The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

9 ครูมีแผนบูรณาการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by parinyapornmon, 2021-12-23 02:28:28

9 ครูมีแผนบูรณาการ

9 ครูมีแผนบูรณาการ

แผนการจดั ประสบการณ์
หน่วยการเรียนรู้ ของเล่น ของใช้ ระดบั ชนั้ อนุบาล 1

กิจกรรมสร้างสรรค์ การประดิษฐ์สายรดั ข้อมอื

1.จุดประสงค์
1. พฒั นาการกลา้ มเน้อื มดั เลก็ และตาใหส้ มั พนั ธก์ นั
2. การสรา้ งสรรคผ์ ลงานตามจนิ ตนาการ
3. สามารถบอกเลา่ เกย่ี วกบั ผลงานของตนเองได้
4. ฝึกระเบยี บวนิ ยั การเกบ็ สงิ่ ของตา่ งๆ เขา้ ท่ี

2.การบรู ณาการกบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
1 ความพอประมาณ
- การใชเ้ วลาในการทากจิ กรรมตามเวลาทก่ี าหนดใหอ้ ย่างเหมาะสม
- การเลอื กเลน่ มุมประสบการณท์ ต่ี นเองสนใจอยา่ งใดอย่างหนึง่
- เลอื กเลน่ ตามความสามารถของตนเอง
2 ความมีเหตุมีผล
- การมสี ่วนร่วมในการลงความเหน็ จากขอ้ มลู อย่างมเี หตุผล
- การตดั สนิ ใจและมสี ่วนรว่ มในกระบวนการแกป้ ัญหา
3 การมีภมู ิค้มุ กนั ในตวั ที่ดี

- การยอมรบั ความเหมอื นและความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล
- ฝึกระเบยี บวนิ ัยการเกบ็ สง่ิ ของตา่ งๆ เขา้ ท่ี
4 เงอ่ื นไขความรู้
- พฒั นาการกลา้ มเน้อื มดั เลก็ และตาใหส้ มั พนั ธก์ นั
5 เงอ่ื นไขคณุ ธรรม
- การใชว้ สั ดุและสงิ่ ของเคร่อื งใชอ้ ยา่ งรคู้ ุณค่า
- แสดงความรกั เพ่อื นช่วยเหลอื แบง่ ปันสง่ิ ของผอู้ ่นื ไดด้ ว้ ยตนเอง
- รจู้ กั ขออนุญาตหรอื รอคอยเม่อื ตอ้ งการสง่ิ ของ

3.กิจกรรมการเรียนรู้

ขนั้ นา

1. ครูใหเ้ ดก็ นงั่ เป็นกลุม่ กลุ่มละ 4 คน แลว้ แจกอปุ กรณใ์ นการทากจิ กรรมใหเ้ ดก็ ทกุ กลมุ่ โดยครู
ตดั กระดาษขาวเป็นแถบยาว ขนาด 420 เซนตเิ มตร สาหรบั ทาสายรดั ขอ้ มอื เตรยี มไวใ้ หค้ รบ
ตามจานวนเดก็

2. ครูแนะนาและสาธติ วธิ กี ารประดษิ ฐส์ ายรดั ขอ้ มอื ใหเ้ ดก็ ฟัง โดยวาดตกแต่งลวดลายตาม
ความชอบลงบนแถบกระดาษ แลว้ ทากาวทป่ี ลายกระดาษทงั้ 2 ขา้ ง ตดิ ประกอบเป็นสายรดั
ขอ้ มอื สาหรบั ใชส้ วมใส่

ขนั้ สอน
3. ครูใหเ้ ดก็ ๆลงมอื ประดษิ ฐ์สายรดั ขอ้ มอื ตามขนั้ ตอนทค่ี รูแนะนาและใหเ้ ดก็ ๆ ตกแต่งลวดลายตาม

จนิ ตนาการ
ขนั้ สรปุ

4. ครูใหเ้ ดก็ บอกเลา่ ผลงานใหเ้ พ่อื นฟัง และครูจดบนั ทกึ ลงบนผลงาน
5. เดก็ ๆ ชว่ ยกนั เกบ็ วสั ดอุ ุปกรณเ์ ขา้ ท่ี และทาความสะอาดโต๊ะกจิ กรรม เพอ่ื เป็นการฝึกระเบยี บ

วนิ ัย การเกบ็ สงิ่ ของตา่ งๆ เขา้ ทไ่ี ดอ้ ยา่ เป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยซงึ่ สอดคลอ้ งกบั คณุ ธรรมอตั
ลกั ษณข์ องโรงเรยี นขอ้ ท่ี 1 เร่อื ง วนิ ัยดี
4.ประเมินผล
1. สงั เกตการใชก้ ลา้ มเน้อื มดั เลก็ และตาใหส้ มั พนั ธก์ นั
2. สงั เกตผลงาน
3. สงั เกตการณ์บอกเลา่ เกยี่ วกบั ผลงานของตนเอง
4. สงั เกตการณจ์ ดั เกบ็ สง่ิ ของตา่ งๆ เขา้ ทไ่ี ดอ้ ย่างเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย

5.ส่ือการเรียนรู้
1. สเี ทยี น ดนิ สอสี สเี มจกิ
2. กาว

บนั ทึกหลงั สอน

.................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................
...........................................................................................................................................................
...................
...........................................................................................................................................................
...................

................................................. ลงช่อื

.................................................. (นางสาวปิยธดิ า แสงพทิ กั ษ)์
ขอ้ เสนอแนะจากผบู้ รหิ าร ครผู ูส้ อน

วนั ท่ี

.................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
.........................................................................

แผนการจัดประสบการณ์ ระดับอนุบาล 3 ภาคเรียนที่ 2

วนั ที่ 1 ระยะเวลาช่วงเดอื นฤดหู นาว หนว่ ย รอบร้ฤู ดกู าล

วันที่ 13 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2564

กิจกรรมเสรี

สาระท่ีควรเรียนรู้

การเล่นตามมุมประสบการณ์ เปดิ โอกาสให้เด็กเล่นอิสระตามมุมประสบการณห์ รือศูนยก์ ารเรียน ท่ีจดั

ไว้ในหอ้ งเรียน เช่น มมุ บล็อก มุมวทิ ยาศาสตร์หรือมุมธรรมชาตศิ ึกษา มมุ คณิตศาสตร์ มมุ บา้ น มุม

หนังสือ มมุ ศิลปะ มุมดนตรี มุมบทบาทสมมติ เปน็ ตน้

มาตรฐานคณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ / ประสบการณ์สำคัญ

รา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปญั ญา

มาตรฐานคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์

มฐ.1 มฐ.2 มฐ.3 มฐ.4 มฐ.5 มฐ.6 มฐ.7 มฐ.8 มฐ.9 มฐ.10 มฐ.11 มฐ.12

1.3 2.2 3.1, 3.2 4.1 5.1,5.2,5 6.2,6.3 7.2 8.1,8.2, 9.1 10.3 11.2 12.1,12.2

.3 8.3

ประสบการณส์ ำคัญ

1.1.2 การใช้ 1.2.1 สุนทรยี ภาพ ดนตรี 1.3.1 การปฏิบัติกิจวัตร 1.4.1 การใชภ้ าษา

กล้ามเน้อื เล็ก - การเลน่ บทบาทสมมติ ประจำวัน - การพูดแสดงความคิด ความรสู้ ึก และความ

- การเล่นเครอ่ื งเลน่ 1.2.2 การเลน่ - การปฏบิ ตั ิตนตามแนวทาง ตอ้ งการ

สัมผสั และการสร้าง - การเล่นอสิ ระ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ - การพูดอย่างสรา้ งสรรค์ในการเล่น และการ

ส่งิ ตา่ งๆ จากแท่งไม้ - การเล่นรายบุคคล กล่มุ ยอ่ ย พอเพียง กระทำต่างๆ

บล็อก และกลุม่ ใหญ่ 1.3.2 การดูแลรกั ษา 1.4.2 การคิดรวบยอด การคดิ เชงิ เหตผุ ล

- การหยบิ จับสงิ่ - การเลน่ ตามมมุ ธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม การตดั สินใจและแกป้ ัญหา

ตา่ งๆ การรอ้ ยวสั ดุ ประสบการณ์ - การใช้วสั ดุและส่งิ ของ - การเลน่ กบั ส่อื ตา่ งๆ ท่เี ปน็ ทรงกลม ทรง

1.1.5 การตระหนัก 1.2.3 คุณธรรม จรยิ ธรรม เครอื่ งใช้อยา่ งค้มุ คา่ สเ่ี หล่ียมมุมฉาก ทรงกระบอก ทรงกรวย

รู้เกยี่ วกับรา่ งกาย - การปฏิบตั ิตนตามหลกั 1.3.4 การมีปฏิสมั พนั ธ์ มี - การตัดสนิ ใจและมีส่วนรว่ มในกระบวนการ

ตนเอง ศาสนาทน่ี ับถอื วินัย มสี ว่ นรว่ ม และบทบาท แกป้ ญั หา

- การเคล่อื นไหว 1.2.4 การแสดงออกทาง สมาชกิ ของสังคม 1.4.3 จนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

ควบคมุ ตนเองไปใน อารมณ์ - การร่วมกำหนดข้อตกลง - การรับรู้ และแสดงความคดิ ความรสู้ ึกผ่าน

ทศิ ทาง ระดับ และ - การเล่นบทบาทสมมติ ของห้องเรียน สอื่ วัสดุ ของเลน่ และชิ้นงาน

พน้ื ท่ี 1.2.5 การมอี ัตลกั ษณ์เฉพาะ - การให้ความรว่ มมือในการ 1.4.4 เจตคตทิ ดี่ ีตอ่ การเรยี นรู้และการ

ตนและเช่ือวา่ ตนเองมี ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมต่างๆ แสวงหาความรู้

ความสามารถ 1.3.7 การยอมรับในความ - การสำรวจสิง่ ต่างๆ และแหลง่ เรียนรู้รอบตวั

- การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่างๆ เหมอื นและความแตกต่าง

ตามความสามารถของตนเอง ระหว่างบุคคล

- การเลน่ หรือทำกิจกรรม

ร่วมกับกลุม่ เพ่อื น

.

การบรู ณาการกับหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลักความพอประมาณ

- การใชเ้ วลาในการทำกจิ กรรมตามเวลาทกี่ ำหนดใหอ้ ย่างเหมาะสม

- การเลือกเล่นมมุ ประสบการณท์ ี่ตนเองสนใจอย่างใดอยา่ งหน่งึ

- การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตา่ งๆ ตามความสามารถของตนเอง

2. หลักความมีเหตุผล

- การมีสว่ นร่วมในการลงความเห็นจากข้อมลู อยา่ งมเี หตุผล

- การตัดสินใจและมีสว่ นรว่ มในกระบวนการแก้ปญั หา

3. หลกั มภี มู ิคมุ้ กัน

- การยอมรับความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล

4. เง่อื นไขความรู้

- มคี วามสามารถเลน่ มุมประสบการณต์ ่างๆไดถ้ ูกวิธี

- การปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลงในการทำกิจกรรม

5. เงอื่ นไขคุณธรรม

- รจู้ กั ขออนญุ าตหรอื รอคอย เมอ่ื ต้องการสิ่งของของผอู้ น่ื ดว้ ยตนเอง

- แสดงความรักเพอ่ื น ช่วยเหลือและแบ่งปนั สง่ิ ของผอู้ น่ื ไดด้ ว้ ยตนเอง

- การใช้วสั ดแุ ละส่ิงของเครอื่ งใชอ้ ยา่ งคมุ้ ค่า

6. การเช่ือมโยงสู่ 4 มิติ

มติ สิ งั คม - การเลน่ หรอื ทำกจิ กรรมร่วมกบั กลุ่มเพอ่ื นอย่างสนกุ สนาน แบง่ ปนั สิง่ ของกับผู้อน่ื

มิติวัตถุ - การใช้วัสดุและสิ่งของเคร่อื งใชอ้ ยา่ งค้มุ คา่

 จดุ ประสงค์
1. ส่งเสริมพัฒนาการ 4 ด้านผ่านการเล่น 2. มีทกั ษะทางดา้ นสังคมเลน่ รว่ มกับผูอ้ ่ืนได้

3. สง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม มคี วามอดทน เอ่ือเฟือ้ แบง่ ปัน และรู้จักการรอคอย

 กิจกรรมการเรียนรู้

1. เดก็ และครูรว่ มกนั ทบทวนมมุ ประสบการณ์ต่างๆ ในหอ้ งเรยี น และให้คดิ วางแผนการเล่น วา่ จะเล่น

อะไร ตามลำดับความสนใจของตนเอง

2. เด็กและครูรว่ มกนั สร้างขอ้ ตกลงในการเล่น เชน่

- เด็กไม่สง่ เสียงดงั ขณะเล่น - เม่ือเลน่ เสรจ็ เก็บของเลน่ เข้าท่ี

- รูจ้ ักแบ่งปันกนั เลน่ - เลน่ ของเล่นอยา่ งทะนถุ นอม ไมท่ ำลายใหเ้ สียหาย

- รู้จักขอบคณุ เม่อื ครูชว่ ยเหลือ ขอบใจเมอื่ เพอ่ื นชว่ ยเหลือ และขอโทษเม่อื ทำให้ผู้อืน่ เจ็บหรือ

เดือดรอ้ น

- เม่ือไดย้ ินสญั ญาณหยดุ (เคาะจังหวะ 2 ครงั้ ) ใหเ้ กบ็ ของเลน่ ทนั ที และมานั่งรวมกันทหี่ น้าหอ้ ง

3. เดก็ ๆ เลอื กเล่นตามท่ีคดิ ไว้อย่างอิสระ ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง และเมื่อไดย้ ินสัญญาณหยุดให้เก็บของเข้า

ที่ให้ เรยี บร้อย และมานัง่ รวมกันทีห่ นา้ ห้อง

4. ครูใหเ้ ด็กอาสาสมัครออกมาบอกเล่าถึงส่ิงทตี่ นเองเล่น ความรู้สกึ และปัญหาท่ีพบ รวมถงึ วิธีแกป้ ญั หา

อยา่ งไร



กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย แผนการจดั การเรียนรูท ่ี ๔ ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๑
หนวยการเรยี นรทู ี่ ๖ เรอ่ื ง โรงเรียนลูกชา ง เวลา ๑๕ ช่ัวโมง
เรอ่ื ง การอา นออกเสยี ง เวลา ๑ ช่ัวโมง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สาระสำคญั

การอ่านออกเสียงถกู ตอ้ งตามหลักเกณฑก์ ารอ่าน ชว่ ยให้ผู้อา่ นส่อื ความหมายกบั ผู้ฟ�งไดอ้ ย่างชดั เจน และ

สรปุ เรือ่ งราวทีอ่ า่ นได้

การมีมารยาทในการฟง� ดู พูด และการอา่ น ชว่ ยให้การติดต่อสอื่ สาร สะดวกราบรน่ื และได้ผลดี

มาตรฐานการเรียนรู้

ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นาํ ไปใชใ้ นการตัดสนิ ใจ แก้ป�ญหาในการดำรงชีวิต และมี

นสิ ยั รักการอ่าน

ท ๓.๑ สามารถเลือกฟง� และดวู จิ ารณญาณสรา้ งสรรค์ แสคงความรู้ ความคิด และความรูส้ กึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมี

วิจารณญาณและสรา้ งสรรค์

ตัวช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๑/๑ อา นออกเสยี งคาํ คาํ คลอ งจองและขอ ความส้นั ๆ
ท ๑.๑ ป.๑/๒ บอกความหมายของคาํ และขอ ความที่อา น
ท ๓.๑ ป.๑/๕ มมี ารยาทในการฟง การดู และการพูด
จุดประสงค
๑. นกั เรยี นอา นออกเสยี งคาํ ได
๒. นกั เรียนบอกความหมายของคาํ ได
๓. นักเรียนมีมารยาทในการฟง ดู และพูด
สมรรถนะสําคัญของผูเ รยี น

๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกป ญ หา
๔. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ิต
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค

๑. รักความเปน ไทย
๒. ใฝเ รยี นรู
๓. มจี ติ สาธารณะ
๔. มวี นิ ยั
๕. อยอู ยา งพอเพยี ง
การบรู ณาการกบั หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

หลักความพอประมาณ

ใช้เวลาในการทำกจิ กรรมและงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายอยา่ งเหมาะสม ตามเวลาทก่ี ำหนดให้

หลกั ความมเี หตผุ ล

ใชก้ ระบวนการคิดในการแกป้ ญ� หาอย่างมีเหตุผล

หลกั มีภมู คิ ุ้มกัน
มกี ารวางแผนในการแกป้ ญ� หา และมีการฝ�กฝนบ่อยๆเพ่ือให้เกิดทักษะ

เงือ่ นไขความรู้
มีความรคู้ วามเขา้ ใจทักษะกระบวนการอ่านท่ถี กู ตอ้ งตามหลกั ภาษา

เงอ่ื นไขคุณธรรม
มีความใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมนั่ ในการทำงาน มคี วามรบั ผิดชอบต่องานทไ่ี ด้รับมอบหมาย

การเช่อื มโยงสู่ 4 มิติ
สงั คม - มปี ฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งครกู ับนกั เรียน และระหว่างเพื่อนนกั เรยี นดว้ ยกนั

สาระการเรียนรู
๑. การอานออกเสยี งเรอ่ื ง โรงเรยี นลูกชาง
๒. มารยาทในการฟง ดู พูด และอา น

กระบวนการจดั การเรียนรู
๑. สนทนาเกีย่ วกบั ประโยชนของการมาโรงเรยี น
๒. อา นบทอา นเรอ่ื ง โรงเรียนลูกชาง ทลี ะยอหนา
- ครูอานใหฟ ง ทีละยอ หนา
- นักเรียนอานตาม
- สมุ นักเรียนอานเปน รายบคุ คล
๓. ตอบคาํ ถามจากบทอานเร่อื ง โรงเรียนลกู ชา ง
- ใบโบก ใบบัวจะไปไหน
- โรงเรยี นของลกู ชางอยทู ่ไี หน
- ใครเปน ครูใหญข องโรงเรียนลูกชาง
- ผทู าํ หนา ทฝ่ี ก ชางเรยี กวาอะไร
- ลูกชา งถูกฝก ใหทําอะไร
- ใบโบกใชอะไรจับหางชางขางหนา
- ใครจับหางใบโบก
- ลูกชางถกู ฝกใหเดินตามเปนวงกลมครงั้ เดียว หรือหลายคร้ัง
- เมื่อลูกชางทําตามไดสําเรจ็ จะไดอะไรตอบแทนเปน กําลังใจ
๔. อานพยัญชนะประกอบภาพ
๕. ทําแบบฝก หัด ทักษะภาษา เลม ๑ แบบฝก หัดท่ี ๖ ขอ ๒ และ ๓

สอ่ื /แหลงเรียนรู
๑. หนังสือเรียนภาษาพาที ช้ัน ป.๑
๒. แบบฝกหดั ทกั ษะภาษาชนั้ ป.๑ เลม ๑

การวัดผลและประเมนิ ผล
๑. วิธปี ระเมิน
- สงั เกตพฤติกรรม
- ตรวจผลงาน
๒. เคร่ืองมือประเมิน
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม
- ผลงาน

๓. เกณฑการประเมิน
- นักเรยี นผา นเกณฑการสังเกตพฤติกรรมรอยละ ๗๕-๘๐
- นกั เรียนผานเกณฑการประเมินผลงานรอ ยละ ๗๕-๘๐



แผนการเรียนรู้

กลุม่ สาระ ภาษาตา่ งประเทศ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4

หนว่ ยที่ 3 เรอ่ื ง My home ครัง้ ท่ี 6 เวลา 1 ช่ัวโมง

สอนวนั ท่ี.....13.......เดือน......ธันวาคม.......พ.ศ. .....2564........ ภาคเรียนที่ ....4… ปีการศกึ ษา…2564…

1. มาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ชว้ี ดั ชั้นปี
มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องท่ีฟงั และอ่านจากส่ือประเภทตา่ งๆ และแสดงความคิดเห็น
อย่างมีเหตุผล

ป.4/2 อ่านออกเสยี งคา สะกดคา อา่ นกลุ่มคา ประโยค ขอ้ ความงา่ ยๆ และบทพูดเข้าจงั หวะถกู ตอ้ งตาม
หลักการอา่ นหรืออา่ น

ป.4/3 เลือก/ระบภุ าพหรือสญั ลักษณ์ หรือเครอื่ งหมายตรงตามความหมายของประโยคและข้อความสน้ั ๆ ท่ี
ฟงั หรืออ่าน

มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษา ตา่ งประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ท้งั ในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และสงั คม
ป.4/1 ฟังและพูด/อา่ นในสถานการณท์ ่ีเกิดขนึ้ ในหอ้ งเรยี นและสถานศึกษา

2. สาระการเรยี นรู้

Function: Describing housework

Structure: (Ann) is (washing) the (dishes).

(Weena) is (cleaning) the (floor).

Vocabulary: คาศัพท์ใหม่

set

คาศพั ท์ทบทวน

plant, wash, make, feed, water

1. ด้านความรู้

2. ด้านทกั ษะกระบวนการ/การปฏบิ ัติ ได้
1) ทักษะการฟัง พดู อ่าน และเขยี น
2) ทักษะการคดิ (การสังเกต)

3. ด้านคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
1. มีวินยั
2. ใฝ่เรียนรู้
3. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
4. มุง่ มั่นในการทางาน
5. มจี ิตสาธารณะ

4. สมรรถนะทสี่ าคญั
1. มคี วามสามารถในการสอ่ื สาร
2. มีความสามารถในการคดิ
3. มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา
4. มคี วามสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
5. มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี

3.การบรู ณาการกบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1 ความพอประมาณ
1.1 นกั เรียนรู้สภาพการเลือกการดาเนินชีวิตในด้านต่างๆ ของตนเองได้อยา่ งเหมาะสม

2 ความมีเหตมุ ผี ล
2.1 นักเรยี นร้จู กั การคดิ พจิ ารณาใคร่ครวญวา่ การดาเนนิ ชวี ติ ของตนเองว่าเป็นเหตเุ ปน็ ผลหรอื ไม่

3 การมภี ูมคิ มุ้ กนั ในตัวทด่ี ี
3.1 นักเรยี นเห็นความสาคัญของการปฏิบตั ิตนตามหลกั แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
3.2 นักเรียนรจู้ ักเลอื ก เวลา สถานทใี่ นการดาเนินชีวติ ทไี่ ม่มคี วามเสี่ยง

4 เงอ่ื นไขความรู้

อ่านออกเสียงคา สะกดคา อ่านกลุ่มคา ประโยค ข้อความง่ายๆ และบทพูดเข้าจังหวะถูกต้องตาม
หลักการอา่ นหรืออ่าน

5 เงื่อนไขคณุ ธรรม
ความรบั ผิดชอบ ความมวี นิ ัย การพง่ึ ตนเอง และการรจู้ ักแยกแยะถกู ผดิ โดยใชส้ ติปญั ญา

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
- นักเรียนสามารถแสดงบทบาทสมมตุ ิ การทางานบ้านตามประโยคที่เพอื่ นในกลุ่มแตง่ ได้

5. ทกั ษะกระบวนการคิด
1) ทักษะการฟงั พดู อ่าน และเขียน

2) ทักษะการคดิ (การเปรยี บเทยี บ)

6. ชน้ิ งาน / ภาระงาน
แสดงบทบาทสมมุติ การทางานบ้านตามประโยคทีเ่ พื่อนในกลมุ่ แต่ง

7. กิจกรรมการเรียนรู้
1. Warm up
1.1 ทบทวนคาศพั ทใ์ นบทเรยี นโดยใช้บัตรคากรยิ าและคานาม และแบ่งนกั เรยี นออกเปน็ 2 กล่มุ ครู

แจกบตั รคาคากริยาและคานามใหน้ ักเรียนทัง้ 2 กลุ่มเทา่ ๆ กนั
1.2 ครูพูดคากริยาให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาบัตรคากริยาและบัตรคานามท่ีสัมพันธ์กันออกมาติดบน

กระดานดา เช่น ครูพูด play นักเรียนตัวแทนกลุ่มออกมาติดบัตรคา เช่น play games เป็นต้น ครูพูด do
นกั เรยี นตดิ บตั รคา do homework, do a jigsaw

2. Presentation
2.1 ครสู นทนากบั นกั เรียนเรือ่ ง housework ซึง่ เป็นงานบา้ นทตี่ ้องทาเป็นประจา นักเรียนพดู ครูเขยี น
คาศัพท์บนกระดานดา เช่น clean the floor, wash the dishes หรอื feed the animals
2.2 นักเรียนทากิจกรรมที่ 5 Read and learn. ข้อ B. Read the sentences and match the
pictures with the sentences. ใน SB หนา้ 30 นกั เรยี นฟงั ครูอา่ นประโยคและดูภาพประกอบ ใหน้ กั เรยี น
อ่านตามครทู ีละประโยค
2.3 ครูยกตัวอย่างรูปประโยค เช่น Ann is washing the dishes. และอธิบายว่าประโยคท่ีเล่า
เหตกุ ารณท์ ก่ี าลังกระทาอยใู่ นขณะท่พี ูดเปน็ รปู ของ Present Continuous Tense รูปประโยคมีดงั นี้

ประธาน + is/am/are + กรยิ าเตมิ ing

- is ใชก้ ับประธานเอกพจน์
- are ใช้กับประธานพหูพจน์
- am ใช้กบั ประธาน I
3. Practice
นักเรียนทากิจกรรมที่ 5 Read and learn. ข้อ B. Read the sentences and match the pictures with
the sentences. ในSB หนา้ 30 โดยให้นักเรียนอ่านประโยค ดภู าพประกอบ และพดู เลอื กตวั อักษรของภาพ
ทสี่ ัมพันธก์ ับประโยคท่ีอา่ น ครฝู ึกนกั เรยี นอา่ นออกเสียงประโยคใหถ้ ูกต้อง

Answers
5. Read and learn.
B. Read the sentences and match the pictures with the sentences.

Ann is washing the dishes. - D
Weena is cleaning the floor.- A
Mary is making the bed. - E
David is setting the table. - B
Tom is feeding pets. - C
Jane is watering the plants.- F

4. Production
แบ่งนกั เรยี นออกเปน็ 5 กลุ่ม ให้แตล่ ะกลุ่มช่วยกันแต่งประโยคเก่ยี วกับการทางานบ้านในสมุดจด

บันทกึ และให้แสดงบทบาทสมมุตปิ ระกอบประโยคที่แต่งขึ้น

5. Wrap up
5.1 นกั เรยี นทากจิ กรรมท่ี 9 Look at the pictures and write the letters in the boxes. ใน

WB หนา้ 31 นักเรยี นเขียนตวั อักษร A-F ลงในกรอบ □ ทีเ่ ป็นคาตอบ แล้วเฉลยคาตอบ

Answer

9. Look at the pictures and write the letters in the boxes.
C plants A bowls B table
D pets F dishes E floor

5.2 นักเรียนทากิจกรรมท่ี 10 Complete the sentences. ใน WB หน้า 31 นักเรียนดูภาพ
เดก็ ๆ ทางานบ้านแล้วเขยี นประโยคบรรยายภาพ แล้วเฉลยคาตอบ

Answer 2. Mary is watering the plants.
4. Weena is cleaning the floor.
9. Complete the sentences. 6. Jane is setting the table.
1. Ann is feeding pets.
3. David is washing the dishes.
5. Tom is making the bed.

8. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้
-Student’s Book 4
-Workbook 4
- บัตรคากรยิ า/คานาม

9. การวัดและประเมินผล
1. วิธีการวัดและประเมนิ ผล

1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้ารว่ มกิจกรรม
1.2 สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
1.3 ตรวจแบบฝกึ หัด
2. เครอื่ งมอื
2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้

แบบสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้

วิชาภาษาอังกฤษ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 4 = ดมี าก 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรงุ

ท่ี ช่อื -สกุล การ ีม ่สวน ่รวมในการทา หมายเหตุ
ิกจกรรม

ตอบคาถามจากการฟัง
และการอ่านไ ้ด

ออกเ ีสยง สะกดคา และ
บอก

ความคหะเ ีรมแายนยนนไคร ้ดาว ัศมพท์ที่

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

1. เด็กชายธรี พงศ์ ไทยประเสริฐ
2. เดก็ ชายภาณุพงศ์ สังขท์ อง
3. เดก็ ชายอนชุ า ล้อดี
4. เดก็ ชายภัทรพล ไขศรี
5. เดก็ ชายปฎพิ ทั ธ์ จนั ทร์ดี
6. เดก็ ชายกรณั ย์ สุธรรมา
7. เด็กชายพรี ภทั ร บวั โพธ์ิ
8. เดก็ หญงิ อรชนิการน์ รอดเปรี้ยว
9. เด็กหญิงณิชาภทั ร รางวลั
10 เด็กหญิงธิดารตั น์ แก้วพาลกึ
11. เด็กหญงิ เพ็ญนพา พลเสน
12. เด็กหญิงณฐั วภิ า โสภา
13. เดก็ หญงิ วรรณภา รอบคอบ
14. เดก็ ชายธนากรณ์ ไข่พิน
15. เด็กหญงิ อรรยา สุขชาวนา

ลงชือ่ ............................................... ผู้ประเมนิ



แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 7

สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์พ้นื ฐาน รหัสวชิ า ค16101

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 ห.ร.ม. และ ค.ร.น. เร่อื ง ตัวหารรว่ มมาก (ห.ร.ม.) เวลา 1 ช่ัวโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ดั
1.1 มาตรฐาน
ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน
ผลทเ่ี กิดขึ้นจากการดำเนนิ การ สมบตั ิของการดำเนนิ การ และนำไปใช้
1.2 ตวั ชี้วดั
ค 1.1 ป.6/4 หา ห.ร.ม. ของจำนวนนับไม่เกนิ 3 จำนวน

2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1) อธิบายหลกั การหาห.ร.ม.ของจำนวนนบั ได้ (K)
2) หาห.ร.ม.ของจำนวนนบั เมือ่ กำหนดจำนวนนบั ให้ได้ (K)
3) มีความสามารถในการส่อื สาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ (P)
4) รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ทท่ี ่ไี ดร้ บั มอบหมาย (A)

3. สาระการเรยี นรู้
การหา ห.ร.ม.

4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
จำนวนนับตงั้ แตส่ องจำนวนข้ึนไป จะมีตวั ประกอบรว่ มหลายจำนวน ซึ่ง ห.ร.ม. เป็นตวั ประกอบรว่ มทมี่ ากท่สี ุด

ของจำนวนนับนน้ั

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี นและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. ซอ่ื สตั ย์สุจรติ
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้
3. อยู่อย่างพอเพียง
1) ทกั ษะการแปลความ 4. มุ่งมนั่ ในการทำงาน
2) ทักษะการเชือ่ มโยง

6. การบูรณาการกบั หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
6.1 หลกั ความพอประมาณ
ใช้เวลาในการทำกิจกรรมและงานที่ไดร้ ับมอบหมายอย่างเหมาะสม ตามเวลาท่กี ำหนดให้
6.2 หลักความมเี หตผุ ล
ใช้กระบวนการคดิ ในการแกป้ ญั หาอยา่ งมีเหตผุ ล
6.3 หลักมีภูมิคมุ้ กัน
มกี ารวางแผนในการแก้ปัญหา และมกี ารฝกึ ฝนบอ่ ยๆเพื่อให้เกดิ ทกั ษะ
6.4 เงอ่ื นไขความรู้
มีความรู้ความเข้าใจเรอ่ื งการหา ห.ร.ม. ของจำนวนนบั และสามารถแสดงวิธกี ารหาได้
6.5 เง่ือนไขคณุ ธรรม
มคี วามใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน มีความรบั ผิดชอบต่องานทไ่ี ด้รับมอบหมาย
6.6 การเชอื่ มโยงสู่ 4 มิติ
สังคม - มีปฏิสมั พันธร์ ะหว่างครกู ับนกั เรียน และระหว่างเพื่อนนักเรียนด้วยกัน

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขัน้ ที่ 1 นำเข้าสู่บทเรยี น

1. ครูให้นกั เรียนทบทวนวิธกี ารหาตัวประกอบ โดยครถู ามคำถาม ดังนี้
• จำนวนนับทีห่ าร 20 ไดล้ งตวั มจี ำนวนใดบ้าง
(แนวตอบ 1, 2, 4, 5, 10 และ 20)
• จำนวนนบั ทห่ี าร 30 ไดล้ งตัว มจี ำนวนใดบ้าง
(แนวตอบ 1, 2, 3, 5, 6, 10, 15 และ 30)
• จำนวนนบั ใดทหี่ ารทั้ง 20 และ 30 ไดล้ งตัว
(แนวตอบ 1 และ 20)
ข้นั ที่ 2 ขั้นสอน

1. ครูอธบิ ายเชือ่ มโยงจากขน้ั นำ ดังน้ี “1 และ 5 เปน็ ตัวหารรว่ มหรอื ตวั ประกอบรว่ มของ 20 และ 30”
2. นักเรียนพิจารณาตัวหารร่วมของ 20 กับ 30 ว่าจำนวนใดมีค่ามากที่สุด ซึ่งจะได้ว่า 5 มีจำนวนมากที่สุด แล้วครู

อธบิ ายเช่ือมโยงวา่ 5 เปน็ ตวั หารร่วมมากของ 20 และ 30
3. นกั เรยี นรว่ มกนั พิจารณาวา่ “ตวั หารร่วมกับตัวหารรว่ มมากตา่ งกันอยา่ งไร”

(แนวตอบ ตวั หารรว่ ม คือ จำนวนนับทหี่ ารจำนวนนับ 2 จำนวนข้ึนไปลงตัว สว่ นตวั หารร่วมมาก คอื จำนวนนับท่ี
มากที่สุดที่หารจำนวนนับดังกล่าวลงตัว)
4. ครูเขียนจำนวน 12 และ 20 บนกระดาน ขออาสาสมัคร 2 คน ออกมาเขียนตัวประกอบของจำนวนทั้งสองบน

กระดาน จากน้นั ครูขออาสาสมคั รอกี 1 คน ออกมาวงกลมจำนวนทเ่ี ป็นตัวหารร่วมของ 12 และ 20

(แนวตอบ 1, 2 และ 4)

5. นักเรียนทกุ คนรว่ มกันอภิปรายว่า “ห.ร.ม. ของ 12 และ 20 คอื จำนวนใด”

(แนวตอบ ห.ร.ม. ของ 12 และ 20 คือ 4)

6. นักเรียนพิจารณาจำนวนเพิม่ เติม 2-3 ตวั อยา่ ง และรว่ มกนั หาตวั หารร่วม และ ห.ร.ม.

7. ครูเน้นย้ำนกั เรียนว่า “การหา ห.ร.ม. วิธดี ังกล่าว เรียกวา่ การหา ห.ร.ม. โดยวธิ ีหาตัวประกอบ”
ขนั้ ที่ 3 ขัน้ สรุป

1. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรุปวธิ ีหา ห.ร.ม. โดยวธิ ีหาตัวประกอบ ซง่ึ ไดข้ อ้ สรปุ ดงั นี้

- หาจำนวนนับทห่ี ารจำนวนท่กี ำหนดให้ แต่ละจำนวนไดล้ งตัว
- หาจำนวนนับที่เป็นตัวหารร่วม
หาตัวหารรว่ มทีม่ ากที่สดุ หรือ ห.ร.ม. ของจำนวนทกี่ ำหนดให้
2. นกั เรยี นทำแบบฝกึ หัดในหนังสือแบบฝกึ หัด เล่ม 1 หนา้ 16 – 17 เปน็ การบ้าน โดยครูเนน้ ย้ำให้นกั เรยี นทำงานให้
เปน็ ระเบยี บ ทำแบบฝกึ หัดดว้ ยตนเอง และสง่ งานให้ตรงตอ่ เวลา

8. การวดั และประเมินผล เครือ่ งมอื เกณฑ์การผา่ น
หนังสือแบบฝกึ หัด เลม่ 1 หนา้ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
วิธกี าร 16-17
ตรวจหนังสอื แบบฝกึ หัด เล่ม 1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ระดับคุณภาพ 2 ขึ้นไป
หนา้ 16-17 ทำงานรายบุคคล
สังเกตพฤติกรรมการทำงาน
รายบุคคล

สังเกตคณุ ลกั ษณะอนั พึง แบบสังเกตคุณลกั ษณะอนั พึง ระดับคณุ ภาพ 2 ขึ้นไป
ประสงค์ ประสงค์

9. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้
8.1 ส่ือการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ป.6 เลม่ 1
2) หนงั สือแบบฝกึ หดั คณติ ศาสตร์ ป.6 เลม่ 1



แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 14

การแยกสารโดยการกล่นั การตกตะกอน การระเหยแหง้

สาระที่ 3 สารและสมบตั ขิ องสาร เวลา 1 ชั่วโมง

ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 สารในชวี ติ ประจำวนั

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

1. สาระสำคญั

การกลั่น เปน็ การแยกของเหลวหรือของแขง็ ออกจากสารละลายทเี่ ปน็ ของเหลว โดยอาศัยความ

แตกต่างระหว่างอุณหภูมิของจดุ เดอื ด

การตกตะกอน เปน็ การแยกของผสมท่ีเป็นของแขง็ ออกจากของเหลว โดยทำให้ของแข็งที่ปนอยู่ตกลง

ก้นภาชนะ

การะเหยแห้ง เป็นการแยกของผสมทีเ่ ปน็ ของแข็งออกจากของเหลว โดยการให้ความร้อนจนเหลอื แต่

ของแขง็ ตดิ อย่ทู ภ่ี าชนะ

2. ตัวชี้วดั ช้นั ปี

ทดลองและอธบิ ายวธิ ีการแยกสารบางชนิดทผ่ี สมกัน โดยการรอ่ น การตกตะกอน การกรอง

การระเหดิ การระเหยแห้ง (ว 3.1 ป. 6/3)

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อธบิ ายวธิ ีการแยกสารโดยการกล่ันได้ (K)

2. อธบิ ายวิธกี ารแยกสารโดยการตกตะกอนได้ (K)

3. ทดลองแยกสารดว้ ยวิธกี ารระเหยแห้งได้ (K)

4. มีความสนใจใฝร่ ู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)

5. พอใจในประสบการณ์การเรยี นรูท้ ี่เกี่ยวกบั วิทยาศาสตร์ (A)

6. ทำงานรว่ มกบั ผู้อืน่ อย่างสรา้ งสรรค์ (A)

7. สือ่ สารและนำความรเู้ รอ่ื งการแยกสารโดยการกลนั่ การตกตะกอน และการระเหยแห้งไปใช้ใน

ชีวติ ประจำวนั ได้ (P)

4. การวดั และการประเมินผลการเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)

1. ซกั ถามความรูเ้ รื่อง 1. ประเมินเจตคติทาง 1. ประเมนิ ทกั ษะ/กระบวนการทาง

การแยกสารโดย วิทยาศาสตร์เป็นรายบุคคล วทิ ยาศาสตร์

การกล่นั การ 2. ประเมินเจตคตติ ่อ 2. ประเมนิ ทักษะการคิด

ตกตะกอน วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นรายบุคคล 3. ประเมินทักษะการแกป้ ัญหา

การระเหยแห้ง 4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏบิ ตั ิ

2. ประเมนิ กิจกรรม กจิ กรรมเป็นรายบุคคลหรือราย

ฝึกทักษะระหว่าง กล่มุ
เรียน

5. สาระการเรยี นรู้
– การกลัน่
– การตกตะกอน
– การระเหยแห้ง

6. แนวทางการบูรณาการคณุ ธรรม อตั ลกั ษณ์เป้าหมาย
1.วินยั ดี
- มีความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและต่องานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
2.มีจติ สาธารณะ
- รักษาและดแู ลความเรียบรอ้ ยและความสะอาดของห้องเรียนโดยไมต่ ้องรอใหค้ รบู อก
3.รู้จกั พอเพียง
- การใช้กระดาษและอุปกรณ์การเรียนอย่างคุ้มคา่

7. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขนั้ นำเขา้ สูบ่ ทเรียน
1) ครทู บทวนความรเู้ รื่องสารเนื้อผสมกับสารเนื้อเดยี วท่นี กั เรียนได้เรยี นรมู้ าแลว้ โดยอธิบายให้

นกั เรียนเข้าใจวา่ สารเนอ้ื ผสม เปน็ สารผสมทีเ่ นอื้ สารไม่ผสมกลมกลนื กันทุกส่วน ยังคงมองเห็นส่วนท่ีแตกตา่ ง
กันอยู่ ส่วนสารเน้ือเดียว เปน็ สารที่มีเนือ้ สารและมีสมบัติเหมอื นกันโดยตลอด ซ่งึ อาจจะเป็นสารละลายหรอื
สารบริสทุ ธ์กิ ็ได้

2) ครสู นทนากบั นักเรยี นเร่อื ง การแยกสารเนื้อเดียว โดยใช้คำถามกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนตอบดงั น้ี
– นกั เรียนเคยเห็นนาเกลือหรือไม่
– เกลือถูกแยกออกจากน้ำทะเลได้ดว้ ยวธิ ใี ด
– ถ้าตอ้ งการทำใหน้ ำ้ มีความบรสิ ทุ ธิ์มากควรใชว้ ิธีการใด

3) นักเรยี นร่วมกนั ตอบคำถามตามความคิดเหน็ ของแตล่ ะคน แล้วครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภปิ ราย
คำตอบ เพ่ือเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรเู้ ร่ือง การแยกสารโดยการกล่ัน การตกตะกอน และการระเหยแห้ง

ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
จดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแบบกลบั ด้านชั้นเรียน ซึง่ มีข้นั ตอน
ดงั น้ี
1) ขั้นสร้างความสนใจ

(1) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการแยกสาร
โดยการกลนั่ การตกตะกอน การระเหยแหง้ ทค่ี รูมอบหมายให้ไปเรียนรลู้ ่วงหนา้ ใหเ้ พ่ือน ๆ ในกลมุ่ ฟงั จากน้ัน
ให้แต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนมานำเสนอข้อมลู หนา้ หอ้ งเรยี น

(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนทำภาระงานที่ได้รับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจด
บนั ทกึ ของนักเรียน และถามคำถามเกี่ยวกบั ภาระงาน ดงั น้ี

– การกล่นั ใชแ้ ยกสารเนือ้ เดียวหรอื เนื้อผสม (แนวคำตอบ สารเนอ้ื เดียว)
– การตกตะกอนใชแ้ ยกสารเน้อื เดียวหรอื เนื้อผสม (แนวคำตอบ สารเน้อื เดยี ว)
– การระเหยแหง้ ใช้แยกสารเน้อื เดยี วหรอื เน้ือผสม (แนวคำตอบ สารเนื้อเดียว)
(3) ครูเปดิ โอกาสให้นักเรียนตง้ั ประเด็นคำถามท่ีนักเรียนสงสัยจากการทำภาระงานอย่างน้อยคน
ละ 1 คำถาม ซ่ึงครใู หน้ กั เรยี นเตรยี มมาล่วงหน้า และให้นักเรียนชว่ ยกนั ตอบและแสดงความคิดเหน็
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สารท่ี
แตกตา่ งกันเหมาะกับการใชว้ ิธีแยกสารท่ตี ่างกนั
2) ขน้ั สำรวจและค้นหา
(1) ใหน้ ักเรียนศึกษาการแยกสารโดยการกล่นั การตกตะกอน การระเหยแหง้ จากใบความรู้หรือ
ในหนังสอื เรียน โดยครตู ั้งคำถามนำใหน้ ักเรียนตอบประกอบการค้นควา้ ดังน้ี
– หลกั การท่ใี ชใ้ นการกลน่ั แยกสารคืออะไร
– ปจั จัยสำคัญที่ใชใ้ นการระเหยแหง้ สารคอื อะไร
– การตกตะกอนนิยมใชแ้ ยกสารประเภทใด
(2) นกั เรียนร่วมกันสรุปความหมายและวิธกี ารกลัน่ และการตกตะกอนจากข้อมลู ท่ีคน้ ควา้
(3) นกั เรียนแบ่งกลุม่ และปฏิบตั ิกิจกรรม ทดลองการระเหยแห้ง ตามขัน้ ตอนทางวทิ ยาศาสตร์
ดังน้ี
ขน้ั ท่ี 1 กำหนดปัญหา
– การระเหยแหง้ จะสามารถแยกสารทีเ่ ปน็ สารละลายไดห้ รือไม่
ขั้นท่ี 2 สมมุติฐาน
– เมื่อใหค้ วามร้อนกับนำ้ ปลา นำ้ น่าจะระเหยไปหมดเหลือแตเ่ กลือติดอยู่ท่ีภาชนะ แตเ่ มื่อให้
ความรอ้ นกบั นำ้ นา่ จะไม่มสี ารเหลือตดิ ท่ภี าชนะเลย
ขนั้ ที่ 3 ทดลอง
– ใส่นำ้ และน้ำปลาลงในจานหลุมอยา่ งละหลุม
– นำจานหลมุ ไปวางใหค้ วามร้อนด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์ สงั เกตการเปลย่ี นแปลงของสารแตล่ ะ
ชนิดในจานหลุม
ข้ันท่ี 4 วเิ คราะห์ผลการทดลอง
– แปลความหมายข้อมลู ที่ได้จากตารางบันทึกผลการทดลอง
– นำข้อมลู ท่ีได้มาพจิ ารณา เพ่อื อธบิ ายวา่ เป็นไปตามที่นักเรยี นต้ังสมมุตฐิ านไว้ หรอื ไม่
ขน้ั ที่ 5 สรุปผลการทดลอง
– นกั เรียนรว่ มกันสรุปผลการทดลอง แลว้ เขยี นรายงานสรปุ ผลการทดลองส่งครู

(4) ครูคอยแนะนำช่วยเหลือนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเดินดูรอบ ๆ ห้องเรียนและเปิด
โอกาสให้นักเรียนทกุ คนซักถามเมื่อมปี ัญหา

3) ข้ันอธบิ ายและลงขอ้ สรุป
(1) นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ สง่ ตวั แทนกลมุ่ นำเสนอข้อมูลจากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมหน้าชั้นเรียน
(2) นกั เรยี นและครูร่วมกนั อธิบายและหาข้อสรุปจากการปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถามต่อไปนี้
– การระเหยแหง้ เปน็ การแยกของผสมที่อยใู่ นลักษณะใด (แนวคำตอบ ของผสมท่ีอยใู่ นรูปของ

สารละลาย โดยมขี องแข็งละลายอยใู่ นของเหลว)
– ยกตัวอยา่ งการนำวธิ กี ารระเหยแห้งไปใช้ประโยชน์ (แนวคำตอบ การทำนาเกลอื )
(3) นักเรยี นและครรู ่วมกนั สรุปผลการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยให้ได้ข้อสรุปวา่ การระเหยแห้งสามารถ

ใช้แยกของผสมที่เป็นสารละลายทีเ่ กดิ จากของแข็งละลายอยูใ่ นของเหลวได้ เชน่ ในการระเหยแห้งนำ้ ปลา น้ำ
จะระเหยออกไปหมดเหลือแต่ผลึกของเกลอื ตดิ อย่ทู ่ีกน้ ภาชนะ สว่ นการกลัน่ เปน็ วธิ กี ารแยกของเหลวหรอื
ของแข็งออกจากสารละลาย โดยการให้ความร้อนกับสารละลายจนของเหลวทีม่ ีจุดเดือดต่ำกลายเป็นไอออกมา
กอ่ น แล้วจงึ ทำให้ควบแน่นกลบั มาเปน็ ของเหลวทีบ่ ริสทุ ธิ์ได้ และการตกตะกอนเปน็ การแยกของผสมท่เี กดิ
จากของแข็งปนอยู่กบั ของเหลว โดยการทำให้ของแข็งตกลง กน้ ภาชนะ

(4) ครูชี้แนะให้ความรู้เพม่ิ เติมกับนักเรยี นวา่ การระเหยแหง้ เหมาะสำหรบั การแยกสารละลายที่
เป็นของแขง็ ปนอย่ใู นของเหลว โดยของแขง็ ที่ปนอยนู่ น้ั จะมีขนาดเล็กมาก จนไม่สามารถแยกไดโ้ ดยใชว้ ธิ กี าร
กรองหรือการตกตะกอนได้

4) ขั้นขยายความรู้
(1) นักเรียนคน้ ควา้ รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกบั การแยกสารโดยการกลั่น การตกตะกอน การ

ระเหยแห้ง จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ เชน่ หนงั สอื วารสารวทิ ยาศาสตร์ และอนิ เทอร์เน็ต แล้วนำขอ้ มูลที่ได้มา
อภปิ รายรว่ มกนั ในชน้ั เรียน

(2) นักเรยี นค้นควา้ รายละเอียดและคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเก่ยี วกบั การแยกสารโดยการกลน่ั
การตกตะกอน การระเหยแห้ง จากหนงั สือภาษาตา่ งประเทศหรืออินเทอรเ์ น็ต

5) ขนั้ ประเมิน
(1) ครูใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนพิจารณาวา่ จากหวั ข้อที่เรยี นมาและการปฏบิ ัติกิจกรรม มีจุดใดบา้ งที่ยงั

ไมเ่ ข้าใจหรอื ยังมีข้อสงสัย ถา้ มีครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมใหน้ ักเรียนเข้าใจ
(2) นกั เรียนรว่ มกันประเมนิ การปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุม่ ว่ามีปญั หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม้ ีการแก้ไข

อย่างไรบ้าง
(3) ครแู ละนักเรยี นแสดงความคิดเห็นเกยี่ วกบั ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม และการ

นำความรูท้ ไ่ี ดไ้ ปใช้ประโยชน์
(4) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนักเรียนโดยการใหต้ อบคำถาม เช่น

– หลกั การของการระเหยแห้งคืออะไร
– สารท่ีใช้การตกตะกอนในการแยกสารควรมีลกั ษณะใด

ขนั้ สรุป
1) ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปเกี่ยวกับการแยกสารโดยการกลน่ั การตกตะกอน การระเหยแหง้ โดย
รว่ มกันเขียนเปน็ แผนท่ีความคดิ หรอื ผงั มโนทัศน์
2) ครมู อบหมายให้นกั เรียนไปศึกษาคน้ ควา้ เน้ือหาของบทเรียนช่ัวโมงหน้า เพ่อื จัดการเรียนรู้คร้ัง
ตอ่ ไป โดยให้นักเรยี นศกึ ษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อการตกผลกึ การระเหดิ การสกดั สาร
3) ครใู หน้ ักเรยี นเตรียมประเด็นคำถามที่สงสยั มาอยา่ งน้อยคนละ 1 คำถาม เพ่ือนำมาอภปิ ราย
ร่วมกันในชั้นเรียนคร้งั ต่อไป
8. กจิ กรรมเสนอแนะ
1. นกั เรียนยกตัวอยา่ งสารที่พบในชีวติ ประจำวนั แลว้ รว่ มกันอภิปรายว่าสามารถแยกสารทผ่ี สมอยไู่ ด้
โดยใชว้ ิธีการกลน่ั การตกตะกอน หรอื การระเหยแห้ง แลว้ นำเสนอผลการอภปิ รายหนา้ ชัน้ เรียน
2. แบ่งนกั เรยี นเป็นกลมุ่ แต่ละกลมุ่ ช่วยกันสำรวจว่าในชวี ิตประจำวันมกี ารนำหลักการกล่นั การ
ตกตะกอน และการระเหยแห้งไปใชป้ ระโยชนอ์ ะไรบ้าง นำขอ้ มูลท่ีได้มาสรปุ เปน็ แผนทค่ี วามคิดหรือผังมโน
ทศั นส์ ง่ ครู
9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
1. ใบกจิ กรรมที่ 17 ทดลองการระเหยแห้ง
2. ค่มู อื การสอน วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 บรษิ ทั
3. สื่อการเรยี นรู้ PowerPoint รายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
4. แบบฝกึ ทักษะ รายวชิ าพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6
5. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6





แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 8

สาระการเรียนรู้ภาษาไทบ รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท15101

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 8 เร่อื ง ดั่งหยาดทิพยช์ โลมใจ เวลา 1 ชว่ั โมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชี้วัด
1.1 มาตรฐาน

ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนนิ ชีวิต
และมีนิสยั รกั การอ่าน

1.2 ตัวชี้วัด
ท 1.1 ป.5/4 แยกข้อเทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเห็นจากเรอ่ื งท่ีอ่าน

ท 1.1 ป.5/5 วเิ คราะห์และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรอ่ื งท่อี า่ นเพ่ือนำไปใชใ้ นการดำเนินชวี ิต

2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1) นักเรียนบอกใจความสำคญั ของเรอื่ งได้ (K)

2) นกั เรยี นบอกข้อคดิ ของเรื่องได้ (K)
3) นักเรียนตอบคำถามจากเนอ้ื เรือ่ งได้ (P)
4) นักเรยี นมีมารยาทในการอ่าน (A)

3. สาระการเรียนรู้
การจับใจความสำคญั

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การอา่ นในใจ เป็นการอ่านจับใจความเพ่ือหาส่วนสำคญั ของเร่อื ง ซ่งึ เรียกว่าใจความหรือใจความสำคญั ใจความ

จะปรากฏอย่ตู ามย่อหน้าตา่ ง ๆ ของเรือ่ งทอ่ี ่าน อาจอยสู่ ่วนตน้ สว่ นกลาง หรอื ส่วนท้ายของย่อหนา้ ก็ได้

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี ินัย
2. ใฝ่เรยี นรู้
2. ความสามารถในการคิด 3. อยู่อย่างพอเพียง
3. ความสามารถในการใช้ทกั ษาชีวิต 4. มุ่งม่ันในการทำงาน

6. การบรู ณาการกับหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
6.1 หลักความพอประมาณ

นักเรยี นใช้เวลาในการทำกิจกรรมและงานท่ไี ด้รับมอบหมายไดเ้ หมาะสมตามเวลาทก่ี ำหนดให้
6.2 หลักความมีเหตผุ ล
นกั เรียนให้ความร่วมมอื ในการทำกจิ กรรมและงานทไี่ ด้รับมอบหมาย

6.3 หลกั มีภูมคิ ้มุ กัน
นักเรียนมกี ารวางแผนในการทำกิจกรรมและใบงาน

6.4 เง่ือนไขความรู้
นักเรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจในเรือ่ งการอา่ นจบั ใจความสำคญั
6.5 เงือ่ นไขคณุ ธรรม
นักเรยี นมีความใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน มีความรบั ผิดชอบตอ่ งานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
6.6 การเชอื่ มโยงสู่ 4 มิติ
สังคม - นกั เรียนนำความรูไ้ ปปรับใช้กบั ตนเอง และถา่ ยทอดให้ผอู้ ืน่ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
7. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 นำเขา้ สบู่ ทเรยี น
๑. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สนทนาเกีย่ วกับหลักการอ่านในใจ และมารยาทในการอ่าน
๒. ครูให้นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละประมาณ 2 – 3 คน
๓. ให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั อา่ นออกเสยี งเนอื้ หาบทเรยี น ในหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทยชดุ ภาษาเพื่อ
ชีวติ ภาษาพาที ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 บทท่ี 8 ดงั่ หยาดทิพย์ชโลมใจ หน้า 129 – 132 ต่อกนั ไปจนจบเรื่อง
ขั้นที่ 2 ขน้ั สอน

1. ครใู หน้ ักเรยี นแตละกลุมรวมกันอานเนอ้ื หาในบทเรยี นอกี ครงั้ โดยการอา่ นในใจ
๒. หลงั จากน้ันใหน้ ักเรียนรว่ มกันสนทนา อภปิ ราย วเิ คราะหเ์ น้อื หาและขอ้ คดิ จากเรอ่ื งที่อ่าน
๓. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ส่งตัวแทนมานำเสนอหน้าช้ันเรยี น จนครบทกุ กลมุ่

ขั้นที่ 3 ข้ันสรปุ
1. เม่อื นำเสนอครบทกุ กลุม่ แล้วครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรุปเกีย่ วกบั เรื่องดงั กลา่ วอกี คร้งั หนึ่ง
2. นกั เรยี นทําแบบฝกหดั รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพ่ือชีวิต ทักษะภาษา ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๕ ขอ ๑

หนา ๖๖ – ๖๗ เปนการบาน

8. การวดั และประเมินผล เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารผา่ น
วิธกี าร แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ทำงานกลมุ่
สงั เกตพฤติกรรมการทำงาน แบบประเมินผลงานการเขยี น ระดับคณุ ภาพข้ึน2
กิจกรรมกลมุ่ ขึ้นไปผ่านเกณฑก์ าร
เขยี น แสดงความคดิ เหน็ ประเมิน
วิเคราะห์ วิจารณ์ แบบสังเกตคุณลักษณะอนั พึง ระดับคุณภาพขึ้น2
ประสงค์ ขน้ึ ไปผ่านเกณฑ์การ
สงั เกตคณุ ลักษณะอนั พงึ ประเมิน
ประสงค์

9. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้

๙.1 ส่อื การเรยี นรู้
๑. หนงั สือเรียนรายวิชาพนื้ ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพื่อชวี ิต ภาษาพาที ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๕
๒. แบบฝกหดั รายวชิ าพนื้ ฐาน ภาษาไทย ชุดภาษาเพ่อื ชวี ติ ทกั ษะภาษา ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๕



แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 27

สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ รายวิชา คณติ ศาสตรพ์ ้ืนฐาน รหัสวชิ า ค11101

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 5 การบวกจำนวนท่ีมผี ลบวกไมเ่ กิน 20 เรอ่ื ง การบวกโดยการนบั ต่อ เวลา 1 ช่วั โมง

1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชว้ี ัด
ค 1.1 ป.1/4 หาค่าของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก และประโยคสัญลักษณ์แสดงการ
ลบของจำนวนนับไม่เกนิ 100 และ 0

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) เขา้ ใจวิธีการหาผลบวกจำนวนทีม่ ีผลบวกไมเ่ กิน 20 โดยการนบั ต่อ (K)
2) หาผลบวกจำนวนท่มี ผี ลบวกไม่เกิน 20 โดยใช้วธิ กี ารนบั ตอ่ ได้ (K)
3) เขยี นแสดงวธิ กี ารหาผลบวกจำนวนที่มีผลบวกไมเ่ กิน 20 โดยการนับต่อได้ (P)
4) รับผดิ ชอบตอ่ หน้าท่ีทีไ่ ด้รับมอบหมาย (A)

3. สาระการเรยี นรู้
การหาผลบวก

4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
การบวกโดยการนับต่อ เปน็ การหาผลบวกโดยเร่ิมนบั ตอ่ จากตวั ต้ังไปข้างหน้าทีละหนง่ึ เทา่ กบั จำนวนของตวั บวก

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. ซื่อสตั ยส์ ุจรติ
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้
3. อยู่อย่างพอเพียง
1) ทกั ษะการแปลความ 4. ม่งุ มั่นในการทำงาน
2) ทักษะการเชือ่ มโยง

6. การบรู ณาการกบั หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6.1 หลกั ความพอประมาณ
ใช้เวลาในการทำกจิ กรรมและงานทไี่ ด้รบั มอบหมายอยา่ งเหมาะสม ตามเวลาทีก่ ำหนดให้
6.2 หลกั ความมีเหตผุ ล
ใช้กระบวนการคิดในการแก้โจทย์ปัญหาอย่างมเี หตผุ ล
6.3 หลกั มีภมู คิ มุ้ กนั
รู้จักวางแผนในการแก้โจทยป์ ญั หาการบวก ฝกึ ฝนการทำโจทย์บอ่ ย ๆ เพื่อใหเ้ กดิ ความชำนาญ

6.4 เงอ่ื นไขความรู้
มคี วามร้คู วามเข้าใจวธิ ีการหาผลบวกที่ไมเ่ กิน 20 โดยวธิ กี ารนับตอ่ และสามารถเขยี นแสดงวธิ ีการบวกจำนวนท่ี

มผี ลบวกไมเ่ กิน 20 ได้

6.5 เง่ือนไขคุณธรรม

มคี วามใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ ม่ันในการทำงาน มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ งานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย

6.6 การเช่ือมโยงสู่ 4 มิติ

สังคม - มปี ฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรยี น และระหวา่ งเพือ่ นนกั เรียนด้วยกนั

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้

ข้ันนำ

ขัน้ เตรียม
1. ครูกล่าวทักทายนกั เรียน จากนั้นครูใหน้ กั เรียนทกุ คนเปิดหนังสือเรยี น คณิตศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 หนา้ 108
แลว้ ครูถามนกั เรียนวา่ จากรปู สตั วท์ ้งั สามชนิดมีจำนวนขารวมกนั ท้งั หมดกข่ี า และมวี ธิ ีการหาคำตอบไดอ้ ยา่ งไร
บ้าง ครูยังไม่เฉลยคำตอบโดยจะเฉลยในแผนการเรียนรสู้ ุดทา้ ยของหน่วย
2. ครทู บทวนการบวกจำนวนสองจำนวนท่มี ผี ลบวกไม่เกนิ 9 โดยการนับต่อ 2 - 3 ตวั อย่าง และถามนกั เรยี นวา่
การหาผลบวกโดยการนบั ต่อจะเริม่ นบั ต่อจากจำนวนท่ีเปน็ ตวั ต้งั หรอื ตัวบวก
(แนวตอบ เรม่ิ นับตอ่ จากจำนวนที่เป็นตัวตัง้ )

ข้ันสอน

ขน้ั สอนหรือแสดง

1. ครเู ขียนประโยคสญั ลักษณ์ 9 + 3 = บนกระดาน แลว้ ใหน้ กั เรยี นช่วยกันตอบว่า จะหาผลบวกโดยใช้
วธิ ีการนับต่อได้อย่างไร และมผี ลบวกเท่าใด (นบั ต่อจาก 9 ไปอกี 3 ครั้ง ได้ผลบวกเทา่ กับ 12)

2. ครูเขยี นประโยคสัญลักษณ์ 13 + 3 = บนกระดาน แล้วใหน้ กั เรียนชว่ ยกันตอบวา่ จะหาผลบวกโดยใช้
วธิ กี ารนับตอ่ ไดอ้ ย่างไร (นบั ตอ่ จาก 13 ไปอีก 3 ครั้ง ไดผ้ ลบวกเท่ากบั 16)

3. ครยู กตวั อย่างการบวกจำนวนทมี่ ีผลบวกไมเ่ กนิ 20 โดยวิธีนบั ต่ออกี 2 - 3 ตวั อย่าง เชน่ 7 + 5 = ,
12 + 5 = , 15 + 3 = เปน็ ตน้

4. ครแู บง่ นักเรยี นเปน็ กลุ่ม กลุม่ ละ 4 คน คละกันตามความสามารถ (เก่ง ปานกลางค่อนข้างเกง่ ปานกลาง
ค่อนขา้ งอ่อน และออ่ น) แลว้ ให้สมาชิกแต่ละกล่มุ ร่วมกนั ศกึ ษาการหาผลบวกโดยการนับตอ่ ในหนงั สอื เรยี น
คณติ ศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 หนา้ 109

ขน้ั เปรียบเทยี บและรวบรวม

สมาชิกแต่ละคนในกลมุ่ พจิ ารณาความคล้ายคลึงกันของข้ันตอนการหาผลบวกจำนวนที่มผี ลบวกไม่เกิน 20
โดยการนับตอ่ จากตัวอยา่ งทคี่ รูยกมาอธิบายหนา้ ชั้นเรียน และจากตวั อยา่ งในหนงั สือเรยี น แล้วรว่ มกันสรปุ
ออกมาเปน็ แนวคิดของกลุ่ม

ข้ันสรุป

ขัน้ สรปุ
1. ครูส่มุ นักเรียนออกมานำเสนอหน้าชน้ั เรยี น 2 - 3 กล่มุ โดยตอบคำถามในประเดน็ ดังนี้
- การบวกโดยการนับตอ่ เป็นการบวกโดยเรมิ่ นบั ต่อจากตัวใดในประโยคสญั ลษั ณ์ และนบั ไปจำนวนเท่าใด
(แนวตอบ เริม่ นบั ตอ่ จากตวั ตง้ั โดยนบั เท่ากับจำนวนของตวั บวก)
- การบวกโดยการนับต่อ จะนบั ไปขา้ งหน้าทีละเทา่ ใด (แนวตอบ นับไปขา้ งหน้าทลี ะหนึง่ )
2. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุปว่า การบวกโดยการนบั ตอ่ เป็นการหาผลบวกโดยเรมิ่ นับตอ่ จากตวั ต้งั ไปขา้ งหน้าที
ละหนึง่ เท่ากบั จำนวนของตัวบวก

ขน้ั นำไปใช้

1. ครูใหน้ ักเรียนทำแบบฝึกหัด ขอ้ 1 ในแบบฝกึ หัด คณติ ศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 หนา้ 82 เสร็จแลว้ ครูและนักเรียน

รว่ มกันเฉลยคำตอบที่ถกู ต้อง

2. นกั เรียนทำกิจกรรมฝึกทักษะ ข้อ 1 ในหนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 หนา้ 115 ลงในสมุดเป็นการบ้าน

โดยครูเน้นย้ำให้นักเรยี นส่งงานให้ตรงตอ่ เวลา

8. การวดั และประเมนิ ผล

วธิ กี าร เครอื่ งมือ เกณฑ์การผา่ น

ตรวจหนงั สือแบบฝกึ หัด เล่ม 1 หนงั สือแบบฝึกหดั เล่ม 1 หนา้ รอ้ ยละ 70 ผ่านเกณฑ์

หน้า 82 และกจิ กรรมฝึกทกั ษะ 82 และกจิ กรรมฝึกทักษะ ขอ้ 1

ข้อ 1 ในหนังสือเรยี น ในหนังสือเรยี น คณติ ศาสตร์ ป.

คณติ ศาสตร์ ป.1 เลม่ 1 หนา้ 1 เลม่ 1 หนา้ 115

115

สงั เกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรมการ ระดับคณุ ภาพ 2 ขึน้ ไป

รายบุคคล ทำงานรายบุคคล

สังเกตคุณลกั ษณะอันพึง แบบสังเกตคุณลกั ษณะอันพึง ระดบั คณุ ภาพ 2 ขึน้ ไป
ประสงค์ ประสงค์

9. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้
9.1 สอื่ การเรยี นรู้
1) หนังสือเรยี น คณติ ศาสตร์ ป.1 เล่ม 1
2) หนงั สอื แบบฝกึ หดั คณิตศาสตร์ ป.1 เลม่ 1


Click to View FlipBook Version