The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SIN EBOOK, 2023-05-23 03:25:43

ANNUAL REPORT ปี 2564

ANNUAL REPORT ปี 2564

ANNUAL REPORT 2 สำ นักจัดก 0 ารทรัพยากร 2 ป่า ป่ ไม้ที่ 7 (ข 1 อนแก่น)


สำ นักนัจัดจัการทรัพรัยากรป่าป่ ไม้ที่ ม้ที่7 (ขอนแก่นก่ ) ได้จั ด้ ดจัทำ รายงานประจำ ปีเปีพื่อพื่ประชาสัมสัพันพัธ์ และเผยแพร่ผร่ลการปฏิบัฏิติบัรติาชการ ผลการประเมินมิส่วส่นราชการ ตามมาตรการปรับรัปรุง รุ ประสิทสิธิภธิาพในการ ปฏิบัฏิติบัรติาชการของส่วส่นราชการ ประจำ ปีงปีบประมาณ พ.ศ.2564 และ ผลงานสำ คัญคัอื่นอื่ของสำ นักนัจัดจัการทรัพรัยากรป่าป่ ไม้ที่ ม้ที่7 (ขอนแก่นก่ )โดย มีอมีงค์ปค์ระกอบหลักลัของรายงาน 4 ส่วส่น คือคืข้อ ข้ มูล มู ภาพรวมของหน่วน่ยงาน ผลการปฏิบัฏิติบัรติาชการ ประจำ ปีงปีบประมาณ พ.ศ. 2564 ผลงานสำ คัญคัอื่นอื่ และการประเมินมิส่วส่นราชการตามมาตรการปรับรัปรุง รุ ประสิทสิธิภธิาพในการ ปฏิบัฏิติบัรติาชการ ประจำ ปีงปีบประมาณ พ.ศ. 2564 สำ นักนัจัดจัการทรัพรัยากรป่าป่ ไม้ที่ ม้ที่7 (ขอนแก่นก่ ) หวังวัเป็น ป็ อย่าย่งยิ่งยิ่ว่าว่ รายงานประจํา จํปี 2564 นี้ จะเป็น ป็ รายงานที่แที่สดงต่อต่สาธารณะให้เ ห้ ห็น ห็ ถึงถึ ความมุ่งมุ่ มั่นมั่และความตั้ง ตั้ใจของเจ้า จ้ หน้า น้ ที่ เพื่อพื่ผลการปฏิบัฏิติบังติานเป็น ป็ ประโยชน์ต่น์อต่ ประเทศชาติทุติก ทุ ระดับดัคุณ คุ ภาพชีวิชีตวิที่ดีที่ขดีองประชาชนและ ส่งส่ผลต่อต่ส่วส่นรวมทั้ง ทั้ในปัจจุบั จุ นบัและอนาคต ANNUAL REPORT2021 คำ นำ


ANNUAL REPORT2021 สารบัญ คำ นำ สารบัญ ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน ผลการปฏิบัติราชการ ประจำ ปีงปีบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมสำ คัญ งบประมาณรายจ่ายและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำ ปีงปีบประมาณ พ.ศ.2564 2 3 63 8 13 57 การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการประจำ ปีงปีบประมาณ พ.ศ. 2564 64


วิสัยทัศน์ "เป็น ป็ หน่วยงานที่มุ่ ที่ มุ่งมั่นรักษาป่า ส่งเสริมไม้มีค่า ป่าชุมชน คนอยู่กับป่า เพิ่มพื้นที่สี ที่ สี เขียว เพื่อความสุขของคนไทย ANNUAL REPORT2021 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 4


ศึกษาวิเคราะห์ วิจัย นโยบายยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ รับผิดชอบ โดยบูรณาการแผนการบริหาร จัดการทรัพยากรป่าไม้ในระดับกลุ่มจังหวัด และระดับพื้นที่ กำ กับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่และรวบรวมเป็นข้อ เสนอแนะต่อกรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภารกิจและอำ นาจหน้าที่ ดำ เนินการเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ รับผิดชอบ ด้านงานป้องกันการบุกรุกทำ ลายพื้นที่ป่าไม้ งานจัดการที่ดินป่าไม้ งานวิจัยและพัฒนาด้านการป่าไม้ งานส่งเสริมการปลูกป่า งานจัดการป่าชุมชน ตามกฎหมาย ว่าด้วยป่าไม้ กฎหมายว่าด้วยป่าสงวนแห่งชาติ กฎหมายว่า ด้วยสวนป่า กฎหมายว่าด้วยเลื่อยโซ่ยนต์ กฎหมายว่าด้วยป่า ชุมชน และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ANNUAL REPORT2021 ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุน การปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย จัดทำ แผนเพื่อการบริหารจัดการ ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่รับผิดชอบ ให้สอดคล้องตามเป้าหมายและ ยุทธศาสตร์ทุกระดับ 5 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


สถานีเนีพาะชำ กล้าล้ไม้จัม้งจัหวัดวัขอนแก่นก่ สถานีเนีพาะชำ กล้าล้ไม้บ้ม้าบ้นฝาง หน่วน่ยป้อป้งกันกัและพัฒพันาป่าป่ ไม้ภูม้เ ภู วียวีง หน่วน่ยป้อป้งกันกัและพัฒพันาป่าป่ ไม้แม้วงใหญ่ หน่วน่ยป้อป้งกันกัและพัฒพันาป่าป่ ไม้มัม้ญมัจาคีรีคีรี หน่วน่ยป้อป้งกันกัและพัฒพันาป่าป่ ไม้เม้ขาสวนกวาง หน่วน่ยป้อป้งกันกัและพัฒพันาป่าป่ ไม้ภูม้ผ ภู าม่าม่น ANNUAL REPORT2021 หน่ว น่ ยงานภาคสนาม หน่วน่ยป้อป้งกันกัและพัฒพันาป่าป่ ไม้ห้ม้วห้ยผึ้งผึ้ หน่วน่ยป้อป้งกันกัและพัฒพันาป่าป่ ไม้ห้ม้วห้ยเม็ก ม็ หน่วน่ยป้อป้งกันกัและพัฒพันาป่าป่ ไม้สม้ามชัยชั หน่วน่ยป้อป้งกันกัและพัฒพันาป่าป่ ไม้ท่ม้าท่คันคัโท หน่วน่ยป้อป้งกันกัและพัฒพันาป่าป่ ไม้กุม้ฉิกุนฉิารายณ์ สถานีเนีพาะชำ กล้าล้ไม้จัม้งจัหวัดวักาฬสินสิธุ์ สถานีวนีนวัฒวันวิจัวิยจักาฬสินสิธุ์ โครงสร้า ร้ งการบริห ริ าร ขอนแก่น ก่ หน่วน่ยป้อป้งกันกัและพัฒพันาป่าป่ ไม้หม้นองพอก หน่วน่ยป้อป้งกันกัและพัฒพันาป่าป่ ไม้พม้นมไพร สถานีเนีพาะชำ กล้าล้ไม้จัม้งจัหวัดวัร้อร้ยเอ็ด อ็ โครงการพัฒพันาป่าป่ ไม้ทุ่ม้งทุ่ กุลกุาร้อร้งไห้ ที่ 1 โครงการฟื้นฟื้ฟูป่ ฟู าป่หนองเหมือมืดแอ่อัอ่นอัเนื่อนื่งมาจากพระราชดำ ริ อำ เภอเกษตรวิสัวิยสัจังจัหวัดวัร้อร้ยเอ็ด อ็ มหาสารคาม กาฬสินธุ์ หน่วน่ยป้อป้งกันกัและพัฒพันาป่าป่ ไม้กุม้ดกุรังรั สถานีเนีพาะชำ กล้าล้ไม้จัม้งจัหวัดวัมหาสารคาม ร้อ ร้ ยเอ็ด อ็ หน่วยป้องกันและพัฒนาป่าไม้ดงหลวง หน่วยป้องกันและพัฒนาป่าไม้คำ ชะอี หน่วยป้องกันและพัฒนาป่าไม้คำ อาฮวน โครงการฟาร์มตัวอย่างบ้านดอนม่วงพัฒนาอันเนื่อนื่งมาจากพระราชดำ ริ โครงการพัฒนาฟื้นฟื้ ฟูป่าไม้บ้านห้วยตาเปอะและพื้นที่ลุ่ที่ ลุ่มน้ำ ห้วยบาง ทรายตอนบนอันเนื่อนื่งมาจากพระราชดำ ริ จังหวัดมุกดาหาร มุก มุ ดาหาร หน่วยป้องกันรักษาป่า 17 หน่วย สวนป่า 13 สวน หน่วยฟื้นฟื้ ฟู/โครงการ/แปลงปลูกป่า 29 แห่ง รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 6


นายสุมน นำ พูลสุขสันติ์ ผู้อำ นวยการส่วนอำ นวยการ นางกฤษณา จตุรสุขสกุล ผู้อำ นวยการส่วนส่งเสริมการป่าไม้ นายสราวุธ สุโพธิ์ ผู้อำ นวยการส่วนป้องกันรักษาป่า และควบคุมไฟป่า นายสมศักดิ์ วนัสสกุล ผู้อำ นวยการส่วนจัดการป่าชุมชน นายไพบูลย์ รัตนะเจริญธรรม ผู้อำ นวยการสำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 ผู้บริหาร ANNUAL REPORT2021 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) นายไชยา คล้ายคลึง ผู้อำ นวยการศูนย์ป่าไม้ขอนแก่น นายประจัน ดาวังปา ผู้อำ นวยการศูนย์ป่าไม้กาฬสินธุ์ นายปัญญา บุตะกะ ผู้อำ นวยการศูนย์ป่าไม้มหาสารคาม นายสุพจน์ อินเหล่าใหญ่ ผู้อำ นวยการศูนย์ป่าไม้ร้อยเอ็ด นายพรภิรมณ์ อุระแสง ผู้อำ นวยการศูนย์ป่าไม้มุกดาหาร นายครรชิต โล่ห์คำ ผู้อำ นวยการส่วนจัดการที่ดินป่าไม้ 7 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


ข้อมูลภาพรวม ของหน่วยงาน ANNUAL REPORT2021 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) เป็น ป็ หน่วยงานในสังกัดของ กรมป่าไม้ที่มีสำ นักงานตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาค โดยยึดหลักการบริหารจัดการ ทรัพยากรป่าไม้ให้มั่นคงและยั่งยืน สนับสนุนพันธกิจของกรมป่าไม้ เพื่อ ให้สอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทำ หน้าที่จัดทำ แผน กำ กับ ติดตาม ประเมินผลและดำ เนินการจัดการ เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่รับผิดชอบด้านงานป้องกัน และปราบปรามการบุกรุกทำ ลายทรัพยากรป่าไม้ งานจัดการที่ดินป่าไม้ งานส่งเสริมการปลูกป่า งานจัดการป่าชุมชน งานบริการด้านป่าไม้ และ อำ นวยความสะดวกในการบริการประชาชน มีพื้นที่รับผิดชอบ 5 จังหวัด คือ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และมุกดาหาร


พื้นที่รั ที่ บ รั ผิด ผิ ชอบ 2,435,862.02 ไร่ พื้นที่รับผิดชอบ 22,001,278.75 ไร่ เนื้อที่จังหวัด วั พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ (ตามประกาศท้ายกฏ) 4,305,997.93 ไร่ ANNUAL REPORT 2021 0 2,500,000 5,000,000 7,500,000 10,000,000 ขอนแก่น กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด มหาสารคาม มุกดาหาร เนื้อ นื้ ที่จัที่จังหวัด เนื้อ นื้ ที่ป่ที่ ป่าสงวนแห่งชาติ สถิติป่าไม้ 2563 9 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


อัตรากำ ลัง ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ จ้างเหมาบริการ รวม 62 17 321 32 432 ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ จ้างเหมาบริการ พนักงานราชการ ไปช่วยราชการ มาช่วยราชการ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ 36 34 6 4 ANNUAL REPORT 2021 74.3% 14.4% 7.4% 3.9% รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 10


ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ การจัด จั สรรงบประมาณ แผนงาน แผนที่ 18 การเติบโตอย่างยั่งยืน แผนที่ 19 การบริหารจัดการน้ำ ทั้งระบบ แผนที่ 23 การวิจัยและนวัตกรรม ประเด็นที่ 6 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประเด็นที่ 9 ด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นที่ 10 ด้านพลังงาน ANNUAL REPORT 2021 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) ประเด็นที่ 19 การรักษาความมั่นคง ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบัติราชการกรมป่า ป่ ไม้ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561–2580) แผนปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ :การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน แผนความมั่นคง (พ.ศ. 2560–2564) แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561–2580) ยุทธศาสตร์ ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แผนระดับที่ ยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ด้านที่ 1 จัดการป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ ด้านที่ 4 เสริมสร้างความเข้มแข็ง ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาในระดับภูมิภาค แผนระดับที่ แผนระดับที่ ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพ ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ จัดสรร แผนงาน ด้านการสร้างความสามารถใน การแข่งขันของประเทศ ยุทธศาสตร์สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนอนุรักษ์ ฟื้นฟื้ ฟู และป้องกันการทำ ลายทรัพยากรธรรมชาติ พื้นฐานด้านการสร้างการเติบโตบน คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด้านการสร้างความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ 11 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


แผนงานภาพรวมที่ได้รับการจัดสรร 36,164,900 บาท ANNUAL REPORT 2021 ด้า ด้ นการสร้า ร้ งการเติบติ โตบน คุณ คุ ภาพชีวิชีตวิที่เที่ป็นมิตมิรต่อต่สิ่งแวดล้อล้ม แผนงานพื้นฐาน ผลผลิตลิพื้นที่ป่ที่า ป่ ไม้ไม้ ด้รั ด้ บรัการบริหริารจัดจัการ 8 กิจกิกรรมหลักลั 16 กิจกิกรรมย่อ ย่ ย สร้า ร้ งการเติบติ โตอย่า ย่ งยั่งยั่ยืนยือนุรั นุ กรัษ์ ฟื้นฟื้ ฟู และป้องกันกัการทำ ลายทรัพรัยากรธรรมชาติ แผนงานยุทธศาสตร์ โครงการป้องกันกัรักรัษาป่า ป่ พัฒพันาป่า ป่ และเพิ่มพื้นที่สีที่สีเขียขีว 43,285,185 บาท 2 โครงการ 9 กิจกิกรรมหลักลั 22 กิจกิกรรมย่อ ย่ ย รวมงบประมาณ 79,450,085 บาท 2558 2559 2560 2561 2562 2563 77,031,253.00 82,710,723.00 66,824,600.00 66,019,845.00 63,793,997.00 สถิติงบประมาณ 6 ปี ย้อนหลัง 71,448,060.00 โครงการบริหริารจัดจัการที่ดิที่นดิ ป่า ป่ ไม้อ ม้ ย่า ย่ งเป็นระบบและ เป็นธธรม รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 12


ผลการปฏิบัติราชการ ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564


สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรับสิ่งแวดล้อม จังหวัด คดี ไม้ท่อน (ท่อน/ลบ.ม.) พื้นที่บุกรุก (ไร่-งาน-ตรว.) ไม้แปรรูป (แผ่น/ลบ.ม.) ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด 49 12 36 35 260/50.072 169/28.371 172/27.288 284/27.287 50/1.847 0/0 25/1.483 40/0.848 146-2-90 0 104-3-68 82-0-77 รวม 190 1,018/176.42 538/15.945 540-6-287 4.การลาดตระเวนพื้นที่ป่าในความรับผิดชอบ 60-144 วัน ระยะทางลาด ตะเวน 23,145 กิโลเมตร จำ นวน 414 แปลง เนื้อที่ 44,5489 ไร่ กิจกรรมหลักป้องกันรักษาป่า ป่ ANNUAL REPORT 2021 1.การปราบปรามการกระทำ ผิดกฎหมายว่าด้วยการป่าไม้ 2.การติดตามระบบพิทักษ์ไพร ดำ เนินการแล้วเสร็จ 17 จุด 3.การตรวจสอบพื้นที่การเปลี่ยนแปลงสภาพป่า ปี 2559-2560 ดำ เนินการได้ 588 แปลง และปี 2559-60 ดำ เนินการได้ 1,042 แปลง กิจกรรมป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทำ ลายทรัพยากรป่าไม้ สามารถอำ นวยประโยชน์ต่อเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมของประเทศและยังมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิต วัฒนธรรม และความเป็นอยู่ของคนในสังคมและสิ่ง แวดล้อมของประเทศการป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทำ ลายทรัพยากรป่าไม้จึงเป็นภารกิจหลักของกรมป่าไม้ที่ต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบและกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง เพื่อปกป้อง รักษาทรัพยากรป่าไม้ของชาติให้ดำ รงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่ายิ่งต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังเป็นฐานการพัฒนาประเทศทุกด้านเนื่องจากทรัพยากรป่าไม้ มุกดาหาร 58 133/43.396 453/11.767 208-1-52 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 14


ANNUAL REPORT2020 กิจกรรมหลักจัดการที่ดินป่า ป่ ไม้ กิจกรรมจัดการที่ดินป่าไม้ -สำ รวจ วางแผน และกำ หนดความเหมาะสมการใช้ที่ช้ ที่ดินป่าป่ ไม้ -สำ รวจ-รังรัวัดวัแปลงที่ดินของราษฎร์ -จัดจัทำ ขอบเขตให้ชัห้ดชัเจน -จัดจัการที่ดินในเขตป่าป่สงวนแห่งห่ชาติ จำ นวน 468 ราย -จัดจัการที่ดินในเขตป่าป่สงวนแห่งห่ชาติ มีกิมี กิจกรรมที่ดำ เนินนิการ คือ โครงการจัดจัการทรัพรัยากร ป่าป่ ไม้ที่ม้ ที่ดินและป่าป่ ไม้ (งานด้านการควบคุมคุพื้นพื้ที่) -พื้นพื้ที่ดำ เนินนิการ จังจัหวัดวัขอนแก่น 420 ราย - ป่าป่ โคกหลวงแปลงที่สาม - ป่าป่ โสกแต้ - ป่าป่เขาสวนกวาง จังจัหวัดวัร้อร้ยเอ็ด 18 ราย - ป่าป่ดงแม่เม่ผด จังจัหวัดวักาฬสินสิธุ์ 30 ราย - ป่าป่ดงระแนง ผลการดำ เนินงาน ในพื้นพื้ที่ป่าป่สงวนแห่งห่ชาติ มีรมีาษฎรครอบครองทำ กินกระจายอยู่โยู่ดยทั่วทั่ ไป ทำ ให้เห้กิดความขัดขัแย้งย้ ในการใช้ทช้รัพรัยากรที่ดินดิและป่าป่ ไม้ ซึ่งซึ่จากปัญหาดังดักล่าว รัฐรัจึงจึมีคมีวามจำ เป็นป็ต้องสงวนและคุ้มคุ้ครองทรัพรัยากรป่าป่ ไม้ขม้องชาติ และในขณะ เดียดีวกันต้องดูแดูลช่วช่ยเหลือราษฎร ในเรื่อรื่งที่อยู่อยู่าศัยและทำ กินด้วด้ย ดังนั้นนั้จึงจึ ต้องดำ เนินนิการจัดจัการที่ดินดิ ในเขตป่าป่สงวนแห่งห่ชาติอย่าย่งเป็นป็ระบบเน้นด้านการ อนุรันุกรัษ์ควบคู่กัคู่กับการพัฒพันาอย่าย่งยั่งยั่ยืนยือยู่บยู่นหลักการลดปัญหาความขัดขัแย้งย้ การใช้ทช้รัพรัยากรที่ดินดิและป่าป่ ไม้ ม้ โดยดำ เนินนิการแก้ไขปัญหาที่ดินในพื้นพื้ที่ป่าป่ ไม้ ให้รห้าษฎรสามารถอยู่ไยู่ด้อด้ย่าย่งถูกถูต้องเป็นป็หลักแหล่งเหมาะสม ควบคุมคุมิใมิห้มีห้กมีาร บุกรุกรุขยายพื้นพื้ที่ โดยดำ เนินนิการตามมติคณะรัฐรัมนตรีเรีมื่อมื่วันวัที่ 30 มิถุมินถุายน 2541 นำ ข้อข้มูลมาใช้ใช้นการบริหริารจัดจัการพื้นพื้ที่ป่าป่ ไม้ตม้ามระเบียบีบและกฎหมาย ต่อไป สาระสำ คัญ 15 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน กิจกรรมจัดการแนวเขตป่าสงวนแห่งชาติ การจัดจัการแนวเขตป่าป่สงวนแห่งห่ชาติทุกทุป่าป่ ให้มีห้คมีวามชัดชัเจน ตามมาตรา 8 แห่งห่พระราชบัญบัญัติญั ติป่าป่สงวนแห่งห่ชาติ พ.ศ.2507 สอดคล้องตามแผนแม่บม่ท แก้ไขปัญหาการทำ ลายทรัพรัยากรป่าป่ ไม้โม้ดยกองอำ นวยการรักรัษาความมั่นมั่คง ภายในราชอาราจักจัร (กอ.รมน.) และนโยบายของรัฐรัในการจัดจัทำ แนวเขตตาม โครงการการปรัลรัปรุงรุแผนที่แนวเขตที่ดินดิของรัฐรัแบบบูรณาการ มาตราส่วส่น 1:4,000 (one map) งานอำ นวยการและติดตามการปฏิบัติบั ติงานภาคสนาม จำ นวน 1 งาน รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 16 ANNUAL REPORT2021


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ สำ รวจและจัดทำ ข้อมูลทรัพยากรนันทนาการ จำ นวน 10 หมู้บ้าน ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมโครงการจัดการป่าสงวนแห่งชาติ ทรัพยากรนันทนาการ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นที่สามารถนำ มาใช้ประโยชน์ เพื่อการประกอบกิจกรรมนันทนาการซึ่ง ปัจจุบันมีแนวโน้มการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรนันทนาการดังกล่าวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อันเป็นเหตุของการพัฒนาทางกายภาพเพื่อรองรับปริมาณการใช้ประโยชน์ ที่เพิ่มขึ้นโดยใช้กระบวนการศึกษาข้อมูลและวางแผนเกี่ยวกับฐานทรัพยากรอย่างเป็นระบบ ทำ ให้การพัฒนาดังกล่าวเกินขีดความสามารถของพื้นที่ที่จะรองรับได้เป็น ผลให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรวมทั้งระบบนิเวศถูกทำ ลายและมีสภาพเสื่อมโทรมในที่สุดโดยที่ปรากฏว่าในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติรวมทั้งคืนที่ป่าตาม พระราชบัญบัญัติญั ป่ติาป่ ไม้พุม้พุทธศักราช 2484 ที่อที่ยู่ใยู่ นความรับรัผิดผิชอบของกรมป่าป่ ไม้มีม้ทมีรัพรัยากรนันนัทนาการทางธรรมชาติเติป็นป็จำ นวนมาก ได้แด้ก่ พื้นพื้ที่ธที่รรมชาติใตินลักลัษณะต่าต่งๆ รวมถึงถึทัศทันียนีภาพที่มีที่คมีวามงดงามโดดเด่นด่ที่เที่ชื่อชื่มต่อต่การพักพัผ่อผ่นหย่อย่นใจ การศึกษาธรรมชาติแติละหรือรืการประกอบกิจกิกรรมนันนัทนาการรูปรูแบบต่าต่งๆ ซึ่งซึ่พื้นพื้ที่แที่หล่งล่ทรัพรัยากร นันนัทนาการดังดักล่าล่วสมควรที่จที่ะต้อต้งได้รัด้บรัการบริหริารจัดจัการอย่าย่งถูกถูต้อต้งตามหลักลัวิชวิาการและศักศัยภาพของพื้นพื้ที่ภที่ายใต้รต้ะเบียบีบและกฎหมายเพื่อพื่เป็นป็การควบคุมคุป้อป้งกันกัรักรัษา และอนุรันุกรัษ์ทรัพรัยากรป่าป่ ไม้แม้ละสิ่งแวดล้อล้มให้คห้งอยู่ โดยการมีส่มีส่วนร่วร่มของชุมชุชนท้อท้งถิ่นถิ่และหน่วน่ยงานที่เที่กี่ยกี่วข้อข้ง 17 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


ANNUAL REPORT2021 1. สวนป่าที่ขึ้นทะเบียนได้รับการสำ รวจข้อมูล 4 จังหวัด 2. สำ รวจ/เก็บข้อมูลภาคสนามตามหลักวิชาการป่าไม้ 160 แปลงตัวอย่าง 3. ให้คำ แนะนำ ทางวิชาการด้านการดูแลและบำ รุงรักษาและสร้างความรู้ความเข้าใจ ในการดำ เนินการตามพระราชบัญญัติสวนป่า พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 5 เรื่อง 4. ร้อยละของจำ นวนข้อมูลที่นำ ไปจัดทำ ระบบฐานข้อมูล ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 5. ติดตามผลการดำ เนินโครงการ 1 ครั้ง ปัจจุบันประเทศไทยมีความจำ เป็นต้องใช้ไม้ในกิจกรรมต่างๆ ตั้งแต่ระดับครัวเรือนไป จนถึงระดับอุตสาหกรรม นอกจากนี้ปริมาณความต้องการใช้ไม้มีแนวโน้มสูงมากขึ้นในแต่ละปี การปลูกป่าเศรษฐกิจให้ประสบผลสำ เร็จ เพื่อตอบสนองความต้องการใช้ไม้ดังกล่าว และเป็น ไปตามนโยบายการเพิ่มพื้นที่ป่าเศรษฐกิจไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๕ ของรัฐบาล จึงจำ เป็นจะต้องมี ข้อมูลที่ดีประกอบการวางแผนการบริหารจัดการ ได้แก่ ข้อมูลความความต้องการไม้ แหล่งไม้ อุปสงค์และอุปทานที่สอดคล้อง ฐานข้อมูลไม้เศรษฐกิจจึงมีความสำ คัญเป็นอย่างยิ่ง เพื่อใช้เป็นเครื่องมือประกอบการ วางแผนการส่งเสริมของกรมป่าไม้ และประชาชนหรือผู้ประกอบการ สามารถใช้เป็นข้อมูล ประกอบตัดสินใจการวางแผนและการคาดการณ์ล่วงหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพใน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 กรมป่าไม้จึงได้กำ หนดให้ดำ เนินการสำ รวจกำ ลังผลิตไม้เศรษฐกิจ ในพื้นที่ของเอกชนทั่วประเทศยกเว้นรายที่ขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัติ สวนป่า พ.ศ.2535 ซึ่งจะมีข้อมูลอยู่ในระบบแล้วเป็นการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เพื่อจัดทำ ฐานข้อมูลในการส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจต่อไป กิจกรรมหลักส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจและเพิ่มพื้นที่สีเขียว กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการปลูกไม้เศรษฐกิจ สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 18


สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) ส่งเสริมให้ประชาชนปลูกไม้เศรษฐกิจในที่ดินของตนเอง เพื่อเป็นไม้ใช้สอยและเป็นวัตถุดิบใน อุตสาหกรรมไม้ภายในประเทศลดการนำ เข้าไม้จากต่างประเทศพร้อมทำ การส่งเสริมอาชีพด้านป่าไม้ให้สามารถยึดถือเป็นอาชีพในอนาคต และสนับสนุน ให้ผู้ทำ สวนป่ารายย่อยรวมกลุ่มโดยจัดตั้งเป็นเครื่อข่ายและสหกรณ์สวนป่าภาคเอกชนเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งสามารถแก้ไข้ปัญหาและอุปสรรค ด้าน การบริหารจัดการสวนป่า ตลอดจนเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตการใช้ประโยชน์จากไม้ที่ปลูกรวมถึงด้านการตลาด ดังนั้น การสร้างเครือข่ายเกษตรกรอาชีพปลูกสวนป่า จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่มีความสำ คัญที่จะทำ ให้เกิดการมีส่วนร่วมและสร้างกระบวนการเรียนรู้ ร่วมกันทำ ให้เกิดการพัฒนากลุ่มหรือองค์กรจนสามารถพึ่งพาตนเองได้ และเกิดความยั่งยืน ทั้งด้านเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม สำ นักจัดการ ทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) ไม้จึงได้จัดทำ กิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายเกษตรกรอาชีพปลูกสวนป่ารองรับโครงการส่งเสริมการ ปลูกไม้เศรษฐกิจ โดยส่งเสริมให้มีการสร้างเครือข่ายเกษตรกรอาชีพปลูกสวนป่าเพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงกันระหว่างผู้ผลิตและผู้ประกอบการให้มีการ บริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นและต่อยอดไปสู่การพัฒนาองค์ความรู้ในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจก่อให้เกิด ประโยชน์แก่เกษตรกรและประเทศชาติอย่างยั่งยืนตลอดไป ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายเกษตรกรอาชีพปลูกสวนป่า 1.สนับสนุนการดำ เนินงานเครือข่ายที่ได้รับการจัดตั้งและรับสมาชิก เพิ่มเติม 3 เครือข่าย 2.จัดตั้งเครือข่ายใหม่ (สำ หรับจังหวัดที่ยังไม่มีการจัดตั้ง) โดยประชาสมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมเครือข่าย 1 เครือข่าย 3.เกษตรกรต้นแบบ (คัดเลือกเกษตรกร ดีเด่น สาขาอาชีพ ปลูกสวนป่า) 4 ราย 4.สำ รวจความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีต่อศักยภาพของการพัฒนา เครือข่าย ไม้น้อกว่าร้อยละ 80 5.ติดตามการดำ เนินงาน 6 ครั้ง สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน 19 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


สาระสำ คัญ จังหวัด ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด 700 ไร่ พื้นที่ป่าได้รับการบำ รุง รักษาป่าปีที่ 2-6 พื้นที่ป่าได้รับการบำ รุง รักษาป่าปีที่ 7-10 จัดทำ แนวกันไฟ (กิโลเมตร) - - 700 ไร่ 1,460 ไร่ - 1,878 ไร่ 3,440 ไร่ 45 กิโลเมตร 30 กิโลเมตร 170 กิโลเมตร 106 กิโลเมตร มุกดาหาร 1,900 ไร่ - 9 กิโลเมตร - เป็นกิจกรรมสำ หรับการบำ รุง - สวนป่าทุกประเภทตั้งแต่อายุ 2 ปี ถึง 10 ปี เพื่อให้ต้นไม้ในสวนป่าสามารถตั้งตัวและ เจริญเติบโต สวนป่าในความรับผิดชอบของสำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) ซึ่งหมดงบประมาณบำ รุงแล้วมี จำ นวน 10,078 ไร่ ซึ่งส่วนมากเป็นไม้มีค่าทาง เศรษฐกิจ ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะถูกบุกรุก และยึดถือครอบครองได้ง่ายหากไม่มีการดูแล รักษาอย่างต่อเนื่อง - เพื่อเร่งฟื้นฟื้ ฟูความอุดมสมบูรณ์อย่างยั่งยืนต่อไป เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของภาค ประชาชน และเอกชนในการปลูกและบำ รุงป่า ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมหลักฟื้นฟูป่า ป่ ไม้ กิจกรรมบำ รุงรักษาป่า (งานบำ รุงรักษาป่า) ผลการดำ เนินงาน ปฏิบัติงานการปลูกป่า ฟื้นฟื้ ฟูป่าทุกรูปแบบ รวมทั้งการดูแลรักษาสวนป่า ซึ่งมีพื้นที่ดำ เนินการดังนี้ รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 20


สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน ปฏิบัติงานการบำ รุงป่าไม้ใช้สอย จำ นวน 160 ไร่ ซึ่งมีพื้นที่ดำ เนินการดังนี้ จังหวัด มุกดาหาร ร้อยเอ็ด 50 ไร่ พื้นที่ป่าได้รับการ บำ รุงป่าใช้สอย 110 ไร่ - เป็นกิจกรรมสำ หรับการบำ รุงสวนป่า ทุกประเภทตั้งแต่ อายุ 2 ปี ถึง 10 ปี เพื่อให้ต้นไม้ในสวนป่าสามารถตั้งตัวและเจริญเติบโต สวนป่าใน ความรับผิดชอบของสำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) ได้รับ งบประมาณบำ รุงป่าไม้ใช้สอย จำ นวน 160 ไร่ - เพื่อเร่งฟื้นฟื้ ฟูความอุดมสมบูรณ์อย่างยั่งยืนต่อไป - เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและเอกชนในการปลูกและ บำ รุงป่า ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมหลักฟื้นฟูป่า ป่ ไม้ กิจกรรมบำ รุงรักษาป่า (งานโครงการพัฒนาป่าไม้อันเนื่องมาจากพระราชดำ ริ) 21 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน ปฏิบัติงานการบำ รุงแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าอายุมากกว่า 10 ปี จำ นวน 3,093 ไร่ และบำ รุงรักษาป่าปีที่ 7-10 จำ นวน 56 ไร่ ซึ่งมีพื้นที่ดำ เนินการดังนี้ จังหวัด กาฬสินธุ์ ขอนแก่น 2,623 ไร่ บำ รุงแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ป่า อายุมากกว่า 10 ปี 470 ไร่ บำ รุงรักษาป่า ปีที่ 7-10 ปี 56 ไร่ - - เพื่อพัฒนาสวนป่าเพื่อการวิจัยให้เป็นแหล่งพันธุกรรมไม้เศรษฐกิจ สำ คัญสำ หรับใช้ศึกษาวิจัยต่อยอดในการใช้ประโยชน์ทั้งทางด้านการจัด สวนป่าเพื่อผลผลิตที่เป็นเนื่อไม้ และไม่ใช่เนื้อไม้ - เพื่อพัฒนาสวนป่าเพื่อการวิจัยให้เป็นแปลงสาธิตการจัดการสวนป่าไม้ เศรษฐกิจสำ คัญสำ หรับใช้เป็นแหล่งศึกษาดูงานให้กับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ชุมชน กลุ่มเกษตรกร นักศึกษาและประชาชนผู้สนใจ - เพื่อใช้เป็นแหล่งรวบรวมพันธุ์ไม้เศรษฐกิจพันธุ์ดีที่ผ่านการพัฒนา ปรับปรุงพันธุ์และพัฒนาเป็นแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้สำ หรับใช้ปลูกสวนป่า เศรษฐกิจให้กับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ชุมชน กลุ่มเกษตรกร และ ประชาชนผู้สนใจ - เพื่อใช้เป็นแหล่งอาหารให้กับชุมชนโดยรอบสวนป่าเพื่อการวิจัยได้เก็บหา และใช้ประโยชน์ผลิตผลที่ได้จากสวนป่าเป็นการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ให้กับประชาชน ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมหลักฟื้นฟูป่า ป่ ไม้ กิจกรรมบำ รุงรักษาป่า (งานบริหารจัดการงานวิจัย) รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 22


ผลการดำ เนินงาน ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ เกี่ยวกับเทคนิคการเพาะชำ กล้าไม้ การขยายพันธ์ไม้แก่หน่วยงานของรัฐภาคเอกชน และประชาชน โดยมีหน่วยงาน ในสังกัด 8 แห่งได้แก่ ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมเพาะชำ กล้าไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว (งานเพาะชำ กล้าไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว) กิจกรรมเพาะชำ กล้าไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวสาระสำ คัญปัจจุบันทุกประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยต่างตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหาภาวะ โลกร้อนที่ส่งผลต่อมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อมซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าการปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวมีส่วนช่วยในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็น ก๊าซเรือนกระจกที่สำ คัญตัวหนึ่งในการก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนดังนั้นการผลิตกล้าไม้และและแจกจ่ายกล้าไม้ให้หน่วยงานภาครัฐองค์กรเอกชนรัฐวิสาหกิจและ ประชาชนทั่วไปเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะมีส่วนช่วยในการบรรเทาปัญหาภาวะโลกร้อนดังกล่าวตลอดจนเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหาร จัดการและใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืนต่อไป สาระสำ คัญ 23 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


ดำ เนินการเพาะชำ กล้าไม้ทั่วไป และเพาะชำ กล้าไม้มีค่า ดังนี้ สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน หน่วยปฏิบัติ เพาะชำ กล้าไม้ทั่วไป (กล้า) เพาะชำ กล้าไม้มีค่า (กล้า) โครงการฟื้นฟื้ ฟูป่าหนองเหมือดแอ่อันเนื่องมา จากพระราชดำ ริ อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด โครงการฟาร์มตัวอย่างบ้านดอนม่วง พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ ริ โครงการฟื้นฟื้ ฟูป่าไม้บ้านห้วยตาเปอะพื้นที่ ลุ่มน้ำ ห้วยบางทราย 40,000 40,000 40,000 20,000 20,000 20,000 รวม 120,000 60,000 ANNUAL REPORT2021 ปัจจุบันทุกประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย ต่างตระหนักถึงผล กระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหาภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อมนุษย์ทั้งทางตรง และทางอ้อมซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าการปลูกต้นไม้ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวมี ส่วนช่วยในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกที่ สำ คัญตัวหนึ่งในการก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน ดังนั้น การจัดเตรียมกล้าไม้ ปีที่ 1 เพื่อใช้สำ หรับจัดทำ เป็นกล้าไม้ขนาดใหญ่ เพื่อใช้สำ หรับสนับสนุน หน่วยงานต่างๆ ทั้งหน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน รัฐวิสาหกิจ ได้นำ ไปปลูกในงานพิธีและนำ ไปใช้ปลูกเนื่องในวันสำ คัญต่างๆ จึงเป็นอีก แนวทางหนึ่งที่จะมีส่วนในการเพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่อช่วยบรรเทาปัญหา ภาวะโลกร้อน ดังกล่าวตลอดจนเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการและใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืนต่อไป กิจกรรมเพาะชำ กล้าไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว (งานสำ นักโครงการพระราชดำ ริและกิจการพิเศษ) รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 24


สาระสำ คัญ ปัจจุบันทุกประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย ต่างตระหนักถึงผล กระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหาภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อมนุษย์ทั้งทางตรง และทางอ้อมซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าการปลูกต้นไม้ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวมี ส่วนช่วยในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกที่ สำ คัญตัวหนึ่งในการก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน ดังนั้น การจัดเตรียมกล้าไม้ ปีที่ 1 เพื่อใช้สำ หรับจัดทำ เป็นกล้าไม้ขนาดใหญ่ เพื่อใช้สำ หรับสนับสนุน หน่วยงานต่างๆ ทั้งหน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน รัฐวิสาหกิจ ได้นำ ไปปลูกในงานพิธีและนำ ไปใช้ปลูกเนื่องในวันสำ คัญต่างๆ จึงเป็นอีก แนวทางหนึ่งที่จะมีส่วนในการเพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่อช่วยบรรเทาปัญหา ภาวะโลกร้อน ดังกล่าวตลอดจนเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการและใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืนต่อไป ดำ เนินการจัดทำ กล้าไม้ขนาดใหญ่ ดังนี้ ผลการดำ เนินงาน หน่วยปฏิบัติ จัดทำ กล้าไม้ขนาดใหญ่ (กล้า) สถานีวนวัฒนวิจัยกาฬสินธุ์ จ.กาฬสินธุ์ สถานีเมล็ดพันธุ์ไม้ขอนแก่น จ.ขอนแก่น 5,000 2,000 รวม 7,000 ANNUAL REPORT2021 25 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) กิจกรรมเพาะชำ กล้าไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว (งานบริหารจัดการงานวิจัย)


ดำ เนินการเพาะชำ กล้าของป่า ดังนี้ สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน ศูนย์พัฒนาการใช้ประโยชน์ป่าไม้ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น ANNUAL REPORT2021 ปัจจุบันทุกประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย ต่างตระหนักถึงผล กระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหาภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อมนุษย์ทั้งทางตรง และทางอ้อมซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าการปลูกต้นไม้ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวมี ส่วนช่วยในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกที่ สำ คัญตัวหนึ่งในการก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน ดังนั้น การจัดเตรียมกล้าไม้ ปีที่ 1 เพื่อใช้สำ หรับจัดทำ เป็นกล้าไม้ขนาดใหญ่ เพื่อใช้สำ หรับสนับสนุน หน่วยงานต่างๆ ทั้งหน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน รัฐวิสาหกิจ ได้นำ ไปปลูกในงานพิธีและนำ ไปใช้ปลูกเนื่องในวันสำ คัญต่างๆ จึงเป็นอีก แนวทางหนึ่งที่จะมีส่วนในการเพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่อช่วยบรรเทาปัญหา ภาวะโลกร้อน ดังกล่าวตลอดจนเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการและใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืนต่อไป กิจกรรมเพาะชำ กล้าไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว (งานพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้) หน่วยปฏิบัติ เพาะชำ กล้าของป่า (กล้า) 23,000 รวม 23,000 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 26


สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน กิจกรรมพัฒนาป่าไม้ร่วมกับองค์กรและเครือข่ายแบบบูรณาการ กิจกรรมโครงการพัฒนาป่าไม้ร่วมกับองค์กรและเครือข่ายแบบบูรณาการ(จัดทำ โครงการ) 4 แห่ง กิจกรรมโครงการพัฒนาป่าไม้ร่วมกับสถาบันศาสนา(จัดทำ โครงการพุทธอุทยาน) 1 แห่ง กิจกรรมอำ นวยการและติดตามนิเทศงาน 12 เดือน กิจกกรรมหลักส่งเสริมและการพัฒนาการป่าไม้ ดำ เนินการส่งเสริมให้องค์กรเครือข่ายต่างๆ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และฟื้นฟื้ ฟูทรัพยากรป่าไม้แบบบูรณาการโดยการส่งเสริมพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ขององค์กรและเครือข่าย เพื่อให้เกิดความเข้าใจบทบาทในการอนุรักษ์และพัฒนาป่าไม้ และส่งเสริมที่พักสงฆ์ในพื้นที่ป่าทั่วประเทศได้เข้ามาเป็นเครือข่ายและช่วย เหลืองานด้านป่าไม้ร่วมกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ให้ยั่งยืน โดยพึ่่งพาพลังศรัทธา ความเคารพและเชื่อถือของประชาชนที่มีต่อพระสงฆ์และ สถาบันศาสนา โด้มีความเข้าใจถึงบทบาทการเป็นแกนนำ เสริมสร้างจิตสำ นึกและคุณธรรมให้แก่ชุมชนและประชาชนทั่วไทยเพื่อบริหารจัดทรัพยากรป่าไม้และส่ง เสริมการบูรณาการของเครือข่ายกรมป่าไม้ ส่งผลให้เกิดการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืน 27 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


1.สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ร่วมดำ เนินการตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ ริมาโดยตลอดและต่อเนื่องงาน ด้านป่าไม้ที่รับสนองพระราชดำ ริ ส่วนใหญ่เป็นการดำ เนินงานทางด้านการพัฒนาและฟื้นฟื้ ฟูสภาพป่าเสื่อมโทรมการพัฒนาพื้นที่และจัดทำ ที่ทำ กินให้ราษฎรใน ลักษณะบ้านเล็กในป่าใหญ่การพัฒนาป่าไม้ใช้สอยชุมชนการพัฒนาป่าพื้นบ้านอาหารชุมชนรวมตลอดถึงการศึกษาค้นคว้าทดลองวิจัยและสาธิตงานด้านป่าไม้ใน สาขาต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อหารูปแบบที่เหมาะสมไปขยายผลและประยุกต์ใช้ในท้องที่อื่นต่อไป 2.การดำ เนินงานส่วนใหญ่อยู่ในรูปของโครงการพัฒนาแบบบูรณาการที่มีหน่วยงานมาร่วมดำ เนินการตามแนวพระราชดำ ริภายใต้แผนแม่บทและแผนงาน ที่ได้กำ หนดไว้ 3.องค์กรในการดำ เนินงานอยู่ในรูปของคณะกรรมการบริหารคณะอนุกรรมการจัดทำ แผนแม่บทคณะอนุกรรมการดำ เนินงานและทำ งานในแต่ละ โครงการโดยมีสำ นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ ริสำ นักงาน กปร.เป็นหน่วยประสานกลางและมีจังหวัดกองทัพ ภาคละหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องรวมกรมป่าไม้ร่วมดำ เนินการ 4.งบประมาณดำ เนินการในระยะเริ่มแรกที่มีอันเนื่องมาจากพระราชดำ ริสำ นักงาน กปร.จะเป็นผู้ให้การสนับสนุนงบกลางเพื่อดำ เนินงานเป็นการเฉพาะกิจ เร่งด่วนและในปีต่อๆไปหน่วยงานที่รับผิดชอบดำ เนินการจะต้องตั้งงบประมาณปกติรองรับโดยกรมป่าไม้จะตั้งงบประมาณรองรับภายใต้งบประมาณพัฒนาการ ป่าไม้ อันเนื่องมาจากพระราชดำ ริและพื้นที่เฉพาะการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรในพื้นที่ซึ่งมีความหลากหลายของงาน เช่น ปลูกฟื้นฟื้ ฟูสภาพป่าในพื้นที่โครงการพระราชดําริการปลูกป่า ๓ อย่างประโยชน์ ๔ อย่างเพราะกล้าไม้ป่ามีค่าเพราะหญ้าแฝกจัดทำ ฝายชะลอความชุ่มชื้น จัดทำ แนวกันไฟสำ รวจและจัดหาเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าทำ แปลงทดสอบและสาธิตการปลูกไม้มีค่าการสร้างจิตสำ นึกฝึกอบรมด้านการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ การประชาสัมพันธ์เผยแพร่งานอำ นวยการและประสานงานและอื่นๆทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแนวพระราชดำ ริวัตถุประสงค์เป้าหมายรวมตลอดถึงสภาพพื้นที่และสภาพ ความเป็นอยู่ของประชาชนในแต่ละโครงการนั้นๆ ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมโครงการพัฒนาป่าไม้อันเนื่องมาจากพระราชดำ ริ ดำ เนินการอำ นวยการและประสานการดำ เนินงานโครงการ ส่งเสริมและพัฒนา ป่าไม้ตามแนวพระราชดำ ริ และการดูแลต้นไม้ทรงปลูกและไม้มงคล พระราชทานทรงปลูก โดยมีหน่วนปฏิบัติ ดังนี้ 1.โครงการฟื้นฟื้ ฟูป่าหนองเหมือดแอ่อันเนื่องมาจากพระราชดำ ริ อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด 2. โครงการฟาร์มตัวอย่างบ้านดอนม่วงพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ ริ 3. โครงการฟื้นฟื้ ฟูป่าไม้บ้านห้วยตาเปอะพื้นที่ลุ่มน้ำ ห้วยบางทราย รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 28


ส่วนอำ นวยการ สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) เป็นหน่วย งานสนับสนุน การปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ เพื่อให้ ทุกหน่วยงานสามารถดำ เนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งงานด้านการจัดทำ แผนงาน งบประมาณ แผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงิน การติดตามและ ประเมินผล งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย 1. บริหารจัดการงานทั่วไปของสำ นักฯ 2. ดำ เนินการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง ตรวจสอบการเบิกจ่าย ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน และการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงาน ของสำ นักฯ 3.ออกแบบระบบเพื่่อความสะดวกในการปฏิบัติ ๓ ระบบ 3.1 ระบบแจ้งเตือนการประชุม 3.2 ออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศด้านป่าไม้ด้วยแอพพลิเคชั่น 3.3 ออกแบบระบบการเบิกจ่ายและติดตามผลการปฏิบัติงาน ด้วย Google data studio 4.จ้างเหมาพนักงานทำ ความสะอาด 2 อัตรา สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมหลักบริหารจัดการงานป่า ป่ ไม้ กิจกรรมอำ นวยการงานแผนงานและสารสนเทศ 29 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


หน่วยงานในสังกัดสำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) ได้รับการสนับสนุนการเพิ่มศักยภาพการจัดการงานป่าไม้ และสามารถดำ เนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รายละเอียดดังนี้ - เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน แบบตั้งพื้นหรือแบบแหวน ขนาด 18,000 บีทียู 1 เครื่อง - เครื่องมัลติมีเดียโปรเจคเตอร์ ระดับ XGA ขนาด 3000 ANSI Lumens 2 ชุด สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) เป็นหน่วยงานส่วนกลางที่ตั้งอยู่ส่วนภูมิภาคที่มีบทบาทหน้าที่ในการป้องกันรักษาป่าไม้ ให้มีความสมดุล ระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ด้านป่าไม้ได้อย่างสมดุลอย่างยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและทุกภาคส่วน ทั้งนี้ให้เป็นไปตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 43 50 57 58 และ 72 กำ หนดให้บุคคลมีสิทธิและหน้าที่ในการบำ รุงรักษาและใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยต้องให้ความร่วมมือและสนับสนุนการอนุรักษ์และคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติ และรัฐต้องอนุรักษ์คุ้มครอง บริหาร จัดการให้มีการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เกิดประโยชน์อย่างสมดุลและยั่งยืน รวมทั้งดำ เนินการตามแผนการใช้ที่ดินของประเทศให้ เหมาะสมกับสภาพของพื้นที่ให้มีมาตรการกระจายการถือครองที่ดินให้ประชาชนสามารถมีที่ทำ กินได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม และเพื่อให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580 ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ให้มีพื้นที่ป่าไม้และพื้นที่สีเขียวไม่น้อย กว่าร้อยละ 5 ของพื้นที่ประเทศ และแผนปฏิรูปประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ กำ หนดให้เพิ่มสัดส่วนพื้นที่ป่าไม้ ลดอัตราการบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ และเพิ่ม ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคป่าไม้ของประเทศ มีแนวทางการดำ เนินงานด้านต่างๆ เช่น การป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทำ ลายทรัพยากรป่าไม้การส่งเสริมการ ไม้เศรษฐกิจ(ไม้มีค่า) การส่งเสริมการสร้างป่าชุมชน การจัดการที่ดินป่าไม้การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองและชนบท การบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ เป็นต้น การเพิ่มศักยภาพการจัดการงานป่าไม้ เพื่อให้การดำ เนินงานของสำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) บรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ เกิดประโยชน์สูงสุด และการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ ในสังกัดสำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) สามารถดำ เนินงานได้อย่างเรียบร้อยและ มีประสิทธิภาพต่อไป ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมโครงการเพิ่มศักยภาพการจัดการงานป่าไม้ รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 30


ดำ เนินนิการบริกริารประชาชนและหน่วน่ยงานต่าต่งๆในการตรวจสอบ (เอกสาร หลักลัฐาน สถานที่)ที่ออกใบอนุญนุาต (หลักลัฐานการอนุญนุาต) และควบคุมคุกำ กับกัเกี่ยกี่วกับกัการ อนุญนุาตประเภทต่าต่ง ๆ ตามที่กที่ฎหมายป่าป่ ไม้กำม้กำหนด ได้แด้ก่ การอนุญนุาตอุตอุสาหกรรมไม้ การอนุญนุาตทำ ไม้ เก็บ ก็ หาครอบครองไม้ และของป่าป่การค้าค้ของป่าป่หวงห้าห้มการ อนุญนุาตใช้ปช้ระโยชน์พื้น์นพื้ที่ป่ที่าป่ ไม้โม้ดยดำ เนินนิการทั้งทั้ในส่วนกลางและส่วนภูมิภูภมิาคเพื่อพื่ ให้ปห้ระชาชนและหน่วน่ยงานต่าต่งๆได้รัด้บรับริกริารอย่าย่งทั่วทั่ถึงถึและเป็น ป็ ไปตามนโยบาย เงื่องื่นไข หลักลัเกณฑ์ ประกาศ ระเบียบีบ ข้อข้กำ หนดกฎกระทรวงและกฎหมายที่เที่กี่ยกี่วข้อข้ง ผลการดำ เนินงาน 0 5 10 15 ขอนแก่น กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด มหาสารคาม มุกดาหาร ANNUAL REPORT2020 กิจกรรมหลักบริการงานป่าไม้ กิจกรรมบริการด้านการอนุญาต สาระสำ คัญ 1.การขออนุญาตทำ ไม้และของป่า (ราย) 2.การขออนุญาตเข้าทำ ประโยชน์ในเขตป่า (ราย) 12 10 7 2 8 0 5 10 15 20 25 ขอนแก่น กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด มหาสารคาม มุกดาหาร 11 6 24 4 3 31 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน ดำ เนินการปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศให้มีความครบถ้วนถูกต้องและเป็น ปัจจุบัน 5 ระบบ ดังนี้ 1.ระบบฐานข้อมูลสำ นัก 2.ระบบสวนป่าภาคเอกชน 3.ระบบสวนป่าภาครัฐ 4.ระบบป่าชุมชน 5.ระบบการติดตามบุกรุกทำ ลายป่า พร้อมทั้ง ป้องกันระบบเครือข่ายและระบบฐานข้อมูลจากผู้บุกรุกและผู้ที่ไม่มี สิทธิ์ใธิ์นการเข้าใช้ระบบทั้งจากภายนอกและภายในระบบเครือข่าย พร้อมให้คำ ปรึกษาแนะนำ ซ่อมบำ รุงเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ให้แก่ หน่วยงาน กรมป่าไม้ ได้นำ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาประยุกต์ใช้ ในองค์กรโดยมีการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายสำ หรับรองรับระบบงาน ต่าง ๆ รวมถึงมีการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งภายในอาคารและ เครือข่ายสื่อสารไปยังหน่วยงานย่อยต่างๆในสังกัดเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ให้มีประสิทธิภาพ รวดเร็วและทันสมัยและสามารถให้บริการแก่หน่วยงาน ภายนอกและแก่ประชาชนทั่วไป เพื่อให้สอดคล้องตามนโยบาย e-Government ของรัฐบาล ดังนั้น เพื่อให้การใช้งานระบบคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีความมั่นคงและปลอดภัยจึงต้องปรับปรุงประสิทธิภาพอุปกรณ์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และจัดหาระบบรักษาความปลอดภัยเครือข่าย คอมพิวเตอร์รวมทั้งการบำ รุงรักษาห้องให้ปฏิบัติการ ระบบเครือข่ายและ อุปกรณ์ระบบไฟฟ้าฟ้และเครื่องปรับอากาศห้องระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และ ทดแทนอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพได้ อย่างต่อเนื่องตามความจำ เป็นและเหมาะสม ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมหลักพัฒนาฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศป่าไม้ กิจกรรมพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 32


ผลการดำ เนินงาน ดำ เนินนิการเกี่ยกี่วกับกัอำ นวยการหน่วน่ยปฏิบัฏิติบัส่ติส่วนภูมิ ภู ภมิาค จัดจัทำ แนวกันกั ไฟ และสร้าร้ง แหล่งล่ผลิตลิเมล็ด ล็ พันธุ์ไธุ์ม้จม้ากป่าป่ ปลูก ลู ดังดันี้ ขอนแก่นก่ จังจัหวัดวั จัดจัทำ แนวกันกั ไฟ (กิโกิลเมตร) สร้าร้งแหล่งล่ผลิตลิเมล็ด ล็ พันธุ์ไธุ์ม้ จากป่าป่ ปลูกลู (ไร่)ร่ 18 100 กาฬสินธุ์ 4 - รวม 22 100 สาระสำ คัญ การบริหารจัดการงานวิจัย เป็นกิจกรรมสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่าง ๆ ภายใต้ความรับผิดชอบของสำ นักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ ซึ่ง ประกอบไปด้วยหน่วยปฏิบัติงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาคหน่วยปฏิบัติงานส่วนกลาง เป็นสถานที่จัดตั้งห้องทดลองงานวิจัยด้านต่างๆ ดังนั้นหน่วยปฏิบัติงาน ส่วนกลางจึงเป็นพื้นที่สำ หรับการค้นคว้าศึกษาวิจัยงานวิจัยและประมวลผลการวิจัยด้านต่างๆพร้อมทั้งใช้ในการปฏิบัติงานวิชาการทั่วไป สำ หรับหน่วยปฏิบัติ งานส่วนภูมิภาคภายใต้สังกัด สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) มี 1 แห่ง เป็นพื้นที่สำ หรับการสำ รวจการเก็บตัวอย่างการวิจัยการทดลองแปลงปลูก ป่าเพื่อการวิจัยรวมถึงแหล่งรวบรวมพันธุ์กรรมพืชที่ใช้ในการทดลองวิจัยและเป็นพื้นที่สร้างแหล่งเมล็ดพันธุ์ไม้สายพันธุ์ดีเพื่อนำ ไปขยายด้วยวิธีการต่างๆเพื่อ ให้ได้กล้าไม้สายพันธุ์ดี ดังนั้นการบริหารจัดการงานวิจัยจึงเป็นกิจกรรมหลักที่ให้การสนับสนุนงานวิจัยในทุกด้านทั้งในด้านการจัดทำ แผนงานงบประมาณแผนปฏิบัติงานและ แผนการใช้จ่ายเงินการติดตามและประเมินผลและงานอื่นๆที่ได้รับมอบหมายรวมทั้งเป็นค่าใช้จ่ายในการบำ รุงดูแลศูนย์และสถานีการบำ รุงรักษาหม้อแปลง ปลูกป่าเพื่อการวิจัยแค่ดูแลรักษาเครื่องมือคุรุภัณฑ์ต่างๆเพื่อให้งานวิจัยทุกโครงการสามารถดำ เนินได้อย่างมีประสิทธิภาพและนำ ไปพัฒนาต่อยอดเพื่อให้เกิด ประโยชน์ต่อการพัฒนาอาชีพและเป็นการเสริมสร้างรายได้สู่ครัวเรือนเป็นการเพิ่มศักยภาพงานวิจัยให้พัฒนาสู่มาตรฐานโลกและเป็นการสนับสนุนภารกิจเร่ง ด่วนตามนโยบายต่าง ๆ ของกรมป่าไม้ ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมหลักบริหารจัดการและถ่ายทอดองค์ความรู้ กิจกรรมบริหารจัดการงานวิจัย 33 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ การพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เป็นการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้จากงานวิจัยของกรมป่าไม้ ที่ได้มีการศึกษาวิจัยนำ ไปส่งเสริมและถ่ายทอดเพื่อให้ เกิดผลผลิต เพิ่มมูลค่างานวิจัยให้มีประสิทธิภาพ ทั้งยังเป็นการเสริมสร้างความเข้าใจในการพัฒนาสวนป่าเศรษฐกิจ การใช้ประโยชน์จากไม้สวนป่าเศรษฐกิจ ให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการสนับสนุนกลุ่มเป้าหมายด้วยการดำ เนินงานพัฒนาร่วมกับกลุ่มเป้าหมายโดยตรง เพื่อให้เกิดผลสำ เร็จอย่างเต็มที่ โดยการส่งเสริม และถ่ายทอดเทคโนโลยีในพื้นที่ของเกษตรกรหรือชุมชนที่มีอาชีพในการปลูกและใช้ประโยชน์ไม้เศรษฐกิจ เพื่อให้มีการพัฒนาการจัดการและเพิ่มรายได้จาก ความรู้ที่ได้รับจากการถ่ายทอด และนวัตกรรมต่างๆ กิจกรรมพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้จึงจำ เป็นอย่างยิ่งต่อการเร่งรัดการส่งเสริม สนับสนุน การเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่สาธารณะในรูปแบบต่างๆ เช่น การตีพิมพ์เผยแพร่ การประชุม สัมมนา จัดเวทีแสดงผลการวิจัย เพื่อส่งเสริมและถ่ายทอดองค์ความรู้งานวิจัยและเทคโนโลยีด้านป่าไม้ และการบริหาร จัดการทรัพย์สินทางปัญญาอันเกิดจากการจัดทำ ฐานข้อมูลงานวิจัยด้านการป่าไม้ ซึ่งเป็นการสนับสนุนงานวิจัยและการจัดการองค์ความรู้จากงานวิจัยที่ สามารถนำ ไปใช้ประโยชน์ต่อสาธารณชน ชุมชนท้องถิ่น โดยการถ่ายทอดผลงานวิจัยและส่งเสริมใช้ประโยชน์เพื่อการพัฒนาคุณภาพสังคมเศรษฐกิจในชุมชน ท้องถิ่นก่อให้เกิดการพัฒนาที่เข้มแข็ง ยั่งยืนและพึ่งพาตนเองได้ ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 34 ศูนย์พัย์ พัฒนาการใช้ปช้ระโยชน์ป่น์าป่ ไม้ภม้าคตะวันวัออกเฉียฉีงเหนือนืจังจัหวัดวัขอนแก่นก่ดำ เนินนิ การสำ รวจและส่งเสริมริการใช้ปช้ระโยชน์ไน์ม้ขม้นาดเล็กล็และของป่าป่จำ นวน 13 ครั้งรั้ และจัดจัตั้งตั้กลุ่มลุ่ ส่งเสริมริพัฒนาและถ่าถ่ยทอดเทคโนโลยีกยีารใช้ปช้ระโยชน์ไน์ม้ขม้นาดเล็กล็ และของป่าป่จำ นวน 1 กลุ่มลุ่


สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน 1.ออกตรวจลาดตระเวนป้องกันและปราบรามการกระทำ ผิดกฏหมายว่าด้วยการป่าไม้ 2.หยุดยั้งการทำ ลายป่าคงสภาพและยึดคืนผืนป่าที่ถูกบุกรุก 3.การปฏิบัติการด้านการข่าวและการติดตามสถานการณ์ 4.เผยแพร่ประชาสัมพันธ์และบริการสาธารณะเพื่อให้ราษฎรมีความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ 5.สนับสนุนงานป้องกันรักษาป่าในการใช้ระบบปฏิบัติการค้นหาพื้นที่บุกรุก (ค่าเช่าระบบปฏิบัติการและค่าโทรศัพท์ จำ นวน 18 เครื่อง) ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่ายิ่งต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังเป็นฐานการพัฒนาประเทศทุกด้าน เนื่องจากทรัพยากรป่าไม้ สามารถอำ นวยประโยชน์ต่อเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมของประเทศ และยังมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิต วัฒนธรรม และความเป็นอยู่ของคนใน สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศ การป้องกันและปราบปรามการบุกรุกทำ ลายทรัพยากรป่าไม้ จึงเป็นภารกิจหลักของกรมป่าไม้ที่ต้องปฏิบัติให้เป็น ไปตามระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อปกป้อง รักษาทรัพยากรป่าไม้ของชาติให้ดำ รงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพการป้องกันรักษาป่า แผนงานยุทธศาสตร์สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน อนุรักษ์ ฟื้นฟู และป้องกันการทำ ทำ ลาย ทรัพยากรธรรมชาติ กิจกรรมหลักป้องกันรักษาป่า ป่ และควบคุมไฟป่า ป่ 35 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน ปัจจุบันระดับของการเกิดไฟป่าในประเทศไทย มีความรุนแรงมากจนกลายเป็นปัจจัยที่รบกวนสมดุลระบบนิเวศอย่างรุนแรงส่งผลกระทบต่อสังคม พืช ดินน้ำ สัตว์และสิ่งมีชีวิตต่างๆ ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนรวมไปถึงเศรษฐกิจ สังคม และการท่องเที่ยวในทุกพื้นที่ของประเทศไทย นอกจากนี้ ไฟป่ายังก่อให้เกิด วิกฤติ มลพิษหมอกควรจนกลายเป็นปัญหาใหญ่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยและชีวิตความประชาชนเป็นวงกว้างสำ หรับ สาเหตุของการ เกิดไฟป่าในประเทศไทย พบว่าเกิดจากมนุษย์ทั้งสิ้นไม่ว่าจะเป็นความประมาท คะนอง หรือตั้งใจก่อให้เกิดไฟป่า โดยมีสาเหตุต่างๆกันไป ได้แก่ เก็บหาของป่า ไข่มดแดง เห็ดใบตองตึง ไม้ไผ่ น้ำ ผึ้ง ผักหวานและไม้ฟืน การจุดไฟส่วนใหญ่ เพื่อให้พื้นป่าร่มเดินสะดวกหรือให้แสงสว่าง ในระหว่าง การเดินทางผ่านป่าในเวลากลางคืนหรือจุดเพื่อกระตุ้นการงอกของเห็ดหรือกระตุ้นการแตกใบใหม่ของผักหวานและใบตองตึงการจุดไฟเพื่อล่าสัตว์การจุดไฟ เผาป่าเพื่อบุกรุกยึดถือครอบครองพื้นที่ป่า การลักลอบจุดไฟเผาป่าให้โล่งมีสภาพ เป็นทุ่งหญ้าเพื่อเป็นแหล่งอาหารสัตว์ความประมาท การก่อกองไฟขณะ เข้าไปพักแรมในป่าแล้วลืมตัดหรือทิ้งก้นบุหรี่บนพื้นป่า เป็นต้น ดังนั้นกรมป่าไม้ จึงให้ความสำ คัญกับการป้องกันไฟป่าและควบคุมหมอกควันโดยสนับสนุนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการควบคุมไฟ ป่าในการเตรียมความพร้อมการป้องกันไฟป่าและควบคุมหมอกควัน ที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ร่วมกันสนับสนุนการปฏิบัติงานศูนย์ส่งเสริมการควบคุมไฟป่า 90 หน่วยฝึกอบรมการป้องกันและควบคุมไฟป่า 4 หน่วย ศูนย์ป่าไม้ 76 จังหวัดและหน่วยป้องกันและพัฒนาป่าไม้ 328 หน่วยในลักษณะการเตรียม พนักงานดับไฟป่า ให้มีทักษะการออกไปเป็นเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการประสานความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้อง (อปท.) เพื่อสนับสนุนหน่วยงาน และชุมชนในการควบคุมไฟป่าในพื้นที่ร่วมกันพร้อมทั้งสร้างความรู้ความเข้าใจให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาไฟป่าที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม สุขภาพและคุณภาพชีวิต ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมป้องกันไฟป่าและควบคุมหมอกควัน 1.ดำ เนินการจัดทำ แนวกันไฟเพื่อป้องกันไฟป่า ในพื้นที่รับผิดชอบ ได้แก่ - ศูนย์ส่งเสริมการควบคุมไฟป่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ 1 (อุดรธานี) จำ นวน 180 กิโลเมตร - ศูนย์ป่าไม้ขอนแก่น จำ นวน 165 กิโลเมตร - ศูนย์ป่าไม้กาฬสินธุ์ จำ นวน 175 กิโลเมตร - ศูนย์ป่าไม้ร้อยเอ็ด จำ นวน 95 กิโลเมตร - ศูนย์ป่าไม้มหาสารคาม จำ นวน 20 กิโลเมตร - ศูนย์ป่าไม้มุกดาหาร จำ นวน 185 กิโลเมตร 2.เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ในการป้องกันและควบคุมไฟป่า เป็นค่าใช้จ่ายใน การสนับสนุนหมู่บ้านป้องกันไฟป่า จำ นวน 20 หมู่บ้าน หมู่บ้านละ 50,000 บาท รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 36


สำ นักนัจัดจัการทรัพรัยากรป่าป่ ไม้ที่ม้ที่7 (ขอนแก่นก่ ) มีชุมีดชุปฏิบัฏิติบักติารรุกรุขกรหรือรืหมอต้นต้ ไม้ เพื่อพื่ทำ หน้าน้ที่ดูที่แดูล บำ รุงรุรักรัษา และตัดตัแต่งต่ต้นต้ ไม้ใม้ห้ยัห้งยัคงความสวยงาม แข็งข็แรง อย่าย่งถูกถู หลักลัวิชวิาการ เพื่อพื่เป็นป็การแก้ปัก้ปัญหาความเสื่อมโทรมของต้นต้ ไม้ใม้นเมือมืงและในพื้นพื้ที่ชุที่มชุชน สามารถปฏิบัฏิติบังติานพร้อร้มที่จที่ะให้บห้ริกริารแก่หก่น่วน่ยงานภาครัฐรัเอกชน และประชาชนได้อด้ย่าย่ง ทั่วทั่ถึงถึในทุกทุพื้นพื้ที่ โดยรุกรุขกรที่ผ่ที่าผ่นการอบรมมีปมีระมาณ 7 คน การปฏิบัฏิติบังติานของทีมทีรุกรุขกรที่ผ่ที่าผ่นการอบรมดังดักล่าล่ว ได้ดำด้ ดำเนินนิงานขยายผล ถ่าถ่ยองค์คค์วามรู้รรู้วมทั้งทั้สร้าร้งทีมทีงานเพื่อพื่ปฏิบัฏิติบังติานในทุกทุพื้นพื้ที่ แต่บต่างส่วนยังยัมีข้มีอข้จำ กัดกัในการ ปฏิบัฏิติบังติานเนื่อนื่งจากปัจจัยจัต่าต่งๆ เช่นช่อุปอุกรณ์ เครื่อรื่งมือมืที่มีที่คมีวามจำ เป็นป็และงบประมาณใน การปฏิบัฏิติบังติาน เพื่อพื่เกิดกิประโยชน์อน์ย่าย่งเต็มต็ที่ และสามารถตอบสนองต่อต่ความต้อต้งการในการ ให้บห้ริกริารประชาชน เพื่อพื่ ให้ต้ห้นต้ ไม้ใม้นเมือมืง และชุมชุชนสวยงามแข็งข็แรง และปลอดภัยภัตาม นโยบายของกรมป่าป่ ไม้ ผลการดำ เนินงาน 1. ศูนย์ปฏิบัติการรุขกรกรมป่าไม้ 1 ศูนย์ 2. ให้บริการดูแลรักษาและกู้ภัยต้นไม้แก่หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน 10 ครั้ง 3. ประชาสัมพันธ์และให้คำ แนะนำ ในการดูแลรักษาต้นไม้ 10 ครั้ง 4. สร้างเครือข่ายรุกขกร ภายในองค์กรเพื่อการปฏิบัติงานด้านรุกขกร 1 ศูนย์ สาระสำ คัญ กิจกรรมรุกขกร ANNUAL REPORT2020 กิจกรรมหลักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีส่วนร่วม โครงการป้องกันรักษาป่า ป่ พัฒนาและเพิ่มพื้นที่สีเขียว 37 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


ปัญหาการลักลัลอบตัดตั ไม้แม้ละค้าค้ไม้มีม้ค่มีาค่ทางเศรษฐกิจกิถือถืเป็นป็ ปัญหาที่ทุที่กทุรัฐรับาล พยายามป้อป้งกันกัแก้ไก้ขมาอย่าย่งต่อต่เนื่อนื่ง ตั้งตั้แต่อต่ดีตดีจนถึงถึปัจจุบัจุนบัโดยเฉพาะอย่าย่งยิ่งำยิ่งำม้พม้ะยูงยู เนื่อนื่งจากความต้อต้งการใช้เช้นื้อนื้ ไม้มีม้สูมีสูงมากประกอบกระแสความต้อต้งการใช้ไช้ม้ขม้องตลาดทั้งทั้ใน ประเทศและต่าต่งประเทศมีสูมีสูงขึ้นขึ้เรื่อรื่ยๆ ซึ่งซึ่ปัจจุบัจุนบัพบว่าว่ ไม้พม้ะยูงยูยังยัคงมีกมีระแสการจับจักุมกุ ผู้ลัผู้กลัลอบตัดตัและเคลื่อลื่นย้าย้ยเพื่อพื่นำ ไปจำ หน่าน่ยในตลาดต่าต่งประเทศอย่าย่งต่อต่เนื่อนื่ง ดังดันั้นนั้ นอกจากการป้อป้งกันกัและปราบปรามการลักลัลอบทำ ไม้พม้ะยูงยูอย่าย่งเข้มข้งวด การเพาะชำ กล้าล้ไม้ พะยูงยูเพื่อพื่ส่งเสริมริให้มีห้กมีารปลูกลูขยายพันพัธุ์กธุ์ ล้าล้ไม้นั้ม้นนั้ก็ยัก็งยัเป็นป็อีกอีแนวทางหนึ่งนึ่ในการช่วช่ย อนุรันุกรัษ์ชษ์นิดนิพันพัธุ์กธุ์ ารฟื้นฟื้ฟูทรัพรัยากรป่าป่ ไม้ การได้มด้าซึ่งซึ่พื้นพื้ที่สีที่สีเขียขีวเพิ่มพิ่ขึ้นขึ้ สำ นักนัจัดจัการทรัพรัยากรป่าป่ ไม้ที่ม้ที่7 (ขอนแก่นก่ ) ดำ เนินนิการผลิตลิกล้าล้ไม้พื้ม้นพื้ถิ่นถิ่เดิมดิ แจกจ่าจ่ยให้แห้ก่ปก่ระชาชนที่ไที่ด้รัด้บรัจัดจัสรรที่ดิที่นดิทำ กินกิในโครงการ การจัดจัที่ดิที่นดิทำ กินกิให้ชุห้มชุชน ตามนโยบายรัฐรับาลภายใต้คต้ณะกรรมการนโยบายที่ดิที่นดิแห่งห่ชาติ (คทช.) ในพื้นพื้ที่ป่ที่าป่สงวน แห่งห่ชาติสติามารถดำ เนินนิการตามเงื่องื่นไขของมติคติณะรัฐรัมนตรีฯรี ให้เห้ป็นป็ ไปด้วด้ยความ เรียรีบร้อร้ย และฟื้นฟื้ฟูทรัพรัยากรป่าป่ ไม้ เพิ่มพิ่พื้นพื้ที่สีที่สีเขียขีว อันอันำ ไปสู่ความยั่งยั่ยืนยืเพื่อพื่คนรุ่นรุ่ ต่อต่ ไป ผลการดำ เนินงาน สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) มีหน่วยปฏิบัติงานกิจกรรมผลิตกล้าไม้ 12 หน่วยปฏิบัติ และมีผลการดำ เนินงานดังนี้ สาระสำ คัญ กิจกรรมผลิตกล้าไม้ (งานผลิตกล้าไม้) ANNUAL REPORT2021 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 38


แผนพัฒพันาเศรษฐกิจกิและสังสัคมแห่งห่ชาติ ฉบับบัที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) กำ หนดให้เห้พิ่มพิ่ความอุดอุมสมบูรบูณ์ขณ์องฐานทรัพรัยากรธรรมชาติแติละการเพิ่มพิ่พื้นพื้ที่ป่ที่าป่ ไม้ใม้ห้ไห้ด้ ร้อร้ยละ 40 ของเนื้อนื้ที่ปที่ระเทศหรือรืประมาณ 128 ล้าล้นไร่ โดยเป็นป็ ป่าป่เศรษฐกิจกิร้อร้ยละ 15 และรัฐรับาลกำ หนดนโยบาย "พลิกลิฟื้นฟื้ผืนผืป่าป่สู่การพัฒพันาที่ยั่ที่งยั่ยืนยื" มีมมีาตรการเพิ่มพิ่พื้นพื้ที่ป่ที่าป่ และพื้นพื้ที่สีที่สีเขียขีว และแนวทางการปฏิบัฏิติบัโติดยพัฒพันาอุตอุสาหกรรมไม้จม้ากป่าป่ ปลูกลูดำ เนินนิการ ส่งเสริมริประชาชนปลูกลูไม้มีม้ค่มีาค่ทางเศรษฐกิจกิในที่ดิที่นดิกรรมสิทธิ์แธิ์ละสามารถตัดตัขายได้ รวมถึงถึ ส่งเสริมริการปลูกลูต้นต้ ไม้ใม้นพื้นพื้ที่ขที่องหน่วน่ยงานราชการและที่สที่าธารณประโยชน์ ประเทศไทยมีพื้มีนพื้ที่ปที่ลูกลูยางพาราประมาณ 19.6 ล้าล้นไร่ และมีพื้มีนพื้ที่ใที่ช้ปช้ระโยชน์ ทางการเกษตร 149.22 ล้าล้นไร่ (สำ นักนัเศรษฐกิจกิการเกษตร, 2559) ซึ่งซึ่ส่วนใหญ่เญ่ป็นป็การ ปลูกลูพืชพืเชิงชิเดี่ยดี่วที่มีที่คมีวามเสี่ยงสูง ทั้งทั้จากราคาสินค้าค้เกษตรที่ตที่กต่ำ ศัตศัรูพืรูชพืและโรคระบาด การส่งเสริมริการปลูกลูไม้เม้ศรษฐกิจกิร่วร่มในพื้นพื้ที่ปที่ลูกลูไม้ยม้างพาราและพื้นพื้ที่เที่กษตรกรรม จึงจึเป็นป็ อีกอีทางหนึ่งนึ่ที่ช่ที่วช่ยลดความเสี่ยงได้ เป็นป็การเสริมริรายได้ใด้ห้แห้ก่เก่กษตรกร สำ นักนัจัดจัการทรัพรัยากรป่าป่ ไม้ที่ม้ที่7 (ขอนแก่นก่ ) จึงจึได้จัด้ดจัทำ โครงการส่งเสริมริการ ปลูกลูไม้เม้ศรษฐกิจกิในพื้นพื้ที่ปที่ลูกลูไม้ยม้างพาราและพื้นพื้ที่เที่กษตรกรรม เพื่อพื่เป็นป็การเพิ่มพิ่พื้นพื้ที่ป่ที่าป่ เศรษฐกิจกิของประเทศ ส่งเสริมริให้เห้กษตรกรใช้ปช้ระโยชน์ที่น์ดิที่นดิอย่าย่งเต็มต็ศักศัยภาพ สร้าร้งราย ได้จด้ากไม้ที่ม้ ปที่ลูกลูให้แห้ก่เก่กษตรกร นอกจากนี้เนี้ป็นป็การเพิ่มพิ่ความหลากหลายของระบบนิเนิวศใน พื้นพื้ที่ ก่อก่ ให้เห้กิดกิการใช้ปช้ระโยชน์ทน์รัพรัยากรธรรมชาติอติย่าย่งยั่งยั่ยืนยื ผลการดำ เนินงาน สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) มีผลการดำ เนินการ ดังนี้ 1. ประชาสัมพันธ์รับเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 1,600 ไร่ 2. สำ รวจ และจัดทำ ทะเบียนเกษตร 1,600 ไร่ 3. จัดเตรียม และสนับสนุนกล้าไม้ให้แก่เกษตรกร (เพาะชำ กล้าไม้ทั่วไป) 80,000 กล้า สาระสำ คัญ กิจกรรมผลิตกล้าไม้ (งานโครงการส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจในพื้นที่ปลูกไม้ยางพาราและพื้นที่เกษตรกรรม) ANNUAL REPORT2021 39 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายป่าชุมชน พิทักษ์ป่า พัฒนาชาติ ดำ เนินการภายใต้แผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน บนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พัฒนาเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการ จัดการทรัพยากรป่าไม้ตามแนวทางประชารัฐ เพื่อให้ภาคประชาชนได้มีส่วน ร่วมกับภาครัฐในการอนุรักษ์ ฟื้นฟื้ ฟู จัดการบำ รุงดูแล รักษา และ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม และเป็นแรงขับเคลื่อนที่สำ คัญในการรักษา ฐานทรัพยากรของท้องถิ่นให้คงอยู่อย่างสมดุลและยั่งยืน ตลอดจนมีต้นแบบในการบริหารจัดการป่าและเป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดองค์ความรู้และขยายเครือ ข่ายความร่วมมือในการป้องกัน ฟื้นฟื้ ฟูและดูแลทรัพยากรป่าไม้ให้ยั่งยืนต่อไป 1.กิจกรรมประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการบริหารการ จัดการป่าชุมชนพร้อมรับสมาชิกเครือข่ายป่าาชุมชน (คน) 300 คน -ศูนย์ป่าไม้ขอนแก่น จำ นวน 60 คน -ศูนย์ป่าไม้มหาสารคาม จำ นวน 60 คน -ศูนย์ป่าไม้กาฬสินธุ์ จำ นวน 60 คน -ศูนย์ป่าไม้ร้อยเอ็ด จำ นวน 60 คน -ศูนย์ป่าไม้ร้อยเอ็ด จำ นวน 60 คน 2.สมาชิกเครือข่ายป่าชุมชนระดับหมู่บ้าน ได้แก่ -ศูนย์ป่าไม้ขอนแก่น 79 หมู่บ้าน -ศูนย์ป่าไม้มหาสารคาม 52 หมู่บ้าน -ศูนย์ป่าไม้กาฬสินธุ์ 108 หมู่บ้าน -ศูนย์ป่าไม้ร้อยเอ็ด 66 หมู่บ้าน -ศูนย์ป่าไม้มุกดาหาร 31 หมู่บ้าน ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายป่าชุมชน พิทักษ์ป่า พัฒนาชาติ รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 40


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ เป็นการจัดการป่าไม้ในรูปแบบของการเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน เพื่อให้มี ส่วนร่วมในการบริหารจัดการป่าได้ อย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับภูมิประเทศและความ ต้องการของราษฎรในชุมชนในการจัดการป่าไม้ เช่น ควบคุมดูแล รักษา หรือบำ รุงป่า โดยเน้น การสนับสนุนให้กลุ่มราษฎรในชุมชนเป็นผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่และเป็นศูนย์กลางในการ จัดการป่าชุมชน เจ้าหน้าที่รัฐมีหน้าที่ในการร่วมปฏิบัติให้การสนับสนุนความรู้ทางวิชาการรวมทั้ง เทคนิควิธีการต่างๆ ในการดำ เนินงาน โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาที่สำ คัญจากความต้องการ และความพร้อมของชุมชนเป็นลำ ดับแรก กิจกรรมส่งเสริมการจัดการป่าชุมชน ANNUAL REPORT2021 ศูนย์ป่าป่ ไม้ขอนแก่น 1.กิจกรรมจัดตั้งป่าชุมชน ตาม พ.ร.บ.ป่าชุมชน พ.ศ. 2562 จำ นวน 5 ป่าชุมชน 2.กิจกรรมการส่งเสริมจัดการ แผนจัดการป่าชุมชน (135 ป่าชุมชน) 3.กิจกรรมการจัดทำ แนวเขตและแบ่งบริเวณการใช้ประโยชน์ป่าชุมชน (40 กิโลเมตร) ศูนย์ป่าป่ ไม้มหาสารคาม 1.กิจกรรมจัดตั้งป่าชุมชน ตาม พ.ร.บ.ป่าชุมชน พ.ศ. 2562 จำ นวน 6 ป่าชุมชน 2.กิจกรรมการส่งเสริมจัดการ แผนจัดการป่าชุมชน ( 161 ป่าชุมชน) 3.กิจกรรม การจัดทำ แนวเขตและแบ่งบริเวณการใช้ประโยชน์ป่าชุมชน (70 กิโลเมตร) ศูนย์ป่าป่ ไม้กาฬสินธุ์ 1.กิจกรรมจัดตั้งป่าชุมชน ตาม พ.ร.บ.ป่าชุมชน พ.ศ. 2562 จำ นวน 6 ป่าชุมชน 2.กิจกรรมการส่งเสริมจัดการ แผนจัดการป่าชุมชน (125 ป่าชุมชน) 3.กิจกรรมการจัดทำ แนวเขตและแบ่งบริเวณการใช้ประโยชน์ป่าชุมชน (80 กิโลเมตร) ศูนย์ป่าป่ ไม้ร้อยเอ็ด 1.กิจกรรมจัดตั้งป่าชุมชน ตาม พ.ร.บ.ป่าชุมชน พ.ศ. 2562 จำ นวน 6 ป่าชุมชน 2.กิจกรรมการส่งเสริมจัดการ แผนจัดการป่าชุมชน (102 ป่าชุมชน) 3.กิจกรรมการจัดทำ แนวเขตและแบ่งบริเวณการใช้ประโยชน์ป่าชุมชน (60 กิโลเมตร) ศูนย์ป่าป่ ไม้มุกดาหาร 1.กิจกรรมจัดตั้งป่าชุมชน ตาม พ.ร.บ.ป่าชุมชน พ.ศ. 2562 จำ นวน 8 ป่าชุมชน 2.กิจกรรมการส่งเสริมจัดการ แผนจัดการป่าชุมชน (87 ป่าชุมชน) 3.กิจกรรมการจัดทำ แนวเขตและแบ่งบริเวณการใช้ประโยชน์ป่าชุมชน (100 กิโลเมตร) ดำ เนินการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ ติดต่อประสานงานอำ เภอองค์การบริหารส่วนตำ บลและ หมู่บ้านเป้าหมายเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการป่าชุมชน มีรายละเอียดดังนี้ กิจกรรมหลักฟื้นฟูและดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ 41 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


สาระสำ คัญ ผลการดำ เนินงาน กิจกิกรรมการดำ เนินนิงานตามพระราชบัญบัญัติญั ป่ติาป่ชุมชุชน พ.ศ.2563 เป็นป็การดำ เนินนิการตามพระราชบัญบัญัติญั ป่ติาป่ชุมชุชนที่ไที่ด้ปด้ระกาศลงในราชกิจกิจานุเนุบกษา เล่มล่ที่ 136 ตอนที่ 71 ก เมื่อมื่วันวัที่ 29 พฤษภาคม 2562 และมีผมีลบังบัคับคัตั้งตั้แต่วัต่นวัถัดถัจากวันวัประกาศในราชกิจกิจานุเนุบกษาเป็นป็ต้นต้ ไปนั้นนั้ตามบทบัญบัญัติญับติางประการ ได้กำด้ กำหนดอำ นาจหน้าน้ที่แที่ละระยะเวลาการดำ เนินนิงานให้แห้ล้วล้เสร็จร็ ไว้ใว้น พ.ร.บ. ป่าป่ชุมชุชน 2562 ซึ่งซึ่มีกิมีจกิกรรมที่ต้ที่อต้งดำ เนินนิการตามพระราชบัญบัญัติญัดัติงดักล่าล่วดังดันี้ 1. ประชุมชุคณะกรรมการนโยบายป่าป่ชุมชุชนตามพระราชบัญบัญัติญั ป่ติาป่ชุมชุชน 2562 ตามมาตรา 9 และมาตรา 20 2. ประชุมชุคณะกรรมการป่าป่ชุมชุชนประจำ จังจัหวัดวัตามพระราชบัญบัญัติญั ป่ติาป่ชุมชุชน 2562 ตามมาตรา 23 และมาตรา 26 3. กิจกิกรรมอำ นวยการประสานติดติตามนิเนิทศงานของกรมป่าป่ ไม้ ในฐานะฝ่าฝ่ยเลขานุกนุารคณะกรรมการนโยบายป่าป่ชุมชุชน และคณะกรรมการป่าป่ชุมชุชนประจำ จังจัหวัดวั ตามพระราชบัญบัญัติญั ป่ติาป่ชุมชุชน 2562 ตามมาตรา9และมาตรา 23 1.ศูนย์ป่าไม้จัดประชุมคณะกรรมการป่าชุมชนประจำ จังหวัด ได้แก่ ศูนย์ป่าไม้ขอนแก่น จำ นวน 2 ครั้ง,ศูนย์ป่าไม้มหาสารคาม จำ นวน 1 ครั้ง, ศูนย์ป่าไม้กาฬสินธุ์ จำ นวน 1 ครั้ง ศูนย์ป่าไม้ร้อยเอ็ด จำ นวน 1 ครั้ง และศูนย์ป่าไม้มุกดาหาร จำ นวน 2 ครั้ง 2.สร้างความรู้ความเข้าใจพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. 2562 และอนุบัญญัติ ทุกศูนย์ป่าไม้ จำ นวน 5 ครั้ง ให้คำ แนะนำ แจ้งข่าวประชาสัมพันธ์ด้านป่าชุมชนให้กับเจ้าหน้าที่และชุมชนในหมู่บ้านเป้าหมายอย่างต่อเนื่องและสม่ำ เสมอ 3.ผลิตสื่อ เอกสารเผยแพร่ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติป่าชุมชนพ.ศ. 2562 ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมการดำ เนินงานตามพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ.2562 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 42


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ 2260-2564) ได้กำ หนดแนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟื้ ฟูทรัพยากรป่าไม้ให้เพิ่มพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ ให้ได้ร้อยละ 15 ของพื้นที่ประเทศ ซึ่งแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ได้กำ หนดเป้าหมายพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2565) 10 ปี (พ.ศ. 2570) และ 15 ปี (พ.ศ. 2575) ร้อยละ 10 12 และ 15 ของพื้นที่ประเทศ คิดเป็นเนื้อที่ 32.35 38.82 และ 48.53 ล้านไร่ ตามลำ ดับ ซึ่ง พื้นที่ป่าเศรษฐกิจในปัจจุบัน มีเพียง 26.78 ล้านไร่ ประกอบด้วยสวนป่าไม้เศรษฐกิจ 4.72 ล้านไร่ และสวนป่าไม้ยางพารา 22.06 ล้านไร่ ดังนั้น จึงต้องเร่ง ดำ เนินการเพิ่มพื้นที่ป่าเศรษฐกิจให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำ หนด โดยมุ่งเป้าไปที่ที่ดินกรรมสิทธิ์แธิ์ละสิทธิครอบครองตามประมวลกฎหมายที่ดิน ตลอดจนพื้นที่ ของรัฐที่อนุญาตให้ใช้ประโยชน์ การสนับสนุนการปลูกไม้เศรษฐกิจ โดยการอุดหนุนเงินลงทุนสำ หรับการปลูกสร้างสวนป่าในปีที่ 1 เป็นการส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกไม้เศรษฐกิจใน พื้นที่ของตนเอง โดยภาครัฐสนับสนุนเงินในการเตรียมพื้นที่ เตรียมกล้าไม้ ปลูก และดูแลในปีแรก ภายใต้การแนะนำ ของเจ้าหน้าที่ สำ หรับการดูแลและติดตามในระยะต่อไป (ปีที่ 2-10) เพื่อความยั่งยืนของโครงการและเพื่อให้มั่นใจว่าเป้าหมายพื้นที่ป่าเศรษฐกิจจะเป็นไปตาม วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ กรมป่าไม้จะดำ เนินโครงการความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน (Public Private Patnership : PPP) โดยการหารือร่วมกับภาค เอกชนที่มีความสนใจทั้งในรูปแบบของความรับผิดชอบเชิงสังคม (Coperate Social Responsibility : CSR) หรือ เกษตรพันธสัญญา (Contract Farming) หรือ การประสานหาแหล่งเงินสนับสนุนจากองค์กร/สถาบัน หรือแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยกรมป่าไม้จะต้องทำ หน้าที่ผู้ประสานงาน หลักเพื่อให้เกิดผลสำ เร็จอย่างเป็นรูปธรรม กิจกรรมโครงการสนับสนุนการปลูกไม้เศรษฐกิจ ANNUAL REPORT2021 43 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) กิจกรรมหลักส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจแบบครบวงจร - ให้คำ แนะนำ ทางวิชาการด้านการปลูกและบำ รุงต้นไม้ 37 ครั้ง - สนับสนุนการปลูกไม้รอบตัดฟันยาวแก่เกษตรกร ปีที่ 2 800 ไร่ - สนับสนุนการปลูกไม้รอบตัดฟันยาวแก่เกษตรกร ปีที่ 3 800 ไร่ - สนับสนุนการปลูกไม้รอบตัดฟันยาวแก่เกษตรกร ปีที่ 4 2,000 ไร่ - สนับสนุนการปลูกไม้รอบตัดฟันยาวแก่เกษตรกร ปีที่ 5 1,000 ไร่


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ ANNUAL REPORT2021 กิจกิกรรมโครงการส่งเสริมริการปลูก ลู ไม้เ ม้ ศรษฐกิจกิในพื้น พื้ ที่ป ที่ ลูก ลู ไม้ย ม้ างพาราและพื้น พื้ ที่เ ที่ กษตรกรรม ดำ เนินการตามกิจกรรมที่ปฏิบัติดังนี้ 1. ประชาสัมพันธ์รับเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ จำ นวน 1,600 ไร่ 2. สำ รวจและจัดทำ ทะเบียนเกษตรกร จำ นวน 1,600 ไร่ 3. ให้คำ แนะนำ ทางวิชาการด้านการปลูก และบำ รุงรักษาต้นไม้ 16 ครั้ง 4. สำ รวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 5. ติดตามผลการดำ เนินโครงการ จำ นวน 16 ครั้ง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ (2560-2464) กำ หนดให้เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและการเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้ ได้ร้อยละ 40 ของเนื้อที่ประเทศหรือประมาณ 128 ล้านไร่โดยเป็นป่าเศรษฐกิจ ร้อยละ 15 และรัฐบาลกำ หนดนโยบาย พลิกฟื้นฟื้ผืนป่าสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนมี มาตรการการเพิ่มพื้นที่ป่าและพื้นที่สีเขียว แนวทางการปฏิบัติโดยพัฒนา อุตสาหกรรมไม้จากการปลูกป่าดำ เนินการส่งเสริมประชาชนปลูกไม้มีค่าทาง เศรษฐกิจในที่ดินกรรมสิทธิ์แธิ์ละสามารถตัดขายได้รวมถึงส่งเสริมการปลูกไม้ใน พื้นที่ของหน่วยงานราชการและสาธารณประโยชน์ ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกยางพาราประมาณ 19.6 ล้านไร่ และมีพื้นที่ใช้ ประโยชน์ทางการเกษตร 149.22 ล้านไร่ (สํานักเศรษฐกิจการเกษตร 2559) ซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นการปลูกพืชเชิงเดี่ยวที่มีความเสี่ยงสูงทั้งจากราคาสินค้าการเกษตรที่ ตกต่ำ ศัตรูพืชและโรคระบาดการส่งเสริมเกษตรกรปลูกไม้เศรษฐกิจร่วมในพื้นที่ ปลูกไม้ยางพาราและพื้นที่เกษตรกรรมจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยลดความเสี่ยงได้ เป็นการเสริมสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร กรมป่าไม้จึงได้จัดทำ โครงการส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจในพื้นที่ปลูกไม้ ยางพาราและพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อเป็นการเพิ่มพื้นที่ป่าเศรษฐกิจของประเทศส่ง เสริมให้เกษตรกรใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพสร้างรายได้จากไม้ที่ปลูกให้ แก่เกษตรกร นอกจากนี้เป็นการเพิ่มความหลากหลาย ของระบบนิเวศในพื้นที่ก่อให้ เกิดการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รายงานประจำ ปี 2563 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 44


กิจกรรมโครงการส่งเสริมการปลูกไม้โตเร็วเพื่ออุตสาหกรรม ANNUAL REPORT2021 ดำ เนินการตามกิจกรรมที่ปฏิบัติดังนี้ 1. ให้คำ แนะนำ ทางวิชาการและการบริหารจัดการสวนป่า 20 ครั้ง 2. สนับสนุนการปลูกไม้โตเร็วแก่เกษตรกร ปีที่ 2 ไร่ละ 800 บาท จำ นวน 1,000 ไร่ 3. สำ รวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 4. ติดตามการดำ เนินงานโครงการ 10 ครั้ง ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ (15620-2564) กำ หนดให้ เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและการเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้ได้ร้อยละ 40 ของเนื้อที่ประเทศหรือประมาณ ๑๒๘ ล้านไร่โดยเป็นป่าเศรษฐกิจร้อยละ 15 และรัฐบาล กำ หนดนโยบาย พลิกฟื้นฟื้ผืนป่าสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนมีมาตรการการเพิ่มพื้นที่ป่าและพื้นที่สี เขียว แนวทางการปฏิบัติโดยพัฒนา อุตสาหกรรมไม้จากการปลูกป่าดำ เนินการส่งเสริม ประชาชนปลูกไม้มีค่าทางเศรษฐกิจในที่ดินกรรมสิทธิ์แธิ์ละสามารถตัดขายได้รวมถึงส่ง เสริมการปลูกไม้ในพื้นที่ของหน่วยงานราชการและสาธารณประโยชน์ กรมป่าไม้ด้านส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจในที่ดินของเอกชนเพื่อพัฒนาอาชีพและ รายได้ของประชาชนที่สามารถยึดถือเป็นอาชีพหลักในอนาคตตลอดจนเป็นไม้ใช้สอยและ รองรับอุตสาหกรรมที่ใช้ไม้เป็นวัตถุดิบลดการนำ เข้ามาจากต่างประเทศเพิ่มพื้นที่ป่า เศรษฐกิจ ช่วยส่งเสริมให้เกษตรกรใช้ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพทั้งยังเป็นการสนับสนุนให้ ผู้ทำ สวนป่ารายย่อยรวมกลุ่มโดยจัดตั้งเป็นเครือข่ายและสหกรณ์สวนป่าภาคเอกชน เพื่อ ให้เกิดความเข้มแข็งสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคด้านการบริหารจัดการส่วนปาก ตลอดจนเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตการใช้ประโยชน์จากไม้ที่ปลูกรวมถึงด้านการ ตลาดนอกจากนี้ยังอำ นวยความสะดวกในด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปลูกสร้างสวน ป่าตลอดจนมีหลักฐานข้อมูลเพื่อใช้สนับสนุนการวางแผนด้านต่างๆ 45 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


กิจกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์สมุนไพรจากป่าอย่างยั่งยืน ANNUAL REPORT2021 สถานีวนวัฒนวิจัยดงลาน จ.ขอนแก่น ดำ เนินการสำ รวจความหนาแน่นและการกระจาย พันธุ์สมุนไพรในป่า จำ นวน 7 ครั้ง ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ กรมป่าไม้ สำ นักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ มีหน่วยงานทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคที่มีองค์ความรู้และเครือข่ายชุมชนต่างๆ ที่สามารถประสานความร่วม มือในการดำ เนินกิจกรรมต่างๆ ได้เป็นอย่างดี จึงมีความพร้อมในการศึกษา วิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชสมุนไพรจากป่าให้มีการใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืน เพื่อตอบ สนองนโยบายรัฐบาลที่ต้องการให้พัฒนาสมุนไพรไทยอย่างมีระบบและยั่งยืน สามารถนำ มาใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นที่ยอมรับและสร้างมูลค่า เพิ่มทางเศรษฐกิจแก่ประเทศ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมป่าไม้ โดยสำ นักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ได้รับการสนับสนุนงบกลาง รายการค่าใช้จ่ายส่งเสริม และสร้างความเข้มแข็งเศรษฐกิจภายในประเทศ เพื่อให้ดำ เนินการตามยุทธศาสตร์ส่งเสริมผลิตผลของสมุนไพรไทยที่มีศักยภาพตามความต้องการของตลาด ทั้งในและต่างประเทศ ในด้านการอนุรักษ์และการใช้พืชสมุนไพรจากป่าอย่างยั่งยืน ภายใต้แผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2564 เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการแก้ปัญหาสถานการณ์ขาดแคลนวัตถุดิบสมุนไพรไม้ป่าและประเทศไทยจะเป็นผู้นำ ของภูมิภาคอาเซียนในการส่งออก วัตถุดิบและผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีคุณภาพภายในปี 2564 กิจกรรมหลักส่งเสริมการบริหารจัดการป่า ป่ ชุมชน รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 46 ที่ 7 (ขอนแก่น)


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ กิจกรรมโครงการบริหารจัดการที่ดินป่าไม้ทั้งระบบ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) ได้เสนอมาตรการแก้ไขปัญหาการอยู่อาศัยและทำ กินในพื้นที่ป่าไม้( ทุกประเภท ) เพื่อแก้ไขปัญหา ที่ดินที่มีราษฎรถือครองในเขตพื้นที่ป่าไม้ในส่วนที่ได้นำ มาดำ เนินการโครงการจัดที่ดินทำ กินให้ชุมชนตามนโยบายของรัฐบาลได้แก่ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติใน ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 1 2 และชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 3 4 5 (หลังมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541) เข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการนโยบายที่ดิน แห่งชาติ (คทช.)และ คทช. ให้ความเห็นชอบกรอบมาตรการแก้ไขปัญหาการอยู่อาศัยและทำ กินในพื้นที่ป่าไม้(ทุกประเภท) ตามที่ ทส. เสนอการประชุม คทช ครั้งที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2561 ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้มีนโยบายในเชิงรุกให้จัดตั้งชุดปฏิบัติการ คทช.อำ เภอ ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ' ขึ้นเพื่อสร้างความเข้าใจให้แก่ราษฎรในการนำ มาตรการมาใช้ปฏิบัติ ส่งผลต่อการแก้ไขปัญหาการอยู่อาศัย แล้วทำ กิน ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ให้ประสบความสำ เร็จได้ครอบคลุมทั่วประเทศ ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมหลักปรับปรุง เครืองมือ และกลไกล กิจกรรมโครงการบริหารจัดการที่ดินป่าไม้ทั้งระบบ เพื่อเป็นสำ นักแก่เจ้าหน้าที่ คทช อำ เภอ ในการประสานการปฎิบัติกับประชาชน ที่อาศัย/ทำ กินในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ในการให้ความรู้ความเข้าใจ และแก้ปัญหา ตามมาตรกาาร คทช. เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างถูกต้องเหมาะสม ควบคู่การอนุรักษ์ที่ดินและป่าไม้ โดยการควมคุม ดูแล บำ รุงรักษาและพัฒนา ให้เกิดผลสัมฤทธิ์อธิ์ย่างยั่งยืน รวมถึงการสำ รวจการครอบครองที่ดินในพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติ - ก่อสร้างอาคารที่ทำ การ คทช.อำ เภอ ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติหน่วยป้องกัน พัฒนาป่าไม้ในเมืองมุกดาหาร ตำ บลคำ ป่าหลาย อำ เภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดารหาร 47 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ 1.ดำ เนินการจัดระเบียบใช้พื้นที่ป่าไม้ จำ นวน 40 หมู่บ้าน พื้นที่ดำ เนินการ จังหวัดมหาสารคาม - อำ เภอโกสุมพิสัย 5 หมู่บ้าน - อำ เภอชื่นชม 5 หมู่บ้าน - อำ เภอนาเชือก 12 หมู่บ้าน - อำ เภอนาดูน 8 หมู่บ้าน - อำ เภอบรบือ 5 หมู่บ้าน - อำ เภอเมืองมหาสารคาม 5 หมู่บ้าน 2.สำ รวจตรวจสอบและจัดทำ ข้อมูลเพื่อดำ เนินการจัดที่ดินทำ กินให้ชุมชน ในป่าสงวนแห่งชาติ - มุกดาหาร 67,770 ไร่ - ขอนแก่น 20,960 ไร่ - กาฬสินธุ์ 9,220 ไร่ - ร้อยเอ็ด 190 ไร่ กิจกรรมโครงการจัดทำ แผนการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ระดับพื้นที่ ANNUAL REPORT2021 กรมป่าไม้ได้ดำ เนินการตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เรื่องการแก้ไขปัญหาที่ดินในพื้นที่ป่าไม้โดยการสำ รวจกำ หนดแปลงที่ดินที่ ราษฎรเข้าทำ ประโยชน์และสภาพป่าที่คงเหลืออยู่ตามภาพถ่ายท้องอากาศสี ปี 2545 มีผลทำ ให้ราษฎรได้รับการแก้ไขปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัยทำ กินได้ในระดับ หนึ่ง โดยการอนุญาตให้ถูกต้องตามกฎหมาย ภายใต้โครงการจัดที่ดินทำ กินให้ชุมชน (คทช.) ประกอบกับคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2561 เห็นชอบกรอบ มาตราแก้ไขปัญหาการอยู่อาศัยทำ กินในพื้นที่ป่าไม้ทุกประเภท ตามนัยมติคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช) ครั้งที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2561 ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินราษฎรถือครองในเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ในส่วนที่ไม่ได้นำ มาดำ เนินการจัดที่ดินทำ กินให้ชุมชน(คทช)คือ พื้นที่ลุ่มน้ำ 1.2 ออกมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 โดยกรมป่าไม้จัดเจ้าหน้าที่เข้าดำ เนินการจัดระเบียบการใช้ที่ดินเพื่อลดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมปลูกไม้ 3 อย่างตามแนวพระราชดำ ริและรับรองอยู่อาศัยทำ กินให้แก่ราษฎรแบบแปลงรวม พื้นที่หลังมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 ดำ เนินการดังนี้ - พื้นที่ลุ่มน้ำ 1 2 ดำ เนินการปลูกป่าแบบมีส่วนร่วมโดยราษฎรผู้ช่วยงานป่าไม้ดูแลรักษาต้นไม้ที่กรมป่าไม้ปลูกและให้ใช้ประโยชน์ ที่ดินระหว่างแถวต้นไม้ได้ - พื้นที่ลุ่มน้ำ 3 4 5 ราชการต้องรวมกลุ่มกันเพื่อยื่นขออนุญาตและดำ เนินการปลูกป่าเศรษฐกิจ 50 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ การนำ มาตรการ ทางต้นไม้ไปสู่ปฏิบัติ สามารถดำ เนินการโดยจัดทำ แผนการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ระดับพื้นที่สำ รวจขอบเขตและกำ หนดกิจกรรม ที่ต้องดำ เนินการต่อไปตามกรอบมาตรการ รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 48


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ กิจกรรมประชาพิจารณ์ร่างกฎกระทรวงป่าสงวนแห่งชาติ ภายหลังจากการปรับปรุงแผนที่แนวเขต ที่ดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตรา 1:4,000 (One Map) เพื่อประกาศเป็นกฎหมาย ANNUAL REPORT2021 ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 กันยายนพศ 2558 มีมติเห็นชอบให้ดำ เนินการ ปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการมาตราส่วน 1:4,000 (One Map) เพื่อให้ประเทศไทยมีแนวเขตที่ดินของรัฐที่ถูกต้องทันสมัยซึ่งกรมป่าไม้ได้ ดำ เนินการปรับปรุงแนวเขตตามโครงการดังกล่าวร่วมกับ 10 หน่วยงานราชการ ที่มีที่ดินของรัฐในความรับผิดชอบของตนเองซึ่งโครงการดังกล่าวได้แล้วเสร็จใน ปี 2561 และกรมป่าไม้ ได้มีแผนงานและงบประมาณกิจกรรมจัดทำ ร่างกฎ กระทรวง ป่าสงวนแห่งชาติภายหลังจากโครงการปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดิน ของรัฐแบบบูรณาการตามมาตราส่วน 1:4,000(one Map) ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561-2562 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 36 ล้านบาทเมื่อร่างกฎหมาย กระทรวงป่าสงวนแห่งชาติที่ผ่านการตรวจสอบและจัดทำ ร่างแล้วเสร็จตาม มาตรา 77 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 การยกเลิก หรือปรับปรุงกฎหมายก่อนการตรา กฎหมายทุกฉบับ รัชวินจัดให้มีการรับฟัง ความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องดังนั้นกรมป่าไม้จึงมีความจำ เป็นเร่งด่วนในการจัดให้ มีการประชาพิจารณ์ราษฏที่อาจได้รับผลกระทบจากการประเทศเขตป่าสงวน แห่งชาติฉบับใหม่ โครงการปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดินและฐานข้อมูลป่าไม้ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ประชาพิจารณ์ร่างกฎกระทรวงป่าสงวนแห่งชาติ ภายหลังจากการปรับปรุง แผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตรา 1:4,000 (One Map) เพื่อประกาศเป็นกฎหมาย - พื้นที่ดำ เนินการ จังหวัดกาฬสินธุ์ ป่าดงระแนง จังหวัดมหาสารคาม ป่าหนองคูและป่านาดูน - งานอำ นวยการและติดตามปลการดำ เนินงาน จำ นวน 1 งาน 49 รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ - ดำ เนินการตรวจสอบไม้ผลิตภัณฑ์ไม้และถ่านไม้เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร ในพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม และร้อยเอ็ด - ดำ เนินการออกหนังสือรับรองไม้ผลิตภัณฑ์ไม้และ ถ่านไม้เพื่อส่งออกไปนอกราชอาณาจักร - ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่แนวทางการตรวจสอบและออกหนังสือรับรองหมายผลิตภัณฑ์ไม้และถ่านไม้ 1. การดำ เนินการตรวจสอบและออกหนังสือรับรองเพื่อรับรองการค้าไม้ตามมาตรฐานของต่างประเทศเช่น อียู เฟล็กที (EU-FLEGT) ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ ญี่ปุ่นปุ่ อินโดนีเซีย เป็นต้น 2. ออกหนังสือรับรองไม้ ผลิตภัณฑ์ไม้ และถ่านไม้ เพื่อส่งออกไปนอกราชอาณาจักร 3. ตรวจติดตามผลและให้คำ แนะนำ การออกหนังสือรับรองไม้ ผลิตภัณฑ์ไม้ และถ่านไม้ ให้กับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ณ สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้พื้นที่ ผู้ประกอบการส่งออกไม้ หรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 4. สนับสนุนข้อมูล องค์ความรู้ ให้บุคลากรด้านการตรวจสอบและออกหนังสือรับรองไม้ เพื่อให้บริการประชาชนและผู้ส่งออกสินค้าประเภทไม้ โดยอย่างรวดเร็ว ทันเวลา และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด 5. ประชาสัมพันธ์ เรื่องเกี่ยวกับการออกหนังสือรับรองไม้และช่องทางการยื่นขอหนังสือรับรองไม้ กิจกรรมตรวจสอบและออกหนังสือรับรองไม้ ผลิตภัณฑ์ ไม้ และถ่านไม้เพื่อส่งออกไปนอกราชอาณาจักร ANNUAL REPORT2021 กิจกรรมหลักส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจแบบครบวงจร รายงานประจำ ปี 2564 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 50 แผนงานยุทธศาสตร์สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน อนุรักษ์ ฟื้นฟู และป้องกันการทำ ลายทรัพยากรธรรมชาติ


Click to View FlipBook Version