแ่ี หลงน้ำ 1,061 ไร

๑๓

ตารางท่ี 1 แสดงพื้นทีถ่ ือครองเปน รายหมบู า น

พ้ืนท่ถี อื พนื้ ทอ่ี ยู พืน้ ที่ พนื้ ที่ประกอบการเกษตร
หมูที่ ครอง อาศัยและ แหลง

ท้งั หมด สวนผสม นำ้ (ไร) รวม
ท่ีนา ทไี่ ร ท่ีสวน อน่ื ๆ

(ไร) ( ไร)

1 2,877 160 125 2,201 267 97 27 2,592

2 3,672 250 83 2,672 444 201 22 3,339

3 2,129 710 160 993 58 183 25 1,259

4 3,373 572 160 2,391 157 62 31 2,641

5 1,668 330 186 739 276 60 77 1,152

6 2,265 304 125 1,710 37 59 30 1,836

7 1,954 720 291 569 305 57 12 943

รวม 17,938 3,046 1,061 11,275 1,544 719 224 13,762

ที่มา : สำนกั งานเกษตรอำเภอคลองขลุง

จากตารางผลการวเิ คราะหขอมลู ของพ้ืนท่ีถือครองเปน รายหมูบา น สรุปไดวา ตำบลทาพุทรา
อำเภอคลองขลุง จงั หวัดกำแพงเพชร มีพน้ื ที่อยอู าศยั และสวนผสมจำนวน 3,046 ไร คดิ เปน รอยละ
16.98 ของพืน้ ทถี่ ือครองท้ังหมด พ้นื ท่ีแหลง น้ำจำนวน 1,061 ไร คิดเปนรอ ยละ 5.91 ของพน้ื ท่ี
ถอื ครองท้ังหมด พืน้ ทป่ี ระกอบการเกษตรจำนวน 13,762 ไร คดิ เปน รอยละ 76.72 ของพน้ื ท่ถี ือ
ครองทั้งหมด ซงึ่ ประกอบไปดวยเปน พนื้ ท่ีนาจำนวน 11,275 ไร คิดเปนรอ ยละ 62.86 ของพืน้ ท่ถี ือ
ครองทั้งหมด พน้ื ที่ไรจำนวน 1,545 ไร คดิ เปน รอ ยละ 8.61 ของพนื้ ทถี่ ือครองทง้ั หมด เปนพ้นื ท่ีสวน
จำนวน 719 ไร คิดเปน รอ ยละ 4.01 ของพ้ืนท่ีถอื ครองท้ังหมด พื้นที่อื่นๆจำนวน 224 ไร คดิ เปน
รอ ยละ 1.25 ของพน้ื ทีถ่ ือครองทั้งหมด

๑๔

รปู ที่ 2 แผนท่ีขอบเขตการใชที่ดนิ ตำบลทาพุทรา อำเภอคลองขลุง จงั หวดั กำแพงเพชร

๑๕

3.2 ศกั ยภาพของดินและความเหมาะสมสำหรบั การปลกู พืช

พืน้ ที่การเกษตร จำนวน 13,762 ไร มีลักษณะของเน้ือดินสว นใหญเ ปนดินเหนียว
ระบายนำ้ คอนขางเลว มีความอดุ มสมบูรณทางธรรมชาติปานกลาง มคี วามเปนกรดดา งประมาณ 4.5-6
มีพื้นที่ประมาณ 10,553 ไร หรือรอยละ 83.90 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งกระจายตัวอยูทุกหมูบาน
นอกนั้น จะเปนดินพวกดินรวนปนทราย หรือดินรวน หรือบางแหงจะเปนดินพวกดินรวนปนทรายแปง
มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติคอนขางต่ำถึงปานกลาง มีพื้นที่ประมาณ 2,025 ไร หรือรอยละ
16.10 ของพืน้ ทอ่ี ยูในหมูท่ี 1,2,3,4,5,6,7

๑๖
รปู ท่ี 3 แผนท่ีกลมุ ชดุ ดนิ ตำบลทา พุทรา อำเภอคลองขลงุ จังหวดั กำแพงเพชร

๑๗

กล่มุ ชุดดินทÉี 4

กลุ่มชดุ ดนิ ทÉี 4

หนา้ ตดั ดนิ บรเิ วณทีพÉ บ

ลกั ษณะโดยทÉัวไป : เนอÊื ดนิ เป}นพวกดนิ เหนียว ดินบนมสี ีนาํÊ ตาลปนเทาหรอื สนี Êําตาล ดินลา่ งมสี นี าÊํ ตาล
ปนเทา หรอื สีนาํÊ ตาล หรอื สเี ทาปนสีเขยี วมะกอกมีจุดประสนี าํÊ ตาลปนเหลอื งหรือสนี าÊํ ตาลแก่ อาจพบก้อนปูน ก้อน
สารเคมสี ะสมพวกเหลก็ และแมงกานสี ในชÊันดนิ ล่าง การระบายนํÊาคอ่ นขา้ งเลวถงึ เลว พบตามทÉรี าบเรยี บหรือทÉีราบ
ลุ่มระหว่างคนั ดินริมลํานาํÊ กบั ลานตะพกั ลํานําÊ คอ่ นข้างใหม่ นําÊ แชข่ งั ในฤดฝู นลึก 30 - 50 ซม. นาน 4-5 เดือน ดินมี
ความอดุ มสมบรู ณ์ตามธรรมชาติปานกลาง pH 5.5-6.5 ถ้าหากดินมกี อ้ นปนู ปะปนอยู่ pH จะเปน} 7.0-8.0 ได้แก่ ชุด
ดินชยั นาท ราชบุรี ท่าพล และสระบรุ ี , บางมูลนาค ป{จจุบันบรเิ วณดงั กล่าวสว่ นใหญใ่ ช้ทํานา บางแหง่ ยกร่องเพอืÉ
ปลกู พืชผกั หรอื ไมผ้ ล ซึงÉ มกั จะให้ผลผลติ ค่อนขา้ งสงู

ปญ{ หาในการใชป้ ระโยชน์ทีÉดิน : ในฤดูฝนมีนําÊ แช่ขงั นาน 4 - 5 เดือน

ความเหมาะสมสาํ หรับการปลกู พืช : สภาพพนÊื ทÉีราบลุ่มมีสภาพพนÊื ทีÉราบเรยี บถึงเกอื บราบเรยี บ ดินมี
สภาพการระบายนÊําค่อนข้างเลวถงึ เลว ในช่วงฤดูฝนมนี าÊํ ขงั ทผÉี วิ ดินเปน} ระยะเวลา 4-5 เดือน เนืÊอดนิ เปน} ดินเหนยี ว
เก็บกักนํÊาได้ดี จงึ เหมาะสมทÉีจะใช้ในการทาํ นามากกว่าการปลกู พืชอยา่ งอÉืน อย่างไรก็ตามหลงั การเกบ็ เกยÉี วข้าวหรือ
ในชว่ งฤดูแลง้ กลุ่มชุดดินนÊี สามารถใช้ในการปลกู พชื ไรห่ รือพืชผกั ทมีÉ อี ายุสันÊ ไดเ้ ปน} อย่างดี เนอืÉ งจากดินมีความชนÊื
พอทÉีจะปลกู ไดแ้ ละดินกลมุ่ นีพÊ บบรเิ วณทีÉอยู่ใกลก้ ับแหลง่ นÊาํ ธรรมชาติ ไดแ้ ก่ แม่นÊําสายสาํ คญั จึงสามารถทÉจี ะนาํ นาÊํ
จากแมน่ ํÊาดงั กลา่ วมาใชเ้ สรมิ ในการปลูกพชื ไดแ้ ละไดม้ กี ารปฏิบตั ิกันอย่างกว้างขวางในภาคกลาง ภาคเหนือ และ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การจดั การกลุ่มชดุ ดินทÉี 4
ปลกู ข้าวหรือทาํ นา เพÉิมความอดุ มสมบูรณใ์ หก้ บั ดินปฏิบัติเช่นเดียวกับกลุม่ ชดุ ดนิ ทÉี 3
การใช้ปlยุ เคมี ใส่ 2 ครัÊง ครÊงั แรก ใส่ปุlยสตู ร 16-20-0 หรือ สูตร 20-20-0 หรอื สูตร 18-20-0

สูตรใดสตู รหนÉึง อตั รา 20 กก./ไร่ สําหรับข้าวพันธไุ์ วตอ่ ชว่ งแสงและอตั รา 35 กก./ไร่ สําหรับขา้ วไม่ไวต่อชว่ งแสง
ใส่ก่อนป{กดาํ 1 วัน หรอื ใสว่ ันปก{ ดาํ แล้วคราดดนิ กลบ ครงÊั ทีÉ 2 ใสป่ lยุ แตง่ หนา้ ดว้ ยแอมโมเนยี มซัลเฟต อัตรา 15
กก./ไร่ หรอื ปุยl ยเู รียอัตรา 6 กก./ไร่ สําหรบั ขา้ วไวตอ่ ช่วงแสง ถ้าเป}นข้าวไม่ไวตอ่ ชว่ งแสงใหใ้ ส่ปยlุ แอมโมเนียม














































Click to View FlipBook Version