The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 1062040178, 2022-09-04 00:28:27

PLC โมดูลที่ 9

PLC โมดูลที่ 9

แบบบันทกึ การสรา้ งชมุ ชนเรียนรเู้ พอ่ื พัฒนาวชิ าชีพ
(จานวนชว่ั โมง 20 PLC)
ประจาปกี ารศึกษา 2565

ครูผ้สู อน
นายศิวานนท์ โตนาค

ตาแหนง่ ครู
โรงเรียนชุมชนประชาสามัคคี อาเภอคลองขลงุ จังหวัดกาแพงเพชร

สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 2

ผ้อู านวยการโรงเรียน
นายเมธี นาคบัณฑิตย์

ปฏทิ ินการจดั กระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี

ช่อื นายศวิ านนท์ โตนาค ครกู ลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรยี นชุมชนประชาสามคั คี

ที่ วนั วนั ที่ คาบ เวลา กจิ กรรม

1 จนั ทร์ 4 ก.ค.65 2 16.00 – 18.00 จัดตั้งทมี ชุมชนแห่งการเรยี นรู้

2 องั คาร ๕ ก.ค.๖๕ 2 16.00 – 18.00 กาหนดปญั หาและหาแนวทางการแกป้ ญั หา

3 พธุ ๒๗ ก.ค.65 2 16.00 – 18.00 รว่ มออกแบบกิจกรรมการเรียนร้วู งรอบท่ี 1

4 เสาร์ ๓๐ ก.ค.65 2 9.00 – 11.00 ร่วมออกแบบและสะทอ้ นสื่อ/แบบฝกึ /ใบงาน
วงรอบที่ 1

5 เสาร์ ๓๐ ก.ค.65 2 13.00 – 15.00 ร่วมสะทอ้ นคิดกจิ กรรมการเรยี นรกู้ อ่ นเปดิ ชน้ั เรยี น
วงรอบที่ 1

6 1 12.00 – 13.00 รว่ มสะท้อนคิดหลงั เปิดช้นั เรยี นวงรอบท่ี 1

7 1 15.00 – 16.00 รว่ มออกแบบกิจกรรมการเรยี นรวู้ งรอบที่ 2

8 จนั ทร์ ๑ ส.ค.65 1 16.00 – 17.00 รว่ มออกแบบและสะทอ้ นสอื่ /แบบฝึก/ใบงาน
วงรอบที่ 2

9 1 17.00 – 18.00 ร่วมสะทอ้ นคดิ กิจกรรมการเรยี นรกู้ ่อนเปิดช้นั เรียน
วงรอบที่ 2

10 1 12.00 – 13.00 ร่วมสะทอ้ นคดิ หลงั เปิดชั้นเรยี นวงรอบท่ี 2

11 1 15.00 – 16.00 ร่วมออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้วงรอบที่ 3

12 อังคาร ๒ ส.ค.65 1 16.00 – 17.00 ร่วมออกแบบและสะทอ้ นสื่อ/แบบฝึก/ใบงาน
วงรอบที่ 3

13 1 17.00 – 18.00 ร่วมสะท้อนคิดกจิ กรรมการเรยี นรกู้ ่อนเปิดชน้ั เรียน
วงรอบท่ี 3

14 พุธ ๓ ส.ค.65 2 16.00 รว่ มสะทอ้ นคิดหลังเปดิ ช้นั เรยี นวงรอบที่ 3

ลงช่อื …………………………………………..ผู้บันทึก ลงช่อื …………………………………………..ผู้รบั รอง
(นายศวิ านนท์ โตนาค) (นายเมธี นาคบัณฑิตย์)
ครูเจา้ ของปฏทิ นิ
ผู้อานวยการโรงเรยี นชมุ ชนประชาสามคั คี

แบบบันทึกการสรา้ ง Professional Learning Team (PLT)
ชื่อทีม “ชุมชนประชาสามคั คที มี ” โรงเรียนชุมชนประชาสามคั คี อาเภอคลองขลุง จังหวดั กาแพงเพชร

วนั ทจ่ี ัดตั้งทีม 4 กรกฎาคม 2565

ชอื่ ครูผสู้ อน นายศิวานนท์ โตนาค กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ลาดับท่ี ชอ่ื – สกลุ บทบาทในทีม ลายมือชอื่
Model Teacher
1 นายศิวานนท์ โตนาค Buddy Teacher
Buddy Teacher
2 นางสาวทวพี ร จนั เนย Administrator
Mentor/Expert
3 นางสาวชาลิสา ปญั ญา

4 นายเมธี นาคบณั ฑิตย์

5 นางกนษิ ฐา มณฑาเทศ

* จานวนสมาชกิ ใน PLT สามารถปรับเปล่ียนไดต้ ามบรบิ ทของโรงเรยี น
สรปุ เวลา 2 ช่วั โมง

ความเหน็ /ขอ้ เสนอแนะ

- จัดกจิ กรรมนามาใช้ใหเ้ กิดประโยชนไ์ ด้จริง

ลงชอ่ื

(นางสมพร เกง่ กจิ การ)

หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

- การจัดกจิ กรรมสอดคลอ้ งวัตถปุ ระสงค์และตวั ชี้วดั

ลงช่ือ (นางปาณสิ รา ศลิ าพล)
- ทราบ หัวหนา้ งานวชิ าการ

ลงชื่อ
(นายเมธี นาคบัณฑติ ย์)

ผู้อานวยการโรงเรยี นชุมชนประชาสามคั คี

การกาหนดปัญหาและวธิ ีการแกป้ ญั หา
ชื่อทีม ชุมชนประชาสามัคคีทีม โรงเรยี นชมุ ชนประชาสามัคคี
อาเภอ คลองขลุง จังหวดั กาแพงเพชร วนั ท่ปี ระชุมกาหนดปญั หา 5 กรกฎาคม 2565
ชือ่ ครูผู้สอน นายศิวานนท์ โตนาค กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายชือ่ สมาชิกในทีมท่ีรว่ มกาหนดปัญหา จานวน 3 คน ได้แก่

ลาดบั ที่ ชอื่ – สกลุ บทบาทในทีม ลายมือชื่อ

1 นายศวิ านนท์ โตนาค Model Teacher

2 นางสาวทวีพร จันเนย Buddy Teacher

3 นางสาวชาลิสา ปัญญา Buddy Teacher

1. ประเดน็ ปญั หาท่ีร่วมกับทีมกาหนดใหน้ าส่กู ารหาวธิ กี ารแก้ไข

ประเดน็ ปัญหา สาเหตุ วิธีการแกป้ ัญหา

- นกั เรียนขาดความมุง่ มั่นในการทางาน - เน้อื หายากเกนิ ไปสาหรับ - ครผู สู้ อนออกแบบการเรียนรู้
โดยใหน้ กั เรียนมสี ว่ นร่วมใน
ใหส้ าเร็จ นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 กิจกรรมการเรยี นรู้
- ใช้ส่อื เทคโนโลยีท่ีหลากหลาย
- นกั เรียนไม่เข้าใจบทเรยี น ในการประกอบกจิ กรรมการ
เรยี นรู้
- สอ่ื การสอนไม่กระตนุ้ ให้ - ครสู ่งเสริมให้นักเรียนเกดิ
กระบวนการคดิ (โดยมกี าร
นกั เรียนเกดิ การเรยี นรู้ กาหนดสถานการณ์ปญั หามา
ใหน้ ักเรยี นคิด)
- รูปแบบและวธิ ีการสอนไม่ และออกแบบผลงานและ

กระต้นุ ให้นักเรยี นให้เกิด นาเสนอผลงาน

การเรยี นรู้

2. วิธีการแก้ปัญหาท่ีจะนาส่กู ารปฏิบตั ไิ ด้จากการร่วมคดิ ของทีม คอื
1. ครูผู้สอนออกแบบการเรียนร้โู ดยใหน้ ักเรยี นมีส่วนรว่ มในกิจกรรมการเรยี นรู้
2. ครูผสู้ อนใช้สอ่ื เทคโนโลยที ่ีหลากหลายในการประกอบกจิ กรรมการเรียนรู้
3. ครสู ง่ เสรมิ ให้นักเรยี นเกดิ กระบวนการคิด และออกแบบผลงานและนาเสนอผลงานของกลุ่ม

ตนเอง

3. เปา้ หมายท่ีจะพัฒนา (สงิ่ ที่ต้องการแก้ไขให้ดีข้ึน)
1. ต้องการให้นักเรยี นเกิดความมุ่งมน่ั ในการทางานให้สาเร็จ
2. ตอ้ งการใหน้ ักเรียนมคี วามกระตือรือรน้ ในการทางานมากย่งิ ขึ้น

4. ตัวชี้วัดความสาเรจ็ (จะรู้ไดอ้ ย่างไรวา่ สาเร็จ)
1. การสังเกตการทากจิ กรรม (แบบสังเกตพฤติกรรม)
2. การสง่ ชนิ้ งาน
3. ใบกจิ กรรม

5. กล่มุ เป้าหมายนักเรยี น
1. นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 จานวน 26 คน
2. กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

6. วธิ กี ารวดั ผลประเมินผล
1. แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

สรปุ เวลา 2 ชว่ั โมง

ลงช่ือ…………………………………………..ผู้บนั ทกึ ลงชอ่ื …………………………………………..ผู้รบั รอง
(นายศิวานนท์ โตนาค) (นายเมธี นาคบณั ฑิตย์)

ครูโรงเรยี นชมุ ชนประชาสามัคคี ผอู้ านวยการโรงเรยี นชุมชนประชาสามคั คี

การสะทอ้ นแผนการจัดการเรยี นรกู้ อ่ นใชส้ อน วงรอบท่ี 1
ชื่อทีม ชุมชนประชาสามัคคที ีม โรงเรียนชุมชนประชาสามัคคี
อาเภอคลองขลงุ จงั หวัด กาแพงเพชร
วันทส่ี ะท้อนการจดั กจิ กรรมการเรียนร้กู ่อนเปิดช้นั เรยี น ๓๐ กรกฎาคม 2565 เวลา ๑๓.๐๐ - 15.00 น.
นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 จานวนนักเรยี น 26 คน
ชือ่ ครูผ้สู อน นายศวิ านนท์ โตนาค วิชาวิทยาศาสาตร์ รหัส ว14101
จานวนผู้เข้าร่วมสะทอ้ นแผน จานวน 3 คน ไดแ้ ก่

ลาดับท่ี ชือ่ – สกลุ บทบาทในทีม ลายมือช่ือ

1 นายศวิ านนท์ โตนาค Model Teacher

2 นางสาวทวพี ร จันเนย Buddy Teacher

3 นางสาวชาลิสา ปญั ญา Buddy Teacher

ประเดน็ นาสะทอ้ นกิจกรรมการเรยี นรู้กอ่ นนาไปใช้สอน
1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้
- แผนการจดั การเรียนรมู้ ีองค์ประกอบครบถว้ น
2. การออกแบบจุดประสงค์การเรียนรทู้ ่ีสอดคล้องกบั กิจกรรมการเรยี นรู้
- จดุ ประสงค์การเรียนรู้ความสอดคลอ้ งกบั กิจกรรมการเรียนรู้
3. กจิ กรรมการเรียนร้ทู ี่ครผู สู้ อนออกแบบมีความสอดคลอ้ งตามตวั ชี้วัด
- กจิ กรรมการเรียนรู้มกี ารออกแบบที่สอดคล้องตามตัวช้ีวัด
4. ช้นิ งาน/ภาระงาน/การวัดประเมินผล สอดคล้องกับกจิ กรรมการเรียนรู้
- ชิน้ งาน/ภาระงาน/การวัดประเมนิ ผล สอดคล้องกบั กิจกรรมการเรียนรู้
5. วิธแี ก้ปญั หาท่ีมีการวางแผนสู่การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสม
- ครูผู้สอนมีการวางแผนการสอนร่วมกันโดยปรับให้กจิ กรรมมคี วามเหมาะสมกบั การเรยี นรู้

สรุปเวลา 2 ชั่วโมง

ลงช่อื …………………………………………..ผบู้ ันทกึ ลงช่ือ…………………………………………..ผูร้ ับรอง
(นายศิวานนท์ โตนาค) (นายเมธี นาคบณั ฑติ ย์)

ครูโรงเรยี นชุมชนประชาสามัคคี ผอู้ านวยการโรงเรยี นชมุ ชนประชาสามัคคี

การเปิดชน้ั เรียน – สงั เกตชั้นเรียน วงรอบท่ี 1 (สำหรับครูผู้สอนสะท้อนตัวเองหลังสอน)

ช่ือทีม ชมุ ชนประชาสามัคคที ีม โรงเรียนชุมชนประชาสามัคคี อาเภอคลองขลุง จงั หวดั กาแพงเพชร
วันทเ่ี ปดิ ชัน้ เรยี น 1 สงิ หาคม 2565 เวลา 12.00 – 13.๐๐ น.
นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 จานวน 26 คน
ชื่อครูผู้สอน นายศวิ านนท์ โตนาค กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จานวนผู้เข้าร่วมสะทอ้ นแผน จานวน 3 คน ได้แก่

ลาดบั ที่ ชื่อ – สกลุ บทบาทในทีม ลายมือช่ือ
Model Teacher
1 นายศิวานนท์ โตนาค Buddy Teacher
Buddy Teacher
2 นางสาวทวพี ร จนั เนย

3 นางสาวชาลิสา ปัญญา

1. ส่งิ ทค่ี รผู ู้สอนทาไดด้ ี และควรรกั ษาไว้ให้มีต่อไป
- ครผู ู้สอนมีความแม่นยาในเนอื้ หา
- มีเทคนคิ การสอนที่หลากหลาย
- มีการกระตุ้นนกั เรยี นให้มคี วามต่ืนตวั อยูต่ ลอดเวลา (โดยมกี ารแจกรางวลั ระหว่างทากิจกรรม)

2. สิ่งทเ่ี ปน็ ปญั หาและอปุ สรรคทท่ี าให้การจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ นคร้ังนไ้ี ม่เป็นไปตามเป้าหมาย
- ผเู้ รียนยังมีความรู้ความเข้าใจเรือ่ ง แหล่งกาเนิดพลงั งานไฟฟา้ และวงจรไฟฟา้ นา่ รู้

3. สิ่งทีค่ รตู ้องปรับให้ดีข้นึ เพื่อพฒั นาการเรียนร้ขู องนักเรยี นมีประเดน็ ใดบา้ ง และจะทาอยา่ งไร
- กระตุ้นและแนะนาแนวทางใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ทักษะการคิด แก้ปญั หาได้เอง

4. นกั เรียนบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรใู้ นคร้งั นจ้ี านวน กี่คน
- 21 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 80.76 %

5. วิธกี ารแกป้ ัญหาทีน่ ามาใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้เู กดิ ผลอยา่ งไร
- ครผู สู้ อนหาแนวทางและตัวอย่างในการออกแบบ สิงป่ ระดษิ ฐท์ างไฟฟ้าอยา่ งสรา้ งสรรค์จากแป้ง

โดว์ใหผ้ ู้เรยี นเกิดกระบวนการคิดสร้างสรรคแ์ ละการออกแบบได้ดยี ่ิงขนึ้

เวลาทใี่ ชใ้ นการในการเปดิ ชน้ั เรียนทงั้ หมด 4 ชว่ั โมง

ลงช่ือ…………………………………………..ผู้บันทกึ ลงชือ่ …………………………………………..ผู้รบั รอง
(นายศวิ านนท์ โตนาค) (นายเมธี นาคบัณฑิตย์)

ครโู รงเรยี นชุมชนประชาสามัคคี ผู้อานวยการโรงเรียนชมุ ชนประชาสามคั คี

การเปิดชนั้ เรียน – สงั เกตช้นั เรยี น วงรอบที่ ..1... (สำหรับผู้สอนสงั เกตกำรสอน)

ชอ่ื ทีม ชมุ ชนประชาสามัคคีทีม โรงเรยี นชมุ ชนประชาสามคั คี อาเภอคลองขลุง จงั หวัดกาแพงเพชร
วันทเ่ี ปิดชั้นเรียน 1 สงิ หาคม 2565 เวลา 09.00 น.
นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 จานวน 26 คน
ชือ่ ครผู สู้ อน นายศิวานนท์ โตนาคกล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
จานวนผ้เู ขา้ รว่ มสะทอ้ นแผน จานวน 5 คน ได้แก่

ลาดบั ที่ ชอ่ื – สกลุ บทบาทในทีม ลายมือชอ่ื
Model Teacher
1 นายศิวานนท์ โตนาค Buddy Teacher
Buddy Teacher
2 นางสาวทวีพร จนั เนย Administrator
Mentor/Expert
3 นางสาวชาลสิ า ปญั ญา

4 นายเมธี นาคบณั ฑิตย์

5 นางกนษิ ฐา มณฑาเทศ

ประเดน็ คาถามนาสู่การสงั เกตชนั้ เรยี น
1. สิ่งทีค่ รผู ูส้ อนทาได้ดี และควรรักษาไว้ให้มีตอ่ ไป

- การนาเข้าสู่บทเรยี น
- แบง่ กลุ่มนกั เรียน เกง่ กลาง ออ่ น ในการทากิจกรรมกลมุ่
- การใช้คาถามในการกระต้นุ นกั เรียนใหเ้ กิดการเรียนรู้

2. สง่ิ ท่เี ปน็ ปัญหาและอุปสรรคท่ีทาใหก้ ารจัดกจิ กรรมการเรียนรใู้ นครง้ั น้ีไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
- ประเดน็ เน้ือหาตามตัวชวี้ ัดส่วนใหญ่เปน็ เนอ้ื หาท่นี กั เรียนยงั ไม่ไดเ้ รียน เนือ้ หามีความยากเกินไป

สาหรับนักเรียนระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4
- กิจกรรมการเรยี นรู้ยากเกินศักยภาพของผู้เรียนและมากเกนิ ไป

3. สิ่งท่ีครตู อ้ งปรับให้ดีขึ้นเพ่ือพัฒนาการเรยี นรู้ของนกั เรยี นมีประเดน็ ใดบ้าง และจะทาอยา่ งไร
- ปรบั วธิ กี ารสอนและนาชดุ นวัตกรรมเขา้ มาชว่ ย มีการยดื หยนุ่ เวลา ปรบั ใหพ้ อดีกับชว่ งของการทา

กิจกรรมพรอ้ มกับนาเทคโนโลยดี ิจิทัลเขา้ มาช่วย

4. นกั เรยี นบรรลุวตั ถุประสงค์การเรยี นรู้ในครงั้ นี้จานวนก่ีคน
- 21 คน คดิ เป็นร้อยละ 80.76 %

.
5. วธิ ีการแก้ปัญหาทีน่ ามาใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เกดิ ผลอย่างไร

- จากการแกป้ ัญหาพบวา่ นักเรียนสว่ นใหญม่ คี วามเข้าใจ และมองเห็นภาพการทากจิ กรรมชดั เจนขึ้น
ทาใหก้ ารจดั กรรมการเรียนรมู้ ีความลื่นไหล และทาให้นักเรยี นมคี วามอยากรู้อยากเห็น และกระตือรือร้นใน
การเรียนมากย่ิงขึ้น

- นกั เรียนทท่ี ากจิ กรรมไมแ่ ลว้ เสรจ็ ให้กลบั มาซ่อมเสรมิ อกี ครัง้

เวลาที่ใชใ้ นการในการเปิดชั้นเรยี นท้ังหมด 2 ช่ัวโมง

ลงช่ือ…………………………………………..ผูบ้ นั ทกึ ลงช่อื …………………………………………..ผู้รบั รอง
(นายศวิ านนท์ โตนาค) (นายเมธี นาคบณั ฑติ ย์)

ครโู รงเรียนชมุ ชนประชาสามคั คี ผู้อานวยการโรงเรียนชุมชนประชาสามคั คี

การสะทอ้ นคิดหลังการสงั เกตชน้ั เรียน วงรอบที่ 1

ชือ่ ทมี ประชาสามัคคีทีม โรงเรยี นชมุ ชนประชาสามัคคี อาเภอคลองขลุง จงั หวัดกาแพงเพชร
วนั ท่สี ะทอ้ นคดิ หลงั การสงั เกตชัน้ เรยี น 1 สิงหาคม 2565 เวลา 12.00 – 13.๐๐ น.
นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 จานวนนักเรียน 26 คน
ชือ่ ครผู สู้ อน นายศิวานนท์ โตนาค วิชาวทิ ยาศาสาตร์ รหัส ว14101
ชอื่ ผ้นู าการสะท้อนการเปดิ ชั้นเรียน นายเมธี นาคบัณฑิตย์
รายชอ่ื ผรู้ ว่ มสะท้อนคดิ หลงั เปิดชัน้ เรยี น จานวน 5 คน ได้แก่

ลาดับที่ ช่อื – สกลุ บทบาทในทีม ลายมือชอ่ื
Model Teacher
1 นายศวิ านนท์ โตนาค Buddy Teacher
Buddy Teacher
2 นางสาวทวีพร จันเนย Administrator
Mentor/Expert
3 นางสาวชาลิสา ปัญญา

4 นายเมธี นาคบัณฑติ ย์

5 นางกนษิ ฐา มณฑาเทศ

1. สง่ิ ทีค่ รผู ู้สอนทาไดด้ ี และควรรักษาไวใ้ ห้มีตอ่ ไป
- จัดกิจกรรมทใี่ ห้นักเรยี นไดล้ งมือปฏิบตั จิ ริง

2. สง่ิ ทีเ่ ปน็ ปัญหาและอปุ สรรคท่ที าให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในครัง้ นไี้ มเ่ ปน็ ไปตามเป้าหมาย
- นกั เรียนไม่สามารถระบุวิธีกรทดลองให้เปน็ ลาดับขนั้ ตอนได้

3. ส่งิ ท่ีครตู ้องปรับใหด้ ีขนึ้ เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ของนกั เรียนมีประเด็นใดบา้ ง และจะทาอย่างไร
- ครูผูส้ อนต้องอธบิ ายแนวทางการทดลองทางวิทยาศาสตร์ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจอยา่ งชดั เจน

4. นกั เรียนบรรลุวตั ถปุ ระสงค์การเรียนรูใ้ นครัง้ นี้จานวน ก่ีคน
- 21 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 80.76 %

5. วิธกี ารแก้ปญั หาท่ีนามาใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นร้เู กิดผลอยา่ งไร
- ครูผสู้ อนต้องอธบิ ายพร้อมยกตวั อยา่ งแนวทางการทดลองทางวิทยาศาสตร์ให้นกั เรียนเข้าใจอยา่ ง
ชัดเจน

เวลาท่ีใช้ในการเปิดชน้ั เรียนทั้งหมด 1 ชว่ั โมง

ลงชอ่ื …………………………………………..ผบู้ ันทึก ลงชอ่ื …………………………………………..ผรู้ บั รอง
(นายศวิ านนท์ โตนาค) (นายเมธี นาคบณั ฑิตย์)

ครูโรงเรยี นชมุ ชนประชาสามัคคี ผู้อานวยการโรงเรยี นชุมชนประชาสามคั คี

การสะท้อนแผนการจดั การเรยี นรกู้ ่อนใช้สอน วงรอบที่ 2
ชือ่ ทีม ชุมชนประชาสามัคคที ีม โรงเรียนชมุ ชนประชาสามคั คี
อาเภอคลองขลุง จังหวัด กาแพงเพชร
วนั ทสี่ ะท้อนการจัดกิจกรรมการเรยี นร้กู ่อนเปดิ ชั้นเรยี น 1 สงิ หาคม 2565 เวลา 17.00 – 18.๐๐ น.
นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 จานวนนกั เรยี น 26 คน
ช่อื ครผู ู้สอน นายศวิ านนท์ โตนาค วชิ าวทิ ยาศาสาตร์ รหสั ว14101
จานวนผ้เู ข้าร่วมสะท้อนแผน จานวน 3 คน ไดแ้ ก่

ลาดับท่ี ช่ือ – สกลุ บทบาทในทีม ลายมือชื่อ

1 นายศิวานนท์ โตนาค Model Teacher

2 นางสาวทวพี ร จันเนย Buddy Teacher

3 นางสาวชาลสิ า ปญั ญา Buddy Teacher

ประเด็นนาสะท้อนกจิ กรรมการเรยี นรู้ก่อนนาไปใชส้ อน
1. องค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้
- แผนการจัดการเรยี นรมู้ ีองค์ประกอบครบถว้ น
2. การออกแบบจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรทู้ ี่สอดคล้องกบั กจิ กรรมการเรียนรู้
- จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ความสอดคล้องกับกิจกรรมการเรยี นรู้
3. กจิ กรรมการเรียนรู้ทค่ี รผู สู้ อนออกแบบมีความสอดคลอ้ งตามตวั ชวี้ ัด
- กจิ กรรมการเรียนรู้มกี ารออกแบบที่สอดคล้องตามตัวชว้ี ัด
4. ช้นิ งาน/ภาระงาน/การวดั ประเมนิ ผล สอดคล้องกับกจิ กรรมการเรียนรู้
- ช้นิ งาน/ภาระงาน/การวดั ประเมินผล สอดคล้องกบั กจิ กรรมการเรยี นรู้
5. วธิ ีแก้ปัญหาทม่ี ีการวางแผนสู่การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้มีความเหมาะสม
- ครูผู้สอนมีการวางแผนการสอนรว่ มกนั โดยปรับให้กจิ กรรมมีความเหมาะสมกบั การเรยี นรู้

สรปุ เวลา 1 ชั่วโมง

ลงช่ือ…………………………………………..ผ้บู ันทกึ ลงชือ่ …………………………………………..ผรู้ ับรอง
(นายศิวานนท์ โตนาค) (นายเมธี นาคบัณฑติ ย์)

ครูโรงเรียนชุมชนประชาสามคั คี ผ้อู านวยการโรงเรียนชมุ ชนประชาสามัคคี

การเปดิ ชัน้ เรียน – สังเกตช้นั เรียน วงรอบที่ 2 (สำหรับครผู ู้สอนสะทอ้ นตัวเองหลงั สอน)

ชื่อทีม “ชมุ ชนประชาสามคั คีทมี ”

โรงเรียนชมุ ชนประชาสามัคคี อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร

วนั ท่ีเปดิ ช้ันเรียน ๒ สงิ หาคม 2565 เวลา 12.00 น. – 13.00 น.

นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 จานวน 26 คน

ชื่อครูผู้สอน นายศวิ านนท์ โตนาค กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จานวนผูเ้ ขา้ ร่วมสะทอ้ นแผน จานวน 3 คน ได้แก่

ลาดบั ที่ ช่อื – สกลุ บทบาทในทีม ลายมือชื่อ

1 นายศิวานนท์ โตนาค Model Teacher

2 นางสาวทวีพร จันเนย Buddy Teacher

3 นางสาวชาลิสา ปญั ญา Buddy Teacher

1. สง่ิ ที่ครผู ้สู อนทาได้ดี และควรรกั ษาไว้ให้มตี อ่ ไป
- การนาเขา้ ส่บู ทเรยี นท่ีมคี วามตนื่ เตน้ และกระตนุ้ ให้ผเู้ รียนพรอ้ มทจ่ี ะไดร้ บั ความรู้
- มกี ารเตรียมตวั มาสอน
- ถ่ายทอดความรู้ได้อย่างชัดเจน เข้าใจงา่ ย
- ใหท้ ุกคนในชน้ั มสี ่วนร่วม
- มกี ิจกรรมกลุ่มใหน้ กั เรยี นได้ลงมือปฏิบตั ิจริง

2. สง่ิ ทเี่ ป็นปญั หาและอุปสรรคท่ที าให้การจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นคร้ังนีไ้ ม่เป็นไปตามเป้าหมาย
- นักเรยี นยงั ไมส่ ามารถต่อหลอดไฟในการใช้ Application PhET ได้ดเี ทา่ ไร ส่วนใหญจ่ ะเลน่ อยา่ ง
อื่นๆ

3. ส่ิงทค่ี รูต้องปรบั ให้ดีข้นึ เพ่ือพัฒนาการเรยี นร้ขู องนกั เรียนมีประเด็นใดบา้ ง และจะทาอย่างไร
- ครตู อ้ งนาตัวอย่างหลาย ๆ แบบมาทดลองเพื่อใหน้ ักเรยี นเห็นความแตกต่างและสามารถปรับลอง
ตอ่ ได้อยา่ งชดั เจนยิ่งข้นึ

4. นกั เรยี นบรรลุวัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ในครั้งน้ีจานวน กี่คน
- 21 คน คดิ เป็นร้อยละ 80.76 %

5. วธิ ีการแก้ปัญหาทีน่ ามาใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เกดิ ผลอยา่ งไร
- ครูอธิบายการเปรียบเทียบการต่อหลอดไฟจากการใช้ Application PhET

เวลาที่ใชใ้ นการในการเปดิ ช้นั เรยี นทงั้ หมด 2 ชว่ั โมง

ลงชอ่ื …………………………………………..ผู้บนั ทึก ลงชอ่ื …………………………………………..ผรู้ ับรอง
(นายศวิ านนท์ โตนาค) (นายเมธี นาคบัณฑิตย์)

ครโู รงเรียนชมุ ชนประชาสามคั คี ผอู้ านวยการโรงเรยี นชุมชนประชาสามัคคี

การเปดิ ช้ันเรยี น – สงั เกตช้ันเรียน วงรอบที่ 2 (สำหรับผสู้ อนสังเกตกำรสอน)

ชื่อทีม ประชาสามัคคีทีม โรงเรียนชมุ ชนประชาสามคั คี อาเภอคลองขลุง จงั หวดั กาแพงเพชร
วันทีเ่ ปิดชน้ั เรยี น 2 สิงหาคม 2565 เวลา 09.00 น.
นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 จานวน 26 คน
ชอื่ ครูผู้สอน นายศวิ านนท์ โตนาค กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
จานวนผู้เข้าร่วมสะท้อนแผน จานวน 5 คน ไดแ้ ก่

ลาดบั ที่ ช่ือ – สกลุ บทบาทในทีม ลายมือช่อื
Model Teacher
1 นายศิวานนท์ โตนาค Buddy Teacher
Buddy Teacher
2 นางสาวทวีพร จนั เนย Administrator
Mentor/Expert
3 นางสาวชาลสิ า ปญั ญา

4 นายเมธี นาคบณั ฑติ ย์

5 นางกนษิ ฐา มณฑาเทศ

ประเดน็ คาถามนาสูก่ ารสังเกตชัน้ เรยี น
1. สงิ่ ทีค่ รูผู้สอนทาไดด้ ี และควรรกั ษาไว้ให้มีตอ่ ไป

- การนาเข้าสบู่ ทเรยี นท่ีมคี วามตื่นเต้นและกระตุน้ ให้ผ้เู รียนพรอ้ มที่จะไดร้ บั ความรู้
- มีการเตรยี มตัวมาสอน
- ถ่ายทอดความรูไ้ ด้อยา่ งชัดเจน เขา้ ใจง่าย
- ใหท้ ุกคนในช้ันมสี ่วนรว่ ม
- กจิ กรรมการเรยี นรู้ทาให้นักเรียนไดล้ งมือปฏบิ ตั ิจรงิ

2. สง่ิ ทีเ่ ป็นปญั หาและอปุ สรรคที่ทาใหก้ ารจดั กจิ กรรมการเรยี นรูใ้ นคร้งั น้ไี ม่เป็นไปตามเปา้ หมาย
- นกั เรยี นยงั ใช้ Application PhET ไมค่ ล่อง

3. ส่ิงท่ีครตู ้องปรับให้ดีขนึ้ เพ่ือพัฒนาการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นมีประเดน็ ใดบ้าง และจะทาอยา่ งไร
- ครผู สู้ อนควรปรับการสอนใหช้ ้าลง เพราะว่านักเรียนตามครูไม่ทนั

4. นักเรยี นบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ในคร้งั นจ้ี านวนกีค่ น
- จานวน 26 คดิ เป็นรอ้ ยละ 100

5. วิธกี ารแก้ปัญหาทนี่ ามาใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูเ้ กดิ ผลอยา่ งไร
- ครผู สู้ อนต้องอธิบายขน้ั ตอน การใช้ Application PhET ทลี ะข้นั ตอนและแสดงตัวอย่างใหน้ กั เรยี นทา
ตามไปพรอ้ ม ๆ กนั

ลงชอ่ื …………………………………………..ผู้บนั ทึก เวลาทใ่ี ชใ้ นการในการเปิดชัน้ เรียนทง้ั หมด ๒ ช่วั โมง
(นายศิวานนท์ โตนาค)
ลงชื่อ…………………………………………..ผ้รู บั รอง
ครูโรงเรียนชมุ ชนประชาสามคั คี (นายเมธี นาคบัณฑิตย์)

ผู้อานวยการโรงเรียนชมุ ชนประชาสามคั คี

การสะทอ้ นคิดหลังการสังเกตช้ันเรยี น วงรอบท่ี 2

ชอื่ ทีม ชมุ ชนประชาสามัคคีทีม โรงเรยี นชมุ ชนประชาสามคั คี อาเภอคลองขลุง จงั หวดั กาแพงเพชร
วันที่สะท้อนคดิ หลงั การสังเกตชนั้ เรียน 2 สงิ หาคม 2565 เวลา 12.00 – 13.๐๐ น.
นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 จานวนนกั เรยี น 26 คน
ช่ือครผู ้สู อน นายศวิ านนท์ โตนาค วิชาวิทยาศาสาตร์ รหัส ว14101
ชื่อผู้นาการสะท้อนการเปดิ ชั้นเรียน นายเมธี นาคบัณฑิตย์
รายชอ่ื ผ้รู ่วมสะท้อนคิดหลังเปดิ ช้ันเรียน จานวน 5 คน ได้แก่

ลาดบั ท่ี ชอื่ – สกลุ บทบาทในทีม ลายมือชื่อ
Model Teacher
1 นายศวิ านนท์ โตนาค Buddy Teacher
Buddy Teacher
2 นางสาวทวีพร จันเนย Administrator
Mentor/Expert
3 นางสาวชาลิสา ปญั ญา

4 นายเมธี นาคบณั ฑติ ย์

5 นางกนษิ ฐา มณฑาเทศ

1. ส่งิ ที่ครผู ู้สอนทาไดด้ ี และควรรักษาไวใ้ ห้มีตอ่ ไป
- จดั กจิ กรรมทใ่ี หน้ ักเรยี นไดล้ งมอื ปฏิบตั ิจริง

2. ส่งิ ที่เป็นปัญหาและอปุ สรรคทีท่ าให้การจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ นครั้งนไี้ มเ่ ป็นไปตามเป้าหมาย
- นักเรียนไม่สามารถระบวุ ิธกี รทดลองใหเ้ ป็นลาดับขน้ั ตอนได้

3. สิ่งที่ครูต้องปรับให้ดีขึ้นเพื่อพัฒนาการเรียนรขู้ องนักเรียนมีประเด็นใดบ้าง และจะทาอยา่ งไร
- ครูผสู้ อนตอ้ งอธบิ ายแนวทางการทดลองทางวิทยาศาสตร์ใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจอย่างชัดเจน

4. นักเรียนบรรลวุ ตั ถุประสงค์การเรยี นรูใ้ นครัง้ น้ีจานวน กี่คน
- จานวน 26 คดิ เป็นร้อยละ 100

5. วิธีการแก้ปัญหาท่นี ามาใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เกิดผลอย่างไร

- ครูผู้สอนให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั เขียนวธิ กี ารทดลอง และลาดับขัน้ ตอนการทดลองทาง
วทิ ยาศาสตร์ เพื่อเป็นการสรา้ งความรู้ความเข้าใจให้กบั นักเรียนอกี รอบหนง่ึ

เวลาท่ใี ชใ้ นการเปิดชั้นเรียนท้ังหมด ๒ ช่วั โมง

ลงชื่อ…………………………………………..ผบู้ นั ทกึ ลงช่อื …………………………………………..ผู้รบั รอง
(นายศวิ านนท์ โตนาค) (นายเมธี นาคบณั ฑิตย์)

ครูโรงเรยี นชมุ ชนประชาสามัคคี ผอู้ านวยการโรงเรียนชมุ ชนประชาสามัคคี

การสะท้อนแผนการจดั การเรยี นรกู้ ่อนใช้สอน วงรอบท่ี 3
ชือ่ ทีม ชุมชนประชาสามัคคที ีม โรงเรียนชมุ ชนประชาสามคั คี
อาเภอคลองขลุง จังหวัด กาแพงเพชร
วนั ทสี่ ะท้อนการจัดกิจกรรมการเรยี นร้กู ่อนเปดิ ชั้นเรยี น 2 สงิ หาคม 2565 เวลา 17.00 – 18.๐๐ น.
นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 จานวนนกั เรยี น 26 คน
ช่อื ครผู ู้สอน นายศวิ านนท์ โตนาค วชิ าวทิ ยาศาสาตร์ รหสั ว14101
จานวนผ้เู ข้าร่วมสะท้อนแผน จานวน 3 คน ไดแ้ ก่

ลาดับท่ี ช่ือ – สกลุ บทบาทในทีม ลายมือชอื่

1 นายศิวานนท์ โตนาค Model Teacher

2 นางสาวทวพี ร จันเนย Buddy Teacher

3 นางสาวชาลสิ า ปญั ญา Buddy Teacher

ประเด็นนาสะท้อนกจิ กรรมการเรยี นรู้ก่อนนาไปใชส้ อน
1. องค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้
- แผนการจัดการเรยี นรมู้ ีองค์ประกอบครบถว้ น
2. การออกแบบจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรทู้ ี่สอดคล้องกบั กจิ กรรมการเรยี นรู้
- จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ความสอดคล้องกบั กิจกรรมการเรยี นรู้
3. กจิ กรรมการเรียนรู้ทค่ี รผู สู้ อนออกแบบมีความสอดคล้องตามตัวช้ีวดั
- กจิ กรรมการเรียนรู้มกี ารออกแบบที่สอดคล้องตามตวั ชีว้ ัด
4. ช้นิ งาน/ภาระงาน/การวดั ประเมนิ ผล สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้
- ช้นิ งาน/ภาระงาน/การวดั ประเมินผล สอดคล้องกับกจิ กรรมการเรียนรู้
5. วธิ ีแก้ปัญหาทม่ี ีการวางแผนสู่การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้มคี วามเหมาะสม
- ครูผู้สอนมีการวางแผนการสอนรว่ มกนั โดยปรับให้กิจกรรมมีความเหมาะสมกับการเรยี นรู้

สรุปเวลา 1 ชั่วโมง

ลงช่ือ…………………………………………..ผ้บู ันทกึ ลงชื่อ…………………………………………..ผรู้ บั รอง
(นายศิวานนท์ โตนาค) (นายเมธี นาคบณั ฑิตย์)

ครูโรงเรียนชุมชนประชาสามคั คี ผู้อานวยการโรงเรยี นชมุ ชนประชาสามคั คี

การเปิดช้ันเรียน – สังเกตช้ันเรียน วงรอบที่ 3 (สำหรับครูผ้สู อนสะท้อนตัวเองหลงั สอน)

ชอ่ื ทีม ชุมชนประชาสามัคคีทีม โรงเรียนชุมชนประชาสามัคคี อาเภอคลองขลุง จงั หวัดกาแพงเพชร
วันท่เี ปดิ ชน้ั เรยี น ๓ สิงหาคม 2565 เวลา 16.00 น.
นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 จานวน 26 คน
ช่ือครูผ้สู อน นายศิวานนท์ โตนาค กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
จานวนผู้เขา้ รว่ มสะทอ้ นแผน จานวน 3 คน ได้แก่

ลาดบั ท่ี ชอ่ื – สกลุ บทบาทในทีม ลายมือช่ือ
Model Teacher
1 นายศิวานนท์ โตนาค Buddy Teacher
Buddy Teacher
2 นางสาวทวพี ร จนั เนย

3 นางสาวชาลิสา ปัญญา

1. สง่ิ ทคี่ รผู ูส้ อนทาไดด้ ี และควรรักษาไว้ให้มีต่อไป
- ครผู ู้สอนมคี วามแมน่ ยาในเนอ้ื หา
- มเี ทคนคิ การสอนทีห่ ลากหลาย
- มกี ารกระตุ้นนกั เรียนให้มีความตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา (โดยมกี ารแจกรางวัลระหว่างทากิจกรรม)

2. สิ่งทเ่ี ปน็ ปญั หาและอุปสรรคท่ที าให้การจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ นคร้ังนไ้ี มเ่ ป็นไปตามเป้าหมาย
- ผ้เู รียนยังมคี วามรู้ความเข้าใจเร่อื งสารละลายอเิ ลก็ โทรไลตแ์ ละนอนอิโทรไลต์

3. สง่ิ ทคี่ รตู ้องปรับใหด้ ีขึ้นเพื่อพฒั นาการเรยี นร้ขู องนกั เรยี นมปี ระเดน็ ใดบา้ ง และจะทาอยา่ งไร
- กระตนุ้ และแนะนาแนวทางใหผ้ ู้เรียนเกิดทกั ษะการคิด แก้ปญั หาได้เอง

4. นักเรยี นบรรลวุ ตั ถุประสงค์การเรียนรใู้ นครั้งนจ้ี านวน กี่คน
- 21 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 80.76 %

5. วิธีการแกป้ ัญหาทีน่ ามาใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เกดิ ผลอยา่ งไร
- ครูผู้สอนหาแนวทางและตัวอย่างในการทดลองหลายๆแบบ เพ่ือสรา้ งจินตนาการให้ผเู้ รยี นเกิด

กระบวนการคดิ สร้างสรรค์และการออกแบบไดด้ ียง่ิ ขึ้น

เวลาทใ่ี ชใ้ นการในการเปดิ ช้นั เรียนทง้ั หมด 1 ชว่ั โมง

ลงชือ่ …………………………………………..ผบู้ ันทึก ลงชือ่ …………………………………………..ผรู้ บั รอง
(นายศวิ านนท์ โตนาค) (นายเมธี นาคบณั ฑติ ย์)

ครโู รงเรยี นชุมชนประชาสามัคคี ผู้อานวยการโรงเรียนชมุ ชนประชาสามัคคี

การเปดิ ชั้นเรียน – สังเกตชัน้ เรียน วงรอบที่ ..3... (สำหรบั ผู้สอนสงั เกตกำรสอน)

ช่ือทีม ชมุ ชนประชาสามัคคที ีม โรงเรยี นชุมชนประชาสามัคคี อาเภอคลองขลุง จังหวดั กาแพงเพชร
วันทเ่ี ปดิ ช้ันเรยี น 3 สงิ หาคม 2565 เวลา 09.00 น.
นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 จานวน 26 คน
ชื่อครผู ้สู อน นายศวิ านนท์ โตนาค กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จานวนผเู้ ขา้ รว่ มสะท้อนแผน จานวน 5 คน ไดแ้ ก่

ลาดับที่ ชอ่ื – สกลุ บทบาทในทีม ลายมือชื่อ
Model Teacher
1 นายศิวานนท์ โตนาค Buddy Teacher
Buddy Teacher
2 นางสาวทวพี ร จนั เนย Administrator
Mentor/Expert
3 นางสาวชาลสิ า ปญั ญา

4 นายเมธี นาคบัณฑติ ย์

5 นางกนิษฐา มณฑาเทศ

ประเด็นคาถามนาส่กู ารสังเกตชนั้ เรยี น
1. สิง่ ท่ีครูผสู้ อนทาได้ดี และควรรักษาไว้ให้มีต่อไป

- การนาเข้าสบู่ ทเรียนท่ีมคี วามต่นื เต้นและกระต้นุ ใหผ้ เู้ รียนพร้อมทจ่ี ะได้รบั ความรู้
- มีการเตรยี มตัวมาสอน
- ถ่ายทอดความรไู้ ด้อยา่ งชัดเจน เข้าใจง่าย
- ให้ทกุ คนในชนั้ มสี ว่ นรว่ ม
- กิจกรรมการเรยี นรู้ทาใหน้ กั เรยี นได้ลงมือปฏิบตั ิจรงิ
- ครผู ้สู อนมคี วามแมน่ ยาในเนื้อหาทีส่ อน
- มเี ทคนคิ การสอนทีห่ ลากหลาย
- มกี ารกระตุ้นนกั เรียนให้มคี วามต่ืนตวั อยู่ตลอดเวลา (โดยมีการแจกรางวัลระหว่างทากิจกรรม

2. ส่ิงที่เปน็ ปัญหาและอุปสรรคที่ทาให้การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ในครัง้ นี้ไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมาย
- นกั เรียนยงั ใช้อปุ กรณก์ ารทดลองแบบไมร่ ะมัดระวงั

3. สง่ิ ที่ครตู ้องปรบั ใหด้ ีขึ้นเพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ของนกั เรียนมีประเด็นใดบา้ ง และจะทาอยา่ งไร
- ครูผู้สอนต้องคอยใหค้ าแนะนาในการใชอ้ ุปกรณ์การทดลองระหวา่ งท่ีนักเรียนกาลังทากิจกรรม

4. นักเรียนบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์การเรียนรใู้ นครงั้ นจี้ านวนกีค่ น
- 21 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 80.76

5. วิธีการแก้ปญั หาที่นามาใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ กิดผลอย่างไร
- ครผู ู้สอนตอ้ งคอยดูและ และชว่ ยกากบั ในการใช้อุปกรณก์ ารทดลองดว้ ยความระมัดระวงั เพื่อไม่ให้

เกดิ อนั ตรายระหวา่ งจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน

เวลาทใ่ี ชใ้ นการในการเปิดช้ันเรยี นท้งั หมด 2 ชั่วโมง

ลงชื่อ…………………………………………..ผู้บันทกึ ลงชื่อ…………………………………………..ผู้รบั รอง
(นายศวิ านนท์ โตนาค) (นายเมธี นาคบณั ฑติ ย์)

ครูโรงเรียนชมุ ชนประชาสามัคคี ผอู้ านวยการโรงเรียนชมุ ชนประชาสามัคคี

การสะทอ้ นคดิ หลังการสังเกตชน้ั เรียน วงรอบที่ 3

ชือ่ ทีม ประชาสามัคคีทมี โรงเรียนชมุ ชนประชาสามัคคี อาเภอคลองขลงุ จังหวัดกาแพงเพชร
วนั ท่ีสะท้อนคดิ หลงั การสังเกตชน้ั เรียน 3 สิงหาคม 2565 เวลา 16.00 น.
นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 จานวนนักเรียน 26 คน
ชอ่ื ครูผูส้ อน นายศิวานนท์ โตนาค วชิ าวิทยาศาสาตร์ รหัส ว14101
ชือ่ ผู้นาการสะท้อนการเปิดชั้นเรยี น นายเมธี นาคบณั ฑิตย์
รายช่ือผู้รว่ มสะทอ้ นคิดหลงั เปิดชน้ั เรียน จานวน 5 คน ได้แก่

ลาดับท่ี ชอ่ื – สกลุ บทบาทในทีม ลายมือช่ือ
Model Teacher
1 นายศิวานนท์ โตนาค Buddy Teacher
Buddy Teacher
2 นางสาวทวีพร จันเนย Administrator
Mentor/Expert
3 นางสาวชาลสิ า ปัญญา

4 นายเมธี นาคบณั ฑิตย์

5 นางกนิษฐา มณฑาเทศ

1. สิง่ ทค่ี รผู ู้สอนทาได้ดี และควรรกั ษาไว้ให้มีตอ่ ไป
- จัดกิจกรรมทใี่ หน้ ักเรียนไดล้ งมือปฏิบัตจิ รงิ

2. สิ่งทีเ่ ป็นปญั หาและอปุ สรรคทท่ี าให้การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ในครง้ั น้ีไม่เปน็ ไปตามเป้าหมาย
- นักเรียนไมส่ ามารถระบวุ ธิ ีกรทดลองให้เป็นลาดับขน้ั ตอนได้

3. สง่ิ ท่คี รตู ้องปรับใหด้ ีขนึ้ เพ่ือพัฒนาการเรยี นรู้ของนกั เรยี นมปี ระเด็นใดบา้ ง และจะทาอยา่ งไร
- ครูผู้สอนตอ้ งอธิบายแนวทางการทดลองทางวิทยาศาสตร์ให้นกั เรียนเขา้ ใจอยา่ งชัดเจน

4. นกั เรยี นบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรูใ้ นครัง้ นจี้ านวน ก่ีคน
- 26 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100

5. วิธกี ารแกป้ ัญหาท่นี ามาใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรูเ้ กิดผลอยา่ งไร

- ครูผสู้ อนอธิบายวิธีการเขยี นการทดลองทางวทิ ยาศาสตรพ์ ร้อมหาตวั อยา่ งมาใหน้ ักเรียนดู เพอ่ื ให้
นักเรยี นมองเหน็ ภาพชัดเจนมากขึ้น

เวลาทใี่ ชใ้ นการเปดิ ช้นั เรยี นทั้งหมด 2 ชว่ั โมง

ลงชื่อ…………………………………………..ผู้บันทึก ลงชอื่ …………………………………………..ผู้รับรอง
(นายศวิ านนท์ โตนาค) (นายเมธี นาคบณั ฑติ ย์)

ครูโรงเรียนชุมชนประชาสามัคคี ผ้อู านวยการโรงเรยี นชมุ ชนประชาสามัคคี

แบบรายงานการใช้นวตั กรรมท่ีเกิดจากการเปดิ ชั้นเรียน จานวน 3 วงรอบ

หน่วยการเรยี นรู้ Electric Dough จานวน 6 ชั่วโมง
วิชา วทิ ยาศาสตร์ รหสั ว14101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้น ประถมศึกษาปีทที่ 4 ชอ่ื ครูผ้สู อน นายศิวานนท์ โตนาค

ชือ่ นวัตกรรม Electric Dough

1. ความเป็นมาและความสาคัญของวิธีการแกป้ ญั หา
การศกึ ษาเป็นองค์ประกอบสาคัญในการพฒั นาทรพั ยากรมนุษยท์ างด้าน สตปิ ัญญา รา่ งกาย และจติ ใจ

และยงั เป็นเครื่องมือในการสร้างกาลงั คนของประเทศให้มคี ุณภาพและ ประสิทธิภาพ ทนั ตอ่ ความ
เจรญิ ก้าวหน้าทางด้านตา่ ง ๆ การศึกษาถือเปน็ ตัวเร่งทสี่ าคัญท่สี ดุ ในการก่อให้เกิดการเปล่ยี นแปลงและการ
พฒั นาในดา้ นต่าง ๆ ในสงั คม ซ่งึ การพัฒนาทเี่ ดน่ ทีส่ ดุ อันเนอ่ื งมากจากผลของการศึกษาในปัจจบุ ันคือ
ความกา้ วหน้า ทางด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยมี ีผลทาให้โลกในปัจจุบันกา้ วไปส่ยู คุ ท่ีเรียกวา่ เทคดนโลยี
สารสนเทศ สว่ นในดา้ นการศึกษานั้น โดยจะมุ่งเนน้ ไปทีเ่ ป้าหมายของการเรยี นการสอน คอื การที่นักเรียนเกดิ
การ เรียนรูอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล แต่การที่จะทาให้ไดแ้ ละดีนั้น ตอ้ งอาศัยเทคนิควธิ ีและ ปัจจยั
หลายประการ ระบบการเรียนการสอนในปัจจบุ ันจึงตอ้ งมาเกยี่ วข้องกับเทคโนโลยี

นโยบายของรัฐ ดา้ นการเขา้ สู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 อีกท้งั ในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ถูก
พัฒนาขึน้ จนเปน็ ส่งิ ท่ีใชง้ านง่ายและใกลม้ นษุ ย์มากขึ้น ทาใหเ้ กิดนวตั กรรมการจดั การศกึ ษาจากระบบการ
เรยี นการสอน นกั เรยี นสามารถ เขา้ ถงึ ได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ สามารถจดั การศึกษาจัดกจิ กรรมการ
เรียนรู้ตลอดชวี ิตทมี่ ีคุณภาพเพ่มิ ขึ้น และความรู้ในรูปแบบของดจิ ิทลั ผา่ นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
กอ่ ใหเ้ กิดการจดจาและแรงจูงใจในการเรียนร้ขู องนักเรยี นมากขึน้ ด้วยการนวตั กรรมทางการศกึ ษา และใน
ปัจจุบันผู้เรียนมีความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล การจดั การศึกษาจึงคานงึ ถงึ ความแตกต่างด้านร่างกาย สติปัญญา
ความคดิ และความรสู้ ึกของผเู้ รียน ดงั นน้ั การจดั การเรยี นการสอนใหม้ ี ประสิทธิภาพจงึ ควรจัดใหส้ อดคลอ้ งกบั
ความถนดั ความสนใจ ความสามารถ และอัตราการเรียนเร็วชา้ ของผู้เรยี น นวตั กรรมการศึกษาท่เี กดิ ข้ึนตาม
แนวคดิ น้ีมีหลายอย่างเพื่อให้ผเู้ รียนได้เกดิ การพัฒนาไดห้ ลากหลายดา้ น

ดว้ ยเหตุนจ้ี งึ มกี ารจัดการเรียนการสอนแบบบรู ณาการข้ามกลุ่มสาระวชิ าตามแนวทางสะเตม็ ศึกษาด้วย
เทคโนโลยี (STEM Education) เปน็ นาแนวทางการจดั การเรียนรู้ทบี่ ูรณาการความรู้ใน 4 วชิ าได้แก่
วทิ ยาศาสตร์(S) เทคโนโลยี(T) วศิ วกรรมศาสตร์(E) และคณิตศาสตร์(M) โดยเนน้ การนาความร้ไู ปใช้แก้ปัญหา
ในชีวิตจรงิ รวมทงั้ การพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ที่เป็นประโยชนต์ ่อการ ดาเนินชีวิต และการทางาน
ของผเู้ รียน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการตามแนวทางของสะเตม็ ศึกษา ในการพฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรียน
การสอน สาหรบั นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4

2. วตั ถปุ ระสงค์ของการดาเนนิ การ
1. นกั เรยี นสามารถระบุปัญหา เขา้ ใจปัญหาหรือความท้าทาย วเิ คราะห์เง่ือนไขหรือข้อจากัดของ

สถานการณป์ ัญหาท่ีกาหนดใหไ้ ด้
2. นักเรยี นสามารถรวบรวมข้อมูลและแนวคดิ ทางวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยที ีเ่ ก่ียวข้อง

กับแนวทางการแก้ปัญหาและประเมิน ข้อดแี ละข้อจากดั ได้
3. นกั เรียนสามารถออกแบบช้นิ งานหรอื วิธกี ารในการแก้ปัญหา โดยคานงึ ถึข้อจากดั และเง่อื นไขตาม

สถานการณ์ทกี่ าหนดใหไ้ ด้
4. นกั เรยี นสามารถปรบั ปรุงและพฒั นาช้นิ งานให้มปี ระสิทธิภาพได้
5. นักเรียนสามารถรวบรวม สรปุ และมูลนาเสนอแนวคิดและขน้ั ตอนการแก้ปญั หาในการพัฒนาตอ่ ไป

3. กระบวนการในการดาเนินการ
การดาเนนิ การตามกระบวนการของสะเต็มศึกษาและการออกแบบเชงิ วิศวกรรม คือการผนวกแนวคดิ

การออกแบบเชงิ วศิ วกรรมเข้ากับการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี ของผู้เรียน ในขณะที่
นกั เรยี นทากจิ กรรมเพ่อื พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และฝึกทกั ษะดา้ นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี
ผเู้ รยี นต้องมีโอกาสนาความรู้มาออกแบบวธิ ีการหรอื กระบวนการเพ่ือตอบสนองความต้องการหรือแกป้ ญั หาท่ี
เกย่ี วข้องกับชวี ติ ประจาวนั เพ่อื ให้ได้เทคโนโลยีซ่งึ เปน็ ผลผลติ จากกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม (NRC,
2012) กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมประกอบด้วยองค์ประกอบ 6 ขน้ั ตอน ได้แก่

1. ระบปุ ัญหา (Problem Identification) การทาความเข้าใจปัญหาหรือความท้าทาย วิเคราะห์
เงือ่ นไขหรือขอ้ จากดั ของสถานการณ์ปัญหา เพอ่ื กาหนดขอบเขตของปัญหา ซง่ึ จะนาไปสู่การสรา้ งชน้ิ งานหรอื
วิธกี ารในการแก้ปัญหา

2. รวบรวมขอ้ มลู และแนวคดิ ทีเ่ ก่ียวข้องกับปัญหา (Related Information Search) เปน็ การ
รวบรวมขอ้ มลู และแนวคดิ ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้องกับแนวทางการแก้ปัญหา
และประเมินความเป็นไปได้ ข้อดแี ละขอ้ จากัด

3. ออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหา (Solution Design) เปน็ การประยุกตใ์ ช้ขอ้ มูลและแนวคิดท่เี กีย่ วข้อง
เพ่ือการออกแบบชิน้ งานหรือวิธีการในการแกป้ ัญหา โดยคานึงถึงทรัพยากร ข้อจากัดและเงือ่ นไขตาม
สถานการณ์ทกี่ าหนด

4. วางแผนและดาเนนิ การแก้ปัญหา (Planning and Development) เปน็ การกาหนดลาดบั ขน้ั ตอน
ของการสร้างช้ินงานหรือวธิ ีการ แล้วลงมือสรา้ งช้นิ งานหรือพฒั นาวิธกี ารเพ่ือใช้ในการแกป้ ญั หา

5. ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ แก้ไขวธิ กี ารแกป้ ัญหาหรอื ชนิ้ งาน (Testing, Evaluation and
Design Improvement) เป็นการทดสอบและประเมนิ การใช้งานของชิน้ งานหรือวิธีการ โดยผลที่ได้อาจ
นามาใชใ้ นการปรบั ปรุงและพัฒนาให้มปี ระสทิ ธิภาพในการแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสมท่ีสดุ

6.นาเสนอวิธีการแกป้ ญั หา ผลการแก้ปญั หาหรือชิน้ งาน (Presentation) เปน็ การนาเสนอแนวคดิ
และข้ันตอนการแกป้ ัญหาของการสรา้ งชิ้นงานหรอื การพฒั นาวธิ กี าร ใหผ้ ู้อนื่ เข้าใจและไดข้ ้อเสนอแนะเพ่ือการ
พัฒนาต่อไป

4. ผลการดาเนนิ การ
1. นักเรยี นเกิดทกั ษะการวเิ คราะห์สถานการณป์ ญั หาโดยใช้เทคนิควิธีการวิเคราะหท์ หี่ ลากหลาย
2. นักเรยี นเขา้ ใจเงอ่ื นไขและกรอบของปัญหาได้ชัดเจน โดยการสบื ค้นและรวบรวมข้อมูล
3. นักเรยี นเกิดทักษะด้านวทิ ยาศาสตร์ทางพลงั งานไฟฟ้าและวงจรไฟฟา้

4. นกั เรียนเกดิ ทกั ษะด้านเทคโนโลยใี นการใช้แอฟพลิเคชัน PhET, Keynote, Page
5. นกั เรียนเกดิ ทักษะด้านวศิ วะกรรมศาสตร์ในการออกแบบวางแผน สรา้ งแป้งโดว์นาไฟฟา้ และ
วงจรไฟฟ้าแบบตา่ งๆ
6. นักเรียนเกิดทักษะด้านวิทยาศาสตร์ในการคานวณสว่ นผสมการทาแปง้ โดวน์ าไฟฟ้า
7. นักเรยี นเกิดความมุ่งม่นั ในการทางานมากย่ิงขึน้

5. ปัจจัยความสาเรจ็
1. ส่ือเทคโนโลยี
2. Appication

6. ผลทเ่ี กิดกับตัวครูมปี ระเด็นใดบ้าง
1.พัฒนาการใชส้ ือ่ เทคโนโลยมี าช่วยในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
2.ไดม้ ีการบูรณาการกลุ่มสาระตามแนวทางของสะเตม็ ศึกษาทาใหเ้ กิดแนวทางการจัดกิจกรรมการ

เรยี นรู้ท่ีหลายหลาย
3. การพฒั นาแผนการจัดการเรียนการสอนในการแก้ปญั หาให้แก่ผู้เรยี นได้อยา่ งเปน็ ระบบ

7. มกี ารเผยแพร่นวัตกรรมที่เกิดข้ึนอยา่ งไร (ภายในโรงเรยี น/เครือข่ายต่างโรงเรียน)
- นาเสนอโครงการพฒั นาและส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรู้ดว้ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั สานักงานเขตพื้นท่ี

การศกึ ษาประถมศกึ ษากาแพงเพชร เขต 2 ณ หอประชุมคฤหบดีอในกลมุ่ โรงเรียนคลองขลุง จานวนท้ังหมด
8 โรงเรยี น

- https://www.youtube.com/watch?v=fxM4rTTNiqM
- Facebook โรงเรียนชมุ ชนประชาสามัคคี

แบบประเมินการจัดการเรียนรู้/การจดั การเรียนการสอน

ครูผอู้ อกแบบการจดั การเรียนรู้ : นายศวิ านนท์ โตนาค

แผนการสอนเร่ือง Electric Dough

วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4

ลาดับ ประเดน็ การประเมิน ระดบั คุณภาพ

มาก มาก พอใช้ นอ้ ย น้อยทส่ี ดุ

ทส่ี ดุ

1. ด้านจดุ ประสงค์/เป้าหมายการสอน

1.1 สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ 

1.2 สอดคล้องกับผลลพั ธ์การเรยี นรู้ 

1.3 สอดคล้องกบั สมรรถนะหลักและ 

สมรรถนะเฉพาะรายวิชา

1.4 เน้นท่พี ฤติกรรมระดบั สูงขอผูเ้ รียน 

หรอื ทักษะการคดิ ขัน้ สงู

1.5 กจิ กรรมสะท้อนครบทั้ง 3 ด้าน คือ 

พุทธพิ สิ ยั ทักษะพสิ ัย และจติ พิสยั

1.6 กิจกรรมมีการต่อยอดจากตวั ชีว้ ัดและ 

มาตรฐานการเรยี นรู้ และบูรณาการ

ข้ามสาระวิชา

2. ด้านเนือ้ หา )แนวคดิ สาคัญ(

2.1 เน้ือหาท่ีใช้สอนสอดคล้องกับ 

จุดประสงค์/

ผลลัพธก์ ารเรยี นรบู้ ูรณาการข้ามสาระ

วิชาดว้ ยเทคโนโลยดี ิจิทัล

2.2 จัดการเรียนรใู้ นรูปแบบแนวคิดท่ี 

นักเรียนตอ้ งเรยี นรบู้ ูรณาการขา้ ม

สาระวิชาดว้ ย

เทคโนโลยีดิจิทลั

2.3 การสอนมีการจดั ลาดับเน้ือหา 

เหมาะสมกับผเู้ รยี นบูรณาการขา้ ม

สาระวชิ าด้วยเทคโนโลยดี ิจิทลั

2.4 การสอนมีการเชอื่ มโยงกับ 

ชีวิตประจาวัน มกี ารสรา้ งชิ้นงาน/

นวตั กรรมผ่าน กระบวนการออกแบบ

เชงิ วิศวกรรม

ลาดบั ประเดน็ การประเมิน มาก ระดบั คุณภาพ
ท่ีสุด มาก พอใช้ น้อย นอ้ ยที่สุด
3. ด้านกจิ กรมการจดั การเรยี นรตู้ ามรปู แบบ 
กจิ กรรมบรู ณาการขา้ มสาระวิชาดว้ ยเทคโนโลยี  
ดิจทิ ลั
ข้ันระบปุ ัญหา/จดุ แข็ง/โอกาสในการพัฒนา  
3.1 มีการกาหนดสถานการณ์/ศกึ ษา  
 
สถานการณ์ ปรากฏการณ์ท่ีให้ 
นกั เรียนได้ระบุปัญหา จดุ แข็ง/โอกาส
ในการพัฒนา 
3.2 สถานการณ์/ดึงดดู และกระตุ้นความ
สนใจ
ของผูเ้ รียน/การออกแบบและสร้าง
แบบ
3.3 กิจกรรมเน้นใหน้ ักเรยี นคิดอย่างเป็น
ระบบมีการทดสอบชนิ้ งาน/ปรบั ปรงุ
แก้ไข
ขน้ั วเิ คราะห์ขอ้ มลู พน้ื ฐาน/วิเคราะห์การต่อ
ยอดจากจุแขง็
3.4 กจิ กรรมส่งเสริมใหน้ ักเรียนมีการระดม
ความคิดอภปิ รายหารอื ภายในกลมุ่ ใน
การวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐาน/วเิ คราะห์
การต่อยอดจากจุดแข็ง
3.5 ครูมีการถามคาถามทก่ี ระตุ้นการคิด
ของนักเรยี นตามแนวคิดสะเต็มศกึ ษา
3.6 ครูมีการอธิบายคาตอบอย่างชัดเจน
3.7 บทบาทของครเู ป็นเพยี งผ้เู สนอแนะให้
นกั เรียนไดว้ ิเคราะห์มากกว่าผู้บรรยาย
3.8 มีการใช้คาถามที่กระตุน้ ทักษะการคิด
อยา่ งมีวิจารณญาณ หรือคดิ สร้างสรรค์
3.9 ครมู ีการเตรียมวัสดุอุปกรณ์เพื่ออานวย
ความสะดวกในการออกแบบสร้าง
ช้นิ งาน/โครงการ/นวัตกรรมของ
นกั เรียน
3.10 กจิ กรรมมีการให้นักเรียนไดว้ างแผน
งานของตนเอง แบง่ หน้าที่รับผดิ ชอบ

3.11 มีการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศรว่ มใน 
การออกแบบสรา้ งชนิ้ งาน/โครงงาน/ 
นวตั กรรม 

ขนั้ ดาเนินการตามแนวทาง/แผนการทกี่ าหนด
ระดับคุณภาพ
3.12 กิจกรรมเนน้ ให้นักเรยี นมีทักษะในการ มาก พอใช้ นอ้ ย นอ้ ยทสี่ ดุ
แก้ปญั หา การประสานงานและการ
ทางานรว่ มกนั เป็นทีม 

3.13 นักเรียนมกี ารบันทกึ ผลงาน/หลกั ฐาน 
เชิงประจกั ษ์ 

3.14 กิจกรรมเนน้ ให้นักเรียนวเิ คราะห์ผล 
และแลกเปลย่ี นขอ้ วิเคราะหก์ ับเพือ่ น 
รว่ มทีม

ลาดับ ประเด็นการประเมิน มาก
ท่ีสดุ
ขั้นประเมนิ /ตรวจสอบผลลัพธ์ 
3.15 กจิ กรรมเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นทบทวน

แผนงาน/นาความสาเรจ็ และความ
ล้มเหลวมาทาความเขา้ ใจ
3.16 กิจกรรมเปิดโอกาสในการแลกเปล่ียน
เรยี นรู้รว่ มกับทมี นาไปสู่การปรับปรุง
ชิ้นงาน/โครงการ/นวตั กรรมที่มี
ประสิทธิภาพมากข้นึ
ข้ันนาเสนอ
3.17 กจิ กรรมส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นมีทกั ษะ
การสอื่ สารเช่นการนาเสนอการ
อภปิ รายในกลมุ่
3.18 ในการจัดกิจกรรมหรอื จัดเวลาเปิด
โอกาสให้นักเรยี นไดเ้ สนอส่งิ ที่ตนเอง
ได้เรยี นรู้
4. ดา้ นสือ่ อปุ กรณ์ และแหล่งเรียนรู้
4.1 มกี ารเตรียมสื่อที่หลากหลาย
4.2 ใช้สอ่ื ทีเ่ หมาะสมและสอดคล้องกบั
จุดประสงค์ เนื้อหา และกิจกรรมตาม
แนวคดิ สะเตม็
4.3 มกี ารใชแ้ หล่งเรยี นรู้ เนน้ ใหน้ ักเรยี น
เขา้ ใจถึงการบรู ณาการข้ามสาระวชิ า
ดว้ ยเทคโนโลยีดิจทิ ลั

5. ด้านการวัดและประเมินผล 

5.1 มกี ารวดั ประเมินผลการเรยี นรู้กอ่ น 
ระหวา่ งและหลังการสอน

5.2 มีวธิ ีการวัดและประเมนิ ท่หี ลากหลาย

5.3 วธิ กี ารวดั และประเมนิ การเรียนรู้ของ 
ผ้เู รียนเหมาะสมและสอดคล้องกบั
จุดประสงค์/เป้าหมายการสอน

6. แนวทางการเรยี นรเู้ ชงิ รุก (Active Learning)

6.1 การจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบเชิงรกุ
)Active Learning) ตามแนวทางการ
จัดการเรยี นรูฐ้ านสมรรถนะ

6.2 กจิ กรรมการเรยี นรู้ส่งเสริมให้นกั เรยี น
ไดใ้ ชค้ วามคดิ ขน้ั สูง

6.3 กิจกรรมการเรยี นรู้สง่ เสรมิ การมี
ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างผ้เู รยี น ครู เพื่อน

ลาดบั ประเด็นการประเมิน มาก ระดับคณุ ภาพ
ทส่ี ุด มาก พอใช้ น้อย น้อยทสี่ ดุ
6.4 กจิ กรรมเน้นการใหผ้ ้เู รยี นลงมอื ปฏบิ ัติ 
บูรณาการข้ามสาระวชิ าด้วย
เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล 

6.5 สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นไดส้ ร้างองค์ความรู้
ดว้ ยตนเอง

การสร้างชมุ ชนเรยี นรู้เพอ่ื พัฒนาวชิ าชพี PLC

นายศวิ านนท์ โตนาค ครกู ลุ่มสาระการเรยี นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โรงเรยี นชมุ ชนประชาสามัคคี


Click to View FlipBook Version