The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teeradet photong, 2023-09-19 03:47:28

คู่มือนิสิตใหม่ ประจำปีการศึกษา 2566

หนังสือคู่มือนิสิตใหม่

คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่ปรึกษา : พระราชรัตนสุธี,รศ.ดร. ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช รศ.ดร.ปญญา นามสงา รองผูอํานวยการ ฝายบริหาร พระครูพิพิธจารุธรรม, ผศ.ดร. ผูอํานวยการบัณฑิตศึกษา พระครูสุมณฑธรรมธาดา, ผศ.ดร. ประธานหลักสูตรสาขาวิชาพระพุทธศาสนา พระครูปลัดสุวัฒนพุทธิคุณ, ผศ.ดร.ประธานหลักสูตรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร พระครูอมรธรรมบัณฑิต ประธานหลักสูตรสาขาวิชาการสอนภาษาไทย อาจารยกิตติศักดิ์ แทงทอง ประธานหลักสูตรสาขาวิชาสังคมศึกษา ผศ.จุมพต ออนทรวง ประธานหลักสูตรสาขาวิชาภาษาอังกฤษ บรรณาธิการ : พระครูรัตนสุตาภรณ, ผศ.ดร. รองผูอํานวยการ ฝายวิชาการ คณะทํางาน : นางสิริกมล ทองเชื้อ ผูอํานวยการสํานักงานวิชาการ นางสาวปรานอม ดีอาจ ผูอํานวยการสํานักงานวิทยาลัย พระปลัดดํารงค ภทฺทมุนี, ดร. พระครูประภัศรวรานุกิจ พระครูวิจิตรสรการ (มงคล) พระมหาพิทักษ วรญาโณ นางพิรญาณ นวลมะ นางวรรณา ตั้งใจ นายไสว เทศกุล นายโสภณ คงแสง นายสมปอง สีชมพู นายพิษณุชัย ชูชื่น นายบุญโชติ สุนิกร นางสาววรรณพร ออนดวง นายศักดิ์ศรี โสภี นางสาวเกสร มากมา นางสาวสุชาดา ขําทับทิม นางสาวศิรินรักษ สังสหชาติ นางสาวนันทภรณ ขําน้ําคู ราง/พิมพ : นางสาวเกสร มากมา พิสูจนอักษร : พระครูวิจิตรสรการ (มงคล) จัดทําโดย : สํานักงานวิชาการ วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ปการศึกษา : ๒๕๖6


สารจากผูอํานวยการ ปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ขอตอนรับ นิสิตใหม ทั้งระดับประกาศนียบัตร ระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท ที่ไดตัดสินใจเขามาศึกษาเพื่อ เพิ่มพูนคุณวุฒิ ความรู ความสามารถในศาสตรสาขาที่หลากหลาย ขึ้นชื่อวาการศึกษาไมวาจะเปนการศึกษาระดับใด ลวนแตมีความสําคัญอยางยิ่ง เพราะเปนการศึกษา เพื่อยกระดับความรู ความสามารถ ทักษะในการนําไปประยุกตใชทั้งการพัฒนาตนเอง พัฒนาวัด พระพุทธศาสนาและประเทศชาติซึ่งจะใหไดรับองคความรูที่มากขึ้น ประสบการณที่เพิ่มพูนขึ้น คือปจจัยสําคัญ ที่จะเปนอาวุธทางปญญาไปพัฒนาสังคมใหมีความเจริญกาวหนา สมดังสุภาษิตที่วา “ปฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต ปญญา เปนแสงสวางในโลก” อยางแทจริง ขอใหนิสิตทุกทาน ไดศึกษาอยางมุงมั่นและเต็มกําลังความสามารถตลอดระยะเวลาของการศึกษา ณ วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ซึ่งประกอบดวย ผูบริหาร อาจารย บุคลากรทุกฝาย และกัลยาณมิตรทุกสวนทั้ง ภายในและภายนอกสถาบันจะพรอมใจกัน สรางสรรค สงเสริมรวมพัฒนา ใหนิสิตทุกทานเปนนักคิด นักปฏิบัติ มีจิตสาธารณะ อยางมุงมั่น เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ของทุกคนและสังคมสืบตอไป (พระราชรัตนสุธี, รศ.ดร.) ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย


คํานํา คูมือนิสิตเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่ออธิบายระเบียบและขั้นตอนปฏิบัติสําหรับนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไดใชเปนแนวทางในการติดตอ ประสานงานเรื่องการศึกษาระหวางนิสิตกับสวนงานตางๆ ของวิทยาลัย เริ่มตั้งแตสมัครเขาเรียน จนกระทั่ง สําเร็จการศึกษา ตามเนื้อหาที่ปรากฏภายในเลม ดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ การสมัครเรียนและสอบคัดเลือก ขั้นตอนที่ 2 การลงทะเบียนเรียน ขั้นตอนที่ 3 การเพิ่ม/ถอนรายวิชา ขั้นตอนที่ 4 การลงทะเบียนซอมเสริม ขั้นตอนที่ 5 การลงทะเบียนเทียบโอนผลการศึกษา ขั้นตอนที่ 6 การลงทะเบียนเรียนรายวิชาสามัญเพิ่มเติม (ป.ธ.๓) ขั้นตอนที่ 7 การยายคณะ/หลักสูตร/สาขาวิชา ขั้นตอนที่ 8 การขอพักการศึกษา/รักษาสถานภาพ/ขอกลับเขาศึกษา ขั้นตอนที่ 9 การประเมินอาจารยออนไลนและตรวจสอบผลการศึกษา ขั้นตอนที่ ๑0 การขอสําเร็จการศึกษาและขึ้นทะเบียนบัณฑิตออนไลน ทั้งนี้คณะผูจัดทําไดรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวของ และแบงเนื้อหาออกเปน ๓ สวนคือ สวนที่หนึ่ง ไดแก แผนผังรายละเอียดการดําเนินการโดยภาพรวม สวนที่สอง ไดแกรายละเอียดเนื้อหา และสวนที่สาม ไดแก คํา รองตางๆ ที่เกี่ยวของ หวังวาคูมือเลมนี้จะเปนประโยชนแกนิสิตและผูสอนไวไดเปนอยางดีและเรียนใหทราบวา อาจมีการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนตางๆ จากคูมือเลมนี้ไดเพื่อความเหมาะสม โดยงานทะเบียนและวัดผล จะแจง ใหนิสิตทราบตอไป พระครูรัตนสุตาภรณ, ผศ.ดร. บรรณาธิการ 1 พฤษภาคม 2566


สารบัญ เรื่อง หนา ประวัติวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช 1 ขั้นตอนที่ ๑ การสมัครเรียนและสอบคัดเลือก 11 ขั้นตอนที่ 2 การลงทะเบียนเรียน 13 ขั้นตอนที่ 3 การเพิ่ม/ถอนรายวิชา 24 ขั้นตอนที่ 4 การลงทะเบียนซอมเสริม 27 ขั้นตอนที่ 5 การลงทะเบียนเทียบโอนผลการศึกษา 30 ขั้นตอนที่ 6 การลงทะเบียนเรียนรายวิชาสามัญเพิ่มเติม (ป.ธ.๓) 35 ขั้นตอนที่ 7 การยายคณะ/หลักสูตร/สาขาวิชา 37 ขั้นตอนที่ 8 การขอพักการศึกษา/รักษาสถานภาพ/ขอกลับเขาศึกษา 43 ขั้นตอนที่ 9 การประเมินอาจารยออนไลนและตรวจสอบผลการศึกษา 46 ขั้นตอนที่ ๑0 การขอสําเร็จการศึกษาและขึ้นทะเบียนบัณฑิตออนไลน 52 ภาคผนวก ระเบียบมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วาดวยการโอนและการเทียบโอน ผลการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๗ 62 ระเบียบมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วาดวยการโอนและการเทียบโอน ผลการศึกษาระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ 65 ระเบียบมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วาดวยการออกเอกสารสําคัญ ทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ 67 ขอบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วาดวยการศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๖๑ 70 ขอบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวาดวยเครื่องแบบเครื่องหมาย หรือเครื่องแตงกายนิสิตคฤหัสถ พ.ศ. ๒๕๔๓ 84 ขอบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วาดวยการฝกภาคปฏิบัติ วิปสสนากรรมฐาน พ.ศ. ๒๕๔๑ 86 ขอบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วาดวยการปฏิบัติศาสนกิจ พ.ศ. ๒๕๔๖ 88 ขอบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วาดวยการปฏิบัติงาน บริการสังคม พ.ศ. ๒๕๔๖ 92


เรื่อง หนา ประกาศมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรื่องคาธรรมเนียมการศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘ 96 ประกาศมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรื่องการศึกษาสําหรับชาว ตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๒ 99 ประกาศมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรื่องหลักเกณฑการปฏิบัติ ศาสนกิจสําหรับนิสิตปฏิบัติศาสนกิจผูเขาศึกษาตอระดับปริญญาโท พ.ศ. ๒๕๕๑ 102 ประกาศมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรื่องหลักเกณฑการโอนและ การเทียบโอนผลการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ 104 ประกาศวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษาระดับปริญญาตรี และระดับประกาศนียบัตร พ.ศ. 2564 106 ประกาศวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช เรื่อง คาธรรมเนียมการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2564 118 ประกาศวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช เรื่อง หลักเกณฑการสนับสนุนทุนการศึกษานิสิต พ.ศ. 2564 122 ที่อยูวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช 123


๑ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ประวัติวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เดิมมีฐานะเปนโครงการขยาย หองเรียนคณะพุทธศาสตร ตั้งอยูที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร ตําบลในเมือง อําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก ดําริและกอตั้งโดย พระเดชพระคุณพระพุทธิวงศมุนี (บํารุง ฐานุตฺตโร ป.ธ.7) เจาอาวาสวัด พระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร ไดรับการอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย ในคราวประชุม ครั้งที่ ๓/๒๕๔๑ เมื่อ วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๔๑ และไดเปดการเรียนการสอนหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ปรัชญา ในปการศึกษา ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๔ สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๔๔ เมื่อ วันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ที่ประชุมมีมติอนุมัติใหวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย เปดหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ พ.ศ. ๒๕๔๖ สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๔๖ เมื่อ วันที่ ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ที่ประชุมมีมติอนุมัติใหวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัยเปดหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจริยศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๓ /๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ ที่ประชุมมีมติยกฐานะหองเรียนคณะพุทธศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ขึ้นเปนวิทยาลัย ใน นาม วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และไดมีขอกําหนดมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรื่อง การจัดตั้งวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช พุทธศักราช ๒๕๔๘ โดยใหตรา ขอกําหนดไว ดังนี้ “ใหจัดตั้งวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช โดยยกฐานะหองเรียนคณะพุทธศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ขึ้นเปนวิทยาลัยสงฆ พุทธชินราช ตั้งแตวันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ เปนตนไป” มีฐานะเปนนิติบุคคล ประกาศในราชกิจจา นุเบกษา หนา ๖๐ เลม ๑๒๒ ตอนที่ ๔๔ วันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๔๘ โดยมีวัตถุประสงค เพื่อให การศึกษา วิจัย สงเสริมพระพุทธศาสนา และใหบริการทางวิชาการพระพุทธศาสนาแกพระภิกษุสามเณรและ บุคคลทั่วไป รวมทั้งทะนุบํารุงศิลปวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๔๙ สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๔๙ เมื่อ วันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๙ ที่ประชุมมีมติอนุมัติใหวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย เปดหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร พ.ศ. 2549 สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุม ครั้งที่ ๘/๒๕๔๙ เมื่อ วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ที่ประชุมมีมติอนุมัติใหวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย เปดหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ


๒ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช พ.ศ. ๒๕๕๐ สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๐ เมื่อ วันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ที่ประชุมมีมติอนุมัติใหวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย เปดหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา (สําหรับคฤหัสถ) พ.ศ. ๒๕๕๑ สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๑ เมื่อ วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่ประชุมมีมติใหวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย เปดหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร วิชาเอกบริหารรัฐกิจ (สําหรับคฤหัสถ) พ.ศ. ๒๕๕๑ สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุม ครั้งที่ ๓/๒๕๕๑ เมื่อ วันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่ประชุมมีมติอนุมัติใหวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย เปดหนวยวิทยบริการ วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ณ วัดทานา อําเภอเมือง จังหวัดตาก ตั้งแตนั้นเปนตนมาจนถึงปจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๒ สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุม ครั้งที่ ๓/๒๕๕๒ เมื่อ วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒ ที่ประชุมมีมติใหวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัยเปดหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา (สําหรับบรรพชิต) พ.ศ. ๒๕๕๒ สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๒ เมื่อ วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒ ที่ประชุมมีมติอนุมัติใหวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย เปดสอนหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (สําหรับคฤหัสถ) พ.ศ. ๒๕๕๒ สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุม ครั้งที่ ๓/๒๕๕๒ เมื่อ วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒ ที่ประชุมมีมติใหวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย เปดหนวยวิทยบริการวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ณ วัด หมอนไม อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ พ.ศ. ๒๕๕๒ วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไดดําเนินการยาย สถานที่เรียนจากวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร ไปสถานที่แหงใหม ตั้งอยูที่ ๒๑๗ หมู ๖ บานหนองไผ ลอม ตําบลบึงพระ อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก และทําพิธีเปดอาคารเรียนหลังใหม เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยไดรับความเมตตาจาก เจาประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย คณะผูปฏิบัติหนาที่ สมเด็จ พระสังฆราช เจาคณะใหญหนเหนือ เปนประธานในพิธีเปดอาคารเรียน พ.ศ. ๒๕๕๒ สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุม ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ เมื่อ วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ที่ประชุมมีมติอนุมัติใหวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย เปดสอนหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา


๓ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช พ.ศ. ๒๕๕๔ สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุม ครั้งที่ ๒/๒๕๕๔ เมื่อ วันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ นายกสภามหาวิทยาลัย อนุมัติใหวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เปดสอนหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา (คฤหัสถ) และสาขาวิชา การสอนภาษาไทย (บรรพชิตและคฤหัสถ) ปรัชญา จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตรสมัยใหม พัฒนาจิตใจและสังคม ปณิธานของมหาวิทยาลัย เปนสถานศึกษาพระไตรปฎกและวิชาชั้นสูงสําหรับพระภิกษุ สามเณร และคฤหัสถ วิสัยทัศน “วิทยาลัยพระพุทธศาสนาในเขตการปกครองคณะสงฆภาค ๕” พันธกิจของมหาวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มุงปฏิบัติภารกิจหลักที่สําคัญ ใน ฐานะสถาบันอุดมศึกษาที่มีคุณภาพและไดมาตรฐานสากล โดยจัดการเรียนการสอนในลักษณะของการนํา ความรูทางดานพระพุทธศาสนาและปรัชญาบูรณาการกับศาสตรสมัยใหม ใหเกิดเปนองคความรูที่นําไปสูการ พัฒนาจิตใจและสังคมของคนในชาติอยางทั่วถึง ซึ่งมีพันธกิจที่สําคัญ ๔ ดาน ดังนี้ ๑) มุงเนนการผลิตบัณฑิตใหมีภูมิคุมกัน มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม มีความรู ทักษะ ภาษา มนุษย สัมพันธ ความรับผิดชอบ การคิดเชิงวิเคราะหอยางมีเหตุผล การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและมีความสุข ๒) มุงสงเสริมการศึกษา คนควาวิจัยใหกาวไปสูความเปนเลิศทางวิชาการดานพระพุทธศาสนาและ ปรัชญา เพื่อสรางองคความรูใหมในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย สังคมและสิ่งแวดลอม ใหอยูรวมกันไดอยาง สมดุลและสันติสุข รวมทั้งสรางเครือขายรวมกับคณะสงฆ และสถาบันที่มีชื่อเสียงในประเทศหรือตางประเทศ เพื่อสรางบุคลากรทางการวิจัยใหนําไปสูความเปนมาตรฐานสากล ๓) มุงเนนการใหบริการวิชาการในรูปแบบที่หลากหลาย มีความมุงมั่นในการใหบริการวิชาการทาง พระพุทธศาสนาและปรัชญา รวมทั้งสงเสริมการเรียนรูและใหความรวมมืออันดีแกการบริหารกิจการคณะสงฆ และสังคม ในเขตการปกครองคณะสงฆภาค 5 ๔) มุงสงเสริมการศึกษาและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรมการมีสวนรวมในการรักษา ความแตกตางทางวัฒนธรรม การอยูรวมกันอยางมีเอกลักษณและศักดิ์ศรี เพื่อเปนการสรางวัฒนธรรม คานิยม ที่พึงประสงคใหเกิดขึ้นแกบุคคล องคกรและสังคม ในเขตการปกครองคณะสงฆภาค 5


๔ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ๑. ผลิตบัณฑิต ผลิตและพัฒนาบัณฑิตใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค ๙ ประการ คือ M = Morality มีปฏิปทานาเลื่อมใส A = Awareness รูเทาทันความเปลี่ยนแปลงของสังคม H = Helpfulness มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา A = Ability มีความสามารถในการแกปญหา C = Curiosity มีความใฝรูใฝคิด H = Hospitality รูจักเสียสละเพื่อสวนรวม U = Universality มีโลกทัศน กวางไกล L = Leadership เปนผูนําดานจิตใจและปญญา A = Aspiration มีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเอง ใหเพียบพรอมดวยคุณธรรมและจริยธรรม ๒. วิจัยและพัฒนา การวิจัยและคนควา เพื่อสรางองคความรูควบคูไปกับกระบวนการเรียนการสอนเนนการพัฒนาองค ความรูในพระไตรปฎก โดยวิธีสหวิทยาการแลวนําองคความรูที่คนพบมาประยุกตใชแกปญหา ศีลธรรม และ จริยธรรมของสังคม รวมทั้งพัฒนาคุณภาพงานวิชาการดานพระพุทธศาสนา ๓. สงเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแกสังคม สงเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแกสังคม ตามปณิธานการจัดตั้งมหาวิทยาลัย ดวยการ ปรับปรุงกิจกรรมตางๆ ใหประสานสอดคลอง เอื้อตอการสงเสริมสนับสนุนกิจการคณะสงฆ สรางความรูความ เขาใจหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา สรางจิตสํานึกดานคุณธรรม จริยธรรมแกประชาชน จัดประชุม สัมมนา และฝกอบรมเพื่อพัฒนาพระสงฆและบุคลากรทางศาสนา ใหมีศักยภาพในการธํารงรักษา เผยแผหลักคําสอน และเปนแกนหลักในการพัฒนาจิตใจในวงกวาง ๔. ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เสริมสรางและพัฒนาแหลงการเรียนรูดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ใหเอื้อตอการศึกษา เพื่อสราง จิตสํานึกและความภาคภูมิใจในความเปนไทย สนับสนุนใหมีการนําภูมิปญญาทองถิ่น มาเปนรากฐานของการ พัฒนาอยางมีดุลยภาพ


๕ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ตราประจํามหาวิทยาลัย ๑. พระจุลมงกุฎ (พระเกี้ยว) พระราชลัญจกรประจําพระองคพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ตรงฐานของพระเกี้ยวมีอักษรยอวา ม จ ร และมีรูปธรรมจักรวางเปนฉากเบื้องหลัง ๒. เปนรูปวงกลมครอบธรรมจักรสวนกลางเปนพระเกี้ยว เปนพระราชลัญจกรประจําพระองค พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ รอบกรอบดานบนมีอักษรภาษาบาลีวา ปฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต รอบกรอบดานลางมีอักษรวา มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย


๖ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช คณะกรรมการประจําวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย


๗ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช พระพุทธิวงศมุนี (บํารุง ฐานุตฺตโร ป.ธ.7) อดีตเจาอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร องคผูสถาปนาวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช


๘ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช พระราชรัตนสุธี, รศ.ดร. (ป.ธ.9, รป.ม., ศศ.ม., รป.ด., ปร.ด.) ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช และเจาคณะจังหวัดพิษณุโลก


๙ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช การแบงสวนงานของวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช


๑๐ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช หลักสูตรที่เปดการเรียนการสอน วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2566 ที่ ระดับการศึกษา สาขาวิชา /หลักสูตร ๑ ประกาศนียบัตร การบริหารกิจการคณะสงฆ พระพุทธศาสนา ๒ ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา ๓ ปริญญาโท พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา


๑๑ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนที่ ๑ การสมัครเรียนและสอบคัดเลือก คําอธิบายขั้นตอนการรับสมัครนิสิตใหม ผานระบบออนไลน ขั้นตอนการรับสมัครนิสิตใหมผานระบบออนไลน 41www.plmcu.net ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อรองรับการจัด การศึกษาของวิทยาลัยและเพื่ออํานวยความสะดวกใหแกนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่สนใจจะเขา ศึกษาในระดับประกาศนียบัตร ระดับปริญญาตรีและระดับปริญญาโท ของวิทยาลัย ผานระบบออนไลนโดยไม จําเปนตองเดินทางมาสมัครดวยตนเอง สิ่งที่ตองศึกษากอนสมัครเรียน ผูที่สนใจจะสมัครเรียนจําเปนตองศึกษาขอมูลเกี่ยววิทยาลัย หลักสูตรสาขาวิชาที่สนใจ ตลอดจน ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศของมหาวิทยาลัย กอนตัดสินใจเลือกสาขาวิชาที่ตนเองสนใจจะเลือกศึกษา โดยผูที่ สนใจสามารถเขาไปศึกษาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ เว็บไซตหลักของวิทยาลัย : www.pl.mcu.ac.th เว็บไซตสมัครเรียน : www.plmcu.net ขั้นตอนการสมัครเรียน ขั้นตอนที่ ๑ ๑.๑ เขาเว็บไซตwww.plmcu.net ๑.๒ เลือกเมนู ลงทะเบียน ๑.๓ กรอกขอมูลพื้นฐานเบื้องตน เชน ชื่อ นามสกุล ฉายา สัญชาติ เลขประจําตัวประชาชน ๑.๔ กดลงทะเบียน ขั้นตอนที่ ๒ เลือกเมนู ผลการสมัคร พิมพใบสมัคร ๒.๑ พิมพเลขประจําตัวประชาชน และวันเดือนปเกิด ๒.๒ เลือกเมนู เขาสูระบบ ๒.๓ ตรวจสอบขอมูล และปริ้นใบสมัครเรียน ขั้นตอนที่ 3 การสอบสัมภาษณ 3.๑ ผูสมัครสอบคัดเลือกที่มีรายชื่อในประกาศ จึงเปนผูมีสิทธิ์สอบสัมภาษณ 3.2 ผูที่มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ ใหมาสอบสัมภาษณกับคณะกรรมการที่ทางวิทยาลัยแตงตั้งขึ้น ตามวันและเวลาที่กําหนด โดยผูสมัครที่ทําคะแนนสอบสัมภาษณมากกวารอยละ ๕๐ จึงเปนผูสอบผานการ คัดเลือก


๑๒ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนที่ 4 การรายงานตัวนิสิตใหม 4.๑ ผูสมัครที่สอบผานการคัดเลือกใหดําเนินการรายงานตัวนิสิตใหม ตามวันและเวลาที่ กําหนด 4.2 กรอกรายละเอียดขอมูลใหครบถวน 4.3 สงใหเจาหนาที่กลุมงานรับนิสิต ทะเบียนและสถิติสวนทะเบียนนิสิต พรอมเอกสาร ประกอบการสมัครทั้งหมดประกอบดวย 4.4 ใบรายงานตัวนิสิตใหม จํานวน ๑ ฉบับ 4.๕ สําเนาบัตรประชาชน จํานวน 1 ฉบับ 4.6 สําเนาใบสุทธิ (สําหรับบรรพชิต) จํานวน 1 ฉบับ 4.7 สําเนาทะเบียนบาน จํานวน 1 ฉบับ 4.8 สําเนาวุฒิการศึกษา จํานวน 1 ฉบับ 4.9 สําเนาวุฒิการศึกษานักธรรมหรือบาลี (ถามี) จํานวน 1 ฉบับ 4.10 รูปถาย ขนาด ๑.๕ นิ้ว จํานวน 1 รูป 4.11 เอกสารอื่นๆ เชน ใบเปลี่ยนชื่อ จํานวน 1 ฉบับ


๑๓ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ยื่นคํารองถอนรายวิชา -พบอาจารย์ประจําวิชา -อาจารย์ที่ปรึกษา -ทะเบียนนิสิต ติดต่อเจ้าหน้าที่ ขั้นตอนที่ 2 การลงทะเบียนเรียน ลงทะเบียนเรียน ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียน ผานระบบออนไลน ตรวจสอบรายวิชาที่จะลงทะเบียน ตรวจสอบจากคณะหรือคูมือนิสิต เขาเว็บไซตบริการการศึกษาของ USER : รหัสนิสิต ๑๐ หลัก มหาวิทยาลัย Regweb.mcu. ac.th PASSWORD : รหัสนิสิต ๑๐ หลัก PASSWORD เปลี่ยนแปลงได กดดึงรายวิชา กดลงทะเบียนเรียน ยืนยันขอมูลตรวจสอบรายวิชา รายวิชาที่ไมลงทะเบียนใหลบออก กดยืนยันการลงทะเบียน ตามกําหนดเวลา ติดตอเจาหนาที่ เพิ่ม / ถอนรายวิชา เลยกําหนดเวลา พิมพใบแจงหนี้ชําระธนาคาร กลุมงานการเงินของวิทยาลัย เขาเรียนตามปกติ


๑๔ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช คําอธิบายขั้นตอนการลงทะเบียนเรียน หลักการและเหตุผล การขึ้นทะเบียนเรียน/รายงานตัว นิสิตที่มีชื่อสอบผานการสอบคัดเลือกจะตองมาทําการขึ้นทะเบียน นิสิตพรอมชําระคาธรรมเนียมดวยตนเองภายในระยะเวลาที่กําหนด กรณีที่ไมสามารถมาไดตามวันเวลาที่กําหนด นิสิตตองแจงเหตุขัดของใหสํานักทะเบียนและวัดผล ทราบเปนลายลักษณอักษร ภายใน ๗ วันหลังจากที่กําหนดไวมิฉะนั้นจะถือวาสละสิทธิ์ การลงทะเบียนเรียนปกตินิสิตทุกรูป/คนจะตองมาทําการลงทะเบียนเรียนดวยตนเอง และตองไดรับ ความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาในการลงทะเบียนเรียน พรอมทั้งชําระคาธรรมเนียมและสวนที่คางชําระ (ถามี) ภายใน ๑๐ วันแรกของภาคการศึกษาปกติ ถือวาการลงทะเบียนนั้นสมบูรณ กรณีที่ไมสามารถมาลงทะเบียนไดตามปกตินิสิตตองทําหนังสือขออนุมัติจากกรรมการประจําคณะ และเสียคาธรรมเนียมการลงทะเบียนเรียนลาชา ตามที่มหาวิทยาลัยกําหนดแตตองมีเวลาเรียนไมนอยกวารอย ละ ๘๐ ของภาคการศึกษานั้น ถานิสิตรูป/คนใดไมลงทะเบียนเรียนภาคการศึกษาใดภาคการศึกษาหนึ่ง นิสิตจะตองทําเรื่องขอลาพัก การศึกษาในภาคนั้น หากไมปฏิบัติดังกลาว มหาวิทยาลัยจะถอนชื่อออกจากทะเบียนนิสิตและใหพนสภาพการ เปนนิสิตทันที


๑๕ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียน


๑๖ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียนออนไลนดวยตนเอง สําหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๑. เขาเว็บไซตบริการศึกษาของมหาวิทยาลัย http://regweb.mcu.ac.th ๒. คลิกเมนู “เขาสูระบบ”


๑๗ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ๓. ใสรหัสประจําตัว และรหัสผาน (คือรหัสประจําตัวนิสิต ๑๐ หลัก) แลวกด “ตรวจสอบ” ๔. คลิกเมนู “ลงทะเบียน”ดานซายมือ ๕. คลิกเลือก “ดึงรายวิชาจากแผน” ๖. เมื่อดึงรายวิชาจากแผนแลว จะปรากฏรายวิชาทั้งหมดที่สามารถลงทะเบียนได ใหนิสิตตรวจสอบ จํานวนและความถูกตองของรายวิชา หากรายวิชาใดไมประสงคจะลงทะเบียนใหกด (ลบ) วิชานั้นออก คงไว เฉพาะรายวิชาที่ประสงคจะลงทะเบียนเทานั้น


๑๘ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ๗. คลิกเลือกเมนู “ยืนยันการลงทะเบียน” ดานซายมือ ๘. กด “ยืนยันการลงทะเบียน” ๙. เมื่อกดยืนยันการลงทะเบียนแลวจะปรากฏหนาตาง “ระบบทําการสําเร็จ” ใหกดปุม “ผลการลงทะเบียน”


๑๙ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ๑๐. จะปรากฏหนาตางผลการลงทะเบียนใหนิสิตตรวจสอบความถูกตองอีกครั้งหนึ่ง หาก ตองการพิมพเอกสารใบแจงยอดชําระเงินใหคลิกที่เครื่องหมาย เพื่อพิมพใบแจงยอดการ ชําระเงิน


๒๐ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช เอกสารที่เกี่ยวของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คํารองทั่วไป ภาคการศึกษาที่................../……………. เรียน/นมัสการ…………………………………………………………………….. ขาพเจา…………………………………รหัสประจําตัวนิสิต………………………….….……………………. คณะ...........................................................ชั้นป.............................สาขาวิชา.................................... อาจารยที่ปรึกษา ชื่อ......................................................................................................................... มีความประสงค (โปรดระบุ) ...................................................................... ................................................................................. ...................................................................................................................................................... จึงเรียน/นมัสการมาเพื่อโปรดพิจารณา ลงชื่อ.................................................. (.........................................................) ............../........................../.............. ความเห็นอาจารยที่ปรึกษา ความเห็นหัวหนาภาควิชา / หัวหนาสาขาวิชา ………………………………………………… ………………………………..………………… ……………………………………..………... ……………………………………..…………… ลงชื่อ…………………………..……………………….. ลงชื่อ…………………………..……………………….. (…………………………………………………………..) (…………………………………………………………..) ………/………..…/……… ………/………..…/……… รับทราบ ………………………………………………..………… ……………………………………..…………………… ลงชื่อ…………………………..……………………….. งานทะเบียนนิสิต ………/………..…/……… ท.๑๖ /๑


๒๑ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ใบลงทะเบียนเรียน ชื่อ………………………………..……….….ฉายา………………………...…………นามสกุล…………………..…..……...…… รหัสประจําตัวนิสิต……………………..คณะ…………………..…….…………ชั้นปที่………….ปการศึกษา…..………… สาขาวิชา………………………………….……อาจารยที่ปรึกษาชื่อ……………………………………………………………… ขอลงทะเบียนเรียนภาคเรียนที่……………….….ปการศึกษา…………………………………..ในรายวิชาดังตอไปนี้ ที่ รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หนวยกิต เปนรายวิชาเปดสอน คณะ/สาขา/ชั้นป ชื่อผูสอน หมายเหตุ รวม ลงชื่อ…………………………………… ……./……………/…….. ลงชื่อ………………………………….. ลงชื่อ………………………………….. (อาจารยที่ปรึกษา) (เจาหนาที่รับลงทะเบียน) ……......./…………./……..……. ……......./…………./……..……. หมายเหตุ ใหนิสิตติดตอลงทะเบียนหลังจากเปดภาคการศึกษาภายในเวลาที่กําหนด ในปฏิทินการศึกษานั้นๆ หากเกินเวลาที่กําหนดไมมีสิทธิ์ลงทะเบียนเรียนนิสิตที่ลงทะเบียนเรียนเกิน ๒๒ หนวยกิต ตองไดรับ การอนุมัติจากคณบดี/ผูอํานวยการวิทยาลัย จึงจะสามารถลงทะเบียนเรียนได


๒๒ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คํารองขอลาพักการศึกษา/รักษาสถานภาพ เรียน/นมัสการ ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขาพเจา...........……….……ฉายา…………………นามสกุล………….รหัสประจําตัวนิสิต.......………… คณะ..........………ชั้นปที่………ปการศึกษา.………สาขาวิชา….……….อาจารยที่ปรึกษา ชื่อ..................... คะแนนเฉลี่ยสะสม ………ลงทะเบียนครั้งสุดทายในภาคการศึกษาที่….….. ปการศึกษาที่………………..… มีความประสงค�ขอลาพักการศึกษา�ขอรักษาสถานภาพเนื่องจาก ............................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดยขอลาพักการศึกษาเปนระยะเวลา………………..…ภาคการศึกษา คือภาคการศึกษาที่……………..…… ปการศึกษา………………และภาคการศึกษาที่…………ปการศึกษา……………..………………………….………… ในระหวางที่ลาพักการศึกษาขาพเจาอาศัยอยูบานเลขที่.........หมูที่...........วัด......................................... ตําบล/แขวง.....................อําเภอ/เขต.........................................จังหวัด............................………………… รหัสไปรษณีย.........…………………โทร...................................…………….....………………...……………………... จึงเรียน/นมัสการมาเพื่อโปรดพิจารณา ลงชื่อ..............………………………………ผูยื่นคํารอง ………/……….………/……… ความเห็นอาจารยที่ปรึกษาความเห็นหัวหนาภาควิชา …………………………………………….……………………………………………………..………………… ……………………………………………..……….………………………………………………………. ลงชื่อ……………………………………… ลงชื่อ……………………..……………………. ………./………………./……….. ………./………………./……… …………………………………………….………………………… ……………………………………………..………. ลงชื่อ………………………………………. งานทะเบียนและวัดผล ………./………./………..


๒๓ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คํารองขอเพิ่ม/ถอนรายวิชา เรียน/นมัสการ ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขาพเจา…………………….….………ฉายา…………....…….……นามสกุล……….……................………… รหัสประจําตัวนิสิต………………………………..คณะ………………………..ชั้นปที่……….….. ปการศึกษา…….…… สาขาวิชา……………………………………..……..อาจารยที่ปรึกษาชื่อ……………………………………………………..… ภาคการศึกษาที่……….…./……..……ไดลงทะเบียนเรียนรายวิชาแลว จํานวน……………….…………หนวยกิต มีความประสงคขอ O เพิ่มรายวิชา O ถอนรายวิชา ดังนี้ ลงชื่อ…………….………………….…..………ผูยื่นคํารอง ….………/………………../……….… ความเห็นอาจารยที่ปรึกษารับทราบ ………………………………………………………. ลงชื่อ…………………………………. ลงชื่อ……………………………..………………. งานทะเบียนนิสิต …….……./……….……../…………. ...………./…………../……….. ที่ รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หนวยกิต ภาควิชา อาจารย ประจํา วิชา ลายมือชื่ออาจารย ประจําวิชา รวมวิชาที่เพิ่ม/ถอน ทั้งหมด รวมวิชาที่ ลงทะเบียนเรียน ท.04


๒๔ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนที่ 3 การเพิ่ม/ถอนรายวิชา คําอธิบายขั้นตอนการเพิ่ม/ถอนรายวิชา หลักการและเหตุผล การขอเพิ่มรายวิชา นิสิตอาจจะขอเพิ่มรายวิชาได กรณีที่ยายสังกัด/คณะ หรือเทียบโอน เพื่อจะตอง เก็บรายวิชาที่ยังไมไดเรียน โดยไดรับอนุมัติจากอาจารยผูสอนและอาจารยที่ปรึกษาเสียกอน และตองยื่นใบคํา รองภายใน ๑๕ วันแรกของภาคการศึกษาปกติ และ ๗ วันแรกของภาคการศึกษาฤดูรอนกรณีนิสิตไมยื่นใบคํา รองตามวันเวลาที่กําหนด ใหนิสิตเขียนคํารองทั่วไปพรอมทั้งระบุสาเหตุที่ไมสามารถเพิ่มถอนรายวิชาไดตาม กําหนดแลวขออนุมัติจากคณบดี และผูอํานวยการสํานักทะเบียนและวัดผลตามลําดับการขอถอนรายวิชานิสิต อาจจะขอถอนรายวิชาได กรณีที่นิสิตมีเกรดเฉลี่ยสะสมต่ํากวาเกณฑที่กําหนดหรือลงรายวิชาผิด จะตองไดรับ อนุมัติจากอาจารยผูสอนและอาจารยที่ปรึกษา และตองยื่นใบคํารองดวยตนเองภายในเงื่อนไข และใหมีผล ดังตอไปนี้ -ถอนภายใน ๑๕ วันแรกของภาคการศึกษาปกติ และ ๗ วันแรกของภาคการศึกษาฤดูรอน รายวิชา นั้นจะ ไมปรากฏสัญลักษณ W ในระเบียน -ถอนภายใน ๑๕ วันแรก แตยังไมเกิน ๔๕ วันแรกของภาคการศึกษาปกติ และ ๗ วันแรก แตยังไม เกิน ๒๐ วันแรกของภาคการศึกษาฤดูรอน รายวิชานั้นจะปรากฏสัญลักษณ W ในระเบียน ทั้งนี้ และตองมี เวลาเรียนในรายวิชานั้นมาแลวไมนอยกวารอยละ ๘๐ หมายเหตุ :- การถอนรายวิชาซึ่งไมเปนไปตามเงื่อนไขที่ระบุไว นิสิตจะไดรับระดับ F ในรายวิชานั้น และใหนํามาคํานวณคาระดับเฉลี่ยสะสมดวย


๒๕ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียน


๒๖ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนการปฏิบัติ มีดังนี้ -เขียนแบบฟอรม ท.๐๓ -ขออนุมัติจากอาจารยประจําวิชา อาจารยที่ปรึกษา -ยื่นคํารองใหเจาหนาที่ทะเบียนตรวจสอบและขออนุมัติจาผูอํานวยการสวน ทะเบียนนิสิต -ดําเนินการเพิ่มถอนรายวิชา -รอรับใบแจงยอด (คาหนวยกิต + คาธรรมเนียมตาง ๆ) -ชําระเงินที่การเงิน เอกสารที่เกี่ยวของ


๒๗ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนที่ 4 การลงทะเบียนซอมเสริม คําอธิบายการลงทะเบียนเรียนซอมเสริม หลักการและเหตุผล การลงทะเบียนเรียนซอมเสริมทั้งภาคปกติและภาคฤดูรอนนั้น กระทําไดโดยเจาหนาที่ ดังนั้นนิสิตที่มี ความประสงคจะลงทะเบียนเรียนซอมเสริม จําเปนตองทราบขอมูลตางๆ ดังนี้ ๑) ตองเปนรายวิชาที่เปดสอนในภาคการศึกษานั้นๆ หรือไดรับการอนุมัติจากมหาวิทยาลัยใหเปดสอน ๒) การลงทะเบียนเรียนซอมเสริมใหนับหนวยกิตรวมกับหนวยกิตในรายวิชาปกติที่ลงทะเบียนแลวใน ภาคการศึกษานั้นๆ ทั้งนี้รวมกันตองไมเกินกวา ๒๒ หนวยกิต ตามขอบังคับมหาวิทยาลัย ๓) ตองไดรับการอนุมัติจากอาจารยประจํารายวิชานั้นๆ กอนลงทะเบียนเรียน ๔) การสอบปลายภาคอาจจัดใหเฉพาะสําหรับรายวิชาซอมเสริม ทั้งนี้ตองไมกระทบกับรายวิชาปกติที่ ทําการสอบ ๕) นิสิตจะตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด ขั้นตอนการปฏิบัติ มีดังนี้ -เขียนคํารองขอลงทะเบียนเรียนซอมเสริม -ขออนุมัติจากอาจารยประจําวิชา และอาจารยที่ปรึกษา -ยื่นคํารองใหเจาหนาที่ทะเบียนตรวจสอบและขออนุมัติจากผูอํานวยการวิทยาลัย -เจาหนาที่ดําเนินการลงทะเบียนเรียนภายใน ๑ วันทําการ -รอรับใบแจงยอด (คาหนวยกิต + คาธรรมเนียมตาง ๆ) -ชําระเงินที่การเงิน


๒๘ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนการลงทะเบียนซอมเสริม ภาคการศึกษาปกติ ภาคฤดูรอน ตองเปนรายวิชาที่เปดสอน ในภาคการศึกษา เปดสํารวจรายวิชาที่จะเปด นั้นๆเรียนซอมเสริมกอนสอบปลายภาค 1 เดือน คํารองทั่วไป เขียนคํารองขอ ขออนุมัติจากมหาวิทยาลัย ลงทะเบียนเรียนซอมเสริม และเชิญอาจารยผูบรรยาย ขอรับการอนุมัติจาก ขอรับการอนุมัติจาก อาจารยประจําวิชา คณบดี/คณะกรรมการประจํา อาจารยที่ปรึกษา ผูอํานวยการสํานักทะเบียน และวัดผล ผูอํานวยการสวนทะเบียนนิสิต ไมอนุมัติ อนุมัติ เจาหนาที่ลงทะเบียนเรียน ชําระคาลงทะเบียน


๒๙ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช เอกสารที่เกี่ยวของ


๓๐ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนที่ 5 การลงทะเบียนโอนหรือเทียบโอนผลการศึกษา คําอธิบายการโอนหรือเทียบโอนผลการศึกษา หลักการและเหตุผล ตามประกาศมหาวิทยาลัยฯ เรื่อง หลักเกณฑการโอนและการเทียบโอนผลการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๒ เรื่องการเทียบโอนผลการศึกษา กําหนดไวดังตอไปนี้ ๑) วุฒิการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเทาจากสถาบันการศึกษาในประเทศไทย เทียบโอนผล การศึกษาในหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิตไดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปจํานวน ๓๐ หนวยกิต ๒) วุฒิการศึกษาเปรียญธรรม ๙ ประโยค บาลีศึกษา ๙ ประโยค และอภิธรรมบัณฑิต เทียบโอนผล การศึกษาในหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต ๑๕๐ หนวยกิต ไดจํานวน ๘๐ หนวยกิต คือ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จํานวน ๓๐ หนวยกิตและวิชาแกนพระพุทธศาสนา จํานวน ๕๐ หนวยกิต ๓) วุฒิการศึกษาเปรียญธรรม ๙ ประโยค บาลีศึกษา ๙ ประโยค และอภิธรรมบัณฑิต เทียบโอนผล การศึกษาในหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต ๑๔๐ หนวยกิต ไดจํานวน ๖๐ หนวยกิต คือ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จํานวน ๓๐ หนวยกิตและวิชาแกนพระพุทธศาสนา จํานวน ๓๐ หนวยกิต ๔) วุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีจากสถาบันอุดมศึกษาอื่นที่จัดการศึกษาดานพระพุทธศาสนาที่ มหาวิทยาลัยรับรอง เทียบโอนผลการศึกษาในหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต ไดจํานวน ๖๐ หนวยกิต คือ หมวด วิชาศึกษาทั่วไป จํานวน ๓๐ หนวยกิตและวิชาแกนพระพุทธศาสนา จํานวน ๓๐ หนวยกิต ๕) วุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีจากสถาบันอุดมศึกษาอื่นที่มหาวิทยาลัยรับรองเทียบโอนผล การศึกษาในหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิตไดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จํานวน ๓๐ หนวยกิต


๓๑ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนการโอนหรือเทียบโอนผลการศึกษา นิสิตตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องตน ตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย เขียนคํารองขอเทียบโอนผลการศึกษา พรอมแนบวุฒิการศึกษา ขออนุมัติจากอาจารยที่ปรึกษา ยื่นคํารองพรอมวุฒิการศึกษาให เจาหนาที่ทะเบียนตรวจสอบ ผาน เจาหนาที่บันทึกรายวิชาลงในระบบ อนุมัติ ขออนุมัติจากผูอํานวยการสวนทะเบียนนิสิต ออกหนังสือถึงคณะ/ภาควิชา เจาหนาที่บันทึก ไมอนุมัติ ภาควิชาพิจารณาในเบื้องตน เกรดลงในระบบ ขออนุมัติจากคณะกรรมการประจําคณะ แจงนิสิตทราบ ชําระคาธรรมเนียมการเทียบวุฒิการศึกษา


๓๒ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช รายวิชาที่โอนหรือเทียบโอนได หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จํานวน ๓๐ หนวยกิต ประกอบดวย ๑) ๐๐๐ ๑๐๑ มนุษยกับสังคม ๒ (๒-๐-๔) ๒) ๐๐๐ ๑๐๒ กฎหมายทั่วไป ๒ (๒-๐-๔) ๓) ๐๐๐ ๑๐๗ เทคนิคการศึกษาระดับอุดมศึกษา ๒ (๒-๐-๔) ๔) ๐๐๐ ๑๐๘ ปรัชญาเบื้องตน ๒ (๒-๐-๔) ๕) ๐๐๐ ๑๐๙ ศาสนาทั่วไป ๒ (๒-๐-๔) ๖) ๐๐๐ ๑๑๔ ภาษากับการสื่อสาร ๒ (๒-๐-๔) ๗) ๐๐๐ ๑๑๕ ภาษาศาสตรเบื้องตน ๒ (๒-๐-๔) ๘) ๐๐๐ ๑๓๙ คณิตศาสตรเบื้องตน ๒ (๒-๐-๔) ๙) ๐๐๐ ๒๑๐ ตรรกศาสตรเบื้องตน ๒ (๒-๐-๔) ๑๐) ๐๐๐ ๒๓๘ สถิติเบื้องตนและการวิจัย ๒ (๒-๐-๔) ๑๑) ๐๐๐ ๑๐๓ การเมืองกับการปกครองของไทย ๒ (๒-๐-๔) ๑๒) ๐๐๐ ๑๐๔ เศรษฐศาสตรในชีวิตประจําวัน ๒ (๒-๐-๔) ๑๓) ๐๐๐ ๑๑๖ ภาษาอังกฤษเบื้องตน ๒ (๒-๐-๔) ๑๔) ๐๐๐ ๑๑๗ ภาษาอังกฤษชั้นสูง ๒ (๒-๐-๔) ๑๕) ๐๐๐ ๒๑๑ วัฒนธรรมไทย ๒ (๒-๐-๔) ๑๖) ๐๐๐ ๒๔๒ พื้นฐานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ ๒ (๒-๐-๔) ***รวม ๓๐ หนวยกิต ยกเวนวิชา ๐๐๐๒๑๐ ตรรกศาสตรเบื้องตน ไมนับหนวยกิต หมวดวิชาแกนพระพุทธศาสนา จํานวน ๓๐ หนวยกิต ประกอบดวย ๑) ๐๐๐ ๑๔๔ วรรณคดีบาลี ๒ (๒-๐-๔) ๒) ๐๐๐ ๑๔๕ บาลีไวยากรณ ๒ (๒-๐-๔) ๓) ๐๐๐ ๑๔๗ พระไตรปฎกศึกษา ๒ (๒-๐-๔) ๔) ๐๐๐ ๑๔๘ พระวินัยปฎก ๒ (๒-๐-๔) ๕) ๐๐๐ ๑๔๙ พระสุตตันตปฎก ๒ (๒-๐-๔) ๖) ๐๐๐ ๑๕๐ พระอภิธรรมปฎก ๒ (๒-๐-๔) ๗) ๐๐๐ ๑๕๑ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๑ ๒ (๑-๒-๔) ๘) ๐๐๐ ๑๕๒ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๒ ๑ (๑-๒-๔) ๙) ๐๐๐ ๒๕๓ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๓ ๒ (๑-๒-๔) ๑๐) ๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๔ ๑ (๑-๒-๔) ๑๑) ๐๐๐ ๓๕๕ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๕ ๒ (๑-๒-๔) ๑๒) ๐๐๐ ๓๕๖ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๖ ๑ (๑-๒-๔)


๓๓ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ๑๓) ๐๐๐ ๔๕๗ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๗ ๑ (๑-๒-๔) ๑๔) ๐๐๐ ๑๕๘ ประวัติพระพุทธศาสนา ๒ (๒-๐-๔) ๑๕) ๐๐๐ ๒๕๙ เทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา ๒ (๒-๐-๔) ๑๖) ๐๐๐ ๒๖๐ การปกครองคณะสงฆไทย ๒ (๒-๐-๔) ๑๗) ๐๐๐ ๒๖๑ ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ ๒ (๒-๐-๔) ๑๘) ๐๐๐ ๒๖๒ ธรรมนิเทศ ๒ (๒-๐-๔) ๑๙) ๐๐๐ ๒๖๓ งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ๒ (๒-๐-๔) ๒๐) ๐๐๐ ๒๔๖ บาลีไวยากรณชั้นสูง ๒(๒-๐-๔) ***รวม ๓๐ หนวยกิต ยกเวนวิชา ๐๐๐ ๑๕๑ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๑ ๐๐๐ ๒๕๓ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๓ ๐๐๐ ๓๕๕ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๕ ไมนับหนวยกิต ขั้นตอนการดําเนินการ ๑. นิสิตตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องตนตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย ๒.เขียนคํารองขอเทียบโอนผลการศึกษา พรอมแนบวุฒิการศึกษาและขออนุมัติจากอาจารยที่ปรึกษา ๓. ยื่นคํารองพรอมวุฒิการศึกษาใหเจาหนาที่ทะเบียนตรวจสอบ ๔. เมื่อเจาหนาที่ตรวจสอบในเบื้องตนแลว ขออนุมัติจากผูอํานวยการสวนทะเบียนนิสิต ๕. เจาหนาที่บันทึกรายวิชาลงในระบบทะเบียนนิสิต ๕. ผูอํานวยการสวนทะเบียนนิสิตทําหนังสือถึงคณบดีเพื่อขออนุมัติเทียบโอน ๖. คณบดีโดยการอนุมัติจากคณะกรรมการประจําคณะอนุมัติเทียบโอนรายวิชาพรอมเกรด ๗. คณะแจงสวนทะเบียนนิสิตเพื่อทราบ ๘. เจาหนาที่บันทึกเกรดลงในระบบทะเบียนนิสิต พรอมแจงคาธรรมเนียมใหนิสิตทราบ ๙. นิสิตชําระคาธรรมเนียมการเทียบวุฒิการศึกษา


๓๔ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช เอกสารที่เกี่ยวของ ท. ๑๑ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คํารองขอเทียบโอนผลการศึกษา กราบเรียน/กราบนมัสการ …………….................…………………………….. ขาพเจา ………………………………………..………………… รหัสประจําตัวนิสิต ………………………… ปจจุบันเปนนิสิตคณะ………………………….…………….ชั้นปที่…………….สาขาวิชา…………………………………… มีความประสงคจะขอเทียบโอนหนวยกิตในรายวิชาที่ไดศึกษาจากสถาบันอื่น โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับ การศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาอื่น ดังนี้ ๑. ชื่อสถาบันอุดมศึกษา……………………………………………………………………………………………………….. ๒. คณะ ……………………….…………ภาควิชา……..……………………สาขาวิชา/วิชาเอก………………………... ๓. ระดับการศึกษาที่สําเร็จ �ปริญญาตรี �อนุปริญญาตรี �ไมสําเร็จการศึกษา อื่น ๆ (ระบุ)………………………………….……………………………………. ๔. � สําเร็จการศึกษา � พนจากสภาพเปนนักศึกษา เมื่อป พ.ศ…………………….……….. ๕. ไดแนบหลักฐานการศึกษาจากสถาบันเดิมมาดวย ดังนี้ ใบแสดงผลการศึกษา หลักสูตรการศึกษาของรายวิชาที่จะนํามาเทียบโอน อื่น ๆ (ระบุ)…………………………………………….………………. จึงกราบเรียน/กราบนมัสการมาเพื่อโปรดพิจารณา ความเห็นของเจาหนาที่ผูตรวจหลักฐาน ลงชื่อ………………………………… ไดตรวจสอบแลวปรากฏวารายวิชาที่นิสิตนํามา (..............................................) ขอโอนหนวยกิต � เปน � ไมเปนรายวิชาที่สามารถ …………/…………/……… เทียบโอนไดตามระเบียบมหาวิทยาลัย ลงชื่อ……………………………………….… (……………......…………............) ……./……../…….. ลงชื่อ…………………………………… ผูอํานวยการสวนทะเบียนนิสิต ……./……../…….


๓๕ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนที่ 6 การลงทะเบียนเรียนรายวิชาสามัญเพิ่มเติม (ป.ธ.๓) คําอธิบายการลงทะเบียนเรียนรายวิชาสามัญเพิ่มเติม (ป.ธ.๓) หลักการและเหตุผล ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๕๕๐ ขอ ๖ กําหนดคุณสมบัติของผูสมัครเขาศึกษาไวดังนี้ คุณสมบัติของพระภิกษุสามเณรผูสมัครเขาศึกษา (๑) เปนผูสอบไดเปรียญธรรม ๓ ประโยคและตองศึกษาวิชาสามัญเพิ่มเติมตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด คุณสมบัติของคฤหัสถผูสมัครเขาศึกษา (2) เปนผูสอบไดเปรียญธรรมหรือบาลีศึกษา ๓ ประโยคและตองศึกษาวิชาสามัญเพิ่มเติมตามที่ มหาวิทยาลัยกําหนด วิชาสามัญตามที่ระบุไวในเบื้องตน มหาวิทยาลัยไดกําหนดเปนหลักสูตรสัมฤทธิบัตรวิชาสามัญเพิ่มเติม มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรดังกลาวดําเนินการเรียนการสอนโดยภาควิชาหลักสูตรและการสอนคณะครุศาสตร โดย จัดการเรียนการสอนเทียบเคียงกับหลักสูตรปริญญาตรี โครงสรางของหลักสูตร ประกอบดวย กลุมหมวดวิชาพื้นฐาน จํานวน ๒๘ หนวยกิต ไดแกคือ วิชาคณิตศาสตร๑-๒ วิชาวิทยาศาสตร๑-๒ และวิชาภาษาอังกฤษ ๑-๒ กลุมหมวดประสบการณวิชาชีพ จํานวน ๔๘ หนวยกิต ไดแก วิชาภาษาไทย วิชาการพัฒนาสังคมและ ชุมชน วิชาพัฒนาทักษะชีวิต ๑ และ ๒ วิชาพัฒนาอาชีพ ขั้นตอนการดําเนินการ ๑. นิสิตยื่นความประสงคลงทะเบียนเรียนและเทียบโอนผลการศึกษากับเจาหนาที่ ๒. เจาหนาที่ออกรหัสนิสิตเฉพาะหลักสูตรตางหากจากรหัสนิสิตปกติและลงทะเบียนเรียนใหภาค การศึกษาละ ๓ วิชา คือ วิชาคณิตศาสตร วิชาวิทยาศาสตร และวิชาภาษาอังกฤษ ๓. นิสิตชําระคาธรรมเนียม (เหมาจาย) ๔. นิสิตเขาเรียนกับอาจารยตามตารางเรียนตารางสอน ภาคการศึกษาละ ๑๖ สัปดาหจํานวน ๒ ภาคการศึกษา ๕. อาจารยประจําวิชาทดสอบและออกผลการเรียนใหเจาหนาที่ทะเบียนลงในระบบ ๖. สวนประเมินผลการศึกษารวบรวมรายชื่อผูสําเร็จการศึกษาเพื่อขออนุมัติตอสภาวิชาการเพื่อ เห็นชอบแลวเสนอสภามหาวิทยาลัยอนุมัติ ๗. เมื่อสภามหาวิทยาลัยอนุมัติแลว นิสิตสามารถขอหนังสือรับรอง/ใบแสดงผลการศึกษาได


๓๖ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ตัวอยางผลการเรียน ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียนรายวิชาสามัญเพิ่มเติม (ป.ธ.๓) นิสิตยื่นความประสงค ลงทะเบียนเรียนกับเจาหนาที่ เจาหนาที่ออกรหัสนิสิต และลงทะเบียนเรียน ชําระคาธรรมเนียม เขาเรียนภาคการศึกษา ละ ๑๖ สัปดาห จํานวน ๒ ภาคการศึกษา


๓๗ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนที่ 7 การยายคณะ/หลักสูตร/สาขาวิชา คําอธิบายการยายสาขาวิชา ยายคณะ ยายวิทยาเขต หลักการและเหตุผล ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี(ฉบับที่๒) พุทธศักราช ๒๕๕๐ หมวดที่ ๖ การยายโอนสังกัดและหนวยกิต ขอ ๖๒ การยายโอนสังกัดหรือคณะหรือวิทยาลัยอาจทําไดในกรณีดังตอไปนี้ ๖๒.๑ นิสิตจะมีสิทธิขอยายสังกัดคณะหรือวิทยาลัยที่ไดศึกษาอยูไปอยูในสังกัดอีกคณะหนึ่ง ไดตอเมื่อไดศึกษาในคณะหรือวิทยาลัยที่กําลังศึกษาอยูมาแลวไมนอยกวา ๒ ภาคการศึกษาปกติไมนับภาค การศึกษาที่ลาพักถูกสั่งพักหรือถูกถอนชื่อออกจากทะเบียนนิสิตและตองไดคาระดับเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา ๑.๗๕ ๖๒.๒ การขอยายโอนสังกัดคณะหรือวิทยาลัยใหนิสิตผูประสงคจะขอยายโอนสังกัดแสดง ความจํานงเปนลายลักษณอักษรพรอมเหตุผลประกอบยื่นตอคณบดีหรือผูอํานวยการวิทยาลัยที่ตนสังกัดอยาง ชา ๑๕ วันกอนวันเปดภาคการศึกษาปกติ ใหคณบดีหรือผูอํานวยการวิทยาลัยที่นิสิตสังกัดอยูสงคําขอยายโอนพรอมขอคิดเห็นประกอบ ไปยังคณะหรือวิทยาลัยที่นิสิตขอยายโอนไปสังกัดเพื่อศึกษานั้น การจะอนุมัติหรือไมใหอยูในดุลพินิจของคณะกรรมการประจําคณะหรือคณะกรรมการ ประจําวิทยาลัยที่เกี่ยวของเมื่อไดรับอนุมัติใหยายโอนสังกัดแลวตองเสียคาธรรมเนียมตามที่มหาวิทยาลัย กําหนด ๖๒.๓ การยายโอนคณะหรือวิทยาลัยตองดําเนินการใหเสร็จกอนจะลงทะเบียนรายวิชาเวน แตอธิการบดีจะประกาศหรือสั่งการเปนอยางอื่น ๖๒.๔ ใหคณะกรรมการประจําคณะหรือคณะกรรมการประจําวิทยาลัยที่รับยายโอนมีอํานาจ พิจารณาเทียบรายวิชาและหนวยกิตที่นิสิตผูนั้นไดศึกษาไวแลวเพื่อกําหนดเงื่อนไขการศึกษาและจํานวนหนวย กิตที่จะตองศึกษาใหมในคณะหรือวิทยาลัยที่รับยายโอน ใหคณะหรือวิทยาลัยที่รับยายโอนดําเนินการตามความในวรรคแรกใหเสร็จสิ้นและแจงผล ให กองทะเบียนและวัดผลทราบกอนวันลงทะเบียนเรียนของภาคการศึกษานั้นๆ ๖๒.๕ การนับระยะเวลาการศึกษาตามขอ ๕๖, ๕๘.๓ และขอ ๖๔.๑ใหนับระยะเวลา การศึกษาในคณะเดิมรวมดวย ขอ ๖๓ สําหรับนิสิตที่ยายโอนคณะหรือวิทยาลัยภายในมหาวิทยาลัยใหนําผลการศึกษา ของรายวิชา ตางๆที่ไดศึกษาจากคณะหรือวิทยาลัยเดิมมาคํานวณคาระดับเฉลี่ยสะสมดวย แมรายวิชาที่นิสิตผูยายโอนคณะ ไดศึกษาจะไมตรงกับหลักสูตรของคณะหรือวิทยาลัยที่สังกัดใหมก็ตามสําหรับนิสิตที่โอนคณะหรือวิทยาลัยมา


๓๘ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช จากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาอื่น ใหทําการประเมินผลเฉพาะรายวิชาที่ไดศึกษาในมหาวิทยาลัยนี้ เทานั้น ในกรณีที่นิสิตมหาวิทยาลัยไดรับอนุมัติจากคณบดีหรือผูอํานวยการวิทยาลัยที่ตนสังกัด ใหลงทะเบียน เรียนบางรายวิชาในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาอื่นใหนําผลการศึกษา ของรายวิชานั้นๆมาคํานวณหา คาระดับเฉลี่ยดวย ขั้นตอนการยายสาขาวิชาและคณะ ๑. นิสิตเขียนคํารองขอยายวิทยาเขต วิทยาลัยสงฆ หองเรียน หนวยวิทยาลัยสงฆ ๒. ขออนุมัติจากอาจารยที่ปรึกษา หัวหนาภาควิชา และคณบดี ตามลําดับ ๓. ยื่นคํารองใหเจาหนาที่ เพื่อขออนุมัติจากผูอํานวยการสํานักทะเบียนและวัดผล ๔. ขอหนังสือสงตัวจากคณะ และขอหนังสือรับรองผลการศึกษาและประวัติเอกสารตางๆ จาก เจาหนาที่ทะเบียน ๕. ยื่นหนังสือสงตัว และเอกสารตางๆที่หนวยงานปลายทางรองขอ ๖. ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆรับทราบและอนุมัติ ๗. เจาหนาที่ทะเบียนสวนงานปลายทางรับเอกสารและดําเนินการยายนิสิตในระบบพรอมทั้ง ลงทะเบียนเรียน ๘. ชําระคาธรรมเนียมตางๆ ขั้นตอนการขอยายสาขาวิชา เขียนคํารองทั่วไป เพื่อขอยายสาขาวิชา ขออนุมัติจาก อาจารยที่ปรึกษา หัวหนาภาควิชาเดิม คณบดี ยื่นคํารองใหเจาหนาที่ ผูอํานวยการสวนทะเบียนนิสิต รับทราบ เจาหนาที่ยายสาขาวิชาในระบบ ชําระคาธรรมเนียม


๓๙ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนการขอยายคณะ เขียนคํารองขอยายคณะ ขออนุมัติจาก หัวหนาวิชาเดิม คณบดีเดิม ขออนุมัติจาก หัวหนาภาควิชาใหม คณบดีใหม ยื่นคํารองใหเจาหนาที่ ผูอํานวยการสํานักทะเบียนและวัดผล รับทราบ/อนุมัติ เจาหนาที่ยายคณะวิชาในระบบ ชําระคาธรรมเนียม


๔๐ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนการยายสาขาวิชา ยายคณะ ยายวิทยาเขต เขียนคํารองทั่วไป เพื่อขอยายวิทยาลัย/วิทยาเขต ขออนุมัติจาก ยื่นคํารองใหเจาหนาที่ อาจารยที่ปรึกษา งานสํานักทะเบียนและวัดผล รับทราบ วิทยาลัยออกหนังสือสงตัวนิสิต ออกผลการเรียน ถึงวิทยาลัยปลายทาง ประวัติ ยื่นเอกสารทั้งหมดให ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆ เพื่อทราบและอนุมัติ เจาหนาที่ทะเบียน ประจําวิทยาลัยสงฆดําเนินการยาย นิสิตเขาสังกัด พรอมลงทะเบียนเรียน


๔๑ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช เอกสารที่เกี่ยวของ


๔๒ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช


๔๓ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนที่ 8 การขอพักการศึกษา/รักษาสถานภาพ/ขอกลับเขาศึกษา คําอธิบายการขอพักการศึกษา การรักษาสถานภาพและการขอกลับเขามาศึกษา หลักการและเหตุผล การลาพัก กรณี ที่นิสิตมีความจําเปนจะขอหยุดพักการศึกษาภาคการศึกษาใดภาคการศึกษาหนึ่ง นิสิตตองยื่นใบคํารองกอนเปดภาคการศึกษาหรืออยางชาภายใน ๗ วัน นับจากวันที่เปดภาคการศึกษา การรักษาสถานภาพ กรณี ที่นิสิตมีความจําเปนจะขอรักษาสถานภาพภาคการศึกษาใดภาคการศึกษา หนึ่งนิสิตตองยื่นใบคํารองกอนเปดภาคการศึกษาหรืออยางชาภายใน ๗ วัน นับจากวันที่เปดภาคการศึกษา การขอกลับเขามาศึกษากรณี ที่นิสิตไดลงทะเบียนลาพักหรือรักษาสถานภาพไวในกรณีที่มีความ ประสงคจะกลับมาศึกษาตออีกครั้ง ใหนิสิตตองยื่นใบคํารองกอนเปดภาคการศึกษาหรืออยางชาภายใน ๗ วัน นับจากวันที่เปดภาคการศึกษาเพื่อขออนุมัติตามลําดับ ขั้นตอนการขอพักการศึกษา การรักษาสถานภาพและการขอกลับเขามาศึกษา ๑. นิสิตเขียนคํารองขอพักการศึกษา การรักษาสถานภาพและการขอกลับเขามาศึกษา ๒. ขออนุมัติจากอาจารยที่ปรึกษา หัวหนาภาควิชา และคณบดี ตามลําดับ ๓. ยื่นคํารองใหเจาหนาที่ เพื่อขออนุมัติจากผูอํานวยการสํานักทะเบียนและวัดผล ๔. เจาหนาที่ปรับสถานะในระบบและลงทะเบียน ๕. ชําระคาธรรมเนียมตางๆ


๔๔ คูมือนิสิตใหม ประจําปการศึกษา 2566 วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ขั้นตอนการขอพักการศึกษา การรักษาสถานภาพ และการขอกลับเขามาศึกษา เขียนคํารองขอพักการศึกษา/การรักษาสถานภาพ /การขอกลับเขามาศึกษา ขออนุมัติจาก อาจารยที่ปรึกษา หัวหนาภาควิชาและ คณบดี ยื่นคํารองใหเจาหนาที่ ผูอํานวยการสํานักทะเบียนและวัดผล รับทราบ เจาหนาที่บันทึกลงในระบบ ชําระคาธรรมเนียม


Click to View FlipBook Version