The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรรายวิชาวิทยาการคำนวณ1_64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kwanla_ket, 2022-02-12 20:58:35

หลักสูตรรายวิชาวิทยาการคำนวณ1_64

หลักสูตรรายวิชาวิทยาการคำนวณ1_64

หลักสตู รรายวชิ า

(Course Development)

รหัสวชิ า ว30105 รายวชิ า วิทยาการคำนวณ
จำนวน 0.5 หน่วยกิต 1 คาบ/สัปดาห์
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564

จัดทำโดย

นางสาวขวัญหล้า เกตฉุ มิ
ตำแหน่ง ครชู ำนาญการ
กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาการมธั ยมศึกษา เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ

หลักสูตรรายวิชาฉบับนี้จัดทำข้ึนเพ่ือเตรียมการในการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาการคำนวณ 1
รหัสวิชา ว30105 โดยครูผ้สู อนได้ทำการศึกษาและวเิ คราะห์กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ และจัดทำคำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา กำหนดเวลาเรียน น้ำหนักคะแนน กำหนด
ทักษะกระบวนการในการเรียนการสอนตลอดจนการวดั และประเมินผลการเรียนการสอนของครู

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนของผู้เรียนโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาการมัธยมศึกษา
กรุงเทพมหานคร เขต 1 ตอ่ ไป

นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม
ผ้จู ัดทำ

สารบญั

คำนำ หนา้

หลกั สูตรรายวิชา 1
1
1. หลกั การและจุดมุ่งหมายของหลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน 2551 1
1
หลกั การ 2
2
จุดหมาย 2
3
2. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น 4
4
3. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 4
4
4. วสิ ยั ทศั นข์ องโรงเรยี น 4
5
พนั ธกจิ 7
8
เปา้ ประสงค์ 8
8
5. การกำหนดโครงการสอน 8

สาระ/มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั (แกนกลาง) 10
16
คำอธิบายรายวิชา (ดูรายละเอียดจากหลกั สูตร) 22

มาตรฐานการเรียนรู้ (ดรู ายละเอียดจากหลักสูตร) 28
33
ตวั ชว้ี ดั หรอื ผลการเรยี นรู้ (ดูรายละเอยี ดจากหลกั สูตร) 38
43
6. ตารางโครงสร้างรายวชิ า
49
7. การกำหนดโครงการสอนและกจิ กรรมตลอดภาคเรียน 55
60
8. แผนการวดั ผลและภาระงาน 65
70
แนวการวัดผล

แผนการวัดผล

การกำหนดภาระงานนกั เรยี น

แผนการจดั การเรยี นรู้

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 แนวคดิ เชิงคำนวณ

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 แนวคดิ เชิงคำนวณ

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 การแยกส่วนประกอบและการยอ่ ยปัญหา

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 การหารูปแบบและการคดิ เชิงนามธรรม

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 การแกป้ ญั หาและข้นั ตอนวธิ ี

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 การแกป้ ัญหาดว้ ยคอมพวิ เตอร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5 การออกแบบขัน้ ตอนวธิ ี

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 การจัดเรียงข้อมูล

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 7 การคน้ หาข้อมลู

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 การพัฒนาโครงงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 โครงงานสรา้ งสรรค์

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9 วางแผนและออกแบบโครงงาน

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 10 พฒั นาโครงงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 รายงานโครงงาน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 Show Time



1

1. หลักการและจดุ มุ่งหมายของหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 2551

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน มุง่ พฒั นาผู้เรยี นทุกคน ซง่ึ เป็นกำลงั ของชาติให้เป็นมนษุ ย์ท่มี คี วาม
สมดุลทัง้ ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมอื งไทยและเปน็ พลโลก ยึดม่นั ในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข มีความรูแ้ ละทักษะพนื้ ฐาน รวมทัง้ เจตคติ ท่ีจำเปน็ ต่อ
การศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชวี ติ โดยม่งุ เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญบนพ้ืนฐานความเชือ่ วา่
ทุกคนสามารถเรยี นร้แู ละพฒั นาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

หลกั การ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน มหี ลักการท่ีสำคัญ ดงั นี้
1. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มจี ุดหมายและมาตรฐานการเรยี นรู้ เปน็

เปา้ หมายสำหรับพัฒนาเดก็ และเยาวชนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย
ควบคกู่ ับความเป็นสากล

2. เปน็ หลักสูตรการศึกษาเพือ่ ปวงชน ท่ปี ระชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมี
คณุ ภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สงั คมมสี ่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา ให้
สอดคล้องกบั สภาพและความต้องการของท้องถิ่น

4. เป็นหลักสูตรการศึกษาทมี่ ีโครงสร้างยืดหย่นุ ท้งั ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั การเรียนรู้
5. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาท่เี น้นผ้เู รียนเป็นสำคญั
6. เป็นหลกั สูตรการศึกษาสำหรบั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จดุ หมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒ นาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญ ญ า มีความสุข

มศี กั ยภาพในการศกึ ษาต่อและประกอบอาชพี จึงกำหนดเป็นจดุ หมายเพ่ือใหเ้ กิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศกึ ษาข้ัน
พื้นฐาน ดงั น้ี

1. มคี ุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมทีพ่ ึงประสงค์ เหน็ คณุ ค่าของตนเอง มีวนิ ยั และปฏิบตั ติ นตาม
หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถอื ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสอื่ สาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใช้เทคโนโลยีและมที ักษะชีวิต
3. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสขุ นสิ ัย และรกั การออกกำลงั กาย
4. มีความรกั ชาติ มจี ิตสำนึกในความเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ยึดม่นั ในวถิ ีชวี ิตและการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
5. มีจติ สำนกึ ในการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย การอนุรักษแ์ ละพฒั นาสงิ่ แวดล้อมมจี ิต
สาธารณะที่ม่งุ ทำประโยชน์และสรา้ งสงิ่ ที่ดงี ามในสังคม และอยู่รว่ มกันในสังคมอยา่ งมีความสุข

2. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน

หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน มุ่งให้ผเู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดงั นี้
1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสงั คม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหา

2

ความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้
วธิ กี ารส่อื สาร ทมี่ ีประสทิ ธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่มี ตี ่อตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพอ่ื การตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคต่างๆ ท่ีเผชิญได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมีการตัดสนิ ใจทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดข้ึนต่อตนเอง สังคมและสง่ิ แวดล้อม

4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใชใ้ นการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ
สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหวา่ งบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตวั ให้
ทนั กับการเปล่ยี นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จักหลีกเล่ยี งพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ท่ีส่งผลกระทบ
ต่อตนเองและผู้อ่ืน

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ
แกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

3. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน มุ่งพฒั นาผูเ้ รียนให้มคี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เพ่อื ใหส้ ามารถ
อย่รู ว่ มกับผอู้ ่นื ในสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซือ่ สัตยส์ จุ รติ
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อย่อู ย่างพอเพียง
6. มุง่ ม่ันในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

4. วสิ ยั ทศั นข์ องโรงเรยี น

โรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม เป็นโรงเรียนส่งเสริมทักษะการคิด เพ่ือพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความรู้คูค่ ุณธรรม
บนพน้ื ฐานความเป็นไทยและหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

พันธกิจ
1) จดั การเรียนการสอนเพ่ือพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น
2) พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
3) การบรหิ ารจดั การสถานศึกษา
4) พฒั นาชมุ ชน สงั คม ธำรงสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

3

เป้าประสงค์
1) ผู้เรยี นมคี ุณสมบัตติ ามมาตรฐานนักเรยี นโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม 10 ขอ้ ได้แก่ ทดแทนบุญคุณ

บิดามารดา มาโรงเรียนเช้า เข้าห้องเรียนเสมอ พบเจอครูเคารพ คบหาเพื่อนดี สามัคคีหมู่คณะ ละเลิกส่ิงช่ัว
ประพฤตติ วั ดี มนี ้ำใจ ใหเ้ กยี รตกิ ัน และมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงคต์ ามหลักสูตร

2) ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการสืบสาน อนรุ กั ษ์ ประเพณี และวฒั นธรรมไทย
3) ผู้เรียนนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต
4) ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการ ส่ือสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตผลงาน
สรา้ งสรรค์ และร่วมกันรบั ผิดชอบสงั คม
5) ผู้เรียนมีสขุ ภาพพลานามัยแขง็ แรง จิตใจร่าเริงแจ่มใส มีสุขภาพจิตที่ดี ปลอดจากสิ่งเสพติด อบายมุข
และโรคเอดส์
6) ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา
ตามศกั ยภาพ
7) ครแู ละบคุ ลากรมีความร้แู ละจรยิ ธรรม มศี ักยภาพในหน้าทข่ี องตน
8) สถานศกึ ษามสี ภาพแวดลอ้ มและการบรกิ ารทเี่ อื้อต่อการเรยี นรู้
9) สถานศึกษามีการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ
10) มีการประสานงานกับคณะกรรมการสถานศึกษาฯ สมาคมศิษย์เก่า เครือข่ายผู้ปกครอง และ
หนว่ ยงานอืน่ ๆท่เี ก่ียวขอ้ ง เน้นการมสี ่วนร่วมของผู้เกย่ี วข้องทกุ ฝา่ ยในการพัฒนาโรงเรยี น

4

5. การกำหนดโครงการสอน/คำอธิบายรายวิชา

โครงการสอนรายวิชา
รหสั วชิ า ว30105 รายวิทยาการคำนวณ 1
จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต 1 คาบ/ สปั ดาห์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564

สาระ/มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั (แกนกลาง)
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2

เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอนและเป็นระบบ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ร้เู ท่าทนั และมจี รยิ ธรรม

ตวั ชว้ี ัดที่ 1
ประยุกตใ์ ชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการพฒั นาโครงงานทม่ี กี ารบูรณาการกับวชิ าอนื่ อยา่ งสรา้ งสรรค์

และเช่ือมโยงกบั ชวี ติ จรงิ

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาหลักการของแนวคิดเชิงคำนวณ การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา การหารูปแบบ
การคิดเชิงนามธรรม ตัวอย่างและประโยชน์ของแนวคิดเชิงคำนวณเพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ประยุกต์ใช้
แนวคิดเชิงคำนวณในการออกแบบข้ันตอนวิธีการสำหรับแก้ปัญหา การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การระบุ
ข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหา การออกแบบขน้ั ตอนวิธี การทำซ้ำ การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล
ตัวอย่างการออกแบบขั้นตอนวิธีเพ่ือแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การศึกษาตัวอย่างโครงงานทางเทคโนโลยี
สารสนเทศ การกำหนดปัญหา ศึกษา วางแผน ดำเนินงานสรุปผลและเผยแพร่ ในการพัฒนาโครงงานท่ีมี
การบรู ณาการรว่ มกบั วิชาอนื่ และเชอ่ื มโยงกับชวี ติ จรงิ
โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning) และการเรียนรู้
แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) เพื่อให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญ
สถานการณ์แกป้ ญั หาวางแผนการเรยี นรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และนำเสนอผ่านกิจกรรมโครงงาน
เพือ่ ให้เกิดทกั ษะความรู้ความเข้าใจในการคิดเชิงคำนวณ การคิดวเิ คราะห์ แกป้ ญั หาเปน็ ขนั้ ตอนและ
เป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการสร้าง
โครงงานและแกป้ ัญหาทีพ่ บในชีวติ จริงไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม

มาตรฐานการเรยี นรู้
ว 4.2 ม.4/1
ตวั ช้ีวัด
1. ประยุกต์ใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการพัฒนาโครงงานทม่ี ีการบรู ณาการกบั วชิ าอื่นอยา่ งสรา้ งสรรค์ และเชือ่ มโยง
กบั ชีวิตจรงิ

5

6. ตารางโครงสรา้ งรายวิชา

ลำดับท่ี ช่อื กิจกรรมการเรียนรู้ ตวั ชีว้ ัด วธิ กี ารประเมนิ เวลา นำ้ หนัก
(ช่ัวโมง) คะแนน

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณ

1 แนวคิดเชงิ คำนวณ ม.4/1 1. ประเมินจากใบกจิ กรรม 1 2
1 3
2. สังเกตพฤตกิ รรมจากการทำงานกลมุ่ 1 2

3. ประเมินจากแบบประเมินตนเองเรือ่ ง 1 3
1 3
ฉันรู้จกั ขนั้ ตอนวิธี

2 การแยกส่วนประกอบ ม.4/1 1. ประเมนิ จากใบกจิ กรรม

และการย่อยปัญหา 2. สังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลมุ่

3. ประเมินจากแบบประเมนิ การแยก

ส่วนประกอบและการย่อยปญั หา

3 การหารูปแบบและการ ม.4/1 1. ประเมนิ จากใบกจิ กรรม

คิดเชิงนามธรรม 2. สังเกตพฤตกิ รรมจากการทำงานกลุม่

3. ประเมนิ จากแบบประเมนิ การคิดเชงิ

นามธรรม

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 การแก้ปญั หาและขั้นตอนวิธี

4 การแกป้ ัญหาด้วย ม.4/1 1. ประเมนิ จากใบกิจกรรม

คอมพวิ เตอร์ 2. สังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลุม่

5 การออกแบบขั้นตอนวธิ ี ม.4/1 1. ประเมนิ จากใบกิจกรรม

6 การจัดเรียงขอ้ มูล ม.4/1 1. ประเมนิ จากใบกิจกรรม 1 2
7 การคน้ หาขอ้ มูล ม.4/1 2. สังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลุ่ม 1 2
1. ประเมินจากใบกจิ กรรม 1 3
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 การพฒั นาโครงงาน 2. สังเกตพฤตกิ รรมจากการทำงานกลุม่
8 โครงงานสรา้ งสรรค์ ม.4/1 1 10
1. ประเมินจากใบกจิ กรรม
9 วางแผนและออกแบบ ม.4/1 2. ประเมินจากแบบประเมนิ ประเดน็ 1 20
โครงงาน ปัญหา
3. สังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลุ่ม
1. ประเมินจากใบกิจกรรม
2. ประเมนิ ข้อเสนอโครงงานจากแบบ
ประเมินข้อเสนอโครงงาน
3. สังเกตพฤตกิ รรมจากการทำงานกลมุ่

สอบกลางภาค

6

ลำดบั ที่ ช่ือกจิ กรรมการเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ัด วธิ กี ารประเมนิ เวลา นำ้ หนกั
(ชว่ั โมง) คะแนน

10 พฒั นาโครงงาน ม.4/1 1. ประเมินความกา้ วหน้าของการพัฒนา 6 10
โครงงานจากใบกจิ กรรมท่ี 10.1
11 รายงานโครงงาน 2. สังเกตพฤตกิ รรมจากการทำงานกลุ่ม 1 10
12 Show Time 2 10
ม.4/1 1. ประเมินจากใบกิจกรรม
2. สงั เกตพฤติกรรมจากการทำงานกล่มุ

ม.4/1 1. ประเมนิ โครงงานจากแบบประเมิน
โครงงาน
2. ประเมนิ การนำเสนอโครงงานจาก
แบบประเมินการนำเสนอโครงงาน
3. ผเู้ รียนประเมินตนเองในการทำ
โครงงาน

สอบปลายภาค 1 20

จติ พสิ ยั --

รวม 20 100

อัตราสว่ นคะแนน = 80 : 20
คะแนนเก็บระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค = 20 : 80 : 0

K:P:A 100 คะแนน
รวม

คะแนนเก็บก่อนสอบกลางภาค = 30 คะแนน

สอบกลางภาค = 20 คะแนน

คะแนนเก็บก่อนสอบปลายภาค = 80 คะแนน

คณุ ลกั ษณะ / จิตพิสัย = - คะแนน

สอบปลายภาค = 20 คะแนน

รวม 100 คะแนน

7. การกำหนดโครงการสอนและกิจกรรมตลอดภาคเรยี น 7

สัปดาห/์ กิจกรรม / เวลา
แผนการ กจิ กรรมการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด กระบวนการเรยี นรู้ (ชั่วโมง)
เรยี นรูท้ ี่
1
1/1 แนวคิดเชงิ คำนวณ ม.4/1 ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem-based 1
1
Learning) 1
1
2/2 การแยกส่วนประกอบ ม.4/1 ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based 1
1
และการย่อยปญั หา Learning) 1
1
3/3 การหารูปแบบและ ม.4/1 ปญั หาเป็นฐาน (Problem-based 6
1
การคิดเชงิ นามธรรม Learning) 2

4/4 การแกป้ ัญหาดว้ ย ม.4/1 ปญั หาเป็นฐาน (Problem-based

คอมพวิ เตอร์ Learning)

5/5 การออกแบบข้นั ตอน ม.4/1 ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based

วธิ ี Learning)

6/6 การจัดเรียงขอ้ มลู ม.4/1 ปัญหาเปน็ ฐาน (Problem-based

Learning)

7/7 การค้นหาข้อมลู ม.4/1 ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem-based

Learning)

8/8 โครงงานสรา้ งสรรค์ ม.4/1 โครงงานเป็นฐาน (Project-based

Learning)

9/9 วางแผนและออกแบบ ม.4/1 โครงงานเป็นฐาน (Project-based

โครงงาน Learning)

11-16/10 พัฒนาโครงงาน ม.4/1 โครงงานเป็นฐาน (Project-based

Learning)

17/11 รายงานโครงงาน ม.4/1 โครงงานเปน็ ฐาน (Project-based

Learning)

18-19/12 Show Time ม.4/1 โครงงานเปน็ ฐาน (Project-based

Learning)

8

8. แผนการวัดผลและภาระงาน

แนวการวัดผล อัตราส่วน คะแนนระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20

อัตราส่วน คะแนน K : P : A = 20 : 80 : 0

แผนการวดั ผล

การประเมิน คะแนน วธิ ีวัด ชนดิ ของเครื่องมอื ตวั ชี้วัด/ผลการ เวลาท่ีใช้
เรียนรู้ข้อที่ (นาท/ี ครั้ง)
ก่อนกลางภาค 30 1.ตรวจใบ 1.ใบกจิ กรรม 50 นาที/คร้งั
2.แบบประเมินการ ม.4/1
นำเสนอ 50 นาที/คร้ัง
กจิ กรรม 3.แบบสังเกตพฤติกรรม 50 นาท/ี คร้งั
4.เค้าโครงโครงงาน
2.การนำเสนอ ตลอด
ภาคเรียน
3.พฤติกรรม 50 นาท/ี ครั้ง

4.การพัฒนา

โครงงาน

กลางภาค 20 สอบ แบบประเมินทักษะ ม.4/1
ม.4/1
หลังกลางภาค 30 1.ตรวจใบ 1.ใบกจิ กรรม
2.แบบประเมนิ การ
กจิ กรรม นำเสนอ
3.แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
2.การนำเสนอ 4.เคา้ โครงโครงงาน

3.พฤตกิ รรม

4.การพฒั นา

โครงงาน

คณุ ลักษณะ / - - --

จติ พิสัย

ปลายภาค 20 สอบ แบบทดสอบความรู้ ม.4/1
100 คะแนน
รวม

การกำหนดภาระงานนกั เรยี น
ในการเรยี นรายวชิ าวิทยาการคำนวณ 1 ไดก้ ำหนดใหน้ กั เรียนทำกิจกรรม/ปฏบิ ัติงาน
(ชิน้ งาน) 2 ชิน้ ดงั น้ี

ท่ี ชอ่ื งาน ตวั ช้ีวัด/ผลการ ประเภทงาน กำหนดสง่
1 โครงงาน เรียนรขู้ อ้ ที่ วัน/เดือน/ปี
กลุ่ม เด่ียว
1  10 ก.ย. 64

9

ลงช่ือ..............................................ครปู ระจำวิชำ
(นำงสำวขวญั หล้ำ เกตุฉิม)

ลงชอ่ื ..............................................หัวหน้ำกลุ่มสำระกำรเรียนรู้
(นางกณิการ์ พฒั รากุล)

ลงช่ือ..............................................หัวหนำ้ งำนนเิ ทศ
(นางกณกิ าร์ พัฒรากลุ )

ลงช่อื ..............................................รองผอู้ ำนวยกำรกลุ่มบรหิ ำรวชิ ำกำร
(นางรพพี ร คำบุญมา)

ลงช่ือ..............................................ผอู้ ำนวยกำรโรงเรียนสุวรรณำรำมวิทยำคม
(นำยจงจัด จันทบ)


Click to View FlipBook Version