The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Agro-Industry, 2022-01-26 01:43:45

รายงานประจำปี 2564

รายงานประจำปี 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

สารบัญ หนา
1
สารจากรองอธิการบดปี ระจาํ วทิ ยาเขต มจพ.ปราจีนบรุ ี 2
สารจากคณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตร 4
ปรัชญา ปณิธาน วิสยั ทัศน พันธกิจ วตั ถปุ ระสงค อตั ลักษณ เอกลักษณ 5
ประวตั คิ วามเปนมาและพัฒนาการ 9
โครงสรา งการบริหารงานคณะอุตสาหกรรมเกษตร 10
คณะผูบริหาร 11
การบริหาร 17
ขอ มูลดานบุคลากร 20
สรุปงบประมาณ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2564 21
การจดั การเรยี นการสอน 51
สหกิจศึกษา 54
การประกนั คณุ ภาพการศึกษา 60
งานวิจัย 67
งานบริการวชิ าการแกส งั คม 86
กิจการนกั ศกึ ษา 94
ประมวลภาพกจิ กรรม 97
คณะกรรมการจดั ทํา รายงานประจําป 2564

รายงานประจําป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

สารจากรองอธิการบดปี ระจาํ วทิ ยาเขต มจพ.ปราจนี บรุ ี

ปนี้เปนปท่ียากลําบากในการจัดการศึกษาเพราะผลกระทบจากการระบาดของไวรัส COVID-19
แตคณะอตุ สาหกรรมเกษตรก็ยงั คงดาํ เนินการตามภารกจิ ตางๆ อยางครบถว นในการผลิตบณั ฑิตทม่ี คี วามรู ความสามารถ
ดานการพัฒนาผลิตภัณฑ แปรรูปการเกษตร วิทยาศาสตรการอาหาร และดานการจัดการอุตสาหกรรม โดยจะเห็นไดวา
ในขณะที่ประเทศชาติไดรับผลกระทบจากการระบาดของไวรัส COVID-19 ทําใหธุรกิจสวนใหญประสบปญหา
แตภาคการเกษตรที่เปนปจจัยพื้นฐานสําคัญของประเทศยังคงดําเนินการตอไปได เพราะฉะนั้นภาคการเกษตรถือเปน
กําลังสาํ คญั ในการขบั เคล่ือนประเทศชาติ

ดังน้ัน คณะอุตสาหกรรมเกษตรจึงตองดําเนินภาระกิจในการสรางบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ และมีองคความรูทาง
ดานอุตสาหกรรมเกษตร และขอใหบุคลากรของคณะอุตสาหกรรมเกษตรทุกทานจงรวมมือกันในการพัฒนาคณะใหมี
ความเจรญิ กาวหนาตอไป

(ผูช ว ยศาสตราจารยพรี ะศักด์ิ เสรีกุล)
รองอธกิ ารบดปี ระจาํ วทิ ยาเขต มจพ.ปราจีนบรุ ี

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

1

สารจากคณบดคี ณะอตุ สาหกรรมเกษตร

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี ไดมีการ
พัฒนาภารกิจตามนโยบายของรัฐบาลและมหาวิทยาลัยมาอยางตอเนื่อง โดยมุงหวังใหคณะเจริญกาวหนาเปนหนึ่งใน
องคกรที่บมเพาะศักยภาพนักศึกษา สงเสริม พัฒนางานวิจัยและบริการวชิ าการใหกับสงั คม และชุมชน ตลอดระยะเวลา
18 ป ท่ผี านมา เพือ่ เปน กาํ ลงั สาํ คัญในการพัฒนาประเทศชาติ โดยเฉพาะในชวง 2 ปท ี่ผา นมานัน้ เปนยุคของเปลี่ยนแปลง
ท่ีสงผลกระทบอยางรุนแรง (Disruption) ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม สาธารณสุข รวมถึงสิ่งแวดลอ ม ซึ่งหลีกเลี่ยงไมไดทีจ่ ะ
สงผลกระทบตอการดําเนินงานของคณะในหลากหลายมิติเชนกัน ดังน้ันเม่ือโลกเปล่ียน คนก็ตองปรับ ในฐานะที่เปนทีม
ผูบริหารจึงตองสรางพลังขับเคลื่อนเชิงรุก และเตรียมความพรอมพัฒนาส่ิงใหมๆ เพื่อนําภารกิจตางๆ ใหสําเร็จบรรลุ
วัตถุประสงค และเพื่อความยั่งยืนของคณะ แมจะเปนเร่ืองยากเนื่องจากการปรับตัวยอมมีปญหาและอุปสรรคในชวง
เริ่มตน ซ่ึงตองอาศัยระยะเวลา โดยมีกําลังสําคัญคือบุคลากรทั้งสายวิชาการ และสายสนับสนุนวิชาการท่ีมีความรู
ความสามารถ พัฒนาตนเองอยเู สมอ รวมแรงรวมใจ เสียสละ เขา ใจการเปลยี่ นแปลง แนวทางการบริหารงานเชิงรุกเพ่ือ
ความยง่ั ยืนของคณะตามภารกจิ หลกั 4 ดา น มดี ังนี้

1. ดานการบริหาร โดยการพัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกรใหทันกับยุคสมัย การพัฒนาและสราง
วัฒนธรรมองคกรที่มีทัศนคติเชิงบวก มีการทํางานเปนทีม มองเปาหมายการพัฒนานักศึกษา การสงเสริมและพัฒนา
ศักยภาพบุคลากรท้ังสายวิชาการ และสายสนับสนุนวิชาการในดานการใชเทคโนโลยีดิจิทัล รวมถึงการพัฒนาปรับปรุง

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

2

อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบัติการ ส่ิงแวดลอม และเพ่ือรองรับโครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing
University)

2. ดานการเรียนการสอน การพัฒนาสื่อ การสรางภาพลักษณของหลักสูตรปริญญาตรีและปริญญาโท รวมถึง
สงเสริมกิจกรรมเชิงรุกท่ีสอดคลองกับอัตลักษณของคณะ การมีคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงค “คิดเปน ทําเปน
แกปญหาเปน” การสรางความเขมแข็งดานสหกิจศึกษา และการเตรียมพรอมสําหรับโครงการ Degree, Non-degree
และ Credit bank

3. ดานการวิจัยและบริการวิชาการ สนับสนุนและสงเสริมบุคลากร ในการทําวิจัย ขอทุนวิจัยจากภาครัฐและ
เอกชน การบริการวิชาการบูรณาการสูชุมชนและสังคม การจัดโครงการบริการวิชาการเพ่ือหารายได การทํางานรวมกับ
ภาคอุตสาหกรรม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม รวมถึงการปรับปรุงเครื่องมือทางวิทยาศาสตร หองปฏิบัติการ
และอาคารสถานทีใ่ หไ ดมาตรฐานเพือ่ รองรับงานวจิ ัยและบริการวชิ าการ เปนตน

4. ดานกิจการนักศึกษาและสงเสริมศิลปะ วัฒนธรรม คุณธรรมและจริยธรรม โดยการสงเสริมกิจกรรมนอก
หองเรียน กิจกรรมเพ่ือพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพ กิจกรรมการพัฒนาทักษะนักศึกษาในการใชภาษาอังกฤษ
การสรา งเครอื ขายนักศึกษาปจ จุบนั และศิษยเกา สัมพนั ธ

(ผชู วยศาสตราจารย ดร.ปย ะรชั ช กลุ เมธี)
คณบดีคณะอตุ สาหกรรมเกษตร

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

3

ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พนั ธกจิ วตั ถุประสงค อัตลกั ษณ เอกลักษณ

ปรัชญา “พัฒนาคน เพ่ือพฒั นาอุตสาหกรรมเกษตร”

ปณิธาน “มุงม่ันพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีความสามารถทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการบริหาร และการจัดการ
ดานอุตสาหกรรมเกษตร อันจะกอใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมท่ียั่งยืนรวมทั้งเพ่ิมโอกาส
ทางการศึกษาในสว นภูมิภาค”

วสิ ยั ทัศน “บณั ฑิตมคี ุณภาพ มีจติ สํานึกตอสังคม บูรณาการงานวจิ ัยและบริการวิชาการ ดานอุตสาหกรรมเกษตร”

พนั ธกิจ “ผลิตบณั ฑติ ผูมคี วามรูทางวิชาการดานอตุ สาหกรรมเกษตรท่ีมคี ุณธรรมและจริยธรรม เพื่อการพัฒนาประเทศท่ี
ยั่งยืน ดําเนินการวิจัยพัฒนาองคความรูและประยุกตใชในอุตสาหกรรมเกษตร ใหบริการวิชาการแกชุมชนภาครัฐและ
ภาคอุตสาหกรรม สง เสรมิ และสนับสนุนกิจกรรมเพอ่ื การทํานบุ ํารุงศลิ ปะและวฒั นธรรมของชาติ”

วัตถปุ ระสงค
1. เพ่ือผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ จริยธรรม สอดคลองกับการพัฒนาขององคความรู และความตองการดาน

อุตสาหกรรมเกษตร
2. เพอื่ เปด โอกาสทางการศึกษาดานอุตสาหกรรมเกษตร
3. เพ่ือพัฒนางานวิจัยใหมีคุณภาพและเอกลักษณทางวิชาการและสนับสนุนใหมีการนําผลงานวิจัยไปถายทอด

สสู ังคม ในลกั ษณะการบริการชมุ ชน
4. เพอื่ ใหเ กิดความรว มมือทางวชิ าการกบั ภาครัฐและภาคเอกชน

อตั ลักษณ “บัณฑิตที่คิดเปน ทาํ เปน แกป ญ หาเปน”

เอกลักษณ “มจพ. คอื มหาวทิ ยาลัยแหงการสรางสรรคประดษิ ฐกรรมสูนวตั กรรม”

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

4

ประวตั คิ วามเปน มาและพัฒนาการ

คณะอุตสาหกรรมเกษตร ไดรับความเห็นชอบใหบรรจุในแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะท่ี 8
(พ.ศ. 2540-2544) ตอมาเล่ือนมาบรรจุอยูในแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะท่ี 9 (พ.ศ. 2545-2549) และ
ไดรับความเห็นชอบจากสภาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ อนุมัติใหจัดตั้งขึ้นในวันที่ 12 กุมภาพันธ
2546 โดยมวี ัตถุประสงคดงั น้ี

1. เพื่อผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีและสูงกวาปริญญาตรี ทางสาขาอุตสาหกรรมเกษตร ตลอดจนหลักสูตร
นานาชาติ ใหมีความรูความสามารถทัดเทียมกับกลุมประเทศผูนําทางเทคโนโลยีของโลก และมีจริยธรรมเพื่อพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

2. เพ่ือดําเนินการทดลอง คนควา วิจัย และพัฒนาวิทยาการเฉพาะทางสาขาอุตสาหกรรมเกษตร เพ่ือนํามา
ประยุกตใชในการสนับสนุนและสงเสริมความรูที่ถูกตองและลึกซ้ึง ตลอดจนสงเสริมงานดานอุตสาหกรรมเกษตรของ
ภาคธุรกจิ และอุตสาหกรรมของประเทศใหสามารถแขง ขันไดในตลาดโลก

3. เพื่อเผยแพรและใหบริการวิชาการ ดานการประยุกตวิทยาการทางสาขาอุตสาหกรรมเกษตรใหแกหนวยงาน
ของรัฐและเอกชนในรูปแบบตางๆ ท้ังดานการสัมมนา ปฏิบัติการ การฝกอบรมและอื่นๆ เพื่อตอบสนองความตองการ
ของตลาด โดยปรับใชการถายทอดเทคโนโลยีท่ีทันสมัยและใหประโยชนรวมกันแกผูผลิตบัณฑิตและภาคเอกชนผูใช
เทคโนโลยี

ป พ.ศ. 2546 คณะอุตสาหกรรมเกษตร เริ่มรับนักศึกษาคร้ังแรกในปการศึกษา 2546 โดยรับนักศึกษาเขามา
ศึกษาในสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ (Agro-Industry Technology and Management:
ATM) และในปการศึกษา 2547 ไดเปดสาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเกษตร (Agro-Industry Product
Development: APD) เพ่ิมอีกหน่ึงสาขา ตอมาในป พ.ศ. 2550 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
ไดออกนอกระบบ เปนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ จึงไดมีการปรับโครงสรางหนวยงานจาก
สาขาวิชาเปนภาควชิ า และไดจ ดั ตั้งศนู ยว ิจัยอุตสาหกรรมเกษตรข้ึนเทยี บเทาภาควิชา โดยมีวตั ถปุ ระสงคเพ่ือเปนสถานที่
ทํางานวิจัยในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรของบุคลากร อีกทั้งยังเปนหนวยงาน
ที่ดําเนนิ การจัดสัมมนาและฝกอบรมเก่ียวกับการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรและการพัฒนาผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเกษตร
ใหแกช ุมชน ทาํ ใหเกดิ ความเชือ่ มโยงเปนเครือขายท่เี ขมแขง็ ระหวา งผมู บี ทบาทในอตุ สาหกรรมอาหาร และเปนการนําเอา
องคความรูทางดานอุตสาหกรรมเกษตร มาชวยพัฒนาคุณภาพสินคาพื้นเมืองของชมุ ชนใหไดมาตรฐานท่ียอมรับในระดับ
สากล เพ่ือสรางความมั่นคงของเศรษฐกิจ อันนําไปสูการเพ่ิมผลิตภาพนวัตกรรมและขีดความสามารถในการแขงขันของ
ภาคเศรษฐกิจและสังคมของจงั หวัดปราจนี บุรีและจังหวัดใกลเคียง

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

5

ป พ.ศ. 2553 ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ (Agro-Industry Technology and
Management: ATM) ไดปรับปรุงหลักสูตรเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ โดยมีการเพ่ิมระบบการเรียน
การสอนแบบสหกิจศึกษา ซ่งึ เปนระบบที่มีการบรู ณาการเรยี นรรู ว มกนั ระหวา งสถานศึกษาและสถานประกอบการ โดยให
นักศึกษาไปปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ อันจะสงเสริมใหนักศึกษาเกิดประสบการณตรง รูจักการแกปญหา
รวมท้ังทักษะการทํางานรวมกับผูอ่ืน ทั้งยังสงผลดีตอคณาจารยนิเทศสหกิจท่ีไดรับองคความรูใหม รวมถึง
สถานประกอบการนั้นไดร ับประโยชนจากการวจิ ัยและพัฒนา กอ ใหเ กดิ เครือขายความรว มมือ แลกเปลยี่ น เรียนรู อนั จะ
นําไปสูก ารบูรณาการนาํ ความรูจากสถานศึกษาสูการแกไขปญหาจริงของสถานประกอบการ ซง่ึ สอดคลอ งกับยุทธศาสตร
การพัฒนาประเทศ

เมื่อวันท่ี 5 เมษายน พ.ศ. 2556 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดรับทราบการใหความเหน็ ชอบในการ
เปดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ (Food Science and Nutrition:
FSN) ซี่งเปนหลักสูตรท่ีมุงเนนการศึกษาดานวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ และสงเสริมกระบวนการเรียนรู
เพื่อใหเกิดทักษะ สามารถประยุกตใชความรูในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรพ้ืนฐานใหกลายเปนผลติ ภัณฑอาหารท่ี
คงคุณคาหรือมีคุณคาทางโภชนาการสูง ตลอดจนเปนผลิตภณั ฑท่ีมีคุณภาพและปลอดภยั ตอผูบรโิ ภคตามมาตรฐานสากล
รวมถึงมีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบสหกิจศึกษา โดยเปดรับนักศึกษารุนแรกในภาคการศึกษาท่ี 1 ปการศึกษา
2556 เปนตน มา

ในป พ.ศ. 2557 ภาควิชาพฒั นาผลติ ภัณฑอุตสาหกรรมเกษตรไดเ ปล่ยี นชอ่ื เปนภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยี
การพัฒนาผลิตภัณฑ และปรับปรุงหลักสตู รพัฒนาผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเกษตร เปน หลักสูตรนวตั กรรมและเทคโนโลยี
การพัฒนาผลิตภัณฑ (Innovation and Product Development Technology: IPD) เพ่อื ใหส อดคลองกับสถานการณ
และความตองการของหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน โดยเปดรับนักศึกษาในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2558
เปน ตน มา

ในป พ.ศ. 2558 ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ (Agro-Industry Technology and
Management: ATM) ไดปรบั ปรุงหลกั สตู รเทคโนโลยอี ุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ (Agro-Industry Technology
and Management: ATM) โดยเปลี่ยนช่ือเปน หลักสูตรวิทยาศาสตรการอาหารและการจัดการ (Food Science and
Management: FSM) เพ่ือใหสอดคลองกับเนื้อหาหลักสูตรและสถานการณปจจุบัน โดยเปดรับนักศึกษาใน
ภาคการศึกษาท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2558

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

6

ในป พ.ศ. 2559 ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ (Agro-Industry Technology and
Management: ATM) เลง็ เห็นถึงความพรอ มของภาควิชาฯ ทงั้ ความพรอ มดา นคุณภาพและจํานวนบุคลากร ความพรอม
ดานครุภัณฑและสถานท่ีจัดการเรยี นการสอนระดับบัณฑิตศึกษา นอกจากน้ีทางภาควิชาฯ ตระหนักถึงการเพ่ิมศักยภาพ
ของนักศึกษา ซ่ึงท่ีจะเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาและขับเคลือ่ นประเทศใหเ ขาสยู ุค Thailand 4.0 จึงไดเร่ิมดําเนินการ
จัดทําหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหารและการจัดการ (M.Sc. Food Science and
Management) ขึ้น ใชเวลาในการพัฒนาหลักสูตร 2 ป โดยเริ่มเปดการเรียนการสอนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาใน
ปก ารศกึ ษา 2561 และมนี ักศึกษารุนแรกในการปก ารศกึ ษา 2562

ในป พ.ศ. 2561 ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ (Agro-Industry Technology and
Management: ATM) ไดมีหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหารและการจัดการ (Master
of Science, Food Science and Management: MFSM) เพื่อผลิตมหาบณั ฑติ ในสาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหารและ
การจดั การ และสนบั สนนุ การสรางผลงานวิจัยที่นาํ ผลิตผลทางการเกษตรในทองถ่ินของประเทศมาแปรรูปเปนอาหารท่ีมี
คุณภาพใหสามารถขยายผลการผลิตตอในเชิงพาณิชยได โดยเร่ิมเปดรับสมัครนักศึกษาในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา
2561

ในป พ.ศ. 2562 ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ ไดปรับปรุงหลักสูตรนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ (Innovation and Product Development Technology: IPD) เน่ืองจากการ
ปรับเปล่ียนโครงสรางเศรษฐกิจไปสู “Value Based Economic” หรือ เศรษฐกิจที่ขับเคล่ือนดวยนวัตกรรม โดยมีฐาน
คิดหลักคือเปลี่ยนจากการผลิตสินคา “โภคภัณฑ” ไปสูสินคา “นวัตกรรม” จึงปรับปรุงหลักสูตรใหตอบสนองตอการ
เปลี่ยนแปลงทางดานอุตสาหกรรมเกษตร และตอบสนองความตองการของผูบริโภค โดยจัดใหมีวิชาเอก 2 แขนงวิชา
ไดแก แขนงวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑอาหารและบรรจุภณั ฑ และแขนงวิชาเทคโนโลยีการพัฒนาผลติ ภัณฑ
เพื่อสุขภาพและความงาม นอกจากนี้ไดบรรจุระบบการเรียนการสอนสหกิจศึกษาไวในหลักสูตรเพ่ือสงเสริมนักศึกษาใน
การฝกทกั ษะและประสบการณจริงในสถานประกอบการ ซึง่ ผานการพิจารณาจากสาํ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(สกอ) เมื่อวันท่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 โดยเร่ิมเปดรับนักศึกษาในภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศึกษา 2562

รายงานประจําป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

7

ในป พ.ศ. 2563 ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ (Agro-Industry Technology and
Management: ATM) ไดปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรการอาหารและการจัดการ (Food Science and
Management: FSM) โดยมีการเปล่ียนแปลงท่ีสําคัญคือ การเปล่ียนแปลงประเภทของหลักสูตรจากประเภทวิชาการ
เปนประเภทวิชาชพี หรือปฏิบัติ และไดมีการเชิญผูเชย่ี วชาญดานการจดั การการผลิต การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลติ และ
ทักษะการบริหารงาน จากบริษัท ไทยรวมสินอุตสาหกรรม จํากัด มารวมเปนผูรับผิดชอบหลักสูตรเพ่ือใหขอคิดเห็นที่
สอดคลอ งกบั สถานการณทเ่ี ปล่ยี นไปของประเทศ และเปน การสรางความเขมแข็งใหกับหลักสูตรเพื่อผลิตบัณฑติ ที่ตรงกับ
ความตองการของตลาด และนายจาง ในสวนของโครงสรางหลักสูตรไดปรับสัดสวนของดานการจัดการเพิ่มมากข้ึน
เพ่ิมเติมรายวิชาเพื่อสงเสริมแนวคิดความเปนผูประกอบการ และปรับลดในสวนรายวิชาพื้นฐานท่ีไมจําเปนออก เพื่อให
สอดคลองกับเนื้อหาหลักสูตรและสถานการณปจจุบัน รวมถึงการเปดโอกาสสําหรับผูท่ีจบการศึกษา ระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาคหกรรม หรือการจัดการอุตสาหกรรม หรือที่เก่ียวของ โดยเปดรับนักศึกษาใน
ภาคการศึกษาที่ 1 ปก ารศึกษา 2563

ในป พ.ศ. 2563 ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ ไดปรับปรุงหลักสูตรนวัตกรรมและ
เทคโนโลยกี ารพฒั นาผลิตภัณฑ (Innovation and Product Development Technology: IPD) เนอื่ งจากพบวาจํานวน
นักศึกษาของภาควิชายังคงนอยตอเนื่อง 2 ป และเพื่อใหการบริหารจัดการเปนไปอยางราบร่ืน ภาควิชาจึงไดมีการรวม
แขนงวิชาทั้ง 2 แขนง เปนการบูรณาการกลุมวิชาดานการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑอาหารและบรรจุภัณฑ รวมถึง
กลุมวิชาผลิตภัณฑเพ่ือสุขภาพและความงามไวในหลักสูตรเดียวกัน รวมถึงการเปดโอกาสสําหรับผูที่จบการศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาคหกรรม หรือการจัดการอุตสาหกรรม หรือท่ีเก่ียวของ ซึ่งผานการพิจารณาจาก
สํานักงานปลัดกระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวตั กรรม (สปอว.) เมื่อวนั ที่ 31 มีนาคม 2564 เริ่มเปด รับ
นักศึกษาในภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2564

รายงานประจําป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

8

โครงสรางการบรหิ ารงานคณะอตุ สาหกรรมเกษตร
คณบดี

รองคณบดี รองคณบดีฝายวิชาการ รองคณบดี รองคณบดฝี ายวจิ ยั
ฝา ยบริหาร และประกนั คณุ ภาพการศึกษา ฝา ยกจิ การนกั ศึกษา และบริการวชิ าการ

หัวหนาภาควิชา หวั หนาภาควชิ า หวั หนา ผอู าํ นวยการ
ศูนยว จิ ยั
เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร นวัตกรรมและเทคโนโลยี สาํ นักงานคณบดี
อตุ สาหกรรมเกษตร
และการจัดการ การพัฒนาผลติ ภัณฑ

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

9

คณะผู้บริหาร

ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปยิ ะรัชช์ กลุ เมธี
คณบดี

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐธยาน์ ชสู ุข อาจารย์มชี ัย ลดั ดี อาจารย์ ดร.พัชรี ปราศจาก
รองคณบดฝี ่ายบริหาร รองคณบดฝี า่ ยวชิ าการ รองคณบดฝี ่ายวชิ าการ
และประกันคุณภาพการศกึ ษา
(วันที่ 12 มิถุนายน 2562 - 11 มิถนุ ายน 2564) และประกนั คุณภาพการศึกษา
(วันท่ี 12 มิถนุ ายน 2564 - ปจั จบุ นั )

อาจารย์ ดร.พนิดา เรณูมาลย์ อาจารย์ ดร.พชั รี ปราศจาก ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เกตนิ นั ท์ กิตติพงศ์พทิ ยา
รองคณบดีฝา่ ยกิจการนกั ศึกษา
รองคณบดีฝา่ ยวจิ ัยและบริการวิชาการ รองคณบดีฝา่ ยกิจการนักศึกษา
และผอู้ �ำ นวยการศูนยว์ จิ ยั อตุ สาหกรรมเกษตร (วันที่ 12 มิถุนายน 2562 - 11 มถิ ุนายน 2564) (วนั ท่ี 12 มิถุนายน 2564 - ปจั จบุ นั )

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ เหรียญสงา่ วงศ์ รองศาสตราจารย์ ดร.รชั นี เจรญิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศรเี วยี ง ฤทธศิ กั ด์ิ
หวั หน้าภาควชิ า หวั หน้าภาควชิ านวัตกรรม หัวหนา้ ภาควิชานวัตกรรม
และเทคโนโลยีการพฒั นาผลติ ภัณฑ์
เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร และเทคโนโลยีการพฒั นาผลติ ภัณฑ์
และการจดั การ (วันท่ี 20 พฤษภาคม 2562 - 4 มกราคม 2564) (วนั ที่ 28 เมษายน 2564 - ปัจจุบัน)

นางเสาวนยี ์ ประเสรฐิ สขุ
หวั หนา้ สำ�นกั งานคณบดี

10

1. การบรหิ าร
คณะอุตสาหกรรมเกษตรมีการบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาลและการบริหารท่ีดี โดยคํานึงถึงประโยชน

ของมหาวิทยาลัยหรือสวนงานและผูมีสวนไดสวนเสียเปนสําคัญ ระบบบริหารที่ยึดหลักการกระจายอํานาจ มีการกํากับ
ติดตาม ควบคุมและการประเมินผล มีระบบการบริหารความเส่ียงและการควบคุมภายในท่ีมีสวนชวยในการดําเนินงาน
ของคณะ การจัดสรรงบประมาณและบริหารงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ เปนธรรม โปรงใส และตรวจสอบได
โดยมีแผนกลยุทธทางการเงินท่ีสอดคลองกับแผนกลยุทธของสวนงาน การจัดกระบวนการเพ่ือใชทรัพยากร
อยางมีประสิทธิภาพ ประหยัด คุมคา ไดผลตามเปาหมายและเกิดประโยชนสูงสุดตอผูมีสวนไดสวนเสีย จัดใหมีระบบ
สารสนเทศเพื่อการบริหารและการตดั สินใจท่ีสอดรับกับนโยบายและการวางแผนระดับสว นงาน ตระหนักถึงความสําคญั
ในการพัฒนาบุคลากร จึงไดสงเสริมใหบุคลากรทุกคนไดรับการพัฒนาใหตรงตามภาระหนาที่ โดยการเขารวมอบรม
สัมมนา ประชุม ฟงการบรรยายและศึกษาดูงาน เพื่อนําความรูและประสบการณที่ไดมาพัฒนาการปฏิบัติงานและ
ความชํานาญในวิชาชีพ เพื่อรักษาและสรางบุคลากรที่มีคุณภาพในระบบ นอกจากน้ียังไดมีการจัดโครงการฝกอบรม
เพื่อเพม่ิ พนู ความรใู หแ กบุคลากรในเร่ืองท่ีเกี่ยวของ เพื่อนําความรูไปประยุกตใชในการปฏิบตั ิงาน สง เสรมิ การพัฒนาการ
ทํางานของบุคลากรใหมีความคลองตัว มุงผลสัมฤทธิ์ จริยธรรม พัฒนาส่ิงแวดลอมที่เอื้ออํานวย อาคารและสถานท่ี
การใชงานพ้ืนท่ใี หเ กดิ ประโยชนส ูงสุด เพ่ือสรา งบรรยากาศทเ่ี อ้อื ตอ การเรยี นรู

การบรหิ ารงานในสถานการณท ่ีมกี ารระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid – 19) ในชว งปงบประมาณ
2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตรไดม กี ารแตงตงั้ คณะทาํ งานบริหารงาน วางแผนมาตรการดูแลความปลอดภยั การเฝา ระวงั
การปองกันการติดเช้ือและแพรเชื้อตามแนวปฏิบัติของกระทรวงสาธารณสุข วางแผนการปฏิบัติงาน ในการปฏิบัติงาน
กาํ หนดใหบคุ ลากรบางสว นปฏิบัติงานจากท่บี าน Work from Home มกี ารจดั ประชมุ และจัดสมั มนาในรูปแบบออนไลน
นอกจากน้ีมีการกระตุน ผลักดันใหบุคลากรและนักศึกษาไดรับการฉีดวัคซีน เพื่อใหบุคลากรและนักศึกษามีภูมิคุมกัน
โดยเรว็ และมกี ารกาํ หนดแนวปฏิบตั ิการตรวจคัดกรองผมู าปฏบิ ตั ิงานดว ย Antigen Test Kit (ATK)

รายงานประจําป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

11

โครงการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัติการแบบออนไลน เรื่อง “การจัดทาํ แผนปฏบิ ัตกิ ารคณะอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อรองรบั
ปง บประมาณ 2565” วนั พธุ ที่ 30 มถิ นุ ายน 2564 ณ หองประชมุ 111 อาคารคณะอุตสาหกรรมเกษตร

การตรวจคดั กรอง ATK กอนการปฏบิ ตั ิงาน

รายงานประจําป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

12

2. ดา นการจัดการเรยี นการสอน
คณะอตุ สาหกรรมเกษตรมีการจัดการเรียนการสอนท้ังระดับปรญิ ญาตรี และปริญญาโท เพื่อผลติ บัณทิตผูมี

ความรูทางวิชาการดานอุตสาหกรรมเกษตร ที่มีคุณธรรมและจริยธรรม สงเสริมการขยายโอกาสทางการศึกษาใหกับ
นักเรียนในพ้ืนที่จังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดใกลเคียง เนนผลิตบัณฑิตใหมีอัตลักษณ “คิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน”
ซ่ึงคณะอุตสาหกรรมเกษตร มีการจัดสื่อการเรียนการสอนท่ีทันสมัย ในภาคทฤษฎี เพื่อใหนักศึกษาไดรูถึงหลักการ
ทางวชิ าการในหองเรยี น ทงั้ จากคณาจารยใ นคณะและวทิ ยากรจากภายนอกทง้ั ภาครฐั และเอกชน ในภาคปฏิบัตินกั ศึกษา
ไดมีการฝกปฏิบัติจริง ภายในหองปฏิบัติการ ที่ครอบคลุมทั้งทางดานวิทยาศาสตรการอาหาร นวัตกรรมและเทคโนโลยี
การพัฒนาผลิตภัณฑ การตรวจวิเคราะหคุณภาพอาหาร และการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส นอกจากน้ี
คณะอุตสาหกรรมเกษตร ยังจัดใหนักศึกษาไปดูงานและฝกงานในสถานท่ีจริง เชน โรงงานอุตสาหกรรม และหนวยงาน
ราชการ เปนตน และทุกหลักสูตรมีการเรียนการสอนในรูปแบบสหกิจศึกษา โดยใหนักศึกษาเขาปฏิบัติงานใน
สถานประกอบการไมน อ ยกวา 4 เดือน เพอ่ื ฝก ใหน กั ศึกษาสามารถบรู ณาการความรใู นหอ งเรียนกับสถานการณจ ริงได

การจดั การเรยี นการสอนในสถานการณทมี่ ีการแพรร ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid – 19) ในชวง
ปงบประมาณ 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตรมีการจัดการเรียนการสอนตามแนวปฏิบัติของประกาศมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ซึ่งไดกําหนดแนวทางในการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยใหตรงกับ
สถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid – 19) ของประเทศ โดยคณะมีแนวทางจัดการเรียน
การสอนในรูปแบบออนไลนทั้งวิชาภาคบรรยายและภาคปฏิบัติ รวมไปถึงการสอบประเมินวัดผลของนักศึกษา เน่ืองจาก
คณะตั้งอยูในวิทยาเขตปราจีนบุรี ซ่ึงจัดอยูในเขตพ้ืนท่ีควบคุมสูงสุด และเขมงวด ดังน้ัน จึงจําเปนตองคํานึงถึงมาตรการ
ความเขมงวดทางสาธารณสุขและมาตรการการรักษาระยะหางทางสังคมอยางเครงครัด ท้ังน้ี เพ่ือความปลอดภัยสูงสุด
และเพอื่ ประสทิ ธภิ าพในการจดั การเรียนการสอนสาํ หรบั นกั ศกึ ษาและบุคลากร

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

13

การเรียนการสอน และการสอบในรปู แบบออนไลน

3. ดานการวิจยั และบรกิ ารวิชาการ
คณะอุตสาหกรรมเกษตรดําเนินการสงเสริมและสนับสนุนงานวิจัยของบุคลากรภายในคณะที่สามารถ

นําไปใชประโยชน แกไขปญหา และสอดคลองกับความตองการของชุมชน โดยคณะมีการจัดตั้งศูนยวิจัยอุตสาหกรรมเกษตร
เพ่อื เปนหนวยงานทีช่ วยประสานงานและสนบั สนนุ การดาํ เนินงานวจิ ัย ไดแก จดั หาและประชาสัมพนั ธแ หลง ทนุ ทงั้ ภายใน
และภายนอก จดั หาอุปกรณเครื่องมือเพื่อเปนฐานการวิจัยที่มปี ระสิทธิภาพของบุคลากรภายในคณะ จัดใหม ีระบบพ่ีเล้ียง
ดานงานวิจัยแกนักวิจัยใหม จัดกิจกรรมโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานงานวิจัยและจรรยาบรรณงานวิจัย รวมถึง
การรวบรวมผลงานวิจัยในทุกมิติของคณะอุตสาหกรรมเกษตร และการสังเคราะหความรูจากงานวิจัยเพ่ือเผยแพร
สูสาธารณชน เปนตน นอกจากนี้บุคลากรของคณะมาจากหลายสาขาที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมเกษตร ทําใหสามารถ
ดําเนนิ งานวิจัยในลักษณะกลมุ วจิ ยั เพอ่ื ใหเ กิดการบรู ณาการ โดยเนนงานวิจัยเพอ่ื 1) มสี วนรว มกบั ชมุ ชนในการแกปญหา
ดานอุตสาหกรรมเกษตร 2) สรางมูลคาเพ่ิมใหกับวัตถุดิบภายในทองถิ่น 3) มีกระบวนการพัฒนาทักษะดานงานวิจัยและ
เพ่ิมพนู ความรขู องนักวจิ ยั ไดเ ต็มศักยภาพ

สงเสริมและสนับสนุนงานบริการวิชาการแกชุมชนและหนวยงานตางๆ เพ่ือใหเกิดความเชื่อมโยงเปน
เครอื ขา ยทีเ่ ขมแข็ง โดยศนู ยว ิจยั อตุ สาหกรรมเกษตรเปนสื่อกลางในการจัดหลักสตู รอบรมระยะส้ันทางดานอุตสาหกรรมเกษตร
โดยการนําความรูที่ไดจากงานวิจัยมาถายทอดสูผูรับบริการวิชาการ นอกจากน้ีศูนยวิจัยฯ ยังดําเนินโครงการบริการ
วิชาการในดานการตรวจวิเคราะหคุณภาพทางเคมี กายภาพและชีวภาพของผลิตภัณฑอาหารตางๆ แกชุมชนโดยรอบ
มหาวิทยาลัยและผูสนใจท่ัวไป ซึ่งถือวาเปนการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑอาหารเพ่ิมโอกาสการแขงขันทางธุรกิจ และ
เพอื่ ความปลอดภัยตอผบู รโิ ภคตอ ไป

รายงานประจําป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

14

การวิจัยและบริการวิชาการในสถานการณท่ีมีการระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid – 19) ในชวง
ปงบประมาณ 2564 นั้น คณะดําเนินการสงเสริมและสนับสนุนใหบุคลากรมีสวนรวมกับงานวิจัยเพ่ือขอรับทุนสนับสนุน
ท้ังทุนวิจัยภายนอกและภายใน โดยปฏิบัติตามมาตรการปองกันตามแนวทางปฏิบัติ ประกาศและคําสั่งของภาครัฐ และ
ของมหาวิทยาลัยอยางเครงครัด และในสวนงานบริการวิชาการไดดําเนินการปรับเปล่ียนการใหบริการวิชาการ
เปนรูปแบบออนไลนเพ่ือสรางความสัมพันธกับชุมชนอยางตอเนื่อง ท้ังน้ีโครงการบริการวิชาการในดานการตรวจสอบ
ทดสอบคณุ ภาพผลิตภณั ฑดา นตางๆ ยังคงดําเนินการตามความตองการของผขู อรับบริการเชนเดิม

โครงการอบรมแบบออนไลน
เร่ือง การเตรียมความพรอมสาํ หรับโรงงานตนแบบและกระบวนการรับรองมาตรฐานการทดสอบคุณภาพ

4. กจิ การนกั ศกึ ษา
สงเสริมและพัฒนางานกิจการนักศึกษา โดยสงเสริมการจัดกิจกรรมที่สงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึง

ประสงค ดา นกฬี าหรอื การสงเสริมสุขภาพ ดานกจิ กรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษาสง่ิ แวดลอม ดา นเสรมิ สรา งคุณธรรม
และจรยิ ธรรม และดานสง เสริมศลิ ปะและวัฒนธรรม เพื่อใหนกั ศกึ ษาเขา ใจตนเอง เขา ใจผอู ืน่ มกี ารบมเพาะนักศึกษาใหมี
จิตสํานกึ รับผิดชอบตอ สังคม มคี ณุ ธรรมจริยธรรม มวี นิ ยั มที ักษะในการทาํ งานรวมกับผูอื่น เกิดการเรยี นรแู ละสรางเสริม
ประสบการณชีวิต สนับสนุนใหนักศึกษามีกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกับชุมชน ศิษยเกาและหนวยงานภายนอก
จัดสวัสดิการอํานวยความสะดวกใหกับนักศึกษาระหวางพักอาศัย เรียน และทํากิจกรรมในมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ยังมี
การพิจารณาจัดสรรทุนการศึกษาใหกับนักศึกษา ตามประเภททุนและแหลงทุนตางๆ ท้ังจากภายในและภายนอก
มหาวิทยาลยั

การบรหิ ารงานดา นกิจการนักศึกษาในสถานการณท่ีมีการระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Covid – 19)
ในชวงปงบประมาณ 2564 มีกิจกรรมสงเสริมจิตอาสาโดยมอบหมายใหนักศึกษาทํางานรวมกับบุคลากรของคณะในการ
ตรวจวัดอุณหภูมิเพื่อคัดกรองบุคลากรและนักศึกษาที่เขาออกคณะ ในสวนของคณะไดมีการจัดสรรทุนการศึกษาเพื่อ
ชวยเหลือนักศึกษาระหวางการเรียนออนไลน และทุนการศึกษาสําหรับนักศึกษาที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณ

รายงานประจําป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

15

การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 นอกจากนี้ยังดําเนนิ การประชาสัมพนั ธเ พ่ือสงเสรมิ และอํานวยความสะดวกในการ
เขา ถึงวัคซีนสาํ หรบั นักศึกษา

กิจกรรมโครงการ “อบรมจรยิ ธรรมนกั ศกึ ษาใหม ปการศึกษา 2564” (แบบออนไลน)
5. ดานทาํ นบุ ํารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม

สนบั สนนุ และพฒั นาการจัดกจิ กรรมสงเสริมศลิ ปวฒั นธรรม ใหนักศึกษา อาจารย และบคุ ลากรตระหนักถึง
คุณคา ของวฒั นธรรมไทยและภมู ิปญ ญาทอ งถนิ่ สง เสรมิ กจิ กรรมเรยี นรูทางศิลปะ ภาษาและวฒั นธรรม ใหเกิดความเขา ใจ
ในพหุวัฒนธรรมประชาคมอาเซียนรวมถึงชาติอื่นๆ และยังคงตระหนักใหความสําคัญกับความเปนไทย ใหความรวมมือ
กับหนวยงานตางๆ ในการสงเสริมศิลปวัฒนธรรม ควบคุมกํากับการดําเนินการตางๆ ใหเหมาะสมกับประเพณีและ
วัฒนธรรมไทย พรอมทั้งสงเสริมการปลูกฝงวัฒนธรรมการเรียนรูเพ่ือพัฒนานักศึกษาใหเปนไปตามการสราง
อตั ลักษณบ ัณฑติ ของมหาวิทยาลยั

รายงานประจําป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

16

ขอ มูลดา นบคุ ลากร

จําแนกตามประเภท

บุคลากร จาํ นวน (คน)
พนักงานมหาวิทยาลยั สายวชิ าการ 22
พนกั งานมหาวิทยาลยั สายสนับสนุนวชิ าการ 13
พนักงานพเิ ศษจางเหมา 2
พนักงานพิเศษ สายวชิ าการ 1
พนกั งานพิเศษ สายสนับสนนุ วิชาการ 2
รวม 40

บคุ ลากร จําแนกตามสายงาน สายสนับสนนุ วชิ าการ
พนักงานมหาวิทยาลัย สายวชิ าการ 13
พนักงานพิเศษจา งเหมา 22 2
พนกั งานพิเศษ 0 2
รวม 1 17
23

รายงานประจําป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

17

บคุ ลากรสำ�นักงานคณบดี

นหาวั งหเสนาา้ วสน�ำ ยีน์กั ปงราะนเคสณรฐิ บสดขุ ี

นางธีราพร เครืออรณุ รตั น์ นางสาวสุภัตรา จอมทรกั ษ์ นางสาวสายฝน สีกานนท์ นางสาวณัฏฐาพร เทียนด�ำ
นกั วชิ าการศกึ ษา นกั วทิ ยาศาสตร์ นักวทิ ยาศาสตร์ นกั วิทยาศาสตร์

นนากังอวาิชรายิ กาารรพุง่ เัสรดือุง นางสาวนปกั ญั วชิจารากราัฐรฬพ์ัสเจดรุ ญิ รอด นนักาวงสิชาาวกบารษุ เยงนิาแกลอะงบแญั กว้ชี นกั นวาชิ งาสกาาวรรเงุ่ งฤนิ ดแี ลมะั่นบคญั ง ชี

นเจาา้ ยหสนาา้ยทนั บ่ีตร์ ทิหราัพรงยา์ปนรทะว่ัสไงปค์ วา่ ท่ี ร.ต.จวิริศะพวกงษร ์ พิจารณา ว่าที่ ร.ต.พิชยั ชา่ งแกะ
นกั วิชาการคอมพิวเตอร์

นางสายสฎุ า งามวาจา นายพวนนั กัเพงาญ็ นขเกับลร้ยีถงรส
พนกั งานบริการ

18

การสง เสรมิ พัฒนาบคุ ลากร

คณะอุตสาหกรรมเกษตรไดสงเสริมพัฒนาความรูและทักษะดานตางๆ แกบุคลากร โดยเพื่อใหสอดคลอง
กับยุทธศาสตรมหาวิทยาลัย ดานความเปนเลิศดานการจัดการ (Management Excellence) เปาประสงค
พัฒนาบุคลากรใหมีคุณลักษณะเฉพาะ (SMART People) มีบุคลากรเขารับการฝกอบรม ประชุม สัมมนา ดูงาน
ศึกษาตอ ดังน้ี

ภายในประเทศ

หนวยงาน/ ประเภท อบรม สัมมนา ประชุม ดูงาน นาํ เสนอ ศึกษาตอ รวม
งานวิจัย

สํานกั งานคณบดี 17 17 0 0 0 0 34

ภาควิชาเทคโนโลยอี ุตสาหกรรมเกษตร 14 14 0 0 0 1 29
และการจัดการ

ภาควชิ านวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารพัฒนา 9 9 40 1 0 23
ผลติ ภณั ฑ

รวม 40 40 4 0 1 1 86

รายงานประจําป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

19

สรปุ งบประมาณ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2564

ในปงบประมาณ พ.ศ.2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตรไดรับจัดสรรงบประมาณรวมทั้งส้ิน 42,122,800.00 บาท
โดยแบง เปน

1. งบประมาณแผนดนิ จํานวนเงิน 35,044,700.00 บาท
2. งบประมาณเงินรายไดจํานวนเงิน 7,078,100.00 บาท

รายละเอยี ดการใชเงินงบประมาณแผนดนิ และเงนิ รายได

1. เงนิ งบประมาณแผนดนิ

หมวดรายจาย ไดร ับจัดสรร รายจายจรงิ

งบดาํ เนนิ การ 20,250,700.00 22,432,509.76

งบลงทุน 14,794,000.00 14,331,000.00

รวม 35,044,700.00 36,763,509.76

หมายเหตุ งบดําเนินการ ประกอบดว ย คาตอบแทน + คาใชส อย + คาวสั ดุ

งบลงทนุ ประกอบดว ย คา ครภุ ณั ฑ + คา ทด่ี ินและสงิ่ กอสราง

2. เงนิ รายได ไดร บั จัดสรร รายจา ยจรงิ
527,100.00 480,660.00
หมวดรายจา ย 1,219,400.00 1,230,195.50
คาจางชั่วคราว 2,570,000.00 2,041,133.96
คา ตอบแทน 870,100.00 495,094.94
คา ใชสอย 1,109,600.00 898,513.62
คา วัสดุ 781,900.00 323,775.00
คา สาธารณูปโภค 7,078,100.00 5,469,373.02
เงินอดุ หนนุ
รวม

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

20

การจัดการเรยี นการสอน

หลักสูตรที่เปิดสอนในคณะอุตสาหกรรมเกษตรในปีการศึกษา 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตรจัดการเรียนการสอนในระดับ
ปริญญาตรี 3 หลกั สตู ร และระดับปริญญาโท 1 หลักสูตร ดังน้ี

คณะอุตสาหกรรมเกษตร
(Facultry of Agro-industry)

ภาควิชาเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมเกษตรและการจดั การ ภาควชิ านวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารพฒั นาผลติ ภณั ฑ์

(Agro-industry Technology and Management: ATM) (Innovation and Product Development Technology: IPD)

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ

สาขาวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์
(Innovation and Product Development Technology: IPD)

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและการจัดการ
(Food Science and Management: FSM)

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ
สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ

(Food Science and Nutrition: FSN)
หลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก์ ารอาหารและการจดั การ
(Master of Science, Food Science and Management: MFSM)

21

บุคลากรประจำ�ภาควิชาเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมเกษตรและการจัดการ

ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ เหรยี ญสงา่ วงศ์
หัวหน้าภาควชิ าเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมเกษตรและการจัดการ
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุนีย์ เอยี ดมสุ กิ รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณทชิ า เศวตบวร รองศาสตราจารย์ ดร.จันทิมา ภงู ามเงิน

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เกตนิ ันท์ กิตติพงศ์พิทยา อาจารย์ ดร.พชั รี ปราศจาก อาจารย์มชี ัย ลัดดี

อาจารย์ ดร.โกศล นว่ มบาง อาจารย์นาฏกาญจน์ จกั รานวุ ัฒน์ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภัควัฒน์ เดชชวี ะ

ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกจนั ทร์ สานพภา อาจารย์ ดร.เปรมศักดิ์ พวงพลอย อาจารย์ ดร.ดารตั น์ เดชอำ�ไพ

อาจารย์พัชรี คณุ จันทร์สมบัติ นเาจงา้สหานวา้วทรรี่ปณระดจี สำ�ภินาสคนั วธิชิเทาศ เจา้ นหานงา้อทุษปี่ ารพะจลิ �ำึกภดาีเดคชวชิ า

22

หลักสูตรของภาควชิ าเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมเกษตรและการจดั การ

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหารและการจัดการ
(Food Science and Management: FSM)

เปนหลักสูตรท่ีมุงเนนใหบณั ฑิตมีความรูเชงิ บูรณาการ ทั้งองคความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยที างอาหาร
และการบริหารการจัดการ มีการศึกษาเทคโนโลยีแปรรูป หรือการเพ่ิมมูลคาผลิตผลทางการเกษตร ประมง ปศุสัตว
รูปแบบตางๆ ใหเปนผลิตภัณฑอาหารท่ีมีมูลคาสูงขึ้น เชน การแปรรูปผัก ผลไม เนื้อสัตว อาหารทะเล ผลิตภัณฑนม
ขนมอบ และผลิตภัณฑอาหารตางๆ เปนตน ใหไดผลิตภัณฑที่หลากหลายตามความตองการของตลาด และมีความ
ปลอดภัยตอผูบริโภค นอกจากนี้ยังมีการเรียนการสอนทางการบริหารจัดการองคกร และการจัดการเทคโนโลยี เชน
การจัดการการผลิต การจัดการคุณภาพ การจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน การวิเคราะหทางการเงิน เปนตน เพื่อให
บัณฑิตมีทักษะการวิเคราะหและการตัดสินใจ สงเสริมการนําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สูการประยุกตทางธุรกิจและ
อุตสาหกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหบัณฑิตมีความพรอมกับการทํางานภายใตการขับเคล่ือนธุรกิจอยางตอเนื่อง
สงเสริมใหเกิดความกาวหนาทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหารของประเทศ และตอบสนองตอความตองการอาหาร
ท่ีปลอดภัยและหลากหลาย ทั้งภายในประเทศและตางประเทศ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรก ารอาหารและโภชนาการ
(Food Science and Nutrition: FSN)

เปนหลักสูตรท่ีมุงเนนการศึกษาดานวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ และสงเสริมกระบวนการเรียนรู
เพื่อใหเกิดทักษะ สามารถประยุกตใชความรูในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรพื้นฐานใหเปนผลิตภัณฑอาหารท่ี
คงคุณคา หรือมีคุณคาทางโภชนาการสูงเหมาะสมสําหรับผูบริโภคในวัยตางๆ และผูบริโภคท่ีมีภาวะทางโภชนาการไม
สมดุล ตลอดจนเปนผลิตภัณฑที่มีคุณภาพและปลอดภัยตอผูบริโภคตามมาตรฐานสากล ดังน้ัน ในการกําหนดโครงสราง
ของหลักสูตร จึงบูรณาการเน้ือหาดานวิทยาศาสตรการอาหารพ้ืนฐานเขาดวยกัน ไดแก เทคโนโลยีการแปรรูป การ
ทดสอบและการควบคมุ คณุ ภาพ ความปลอดภยั ของอาหาร และโภชนาการ เพื่อใหไ ดบุคลากรท่มี คี ุณภาพสําหรับสายงาน
อตุ สาหกรรมอาหารท่ีใหความสาํ คญั ตอ สขุ ภาพและอนามยั ของผบู ริโภควัยตางๆ เปน สําคญั

รายงานประจําป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

23

ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ มีการดําเนินกิจกรรมตางๆ ท่ีสงเสริมและสนับสนุนให
นักศึกษามีความรูความสามารถมากย่ิงข้ึนนอกเหนือจากความรูที่ไดรับถายทอดจากคณาจารย โดยผานโครงการและ
กจิ กรรมตางๆ ดงั นี้

1. โครงการนิเทศนักศึกษาฝกงาน (รูปแบบออนไลน) ในระหวางวันที่ 24-26 มิถุนายน 2564 โดยมี
สถานประกอบการจาํ นวน 3 แหง ดงั น้ี

1.1 โรงงานแปรรูปผลติ ภัณฑนม สหกรณโ คนมปากชอง จาํ กดั (อาํ เภอปากชอง จงั หวดั นครราชสีมา) ในวนั ที่ 24
มิถนุ ายน 2564

1.2 บริษทั อลั เฟรโด เอ็นเตอรไ พรส จาํ กดั (อาํ เภออุทยั จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา) ในวนั ท่ี 25 มถิ นุ ายน 2564
1.3 บริษทั กรู เมท พรีโม จํากดั (เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร) ในวนั ท่ี 26 มิถุนายน 2564

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

24

2. โครงการนเิ ทศนกั ศึกษาสหกิจศึกษา (รูปแบบออนไลน)
2.1 นิเทศนักศึกษาสหกจิ ศกึ ษา ณ โรงพยาบาลพนมสารคาม
การนิเทศสหกิจและสอบโครงรางปญหาพิเศษ รูปแบบออนไลนของ นางสาวสุกฤตา คุตะมะ และ

นางสาวสุวนันท ดียิ่ง นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ โรงพยาบาล
พนมสารคาม จ. ฉะเชิงเทรา โดยมอี าจารยนเิ ทศคือ ผศ.ดร.สุนีย เอียดมสุ ิก ผศ.ดร.เกตินันท กติ ตพิ งศพ ิทยา และอาจารย
พชั รี คุณจันทรสมบัติ

2.2 นเิ ทศนักศึกษาสหกจิ ศึกษา ณ บริษัท ไทยรวมสินพฒั นาอุตสาหกรรม จํากดั
การนิเทศสหกิจและสอบโครงรางปญหาพิเศษของนักศึกษา 6 คน คือ นายณัฐนนท จันดาหาร

นางสาวทรีลริษา งามวงษ นางสาวปณณพร แผวพิษากุล นางสาวพิชญา ศรีประจันต นางสาวธนภรณ ไชยเวทย และ
นางสาวนิธิพร จันทสร สาขาวิทยาศาสตรการอาหารและการจัดการ และสาขาวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการที่
ปฏิบัตงิ านสหกิ จศึกษา ณ บริษทั ไทยรวมสนิ พัฒนาอุตสาหกรรม จํากดั จงั หวดั สมุทรสาคร ในวนั ท่ี 20 กรกฎาคม 2564
โดยมีอาจารยนิเทศ 6 ทาน ไดแก ผูชวยศาสตราจารย ดร.เกตินันท กิตติพงศพิทยา ผูชวยศาสตราจารย ดร.กนกจันทร
สานพภา อาจารย ดร.เปรมศกั ดิ์ พวงพลอย อาจารย ดร.โกศล นวมบาง อาจารย ดร.ดารตั น เดชอาํ ไพ และอาจารยมีชัย
ลัดดี อีกทั้งมีผูบริหารและพี่เล้ียงเขารวมนิเทศคร้ังน้ีอีก 6 ทาน ไดแก คุณพีระพัฒน ศิรวัฒนากุล (ผูจัดการฝายเพ่ิม
ผลผลิต) คุณพรรณกร นาคไรขิง (ผูจัดการแผนกเพ่ิมผลผลิต) คุณภูเบศ แดงไฟ (ผูจัดการแผนกเพิ่มผลผลิต) คุณจริยา
คงเพชร (ผูชว ยจัดการแผนกเพิม่ ผลผลติ )
คณุ นภัสสร มรี อด (ผจู ัดการแผนก CIC) และคณุ ศศวิ ิมล ตับกลาง

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

25

2.3 นิเทศนกั ศึกษาสหกจิ ศึกษา ณ บรษิ ทั ไทยฟูดส กรุป จาํ กัด (มหาชน)
การนิเทศสหกิจและสอบโครงรางปญหาพิเศษคร้ังที่ 1 ของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตรการอาหารและ

การจัดการ และสาขาวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ ที่ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ บริษัท ไทยฟูดส กรุป จํากัด
(มหาชน) โรงงานแปรรูปเนื้อไก จังหวัดปราจีนบุรี ในวันที่ 16 กรกฎาคม 2564 ของนางสาวปยดา จันทรนอย
นางสาวภัทรามณี บุตรวงษ นางสาวประไพรภรณ แถนสีแสง และนางสาวสุดารัตน ศรีสุวรรณ โดยมีอาจารยนิเทศ
3 ทา น ไดแ ก รองศาสตราจารย ดร.วรรณทชิ า เศวตบวร ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ภัควัฒน เดชชีวะ และ อาจารย ดร.พชั
รี ปราศจาก รวมกับผูบริหารและพ่ีเล้ียง 2 ทาน คือ คุณวราพร พาไทสง ผูจัดการแผนกประกันคุณภาพสินคา และ
คณุ รงุ ทวิ า โลสีลา ผจู ดั การฝายผลติ แผนกสนิ คาพิเศษ

การนิเทศสหกิจและสอบโครงรางปญหาพิเศษครั้งท่ี 1 ของนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตรการอาหารและ
การจัดการ และสาขาวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ ท่ีปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ บริษัท ไทยฟูดส กรุป จํากัด
(มหาชน) โรงงานแปรรูปไสกรอก จังหวัดปราจีนบุรี ในวันท่ี 26 กรกฎาคม 2564 ของนางสาวธนัชพร จันทรงาม
นางสาวภาณุมาส ประทุมวัน นางสาวจิราภรณ ขอรวมกลาง และนางสาวจารุพร ตับไธสง โดยมีอาจารยนิเทศ 4 ทาน
คือ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุนีย เอียดมุสิก ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิบูลย เหรียญสงาวงศ รองศาสตราจารย ดร.จันทมิ า
ภูงามเงิน และ อาจารย ดร.โกศล นวมบาง และมีผูบริหารและพี่เล้ียง 6 ทาน เขารวมการนิเทศคร้ังน้ีดวย ประกอบดวย
คุณธงชัย ฉัตรกาญจนากุล ผูจัดการโรงงานแปรรูปไสกรอก คุณรัตนา ธรรมสุนา และคุณขนิษฐา พืชเพียร นักวิจัยและ
พัฒนาผลิตภัณฑ คุณสิทธิพงศ ถิ่นนคร หัวหนาหนวยคลังสินคาฝงดิบ คุณนฤศร เกิดวัน หัวหนาหนวยผลิตสินคาฝงดิบ
และคุณรุงทิวา บดุ ดา ฝายบุคคล

รายงานประจําป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

26

3. กจิ กรรมสนับสนุนใหน กั ศกึ ษาเขา รว มการแขงขันนาํ เสนอผลงานสหกิจศึกษา จาํ นวน 2 กิจกรรม ดังน้ี
3.1 กิจกรรมการแขงขันประกวดโครงงานสหกิจศึกษา ณ สถาบันสหกิจศึกษาไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยพี ระจอมเกลาพระนครเหนอื ในวนั ท่ี 9 มนี าคม 2564 โดยนักศกึ ษาควา รางวัล ดงั นี้
1). รางวัลชนะเลิศ ประเภทวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผลงานเร่ือง “การเพิ่มประสิทธิภาพ

กระบวนการสุม กรณีศึกษาผลิตภัณฑ Pouch ณ จุดรับวัตถุดิบและจุดพักสินคา” โดยนางสาวณัฐธิดา โสแสง
อาจารยท ่ปี รกึ ษา คือ รองศาสตราจารย ดร.จนั ทิมา ภงู ามเงนิ และ รองศาสตราจารย ดร.วรรณทิชา เศวตบวร

2). รางวัลรองชนะเลิศอันดับท่ี 1 ประเภทวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผลงานเร่ือง “การเพิ่ม
ผลผลิตปลาทูนาสายพันธุ Skipjack ในกระบวนการอบปลาเพื่อผลิตเปนอาหารสัตวเลี้ยง” โดยนายณัฐวุฒิ ม่ังค่ัง
อาจารยท ป่ี รึกษา คอื ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ภคั วฒั น เดชชวี ะ และ อาจารย ดร.พชั รี ปราศจาก

3). รางวัลชนะเลิศ ประเภทนวัตกรรมสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทํางาน
ผลงานเร่ือง “การลดเปอรเซ็นตกระปองมันเกินคามาตรฐานที่จุดเช็คกระปอง” โดยนางสาวพิมพกานต แกวไทรเลิศ
อาจารยที่ปรกึ ษา ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.วบิ ลู ย เหรยี ญสงา วงศ และ อาจารยพ ชั รี คณุ จันทรส มบัติ

รายงานประจําป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

27

3.2 กิจกรรมการแขงขันประกวดโครงงานสหกิจระดับเครือขายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน เมื่อวันที่ 28
เมษายน 2564 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ไดรับรางวัลชนะเลิศ ประเภทนวัตกรรมสหกิจศึกษาและ
การศึกษาเชิงบูรณาการกับการทํางาน ผลงานเร่ือง “การลดเปอรเซ็นตกระปองมันเกินคามาตรฐานท่ีจุดเช็คกระปอง”
โดยนางสาวพิมพกานต แกวไทรเลิศ อาจารยที่ปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิบูลย เหรียญสงาวงศ และ อาจารยพัชรี
คุณจันทรสมบัติ เพื่อเปนตัวแทนเครือขายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบนเขารวมประกวดผลงานสหกิจศึกษาระดับชาติ
ประจําป 2564 ตอไป

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

28

4. โครงการแขง ขนั การนาํ เสนอผลงานโครงงานสหกจิ ศึกษาทางอุตสาหกรรมเกษตรและการจดั การ
( The 5th Consortium of Cooperative Education in Agro-Industry and Management 2021; COCEAM
2021)

การจัดโครงการแขงขันการนําเสนอผลงานโครงงานสหกิจศึกษาทางอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ
(COCEAM 2021) ในรูปแบบออนไลน ระหวางวันที่ 8-9 กรกฎาคม 2564 ณ หองประชุมบัวชมพู อาคาร
คณะอุตสาหกรรมเกษตร โดยไดรบั เกยี รติจากวิทยากรผูท รงคณุ วฒุ มิ าบรรยายใหค วามรูและประสบการณ
ใน 2 หัวขอ ไดแก
1). หลกั สูตรการเรียนการสอนในลกั ษณะรว มผลติ ระหวางสถาบนั อุดมศกึ ษาและสถานประกอบการ (CWIE) โดย
ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.ธวชั ชยั สุม ประดษิ ฐ มหาวิทยาลยั นเรศวร
2). พลิกมุมคิดวิกฤต คือ โอกาส สถานการณ COVID-19 กับธุรกิจดานอาหาร โดย คุณรุงโรจน ตันติเวชอภิกุล
นกั วชิ าการอสิ ระ
นอกจากน้ีโครงการฯ ยังไดรับการสนับสนุนงบประมาณการจัดโครงการ จากบริษัทไทยรวมสินพัฒนา
อุตสาหกรรม จํากัด จํานวน 20,000.00 บาท และบริษัท ไทยฟูดส กรุป จํากัด (มหาชน) จํานวน 5,000.00 บาท และมี
ผลงานเขารวมแขงขันประเภทโปสเตอรจํานวน 15 ผลงาน และประเภทปากเปลาจํานวน 10 ผลงาน จาก
สถาบนั การศกึ ษาจํานวน 13 สถาบนั ไดแ ก
1). สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
2). มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบรุ ี
3). มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน
4). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกาํ แพงแสน
5). มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร วิทยาเขตหาดใหญ
6). มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร วทิ ยาเขตปตตานี
7). มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร วทิ ยาเขตสรุ าษฏรธ านี
8). มหาวทิ ยาลยั แมโจ
9). มหาวทิ ยาลัยสยาม
10). มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บณั ฑิตย
11). มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
12). โรงเรยี นนายรอ ยพระจุลจอมเกลา จงั หวดั นครนายก
13). มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาพระนครเหนือ
จากการแขงขันในประเภทโปสเตอร นักศึกษาของภาควิชาฯ สามารถควารางวัลชมเชย หัวขอเรื่อง “การลด
ปริมาณกระดูกที่ติดมากับสินคาเนื้อนองไกติดสะโพก” โดย นางสาวฐานิญา เสถียรปรเมษฐ โดยอาจารยท่ีปรึกษา คือ
อาจารยมชี ัย ลัดดี

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

29

ในสวนของการแขงขันประเภทปากเปลา นักศึกษาสามารถควารางวัลรองชนะเลิศอันดับหน่ึง หัวขอเร่ือง
“การลดความสูญเสียในกระบวนการผลิตปลาแซลมอนกระปอง: ขั้นตอนการรับวัตถุดิบถึงการลดอุณหภูมิ ของบริษัท
ไทยรวมสินพฒั นาอุตสาหกรรม จํากดั ” โดย นางสาวชนิดาภา กางพร้ิง โดยอาจารยท ี่ปรึกษา คอื อาจารยพชั รี คุณจนั ทรส มบัติ

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

30

5. โครงการถายทอดความรู ประสบการณ แลกเปลย่ี นเรยี นรูดานวิทยาศาสตรก ารอาหารและการจัดการ (FSM)
ภาควชิ ามุงเนนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี ปนรูปแบบสหกจิ วิทยาการท่ีตอบสนองเครือขายทางวชิ าการและการ

พัฒนาจากหลากหลายหนวยงาน โดยการเชิญผูเช่ียวชาญในดานตางๆ เปนวิทยากรบรรยายในรายวิชา เพื่อใหความรู
ทกั ษะ ประสบการณ และการปฏิบัติงานดานการจัดการอตุ สาหกรรมอาหารแกน ักศึกษา

5.1 โครงการถายทอดความรู ประสบการณ แลกเปลี่ยนเรียนรูดานวิทยาศาสตรการอาหารและการจัดการ
(รูปแบบออนไลน) คร้ังท่ี 1 ในวันท่ี 30 มีนาคม 2564 บรรยายเร่ือง “เทคโนโลยีกับการ Disruption” “การประยุกตใช
เทคโนโลยีดานตางๆ ในอุตสาหกรรมเกษตร” “การฝกพัฒนาอุปกรณดาน IoT ในรูปแบบ Simulator และการจําลอง
การทํางานของอุปกรณดาน IoT โดยใช Node-red” และ “การประยุกตใชระบบสารสนเทศ” วิทยากร คือ อาจารย
กฤชณัท รวมบญุ อาจารยประจําสาขาวศิ วกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลยั พนครพนม

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

31

5.2 โครงการถายทอดความรู ประสบการณ แลกเปล่ียนเรียนรูดานวิทยาศาสตรการอาหารและการจัดการ
(รูปแบบออนไลน) ครั้งที่ 2 เม่ือวันท่ี 12-14 พฤษภาคม 2564 บรรยายเรื่อง “การใชเครื่องมือเพื่อปรับปรุงกระบวน
การผลิต” “การใชโปรแกรมสำเร็จรูป เพ่ือการวิเคราะหผลทางสถิติและการใชโปรแกรมพ้ืนฐานในการทํางาน” และ
“ความตองการบุคลากรสำหรับภาคอุตสาหกรรมอาหารยุค 4.0” วิทยากร คือ คุณพีรพัฒน ศิรวัฒนากุล ผูจัดการฝาย
เพม่ิ ผลผลิต บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอตุ สาหกรรม จาํ กัด

รายงานประจําป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

32

5.3 โครงการถายทอดความรู ประสบการณ แลกเปลี่ยนเรียนรูดานวิทยาศาสตรการอาหารและการจัดการ
(รูปแบบออนไลน) ครั้งท่ี 3 เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2564 และ 3 กันยายน 2564 หัวขอ "การวางแผนความตองการ
และการบริหารสินคาคงคลัง (Demand Planning & Inventory Management)" วิทยากร คือ คุณศราวุธ ไชยธงรัตน
ตําแหนง Manager Director บรษิ ทั ดเิ อก ซ เสิรนนงิ่ จํากัด

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

33

6. โครงการถา ยทอดความรู ประสบการณ และการปฏบิ ัติงานดา นอาหารและโภชนาการ (FSN)
มีการดําเนินการระหวางวันที่ 9-31 มีนาคม 2564 ในรูปแบบออนไลน โดยมีวัตถุประสงคของโครงการเพ่ือ

สงเสริมใหนักศึกษาไดรับความรูเกี่ยวกับสารพฤกษเคมี สมุนไพร กฎหมาย และแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑจาก
สารพฤกษเคมีและพืชสมุนไพร รวมทั้งแนวทางการจัดการดานฮาลาลในอุตสาหกรรมอาหาร โดยดําเนินการเปน 4 รอบ
ดงั น้ี

- การบรรยายเรื่อง“แนวคิดการพัฒนาผลิตภัณฑจากสมุนไพร” โดยวิทยากร คุณอัศวชัย ชวยพรหม
นักวิทยาศาสตรการแพทยชํานาญการพิเศษ รองผูอํานวยการสถาบันวิจัยสมุนไพรกรมวิทยาศาสตรการแพทย
กระทรวงสาธารณสุข ในวันท่ี 9 มีนาคม 2564 เวลา 16.00-19.00 น.

- การบรรยายเร่ือง “แนวทางการจัดการดานฮาลาลในอุตสาหกรรมอาหาร (Part I)” โดยวิทยากร คุณอิรฟน
แวหะมะ หวั หนา งานบรกิ ารหนว ยงานภายนอก ศนู ยว ทิ ยาศาสตรฮาลาล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมอ่ื วันที่ 12
มีนาคม 2564 เวลา 13.00 - 16.00 น.

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

34

- การบรรยายเร่ือง “สารพฤกษเคมี และการประยุกตใชในผลิตภัณฑอาหารสุขภาพ” โดยวิทยากร
ผูชวยศาสตราจารย ดร.ฉัตรภา หัตถโกศล อาจารยประจําภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร
มหาวทิ ยาลัยมหิดล เมอื่ วนั ท่ี 17 มีนาคม 2564 เวลา 13.00 - 16.00 น.

- การบรรยายเร่ือง “แนวทางการจัดการดานฮาลาลในอุตสาหกรรมอาหาร (Part II)” โดยวิทยากร คุณอิรฟน
แวหะมะ หัวหนา งานบรกิ ารหนว ยงานภายนอก ศนู ยวทิ ยาศาสตรฮาลาล จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย เมอื่ วันท่ี 19
มนี าคม 2564 เวลา 13.00 - 16.00 น.

รายงานประจําป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

35

บคุ ลากรประจำ�ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์

รองศาสตราจารย์ ดร.รชั นี เจรญิ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรเี วยี ง ฤทธิศกั ดิ์
หวั หนา้ ภาควิชานวตั กรรม หวั หน้าภาควิชานวตั กรรม

และเทคโนโลยีการพัฒนาผลติ ภัณฑ์ และเทคโนโลยกี ารพัฒนาผลิตภัณฑ์
(วันท่ี 20 พฤษภาคม 2562 - 4 มกราคม 2564) (วนั ที่ 28 เมษายน 2564 - ปัจจุบัน)

ผูช้ ่วยศาสตราจารยศ์ รุ ัฐนันท์ คงวรรณ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั ธยาน์ ชูสุข ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปยิ ะรชั ช์ กลุ เมธี

อาจารย์ ดร.พนดิ า เรณูมาลย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วเิ ชียร ศรีวชิ ัย ผู้ช่วยศาสตราจารยธ์ รี วรรณ สวุ รรณ์

อาจารยส์ ุกญั ญา วงวาท เจา้ นหานงอ้าทุไร่ปี วรระรจณ�ำ ภเสาคนวชชิู า

36

หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชานวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารพฒั นาผลิตภณั ฑ
(Innovation and Product Development Technology: IPD)

หลักสูตรสาขาวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภณั ฑ จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการในศาสตร
ทีห่ ลากหลาย เชน การแปรรปู การพฒั นาผลิตภัณฑอยางเปน ระบบ การวิเคราะหและการควบคุมคุณภาพ การออกแบบ
บรรจุภัณฑ การจัดการ การตลาด การจดทะเบียนอาหารและยา การจดแจงผลิตภัณฑเครื่องสําอาง รวมถึงการจัดการ
ทรัพยสินทางปญญา เชน การยื่นขอจดอนุสิทธิบัตร ทําใหไดมาซึ่งผลิตภัณฑท่ีจับตองไดในรูปแบบที่สวยงาม ทันสมัย
สะอาด ปลอดภัย เหมาะสมกับผูบริโภคกลุมเปาหมาย สามารถนําไปผลิตและจําหนายไดจริง ทั้งผลิตภัณฑท่ีเปนอาหาร
และผลิตภัณฑท่ีมิใชอาหาร เชน ผลิตภัณฑอาหารและเครื่องด่ืมเพื่อสุขภาพ ผลิตภัณฑเครื่องสําอางและความงาม
เปนหลักสูตรท่ีสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป และการปฏิรูปประเทศ โดยหน่ึงเปาหมายการพัฒนาประเทศ
คือ ยุทธศาสตรที่ 2 การสรางความสามารถในการแขงขัน ในประเด็นของการเกษตรสรางมูลคา เกษตรแปรรูป และ
เกษตรอัจฉริยะ เพ่ิมมูลคาใหผลิตภัณฑและสินคาเกษตรพรีเม่ียม ในปจจุบันตลาดผลิตภัณฑอาหารและเคร่ืองด่ืม
เพ่ือสุขภาพ รวมถึงผลิตภัณฑเครื่องสําอางและความงามมีการเติบโตอยางรวดเร็วโดยเฉพาะกลุมท่ีใชวัตถุดิบเปน
พืชสมุนไพรหรือสารสกัดจากธรรมชาติ ดังน้ันความรูความสามารถดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ
จึงมีสําคัญและจําเปน เพ่ือพัฒนาผลิตภัณฑใหมท่ีมีคุณภาพ ปลอดภัย เหมาะสมตอผูบริโภคและสถานการณ หลักสูตรน้ี
มุงเนนใหนักศึกษามีความคิดรวบยอดในแตละศาสตรที่เก่ียวของ โดยสามารถประยุกตใชความรูและเทคโนโลยีตางๆ
ในการพัฒนาผลิตภัณฑนวัตกรรม และนําไปใชในการประกอบอาชีพในสายงานดานอุตสาหกรรมเกษตรได
ทง้ั อุตสาหกรรมอาหารและมิใชอาหาร

ภาควิชาฯ มีการจัดการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการและบูรณาการการเรียนการสอนจากหลากหลายศาสตร
มงุ เสริมทักษะและประสบการณใหนักศกึ ษาในทุกๆ ดาน ดังน้ี

1. โครงการเชิญวิทยากรผูเช่ียวชาญจากหนวยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนมาใหความรู ทักษะ และแลกเปล่ียน
ประสบการณใหแกน ักศกึ ษา

1.1 โครงการถายทอดความรูและประสบการณดานการประยุกตใชสารพฤกษเคมีทางเภสัชวิทยาและเคร่ืองสําอาง
วิทยากรโดย ดร.ภญ.จิรา จงเจริญกมล อาจารยประจําภาควิชาเภสัชเคมีและเภสัชเวท คณะเภสัชศาสตร
มหาวิทยาลัยนเรศวร ในวนั ที่ 8 เมษายน 2564 เวลา 9.00-12.00 น. (รปู แบบออนไลน)

รายงานประจําป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

37

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

38

1.2 โครงการถายทอดความรู ประสบการณ แลกเปลย่ี นเรยี นรูดา นวิทยาศาสตรเ ครื่องสําอาง เพ่ือสุขภาพและ
ความงาม วทิ ยากรโดย รองศาสตราจารย ดร. มยุรี กัลยาวฒั นกุล และรองศาสตราจารย ดร.ณฐั ยา เหลาฤทธิ์ สาํ นัก
วิชาวิทยาศาสตรเครือ่ งสําอาง มหาวทิ ยาลยั แมฟา หลวง (มฟล.) เมือ่ วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2564 เวลา 9.00-12.00 น., วนั ท่ี
17 และ 24 กรกฎาคม 2564 เวลา 9.00-16.00 น., และวันที่ 28 กรกฎาคม 2564 เวลา 9.00-12.00 น. (รูปแบบออนไลน)

รายงานประจําป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

39

1.3 สัมมนาออนไลน (Webinar) เรื่อง ความรูพื้นฐานและเทคโนโลยีเครื่องสําอางในปจจุบัน วิทยากรโดย ดร.ณชั รี
คงประกายวุฒิ ตําแหนง Application Director, DCAC Center, คุณกชพร ยอสินธุ ตําแหนง Senior Application
Manager (Cosmetic) และคุณคณาธิปศาตนันทน พลเสน ตําแหนง Executive Product Specialist-Health&Beauty
Instrument ในวันท่ี 22-23 กรกฎาคม 2564

1.4 โครงการนวัตกรรมและเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑอาหารเพ่ือสุขภาพ วิทยากรโดย ผูชวยศาสตราจารย
ดร.สุภัทร ไชยกุล อาจารยประจําภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ผูเชี่ยวชาญดาน
การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑอาหารเพื่อสุขภาพและอาหารทางการแพทย วันท่ี 30 กรกฎาคม 2564 เวลา 9.00-16.00
น.(รูปแบบออนไลน)

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

40

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

41

1.5 กิจกรรมสัมภาษณพิเศษ พูดคุยแบงปนมุมมอง ในธุรกิจเครื่องสําอางกับ คุณฉัตรชัย วงศมานะโรจนศรี CEO
ภตู ะวนั (ศษิ ยเ กาภาควชิ าฯ) วันที่ 30 กันยายน 2564 เวลา 13.30-15.00 น.

รายงานประจําป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

42

2. โครงการบรู ณาการความรูอตุ สาหกรรมเกษตรใหแกน ักศกึ ษาของภาควชิ าฯ
2.1 โครงการนํานักศึกษาเย่ียมชมสถานประกอบการเพื่อบูรณาการความรูอุตสาหกรรมเกษตร เปนโครงการ

ที่สงเสริมใหนักศึกษามีความรูความเขาใจเก่ียวกับสถานประกอบการที่ดําเนินการดานอุตสาหกรรมเกษตร โดยพา
เยีย่ มชมสถานประกอบการ 2 แหง เมอ่ื วันท่ี 22 มีนาคม 2564 ไดแ ก

1) การเยีย่ มชมบรษิ ทั วาสนาเมลอน ฟารม จํากดั

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

43

2) การเยีย่ มชมสหกรณโคนมไทยมิลค จํากดั จงั หวดั สระบรุ ี

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

44

2.2 โครงการนิเทศนักศึกษาฝกงานเพื่อบูรณาการความรูอุตสาหกรรมเกษตร จากการที่นักศึกษาไดมีโอกาสเขารับ
การฝกงานเพ่ือเรียนรูการดําเนินการในภาคการผลิตในโรงงานและสถานประกอบการทางดานอุตสาหกรรมเกษตรที่
สงเสริมใหนักศึกษาสามารถบูรณาการความรูในชั้นเรียนในหลากหลายวิชาไปประยุกตใชงานจริงในสถานประกอบการ
แตเนื่องดวยสถานการณการแพรระบาดของโรค Covid-19 ดังน้ันทางภาควิชาฯ จึงไดจัดทําโครงการนิเทศนักศึกษา
ฝก งานเพอ่ื บรู ณาการความรูอุตสาหกรรมเกษตร (ออนไลน) ข้ึน เพื่อติดตามผลการฝกงานและใหคาํ ปรึกษาแกนกั ศึกษาท่ี
เขารับการฝกงาน เม่ือวันท่ี 5 กรกฎาคม 2564 โดยมีนักศึกษาที่ไดรับการนิเทศทั้งหมด 7 คน ไดแก นางสาวเบญจพร
แสนทวีสุข นางสาวพิชยา ฐีตะธรรมานนท นางสาวชนยชา จรรยาวัฒน และนายจักรพันธ คําอิน ฝกงานท่ีโรงพยาบาล
เจาพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี ในแผนกจุลชีววิทยา และบรรจุภัณฑ นางสาวอารีรัตน เชื้อชัย
นางสาวเจษฎาพร บุญเกตุ และนายสหสั วรรษ สายสนุ ทร ฝกงานที่บรษิ ทั ดิลเิ ชียส สตอรี่ จํากดั จงั หวัดฉะเชงิ เทรา แผนก
ตรวจสอบคุณภาพ นางสาวณัฐณิชา สุวรรณประกาย และ นางสาววิศัลยา เชียงกาขันธ ฝกงานท่ีศูนยนาโนเทคโนโลยี
แหง ชาติ จงั หวัดปทมุ ธานี

รายงานประจําป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

45

3. ผลงานของนักศึกษาเพ่ือการผลิตบัณฑิตคิดสรางสรรค ตามอัตลักษณของภาควิชาฯและบัณฑิตท่ีคิดเปน ทําเปน
ตามอตั ลักษณของมหาวิทยาลัยฯ

3.1 นักศึกษาภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ ชั้นปที่ 4 นางสาวอรัญญา อินเสาร ไดเขารวม
เสนอผลงานวิจัยแบบปากเปลา (Oral presentation) ซ่ึงเปนสวนหน่ึงในวิชาโครงงานพิเศษ ในหัวขอเรื่อง Structure
formation and the properties of alginate-wheat protein based as meat analogues ใ น ง า น ป ร ะ ชุ ม
ทางวิชาการระดับนานาชาติ Maritime Studies and Marine Innovation 2020 (MSMI 2020) ณ โรงแรม AVANI
riverside เจาพระยา กรุงเทพฯ เม่อื วนั ที่ 11 ธนั วาคม 2563 โดยมี รศ.ดร.รชั นี เจรญิ เปนอาจารยท่ปี รึกษา

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอุตสาหกรรมเกษตร

46

3.2 นักศึกษาภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ รวมกับนักศึกษาภาควิชาเทคโนโลยี
อุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ ชั้นปท่ี 2-4 เขารวมแขงขันประกวดแนวคิดผลิตภัณฑนวัตกรรมอาหาร FoSTAT
Food Innovation Concept Contest 2021 ใน Theme: Smart Food for New Normal แบบออนไลน ดําเนิน
โครงการระหวางวนั ท่ี 25–31 มนี าคม 2564 โดยสง คลิปประกวด รอบคดั เลือก ระดบั ภูมภิ าค จาํ นวน 2 ทมี คือ

1) ทมี Sticky right พัฒนาผลิตภัณฑข าวเหนยี วมนู มะยงชิดแชแ ขง็
แนวคิดผลิตภัณฑมีดังนี้ “ผลิตภัณฑขาวเหนียวมูนมะยงชิดแชแข็ง เปนการนํามะยงชิดในทองถิ่นที่มีราคา

ตกตา่ํ ในขณะนี้มาแปรรปู ใหมีมลู คาสงู ข้ึน โดยพฒั นาใหอ ยูใ นรูปแบบแชแข็งดว ยวธิ ีแชเยือกแข็งดวยลมเย็นจัด (Air-blast
freezing) ดานนอกของตัวผลิตภัณฑหอหุมดวยขาวเหนียวมูนที่มีเน้ือเหนียว นุม รสชาติหวานมันแตไมสงผลเสียตอ
สขุ ภาพ ดา นในสอดไสซ อสมะยงชดิ ท่มี เี น้ือของมะยงชิดที่เพิ่มอรรถรสในการรับประทาน รสชาติเปรีย้ วอมหวาน ซ่ึงตดั กบั
รสชาติของขาวเหนียวมูนอยางลงตัว ผลิตภัณฑดังกลาวอุดมไปดวยสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพท่ีมีสวนชวยเสริมสราง
ภูมิคุมกันใหรางกาย ตรงตามความตองการของผูบริโภค เขากับการใชชีวิตแบบวิธีใหม และเก็บรักษาไดนาน ผลิตภัณฑ
สามารถรับประทานแบบแชเ ย็น อนุ รอ นในไมโครเวฟ หรือนําไปทอด ทาํ ใหผูบรโิ ภคเพลดิ เพลนิ ไปกับวธิ กี ารรบั ประทานที่
หลากหลาย”

รายชื่อผูเขารวมแขงขัน ไดแก นางสาวพิมพวลี วองกสิกรณ นางสาวเมลานี ลุมพลีวงษ นายณัฐนนท จินดาหาร
นางสาวปณณพร แผวพิษากุล นางสาวณัฎฐธิดา พวงไสว และนางสาวณัฐณิชา สุวรรณประกาย โดยมี ผศ.ดร.วิเชียร
ศรวี ชิ ยั และ ผศ.ดร.ภคั วัฒน เดชชวี ะ เปน อาจารยท่ปี รกึ ษา

2) ทีมเดก็ ซาพากนิ ไก พัฒนาผลิตภณั ฑไกทอดเกาหลจี ากโปรตนี พืช
แนวคิดผลิตภัณฑมีดังนี้ “ผลิตภัณฑไกทอดเกาหลีจากโปรตีนพืช มีเน้ือสัมผัส สี กล่ินรสเหมือนเน้ือจากไก

มีการทอดซ้ําและคลุกซอสเพิ่มรสชาติ ขนาดพอดีคํา เม่ือรับประทานแลวผูบริโภคไดรับสัมผัสเหมือนกับการบริโภคไก
ทอดกรอบสไตลเกาหลี บรรจซุ องปด สนทิ ถูกหลกั อนามัย”

รายงานประจาํ ป 2564 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร

47


Click to View FlipBook Version