The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supapol17567, 2022-06-07 22:46:32

สังคม

สังคม

หนาที่พลเมอื ง วัฒนธรรม และการดําเนนิ ชวี ิตในสังคม

หนวยการเรียนรูท่ี ๑ หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๒ หนวยการเรยี นรูที่ ๓ หนว ยการเรียนรทู ่ี ๔ ชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ ๔ - ๖

กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

หนวยการเรียนรูท่ี ๕ หนว ยการเรียนรูที่ ๖ หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๗

๑_หลักสตู รวชิ าสังคมศกึ ษา
๒_แผนการจัดการเรียนรู
๓_PowerPoint_ประกอบการสอน

๔_Clip
๕_ใบงาน_เฉลย
๖_ขอ สอบประจําหนว ย_เฉลย
๗_ การวัดและประเมินผล

๘_เสรมิ สาระ
๙_ส่อื เสรมิ การเรยี นรู

บริษัท อกั ษรเจรญิ ทัศน อจท. จาํ กดั : 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200
Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศพั ท : 02 622 2999 โทรสาร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๑หนวยการเรียนรทู ่ี

สงั คมมนษุ ย

จุดประสงคก ารเรียนรู
• วเิ คราะหค วามสาํ คญั ของโครงสรางทางสังคม การขัดเกลาทางสังคมและการเปล่ยี นแปลงทางสงั คมได

ความหมาย การอยูรวมกนั และองคป ระกอบของสงั คม ความหมายของสงั คม

• สังคม หมายถึง กลมุ คนอยางนอ ยสองคนขนึ้ ไปมาอาศัยอยรู วมกันในบรเิ วณใดบริเวณหนงึ่ คนเหลาน้ีจะมี
ความสมั พันธหรอื การกระทําตอบโตก ันทงั้ ทางตรงและทางออ ม เชน การพูดจาทักทาย การทาํ งานรว มกัน
หรอื การตดิ ตอสอ่ื สารระหวางกัน เปนตน

การอยูรวมกนั เปน สงั คม

• อริสโตเตลิ (Aristotle) นกั ปราชญช าวกรกี ไดก ลาวไววา มนษุ ยเปน สตั วสังคม (social animal) หมายความวา มนษุ ยจะมี
ชีวติ โดยอยรู ว มกันเปน หมเู หลา มคี วามเก่ยี วขอ งกนั และกนั และมีความสัมพันธก นั ในหมมู วลสมาชกิ โดยสาเหตุที่มนุษยม าอยู
รว มกันเปน สังคม เพราะมคี วามจาํ เปน ดานตา งๆ ดังน้ี

• มนษุ ยม ีระยะเวลาของการเปน ทารกยาวนาน ไมสามารถชว ยเหลอื ตัวเองไดใ นระยะเริ่มตน ของชวี ติ ดวยความจาํ เปน ที่จะตอง
มกี ารเล้ยี งดูทารกเปนระยะเวลานานน้เี อง ทาํ ใหม นุษยจ ําเปน ตอ งใชชวี ติ อยรู ว มกัน สรางแบบแผนความสัมพันธกนั เปน
ครอบครัว เปน เพ่ือนบาน และมีความสมั พันธก บั คนในสงั คมอนื่ ๆ

• มนุษยมคี วามสามารถทางสมอง สามารถคิดคน วิธกี ารในการควบคุมธรรมชาติ นํามาใชในการตอบสนองความตองการ ซ่งึ
จาํ เปน ตอ งอาศยั การแบง งานและความรว มมอื จากบคุ คลอน่ื เพ่อื ใหง านบรรลผุ ลสาํ เรจ็ มคี วามจําเปนทีจ่ ะตองอยูรว มกนั
กบั คนหลายๆ คน เชน การแสวงหาอาหาร ผลิตส่งิ ของเคร่ืองนงุ หม ยารกั ษาโรค การสรางทอ่ี ยูอาศยั เปน ตน

• มนุษยมคี วามสามารถในการทจี่ ะสรางวัฒนธรรมและสง ผานไปสคู นรนุ หลัง เพือ่ นาํ ไปใชใ นชวี ติ ประจําวนั ซึง่ เปน
ปจจัยพ้ืนฐานในการดาํ เนินชวี ติ และวัฒนธรรมที่เกี่ยวของกบั ความตองการอืน่ ๆ เชน ตอ งการความรัก ความอบอนุ
การจัดระเบียบทางสงั คม ความเชอ่ื ศาสนา ศลิ ปะขนบธรรมเนียมประเพณี

องคป ระกอบของสังคม

• ประชากร จะตองมีจํานวนต้ังแต ๒ คนข้ึนไป สังคมท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุด
ก็คือครอบครวั ประกอบดวย พอ-แม- ลูก

• อาณาเขต โดยทั่วไปคนในสังคมจะอาศยั อยูในบริเวณใดบริเวณหน่ึง ซึ่งพ้ืนท่ี อาจมีขนาดจาํ กัด เชน ในบริเวณบาน ในบริเวณ
โรงเรียน เปน ตน
• ความสัมพนั ธ สมาชิกในสงั คมจะตองมคี วามสมั พนั ธและการปฏิสัมพันธ
ระหวา งกัน เชน การพูดจาทกั ทาย การทํางานกลมุ เปน ตน
• การจัดระเบียบทางสังคม ปองกันความขัดแยงระหวางสมาชิกในสังคมชวยใหการติดตอกันทางสังคม
เปนไปอยา งเรยี บรอ ย เชน การจดั ระเบยี บการจราจร การควบคุมเวลาปด -เปดของสถานบนั เทงิ เปนตน

• การมวี ัฒนธรรมของตนเอง เมือ่ คนในสังคมมาอยรู ว มกันเปนหมูเหลา ภายใตสภาพแวดลอมเดียวกัน กจ็ ะสรางวัฒนธรรมและ
ขนบธรรมเนยี มประเพณขี ึน้ กอ ใหเกิดเปนวฒั นธรรมเฉพาะของตนเองท่เี ปน เอกลกั ษณ

หนา ทีข่ องสงั คม

• ดูแลสมาชิกในสงั คมใหอ ยรู ว มกนั อยา งสนั ตสิ ขุ
• สรา งความเปนธรรมใหเกดิ ขึ้นในสงั คม

• ประสานประโยชนร ะหวางสมาชิกในสงั คม
• สงเสรมิ การคิดอยางสรางสรรคใ นสงั คม

• ปลูกฝงจิตสาํ นึกท่ีดใี หแกสมาชิกในสังคม

โครงสรา งทางสงั คม
โครงสรา งทางสงั คม

สามารถแบง ไดเปน ๒ ระดับ

กลมุ สังคม สถาบนั
ทางสงั คม

ความสัมพนั ธใ นระดบั กลุมสงั คม

กลุมสงั คมแบงออกไดเ ปน ๒ ประเภท คือ

กลมุ ปฐมภูมิ

• คนกลมุ เลก็ ท่มี คี วามสัมพันธแบบใกลช ดิ เชน ครอบครวั กลุมเพอ่ื นสนทิ

กลมุ ทตุ ยิ ภมู ิ

• คนกลมุ ใหญท่รี วมตวั กันในเรือ่ งใดเร่อื งหน่งึ เชน โรงเรยี น สมาคม องคก าร

ความสัมพันธใ นระดับสถาบนั ทางสังคม

• สังคมดํารงอยูไดเพราะมสี ถาบนั ตา งๆ คอยทําหนาท่ีขัดเกลาสมาชิกในสงั คมใหเปนคนดมี คี วามสามารถ
มีกฎระเบยี บ กฎหมาย และขนบธรรมเนยี มประเพณี คอยควบคุมสมาชิกในสงั คมใหอยใู นระเบียบวนิ ยั
ซ่งึ สิ่งตางๆ เหลา นี้ประกอบกนั เปน โครงสรางทีย่ ึดโยงใหส งั คมดาํ รงอยไู ดอ ยางมั่นคง

• โครงสรา งทางสงั คมทําใหเรามองเหน็ ภาพรวมของสงั คมไดแ จมชัด สามารถระบไุ ดว า สังคมนน้ั ๆ จะมคี วามมน่ั คงแขง็ แรงมากนอ ย
ดูไดจากการทาํ หนาทข่ี องสถาบนั ทางสงั คมตา งๆ วามคี วามสอดคลอง สมดุล สนบั สนนุ หรือแขงขนั ตามกฎกตกิ าหรอื ไมเพยี งใด
ตรงกันขามโครงสรางสงั คมจะออ นแอไมมัน่ คงหากวาความสมั พันธแ ละสถาบนั ทางสังคมมีแตความขดั แยง คนในสงั คมไมท าํ ตาม
บรรทดั ฐานทางสงั คมท่วี างไว ปญหาสงั คมกจ็ ะปรากฏขึ้น ในทส่ี ดุ สงั คมก็จะวนุ วาย ไรร ะเบยี บ

สถาบันทางสงั คม

• เมอ่ื คนมาอาศยั อยูร วมกันและสรา งความสัมพนั ธข นึ้ ระหวางกัน ความสัมพนั ธเหลา นั้น จะเชอ่ื มโยงกนั ไปมาเสมือนเปน แบบแผน
ทมี่ นั่ คง หากจดั แบง ความสมั พันธน อ้ี อกเปนเรื่องๆ กจ็ ะเห็นกลุมความสัมพนั ธท่มี ลี ักษณะคลายคลงึ กัน เราเรียกกลุมความสัมพนั ธ
ในเร่ืองหน่งึ ๆ วา “สถาบันทางสังคม (social institution)

• พจนานุกรมศัพทส ังคมวทิ ยา ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๔ ไดใหค วามหมายของสถาบนั ทางสังคมวา หมายถงึ
ยอดรวมของรปู แบบความสมั พันธ กระบวนการ และวสั ดอุ ปุ กรณท ี่สรา งขนึ้ เพ่ือสนองประโยชนส าํ คัญๆ ทางสงั คมในเรื่องใด
เรอื่ งหน่งึ ทุกสถาบันจึงมจี ารตี ประเพณกี ฎเกณฑ ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ิ และวสั ดอุ ปุ กรณตา งๆ ของตนเอง เชน อาคารสถานท่ี
เคร่อื งจักรกล อุปกรณส่อื สาร เปนตน

• สถาบันทางสงั คมตามนยั แหงสงั คมวิทยาน้ัน ไมไดจ ะปรากฏออกมาในรูปทีเ่ ปน ทางการ เชน การอยรู วมกนั เปนครอบครวั ใน
บา นแหงหนงึ่ (สถาบนั ครอบครัว) ธนาคาร สาํ นักงาน ตลาดสด (สถาบนั ทางเศรษฐกจิ ) โรงเรยี น วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัย
(สถาบันการศกึ ษา) เทา นัน้ แตรวมไปถึงรปู แบบทไี่ มเปนทางการดวย ซ่ึงในแตละสังคม จะมสี ถาบันทางสังคมทเี่ ปน พนื้ ฐาน
ดงั นี้

สถาบนั ครอบครัว

บทบาทหนา ท่ี

• อบรมเลย้ี งดูสมาชิกในครอบครัวใหเปน คนดีของสงั คม เชน รูจ ัก
การเสยี สละความตรงตอ เวลา การมีนาํ้ ใจตอ คนรอบขาง เปนตน

• ถายทอดวฒั นธรรมใหแ กสมาชิกใหมทก่ี ําเนิดขึ้นมาในสังคม เชน
การเคารพผใู หญ การออ นนอมถอ มตน เปนตน

• กําหนดแนวทางปฏบิ ตั แิ กส มาชกิ ในครอบครัว เชน การใชจ าย
การอดออม การเลือกคู การหมน้ั การแตง งาน เปน ตน

สถาบนั เศรษฐกิจ

บทบาทหนาท่ี

• พัฒนาและสรางความเจรญิ กาวหนาในทางเศรษฐกิจเพอ่ื ความอุดมสมบรู ณ
และความมนั่ คงแกสมาชิกในสังคม

• เปนตัวกลางในการกําหนดกลไกราคา โดยตองคาํ นึงถงึ ความเหมาะสม
และประโยชนข องผบู รโิ ภคเปน หลกั

• กระจายสินคา และบริการใหเพียงพอและทวั่ ถึงแกผบู รโิ ภคมากท่สี ดุ
โดยสินคา และบริการตอ งมมี าตรฐานตามท่ีกฎหมายกาํ หนด

สถาบนั การเมอื งการปกครอง

บทบาทหนา ท่ี

• รกั ษาความสงบเรียบรอ ยของชาตบิ านเมอื งใหอยใู นสภาวะปกติ
สรางระเบยี บกฎเกณฑใหแ กสังคม บําบดั ทกุ ขบ าํ รงุ สขุ ใหแ กราษฎร

• วินจิ ฉัยขอขัดแยงระหวา งสมาชกิ ในสงั คม มีองคก รตลุ าการใหความ
ยตุ ิธรรมแกส มาชกิ ทมี่ คี วามขดั แยง กนั

• สรา งความสมั พนั ธอ ันดกี บั นานาประเทศ มกี ารติดตอส่ือสาร เพอื่ สรา ง
ความไวเนื้อเช่ือใจระหวา งกัน นําไปสูความรว มมือกันในดา นตางๆ

สถาบนั การศกึ ษา

บทบาทหนาท่ี

• จดั การศกึ ษาใหเ ยาวชนมีความรู ความสามารถ เพอื่ จะไดนาํ ไปใชใ น
การประกอบอาชพี และการดําเนินชีวิตในอนาคตตอ ไป

• สงเสริมคานิยมทด่ี ีงาม ใหเยาวชนรูจกั ใชสทิ ธิและหนา ท่ขี องตนใหเ กดิ
ประโยชนตอ สงั คมและประเทศชาติ โดยไมล ะเมดิ สิทธขิ องผอู ืน่

• ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม มุงเนนใหเยาวชนเปน ผูมคี วามรูคู
คณุ ธรรม มคี วามซื่อสตั ยสจุ รติ และรจู กั เสยี สละเพ่อื สวนรวมและ
ประเทศชาติ

สถาบันศาสนา

บทบาทหนาที่

• จัดการศึกษาใหเ ยาวชนมคี วามรู ความสามารถ เพื่อจะไดนําไปใชใ นการ
ประกอบอาชีพและการดําเนนิ ชวี ติ ในอนาคตตอ ไป

• สง เสริมคา นยิ มทด่ี ีงาม ใหเยาวชนรูจักใชสทิ ธแิ ละหนา ที่ของตนใหเกิด
ประโยชนต อ สงั คมและประเทศชาติ โดยไมละเมดิ สิทธขิ องผอู ่นื

• ปลกู ฝง คุณธรรม จริยธรรม มงุ เนน ใหเยาวชนเปน ผูมีความรูค คู ุณธรรม
มีความซ่อื สตั ยส จุ ริต และรจู ักเสยี สละเพือ่ สวนรวมและประเทศชาติ

สถาบันนันทนาการ

บทบาทหนาที่

• สง เสริมการใชเ วลาวา งใหเกดิ ประโยชน ใหสมาชกิ ในสงั คมเห็นคุณคา
ของการทาํ กจิ กรรมที่สรา งสรรคเ พอ่ื ตนเองและสวนรวม

• สรา งความบันเทงิ ใหแ กสมาชกิ ในสังคม เพือ่ ใหการดํารงชวี ิตมีความสขุ
สมบูรณม ากยง่ิ ขึน้

• ชว ยผอนคลายความตงึ เครียด เพม่ิ พนู อนามยั ทีด่ ี รวมท้ังเสรมิ สรา ง
สขุ ภาพจติ ทด่ี ีใหกับสมาชิกในสังคม

สถาบนั ส่อื สารมวลชน

บทบาทหนา ท่ี

• มีความเปนกลางในการนาํ เสนอขอ มลู ขา วสาร ไมน าํ เสนอขอ มลู เอนเอยี ง
ไปทางฝา ยใดฝายหนง่ึ

• เปด โอกาสใหประชาชนไดแสดงความคดิ เหน็ ผา นสือ่ มวลชน เพอื่ สะทอน
ความเปนจรงิ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในสงั คมปจ จบุ นั

• มสี ว นรว มตรวจสอบการทาํ งานของบุคคลและกลมุ บุคคล ไดแก ผูด ํารง
ตําแหนงทางการเมอื ง ขา ราชการ หรอื เจา หนา ที่ของรฐั เปน ตน

การจัดระเบยี บทางสงั คม ความหมาย

• การจดั ระเบียบทางสังคม หมายถึง วิธีการตางๆ ทค่ี นในสงั คมกําหนดขึ้น เพ่อื ใชเปนระเบยี บกฎเกณฑในการอยู
รวมกนั เปน การควบคมุ สมาชกิ ใหมีความสมั พันธกนั ภายใตแ บบแผนเดยี วกนั เพอ่ื ใหเ กดิ ความเปนระเบยี บเรียบรอ ย
ในสงั คม การจัดระเบยี บทางสังคมจะแตกตางกนั ออกไปในแตล ะสงั คม ทงั้ นีเ้ ปน ผลมาจากความคิด ความเชอ่ื
ประวัติศาสตร สภาพภมู ศิ าสตร และบรรทดั ฐานของสงั คมนั้นๆ

องคประกอบของการจดั ระเบียบทางสงั คม

๑ ระบบคณุ คาของสงั คม

• เปน หวั ใจหรือเปา หมายสูงสุดท่ีสงั คมปรารถนาจะใหบ ังเกิดขึน้ คณุ คา น้เี ปนส่ิงทส่ี มาชกิ ของสงั คมยอมรบั ถอื วา
เปนสิ่งทีด่ ีงาม นายกยอ ง และสมควรกระทําใหบ รรลผุ ล เพราะจะกอ ใหเกดิ ความรม เย็นและความพงึ พอใจของ
สงั คมท้ังมวล อาจมกี ารเรยี กระบบคุณคา ของสงั คมวา เปน “ขอ ตกลงของสังคม”

• ระบบคุณคาของสังคมทาํ หนาทีเ่ สมอื นหนึ่งเปน สมองของมนุษย เปนศนู ยร วมกาํ หนดใหส ว นตางๆ ของรา งกาย
ดําเนนิ งานไปตามกลไกใหบ รรลเุ ปา หมายสงู สดุ เปา หมายของสังคมก็เปนเชนเดียวกนั เพราะเปน เปา หมายที่
สมาชิกของสงั คมน้ันประสงคท จี่ ะกา วไปใหถ ึง

๒ บรรทดั ฐานหรอื ปทัสถานทางสงั คม

• มาตรฐานการปฏิบัตติ ามบทบาทและสถานภาพของแตล ะบคุ คล บรรทดั ฐานทางสังคมเปนระเบยี บแบบแผนที่
กาํ หนดวา การกระทําใดถูกหรอื ผดิ ควรหรือไมค วรยอมรบั ทั้งน้ีเพ่ือใหเ ปนไปตามทิศทางของระบบคุณคาทาง
สังคมนนั่ เอง

• การกระทาํ ทางสงั คมอาจจําแนกออกเปน ระดบั ตางๆ ซง่ึ แตล ะระดับอาจเรียกวา “ประเภทของบรรทดั ฐาน”
ประกอบดว ย
วิถปี ระชา (folkways)
จารตี (mores)
กฎหมาย (law)

วถิ ปี ระชา (folkways) • วิถีประชา (folkways) หรอื ธรรมเนียมชาวบา น เปน ระเบยี บแบบแผนทส่ี มาชกิ ในสังคม
จารีต (mores) ควรปฏบิ ัติตาม ถา หากไมป ฏบิ ตั ิตามหรอื ฝาฝนจะถูกสงั คมตาํ หนิติเตยี นหรอื มปี ฏิกริ ิยา
ตอบโตท่ไี มร ุนแรง แตหากวา ทาํ ความดีตามมาตรฐานท่สี ังคมกําหนดจะไดร บั คําชมเชย
เลก็ ๆ นอ ยๆ เพ่อื ใหก ําลงั ใจ

• จารีต (mores) หรอื อาจเรยี กวา กฎศลี ธรรม จารตี ประเพณเี ปน มาตรฐานการกระทําที่
สําคัญมากขนึ้ ผทู ่ีทําผิดจารตี จะถกู นินทาวาราย ถกู ตําหนอิ ยา งรุนแรงเปนท่รี ังเกยี จของ
สังคมทั่วไป โดยเฉพาะสงั คมท่ียังไมม ภี าษาเขยี นเปน ลายลกั ษณอกั ษรจารตี จะเปน เสมอื น
กฎสงั คมทร่ี นุ แรงทส่ี ุด เชน หากใครทําผดิ เรื่องชูส าวจะถกู ขบั ออกจากสังคมหรอื ตอ งโทษ
ประหารชวี ติ เปน ตน

กฎหมาย (law) • กฎหมาย (law) เปนขอบังคบั ทรี่ ฐั จดั ทาํ ข้นึ หรอื มาตรฐานของสงั คมหรือจารตี ประเพณที ่ี
ไดรบั การเขยี นเปนลายลกั ษณอ กั ษร โดยกําหนดบทลงโทษผูทีฝ่ าฝน ตามระดับความรนุ แรง
ของการกระทาํ ไวอ ยา งชดั เจน

๓ สถานภาพและบทบาท

• ในสงั คมตา งๆ จะพบคนและกลมุ คนมากมาย บางกท็ ักทายปราศรัยกนั หรือทํางานรวมกัน บางกเ็ ดินผานกันไป
มา โดยไมไดสนใจกัน ปรากฏการณดังนี้สามารถพบเห็นไดในทุกสังคม หากมองลึกลงไป คนในสังคมตา งมกี าร
กระทําโตตอบกัน ท้ังโดยทางตรงและทางออม ตามตําแหนงและหนาที่ในสังคมเราเรียกตําแหนงทางสังคมวา
“สถานภาพ” และหนา ทีท่ ่ีกระทําตามตําแหนงวา “บทบาท”

• สถานภาพทางสงั คม (social status) หมายถงึ ตําแหนง ทีบ่ คุ คลครอบครองอยู ซง่ึ บุคคลจะมสี ิทธแิ ละหนา ที่
ตามบทบาทของตําแหนง น้นั ๆ

• บทบาททางสังคม (social role) หมายถงึ หนาท่ีหรอื พฤติกรรมที่แตละสังคมกําหนดใหผูท่ีดํารงตําแหนง
ตางๆ ในสงั คมกระทาํ

สถานภาพสามารถจําแนกออกไดเ ปน ๒ ประเภท

สถานภาพทตี่ ดิ ตัวมาแตก ําเนดิ สถานภาพสมั ฤทธิ์

• เปนสถานภาพทสี่ งั คมกาํ หนดใหโดยทบ่ี ุคคลไมมี • เปนสถานภาพท่ไี ดมาดวยการใชค วามรูและ
ทางเลอื ก เชน เพศ อายุ สผี ิว การเปนพอแมล กู ความสามารถของบคุ คล ตวั อยางของสถานภาพ
การเปน ญาติพี่นองตามสายเลอื ด เปน ตน ประเภทนี้ เชน ตําแหนง หนาที่การงาน ระดบั
การศึกษา รายได

การขดั เกลาทางสังคม

• การขดั เกลาทางสังคม หมายถึง กระบวนการเรยี นรูการเปนสมาชกิ ของสงั คม โดยซึมซบั บรรทัดฐานและคา นิยมทาง
สังคมมาเปน ของตนและเรยี นรูใ นการปฏิบตั ิตนตามบทบาทหนาที่ เพอ่ื ที่จะสามารถปรบั ตัวเขา กบั สังคมท่ตี นเปน
สมาชิกอยไู ดเปนอยา งดี

• กระบวนการขดั เกลาทางสงั คมเร่ิมตน ตงั้ แตบ ุคคลถอื กําเนดิ ข้นึ มาในโลก ตวั แทนสาํ คญั ทีท่ ําหนาทใ่ี นเร่ืองนี้ ไดแ ก
ครอบครัว กลุมเพอื่ น โรงเรียน มหาวทิ ยาลยั ศาสนา ตลอดจนสือ่ มวลชนตางๆ ตวั แทนเหลา นี้จะทําใหบ คุ คลได
ตระหนักถงึ คุณธรรม คณุ คา และอดุ มคติท่ีสังคมยึดม่นั ไดเ รียนรูบ รรทดั ฐาน และขนบธรรมเนียมประเพณี ท่ีใชอยใู น
สงั คม

ประเภทของการขัดเกลาทางสังคม

การขัดเกลาทางสงั คมโดยทางตรง

• การอบรมเลย้ี งดูของพอ แม ตองใชเ หตุผลในการอบรมเลย้ี งดลู กู ไมใชอารมณในการ
ตดั สินใจหรอื แกไ ขปญหา รับฟง ความคิดเหน็ ของลูก รวมทั้งเปด โอกาสใหลูกไดแ สดง
ความสามารถทต่ี นมีอยู

• การอบรมส่ังสอนของครูอาจารย ครตู อ งอบรมและเสรมิ สรา งทกั ษะความรูและพฤตกิ รรมท่ี
ดีงามใหแกน กั เรียน ฝก ฝนใหนักเรยี นไดพฒั นาศกั ยภาพอยางรอบดา น ไมวา จะเปนในเรอื่ ง
ของการเรยี น การทาํ กิจกรรม ตลอดจนการใชช ีวติ ในสงั คมอยางมีความสุข

ประเภทของการขัดเกลาทางสงั คม

การขัดเกลาทางสังคมโดยทางออ ม

• อา นหนงั สือ ชว ยเพ่มิ พูนความรูใ หมคี วามหลากหลาย สรางเสรมิ ประสบการณใหมๆ สามารถนาํ มาเปน
แนวทางในการประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นใหช ีวติ มีคณุ คาและมรี ะเบยี บแบบแผนทดี่ ยี ง่ิ ข้นึ

• การฟงอภิปราย ชว ยเปด โลกทศั นใ หกวางไกลมากข้นึ ไดร บั ฟงขอ มูลจากผมู ีความรู สามารถนาํ
ขอคิดท่ีไดมาปรบั ใชใหเกิดประโยชนไ ด

• การทํากิจกรรมกลมุ ชวยใหเกดิ การแลกเปลี่ยนเรยี นรซู ่ึงกนั และกนั เสรมิ สรางความสามัคคีในหมูคณะ
รจู ักเสียสละเพือ่ ใหก จิ กรรมทท่ี าํ น้ันประสบความสําเรจ็ สงู สุด

องคกรที่ทําหนาท่ีในการขัดเกลาทางสังคม

ครอบครวั
เปน องคก รที่มบี ทบาทสาํ คัญมาก ซง่ึ จะทําหนาท่อี บรมสัง่ สอนสมาชกิ ใหเปน พลเมืองดี ปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑท ่สี ังคมกาํ หนด
โรงเรียน

เปนองคกรที่ทาํ หนา ทีเ่ สริมสรา งความรู ความสามารถ ตลอดจนการปรบั ตวั ในการใชชวี ิตในสงั คม

สถาบันศาสนา

เปน องคก รท่ที าํ หนาทีถ่ า ยทอดแนวทางการดําเนนิ ชีวิตใหแ กส มาชิกในสงั คม มุงเนนใหค นกระทาํ ความดี ละเวนความช่วั

กลมุ เพ่ือน

เปนองคกรท่ีทาํ หนา ทขี่ ดั เกลาทางสงั คมอกี หนวยหนง่ึ ในความเช่อื และคานยิ มเฉพาะกลุมตนเอง อาจแตกตา งกันออกไป
ตามลกั ษณะกลมุ เชน การแตง กาย กลุมเดียวกันกจ็ ะแตง กายคลา ยๆ กัน

สื่อมวลชน

เปน องคกรที่ทําหนา ที่ถา ยทอดขา วสารความรู ศลิ ปะ ประเพณี รวมทัง้ กฎระเบียบทางสังคมไปยังสมาชกิ ของสงั คมทุกหมเู หลา

การเปล่ยี นแปลงในสงั คม ความหมาย

• การเปล่ยี นแปลงทางสังคม หมายถงึ การเปลยี่ นแปลงระเบยี บของสงั คมในการกระทําในเรื่องตางๆ ซ่งึ เปน การ
เปลย่ี นแปลงท่เี กย่ี วขอ งกับความสมั พนั ธและแบบแผนความประพฤตขิ องสมาชิกในสงั คมทแ่ี ตกตา งไปจากเดิม เชน
การเปลย่ี นวัตถุสิ่งของท่ีใช การเปลย่ี นแปลงความคิดความเช่อื เปนตน

ประเภทของการเปล่ียนแปลงในสังคม

การเปลยี่ นแปลงระดับจลุ ภาค

เปนการเปลยี่ นแปลงขนาดยอยในระดับบุคคล กลมุ บคุ คล และรวมถงึ พฤติกรรมตา งๆ ของบุคคล ตวั อยา งเชน

• การผลิตสินคา จากเดิมที่ผลิตสินคาดวยมือ เปล่ียนมาเปนการใชเทคโนโลยีสมัยใหม
ในการผลติ สินคา เพอ่ื ใหไ ดป ริมาณมาก เพยี งพอกบั ความตองการในปจ จุบัน

• การศึกษาของนักเรียน จากเดิมครูจะเปนผูถายทอดความรูใหแกนักเรียนฝายเดียว
เปล่ียนเปนการศกึ ษาเนน ใหนกั เรยี นเปน ศูนยกลางการเรียนรู เพื่อกระตุนใหนักเรียนคิดเปน
ทาํ เปน และมภี าวะความเปน ผนู ํา

ประเภทของการเปลย่ี นแปลงในสังคม

การเปล่ยี นแปลงระดับมหภาค

เปนการเปล่ียนแปลงขนาดใหญท่ีเก่ียวของกับระบบสังคม มีผลกระทบตอแบบแผนการดําเนินชีวิตของผูคนในสังคม
เปนจาํ นวนมาก ตวั อยา งเชน

• การเลิกทาสในสมัยรชั กาลที่ ๕ สง ผลใหร าษฎรทกุ คนมคี วามเทา เทยี มกัน มีเสรีภาพในการ
ดาํ เนนิ ชีวติ ประกอบอาชพี นอกจากนีย้ ังมผี ลทาํ ใหประเทศมแี รงงานอสิ ระเพิ่มมากขึน้

• การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ เปลี่ยนจากระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชยเปน
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข มีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด
ประชาชนมสี ิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคเทาเทยี มกัน

ปจ จยั ท่ีกอใหเ กิดการเปล่ยี นแปลงในสงั คม

ปจ จยั ภายใน • เชน การประดิษฐคิดคนสิ่งของใหมๆ การเปล่ียนแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ เศรษฐกิจ เปนตน
ซึ่งมผี ลตอ ทางสงั คมมาก เพราะเทคโนโลยใี หมๆ ทาํ ใหสะดวกสบาย ติดตอสื่อสารไดเร็วข้ึน ผลิตสินคาได
ในปริมาณท่ีมากขึ้น เกิดการเปล่ียนแปลงโครงสรางทางประชากรและอาจกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
โครงสรา งครอบครวั และสังคมในลาํ ดับตอ ไป

มูลเหตทุ ที่ ําใหเ กดิ
การเปลย่ี นแปลงในสงั คม
สามารถจําแนกออกเปน

๒ ปจจยั ใหญๆ

• ปจจุบันมีการแพรกระจายและการรับวัฒนธรรมของสังคมอ่ืนมาใชกันมาก ตัวอยางเชนการนําระบบ ปจ จยั ภายนอก
โรงเรียนมาใชแทนการเรียนรูจากครอบครัวหรอื วัดเชนในอดีต หรือการรับวัฒนธรรมดานเครื่องแตงกาย
อาหาร ยารักษาโรค และเคร่ืองมือส่ือสารจากสังคมอื่นมาใชจนทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมข้ึน
มากมายในปจ จุบนั

ปญ หาสังคมไทยและแนวทางการแกไ ขปญหา

• สังคมไทยก็เปน เชน เดียวกบั สงั คมอ่นื ๆ ท่วั โลกทม่ี ีปญ หา เพราะทกุ สังคมมีการเปลยี่ นแปลงมคี นกระทําพฤตกิ รรม
เบี่ยงเบนความสมั พนั ธ และสถาบันทางสังคมทําหนา ที่ไมครบสมบูรณซ ึง่ สง่ิ เหลานเ้ี ปน ปจ จยั พ้นื ฐานทาํ ใหเกิดปญ หา
สงั คมได ปญ หาสังคมอาจมคี วามรุนแรงและสงผลกระทบตอสังคมในระดับและขอบเขตทต่ี า งกนั เชน ระดบั ชมุ ชน
ระดับประเทศ และระดบั โลก เปน ตน

ปญ หายาเสพตดิ

สาเหตขุ องปญหา
• ความอยากรอู ยากลอง ความรูเทา ไมถึงการณ
• ไมไ ดร บั คาํ แนะนําทถ่ี ูกตองจากผูใหญและบุคคลท่ีเกยี่ วของ
• การชักชวนของเพอ่ื น โดยสว นมากมกั เกิดจากความเกรงใจเพอื่ นหรอื ตอ งการแสดงตนวา เปน พวกเดยี วกับเพอ่ื น

แนวทางการแกไ ข

• รฐั บาลควรมีนโยบายปราบปรามยาเสพตดิ อยางจริงจงั และเปนรปู ธรรม
• พอแมควรปลูกฝง คา นิยมทีด่ ีใหแกล กู เพ่อื ปองกันปญ หายาเสพติด
• องคก รเอกชนควรมบี ทบาทในการใหความรู ความเขา ใจเกีย่ วกบั พิษภยั ของยาเสพติด

ปญ หาสง่ิ แวดลอม

สาเหตุของปญหา
• การตัดไมท ําลายปา การเผาปา การลาสัตว
• การคมนาคมขนสง ทกี่ อ ใหเ กิดมลพษิ
• การทง้ิ ขยะลงในแมน้าํ ลาํ คลอง
• กระบวนการผลิตของโรงงานอตุ สาหกรรม

แนวทางการแกไข
• ปลูกฝงความรู ความเขา ใจเกยี่ วกับการอนรุ กั ษส ่งิ แวดลอ ม
• รว มกนั รณรงคใ หประชาชนหนั มาใชพ ลังงานทดแทนกนั มากขึน้ เชน การใชถุงผาแทนการใชถงุ พลาสติก
• ปลูกตนไมเพือ่ เพม่ิ พ้นื ท่สี ีเขยี วในบรเิ วณชุมชนและบรเิ วณที่สาธารณะ

ปญ หาการทจุ รติ

สาเหตขุ องปญหา
• เกิดจากความโลภ ความตอ งการ ความอยากได ความบริโภคทเ่ี กินพอดี
• การเหน็ ตัว เห็นแกป ระโยชนสว นตนมากกวา ประโยชนส ว นรวม
• การขาดจิตสํานึกทางศีลธรรมและการไมเกรงกลัวกฎหมาย

แนวทางการแกไ ข
• ภาครัฐควรมีบทลงโทษทางกฎหมายทเ่ี ขมงวดเกีย่ วกบั การทจุ ริต
• พอแมควรปลกู ฝง คา นิยมท่ดี ี เนน ความซื่อสัตยสจุ รติ ใหแกบ ตุ รหลาน
• องคกรทกุ ภาคสว นควรตระหนักถงึ ความสาํ คัญและเปน ตัวอยา งท่ดี ใี นการแกไ ขปญหาการทุจริตอยางเปนระบบ

ปญ หาความรุนแรงในครอบครัวและสงั คม

สาเหตขุ องปญหา
• สังคมมจี าํ นวนสมาชกิ หรือจาํ นวนประชากรเพม่ิ มากขนึ้ อยา งรวดเรว็
• คนในสงั คมตองแขง ขนั กนั ในดานตางๆ จนเกดิ ความเครียด
• อยใู นสภาพสงั คมทเ่ี นนวัตถนุ ิยม ขาดการยบั ยง้ั ช่ังใจและการควบคมุ อารมณใหม ีสติ

แนวทางการแกไ ข
• ใหเ กียรติกนั ในครอบครวั หนั หนาปรึกษากนั ทง้ั ทางดานการเงนิ การเรยี น การดําเนินชีวติ และทางดา นจิตใจ
• ขอความรว มมือจากองคกรทง้ั ภาครฐั และเอกชนเขา ไปรณรงคก ารตอตา นการใชความรนุ แรง
• การสรางความสมานฉนั ทใ นสงั คม ทาํ กจิ กรรมรว มกนั รจู กั การพง่ึ พาอาศัยกัน

แนวทางการพัฒนาทางสงั คม

• การพฒั นาประเทศในระยะแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ยดึ หลกั
การปฏิบตั ิตาม “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” และขับเคลื่อนใหเกดิ ผลในทางปฏบิ ัติทชี่ ัดเจนย่ิงขึน้ ยดึ แนวคดิ
การพฒั นาแบบบรู ณาการเปน องครวมท่มี ี “คนเปน ศูนยก ลางการพฒั นา” ทง้ั ดานตวั คน สังคม เศรษฐกิจ
สิ่งแวดลอ มและการเมืองซ่ึงไดก าํ หนดยุทธศาสตรการพฒั นาไว ดงั น้ี

๑ สรา งความเปนธรรมในสงั คม
๒ พัฒนาคนสูสังคมแหง การเรียนรตู ลอดชีวติ อยางย่งั ยืน
๓ สรางความเขมแขง็ ภาคการเกษตร และความมนั่ คงของอาหารและพลังงาน
๔ ปรบั โครงสรางเศรษฐกจิ สกู ารเตบิ โตอยางมคี ุณภาพและยังยืน
๕ สรางความเชอ่ื มโยงกับประเทศในภมู ภิ าคเพอ่ื ความมน่ั คงทางเศรษฐกิจและสังคม
๖ การจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ มอยา งย่ังยนื


Click to View FlipBook Version