The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SIN EBOOK, 2023-05-23 03:30:29

ANNUAL REPORT ปี 2565

ANNUAL REPORT ปี 2565

Keywords: ANNUAL REPORT ปี 2565

1.การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้ปลูกไม้ 450 ราย 2.การประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลแก่ผู้ปลูก 450 ราย 3.จำ นวนการปรับปรังข้อมูลผู้ปลูกไม้ไม่เกินร้อยละ 10 4.ประเมินความรู้ความพึงพอใจต่อกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล สต็อคไม้ ร้อยละ 80% 1.กฎหมายว่าด้วยถิ่นกําเนิดสินค้า Rules of Originally (ROO) ความสำ คัญยิ่งต่อระบบการค้าระหว่างประเทศในการระบุสัญญาชาติของสินค้าที่ผลิต ในประเทศนั้นเพื่อใช้เป็นหลักเกณฑ์และเงื่อนไขมาตรฐานระหว่างประเทศสมาชิกในการได้ถิ่นกำ เนิดสินค้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการพิจารณาว่าสินค้า ใดควรได้รับสิทธิพิเศษทางการค้าหรือไม่ หรือควรใช้มาตราการ การนำ เข้าอย่างใด ดังนั้นข้อมูลว่ามีการใช้ไม้ภายในประเทศหรือต่างประเทศจำ นวน เท่าใดจำ เป็นต้องทราบข้อมูลจากฐานข้อมูลสต็อกไม้ และ NSW ของสำ นักเศรษฐกิจการไม้ 2. การสำ รวจสต๊อกไม้โดยประชาชนทำ ให้ทราบปริมาณไม้ที่ประชาชนปลูกเพื่อการค้าลงทุนเป็นไปตามเป้าหมายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 4 1) พื้นที่ป่าไม้เศรษฐกิจร้อยละ 15 ของพื้นที่ประเทศ เบอร์สํานักเศรษฐกิจการป่าไม้รับรองร้อยละ 1 หรือ 3.2 ล้านได้ 2) ส่งเสริมการปลูกไม้มีค่าทางเศรษฐกิจระยะยาวผ่านระบบธนาคารต้นไม้ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรและธนาคารออมสิน เป็นต้น 3) จัดตั้งตลาดการค้าไม้ พัฒนาระบบโลจิสติกส์ ในการค้าไม้โดยสำ นักเศรษฐกิจป่าไม้เพื่อสนับสนุนข้อมูลสต๊อกไม้ที่มีอยู่ ตำ แหน่งที่ปลูกและข้อมูล การขนส่ง 4) สนับสนุนคนไกลทางการเงินเพื่อการปลูกป่า (ข้อที่ 2 กับข้อ 4 ดำ เนินการไปด้วยกัน) กิจกรรมเก็บรวบรวมข้อมูลไม้ สต๊อกไม้ เพื่อสนับสนุนการรับรองถิ่นกำ เนิด Rules of Origin (ROO) ตามกฏ AEC และการออกใบอนุญาตส่งออก ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ ANNUAL REPORT2022 ดำ เนินการประชาสัมพันธ์และเก็บรวบข้อมูลผู้ปลูกไม้ พรอมทั้ง ประเมินความรู้ ความเข้าใจของผู้ลงทะเบียน เพื่อมีฐานข้อมูล สต๊อกไม้ แหล่งปลูกไม้เพื่อใช้ในการวางแผน ส่งเสริม สนับสนุน ให้กับภาคธุรกิจและประชาชน และนำ มาพัฒนาจัดทำ ระบบการ ออกหนังสือรับรอง และใบอนุญาตส่งออก ในพื้นที่่รับผิดชอบดังนี้ 47 รายงานประจำ ปี 2565 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ ตลาดสินค้าจากไม้กำ ลังเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุคของการรับรองการป่าไม้และ กฎหมายของสหรัฐอเมริกาและสหรัฐภาพยุโรปจะไม่ได้ระบุอย่างชัดเจน ให้ ต้องมีการรับรอง โดยบุคคลที่ 3 ตามหน่วยงานผู้บังคับใช้กฎหมายทั้ง 2 ฉบับ ได้ประกาศอย่างชัดเจนให้ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องทุกรายต้องทำ ธุรกิจด้วย ความระมัดระวังต้องการประเมินความเสี่ยงและจัดการระบบบริหารจัดการ เพื่อลดความเสี่ยงในกรณีที่ไม้ที่ใช้มาจากพื้นที่เสี่ยง ด้วยความซับซ้อนของ กฎหมายในประเทศต้นกำ เนิดไม้แต่ละประเทศและข้อจำ กัดของ ผู้ประกอบ การ ตลอดสายโซ่การผลิต ทางออกที่ดูจะเป็นวิธีการง่ายๆและมีความเสี่ยงต่ำ สำ หรับผู้ซื้อคือการร้องเรียกร้องใบรับรองจากบุคคลที่สาม(Third Party Cerifiction) เชื่อมั่น ประกอบกับพระราชบัญญัติสวนป่าฉบับที่ 2 พ.ศ 2558 มีผลบังคับใช้และทางสำ นักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้มีการร่าง มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการจัดการสวนป่าไม้เศรษฐกิจอย่าง ยั่งยืน(Sustainable wood commercial plantion management) การเข้า มาดำ เนินงานพัฒนาการรับรอง การจัดหาไม้อย่างยั่งยืนและการรับรองต้น กำ เนิดสินค้า(Chainof custody)ของ the progaramme for the endorsement of forest certifcation(PEFC) ในประเทศรวมไปถึงหน่วย งานที่ได้ดำ เนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการรับรองการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน ดังกล่าวในประเทศไทยมาแล้วอย่าง Forest stewardhip council (FSC) และ lnternational tropical timmber orgnization (ITTO)เป็นต้น กรม ป่าไม้ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ เพื่อประโยชน์ สูงสุดของประเทศและมีพันธกิจในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะ สมในการจัดการและใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้รวมถึงการกำ หนดมาตรฐาน และการรับรอง อีกทั้งยังเป็นผู้รับผิดชอบดำ เนินการตามพระราชบัญญัติสวน ป่าโดยตรงจึงควรกำ หนดมาตรฐานรับรองการป่าไม้ที่สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบันและได้รับการยอมรับในระดับสากล กิจกรรมจัดทำ มาตรฐานความถูกต้องตามกฏหมายเพื่อรองรับ พ.ร.บ.สวนป่าและมาตรฐาน อื่นๆในระดับสากล 1.จัดจัโครงการนำ ร่อร่งการรับรัรองการจัดจัการป่าป่ ไม้อม้ย่าย่งยั่งยั่ยืนยื 1 แห่งห่ 2. ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และตอบข้อข้ซักซัถาม เกี่ยกี่วกับกัมาตรฐานการรับรัรองการ จัดจัการป่าป่ ไม้อม้ย่าย่งยั่งยั่ยืนยืและมาตรฐานห่วห่งโซ่กซ่ารควบคุมคุผลิตลิภัณภัฑ์จฑ์ากป่าป่ ไม้ (COC) จำ นวน 6 ครั้งรั้ 48 รายงานประจำ ปี 2565 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) ANNUAL REPORT2022


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติมีราษฎรครอบครอง ทำ กินกระจายอยู่โดยทั่วไปทำ ให้เกิดความขัดแย้งในการใช้ทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวจึงจำ เป็นต้องสงวนคุ้มครองทรัพยากรป่าไม้ของชาติ และในขณะเดียวกันต้องดูแล ช่วยเหลือราษฎรในเรื่องที่อยู่อาศัย และทำ กินด้วยดังนี้จึงต้องดำ เนินการจัดการที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติอย่างเป็นระบบดำ เนินการแก้ไขปัญหาที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ให้ราษฎร สามารถอยู่ได้อย่างถูกต้องเป็นหลักแหล่งเหมาะสมควบคุมมิให้มีการบุกรุกขยายพื้นที่โดยดำ เนินการภายใต้มาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติป่า สงวนแห่งชาติพศ ๒๕๐๗ และระเบียบกรมป่าไม้ว่าด้วยการอนุญาตให้เข้าทําประโยชน์หรืออยู่อาศัยภายใต้เขตป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ 2484 ซึ่ง สนับสนุนให้มีการจัดการอย่างมีส่วนร่วมกันในสถานะที่ทำ ให้คนมีภารกิจในการดูแลรักษาป่าให้มีความยั่งยืน ANNUAL REPORT2022 กิจกรรมตรวจสอบและออกหลักฐานการอนุญาต ให้เข้าทำ ประโยชน์ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ (1) ดำ เนินการตรวจสอบและออกหลักฐานการอนุญาตให้เข้าทําประโยชน์ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติประกอบด้วย 1.1 ตรวจสอบการขออนุญาตเข้าทำ ประโยชน์ในพื้นที่เป้าหมายของกรมป่าไม้ในเขตป่าสงวนแห่งชาติที่จะดำ เนินการจัดที่ดินทำ กินให้ประชาชน ผู้ยากไร้ตามนโยบายภายใต้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช) จำ นวน 6,621 ไร่ 1.2 ตรวจสอบและติดตามผลการใช้พื้นที่ป่าของผู้รับอนุญาต รายงานประจำ ปี 2565 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 49 ที่ 7 (ขอนแก่น) โครงการจัดหาที่ดินให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาสอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ กิจกรรมจัดระเบียบเพื่อจัดที่ดินทำ กินให้ชุมชนในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ANNUAL REPORT2022 พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติมีราษฎรครอบครองทำ กินกระจายอยู่โดยทั่วไปทำ ให้เกิดความขัดแย้งในการใช้ทรัพยากรที่ดินและป่าไม้จากปัญหาดัง กล่าวจึงจำ เป็นต้องดำ เนินการจัดการที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติอย่างเป็นระบบเน้นด้านการอนุรักษ์ควบคู่กับการพัฒนาอย่างยั่งยืนอยู่บนหลักการ ลดปัญหาความขัดแย้งแก้ไขปัญหาที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ในราษฎรสามารถอยู่ได้อย่างถูกต้องเป็นหลักแหล่งเหมาะสมควบคุมมิให้มีการบุกรุกขยายพื้นที่ โดยดำ เนินการตามนโยบายของรัฐบาลด้านการจัดที่ดินทำ กินให้ชุมชนภายใต้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ(คทช) โครงการบริหารจัดการที่ดินป่าไม้อย่างเป็นระบบและเป็นธรรม ร่วมสำ รวจและตรวจสอบทข้อมูลแปลงที่ดินของราษฎร์ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาตินำ ไปใช้ในการจัดระเบียบที่ดินทำ กินให้ชุมชน พื้นที่ดำ เนินการ ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงภูพาน จังหวัดกาฬสินธ์ุ 6,000 ไร่ 50 รายงานประจำ ปี 2565 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ ANNUAL REPORT2022 กิจกรรมตรวจติดตามการปฏิบัติตามข้อกำ หนดการใช้ที่ดินของผู้ได้รับการจัดที่ดินตาม โครงการจัดการที่ดินทำ กินให้ชุมชน งานที่ปฏิบัติ ตรวจติดตามการปฏิบัติตามข้อกำ หนดการใช้ที่ดินของผู้ได้รับการจัดที่ดิน ตามโครงการจัดที่ดินทำ กินให้ชุมชน พื้นที่ดำ เนินการ จังหวัดขอนแก่น 6,429 ไร่ - ป่าโคกหลวง - ป่าโคกหลวงแปลงที่สาม จังหวัดมหาสารคาม 699 ไร่ - ป่าโคกหินลาด - ป่าหนองคูและป่านาดูน จังหวัดร้อยเอ็ด 546 ไร่ - ป่าอุโมงค์และป่าหนองแวง พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติมีราษฎรครอบครองทำ กิน ทำ ให้เกิดความขัดแย้งในการใช้ทรัพยากรที่ดินและป่าไม้จากปัญหาดังกล่าวจึงได้ดำ เนินการจัดการ ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติอย่างเป็นระบบเหมือนด้านการอนุรักษ์ควบคู่กับการพัฒนาอย่างยั่งยืนควบคุมมิให้มีการบุกรุกขยายพื้นที่โดยการอนุญาตให้ราษฎร สามารถอยู่ได้อย่างถูกต้องเป็นหลักแหล่งเหมาะสมดังนั้นจึงต้องควบคุมการปฏิบัติให้เป็นไปตามเงื่อนไขและข้อกำ หนดการใช้ที่ดินตามนโยบายของรัฐบาลด้าน การจัดที่ดินทำ กินให้ชุมชนภายใต้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ(คทช.) 51 รายงานประจำ ปี 2565 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


ผลการดำ เนินงาน สาระสำ คัญ ANNUAL REPORT2022 กิจกรรมสำ รวจการถือครองที่ดินในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ 1.กำ หนดเขตงานที่จะดำ เนินการ 2.จัดประชุมชี้แจงราษฎรสร้างการมีส่วนร่วมก่อนเข้าปฏิบัติงาน 3.รวบรวมและจัดทำ ข้อมูลรูปแปลงที่ดิน (Shapefile) ในระบบ GIS 4.สำ รวจการครอบครองที่ตินในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติที่มีร่องรอยการทำ ประโยชน์ ระหว่าง ปี 2545 - 2557 และพื้นที่ที่มีร่องรอยการทำ ประโยชน์ก่อน ปี 2545 และยังคงทำ ประโยชน์จนถึงปัจจุบัน (ที่ตกหล่นหรือยังไม่ได้สำ รวจ) พื้นที่ดำ เนินการ จังหวัดกาฬสินธุ์ 54 หมู่บ้าน จังหวัดขอนแก่น 50 หมู่บ้าน กรมป่าไม้ได้ดำ เนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เรื่อง การแก้ไขปัญหาที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ โดยการสำ รวจ กำ หนดแปลงที่ดินที่ราษฎรเข้าทำ ประโยชน์และสภาพาที่คงเหลืออยู่ตามภาพถ่ายทางอากาศสี (Ortho Photo) ปี 2545 มีผลทำ ให้ราษฎร ได้รับการแก้ไขปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย/ ทำ กินได้ในระดับหนึ่ง โดยการอนุญาตให้ถูกต้องตามกฎหมาย ภายใต้โครงการจัดที่ดินทำ กินให้ชุมชน (คทช.) ประกอบกับคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 26 พฤสจิกายน 2561 เห็นชอบกรอบมาตรการแก้ไขปัญหาการอยู่อาศัยทำ กินในพื้นที่ปาไม้ (ทุกประเภท) ตามนัยมติคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช) ครั้งที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2561 ตามที่กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอ เพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินที่มีราษฎรถือครองในเขตพื้นที่บำ าสงวนแห่งชาติในส่วนที่ไม่ได้นำ มาดำ เนินการจัดที่ดิน ทำ กินให้ชุมชน (คทซ.) คือ พื้นที่ลุ่มน้ำ 1,2 ก่อนมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 โดยกรมป่าไม้จัดเจ้าหน้าที่เข้าดำ เนินการจัด ระเบียบการใช้ที่ดินเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมปลูกไม้ 3 อย่างตามแนวพระราชดำ ริ และรับรองการอยู่อาสัยทำ กิน ให้แก่ราษฎร แบบแปลงรวมพื้นที่หลังมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541ดำ เนินการ ดังนี้ 1.พื้นที่ลุ่มน้ำ 1,2 ดำ เนินการปลูกป่าแบบมีส่วนร่วม โดยราษฎร "ผู้ช่วยงานป่าไม้" ดูแลรักษาต้นไม้ที่กรมป่าไม้ปลูก และให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน ระหว่างแถวต้นไม้ได้ 2.พื้นที่ลุ่มน้ำ 345 ราษฎรต้องรวมกลุ่มกันเพื่อยื่นขออนุญาตและดำ เนินการปลูกป่าเศรษฐกิจ 50% ของพื้นที่การนำ มาตรการข้างต้นไปสู่ การปฏิบัติ สามารถดำ เนินการโดยจัดทำ "แผนการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ระดับพื้นที่สำ รวจขอบเขตและกำ หนดกิจกรรมที่จะต้อง ดำ เนินการต่อไปตามกรอบมาตรการกิจกรรมการสำ รวจการถือครองที่ดินในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ในบริเวณหลังปี 2545 - ปี 2557 เป็นงานส่วนหนึ่งของแผนการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ระดับพื้นที่ ในขั้นตอนการสำ รวจศารใช้ที่ดินเพื่อให้ได้ขอบเขต และผังการใช้ที่ดินของราษฎร เพื่อให้ได้ข้อมูลรายชื่อผู้ครอบครองที่ดินและขอบเขตแปลงที่ดิน ป้องกันไม่ให้มีการซื้อขายเปลี่ยนมือ และบุกรุกขยายพื้นที่เพิ่มเติม ทั้งนี้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้มีนโยบายเร่งรัดให้ดำ เนินการให้แล้วเสร็จโดยเร็ว 52 รายงานประจำ ปี 2565 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)


ROYAL FOREST DEPARTMENT กิจกรรมสำ คัญ ANNUAL REPORT2022


ANNUAL REPORT2022 54 รายงานประจำ ปี 2565 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) โครงการพัฒนาเครือข่ายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อเข้าถึงแหล่งทุน วันที่ 13 สิงหาคม 2565 โดยนายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (รมว.ทส.) พร้อมด้วย นายจตุพร บุรุษพัฒน์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการพัฒนาเครือข่ายด้านรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเพื่อเข้าถึงแหล่งทุน โดยมี นายภูสิต สมจิตต์ ผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด กล่าวต้อนรับ นายสุรชัย อจลบุญ อธิบดีกรมป่าไม้ กล่าวรายงาน และมีผู้บริหารกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้นำ ท้องถิ่นตัวแทนเครือข่ายภาคประชาชนกระทรวงรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สื่อมวลชนเข้าร่วมพิธี ณ โรงแรมเพชรรัตน์การ์เด้นท์ อำ เภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ทั้งนี้ ภายหลังพิธีเปิด รมว.ทส. ได้เป็นประธาน มอบเกียรติบัตรและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ “รักษ์ป่า รักแผ่นดิน”, มอบหนังสือแสดงป่าชุมชน, มอบเงินอุดหนุน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต ประจำ ปี 2565 ให้แก่เครือข่ายป่าชุมชน, มอบทุนการศึกษาให้แก่บุตรเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า มอบกรมธรรม์ประกันชีวิต ให้แก่เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า และร่วมกับผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) มอบเงินสนับสนุนให้แก่เครือข่าย ทสม. จังหวัดร้อยเอ็ด ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก พร้อมกันนี้ ได้เป็นประธานในพิธีการลงนาม MOU ระหว่าง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กองทุนสิ่งแวดล้อม กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน และ ธ.ก.ส


55 รายงานประจำ ปี 2565 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น จัดพิธีกวายสัตย์ปฏิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่น ดิน ประจำ ปี 2565เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2565 เพื่อให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ได้แสดงความมุ่งมั่น แน่วแน่ที่จะเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน ปฏิบัติหน้าที่ตามรอยพระยุคลบาทในฐานะข้าของแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน และประเทศชาติสืบไป โดยได้กำ หนดจัดพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณฯ และจัดให้มีการลงนามถวายสัตย์ปฏิญาณฯ พิธีกวายสัตย์ปฏิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน ANNUAL REPORT2022


กิจกรรมจิตอาสา “รู้รักสามัคคี รักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาคุณภาพชีวิต” 56 รายงานประจำ ปี 2565 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) วันที่: 3 ธันวาคม 2564 เวลา 09:30 น. กิจกรรมจิตอาสา “รู้รักสามัคคี รักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาคุณภาพชีวิต” เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราช สมภพพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม 2564 โดยมี นายไพบูลย์ รัตนะเจริญธรรม เป็นประธานในพิธีเปิดงาน ณ บริเวณสำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) ANNUAL REPORT2022


กิจกรรม "รวมใจไทย ปลูกต้นไม้ เพื่อแผ่นดิน" สืบสานสู่ 100 ล้านต้น รายงานประจำ ปี 2565 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 57 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2565 ณ ป่าสงวนแห่งชาติบ้านโนนสว่าง ตำ บลเขาน้อย อำ เภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น นางสาว ธนียา นัยพินิจ รองผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น เป็นประธานเปิดกิจกรรมปลูกป่าวันต้นไม้ประจำ ปีของชาติ ประจำ ปี 2565 โดยมี จัดโดยสำ นักจัดการทรัพยากร ป่าไม้ที่ 7 ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำ บลเขาน้อย อำ เภอเวียงเก่า โดยจังหวัดขอนแก่นได้กำ หนดเป้าหมายการปลูกป่า จำ นวน 20,000ไร่ ปัจจุบันสามารถปลูกป่าไปแล้ว 13,000 ไร่ ซึ่งเป็นพื้นที่ มีการบุกรุกและทางราชการได้ยึดคืนพื้นที่ และปลูกตามแนวทางปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 250 คน ANNUAL REPORT2022


กิจกรรม "ครูป่าไม้ให้ความรู้กิจกรรมโครงการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้" 58 รายงานประจำ ปี 2565 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) เมื่อวันที่ ๑๑ - ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๕ ทีมวิทยากรครูป่าไม้ได้ร่วมให้ความรู้โครงการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ ซึ่งเป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สำ หรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนอนุบาลขอนแก่น สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต ๑ จำ นวน ๔๒๘ คน วัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังนิสัยใผ่เรียนรู้จากแหล่งที่เรียนรู้นอกห้องเรียน ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณลักษณะที่ตี่ รู้ทันเหตุการณ์ ส่งเสริม ให้นักเรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ กล้าคิด กล้าตัดสินใจ แก้ไขปัญหาได้ถูกต้องเหมาะสม ส่งเสริมให้นักเรียนเปลี่ยนบรรยากาศในการเรียนรู้ ด้วยตนเอง ได้รับประสบการณ์ตรง และเพื่อปลูกจิตสำ นึกในการร่วมอนุรักษ์เห็นคุณค่า ประโยชน์และภูมิใจในท้องถิ่น ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ANNUAL REPORT2022


ANNUAL REPORT2020 งบประมาณรายจ่ายและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 0 10,000,000 20,000,00 0 30,000,000 40,000,000 50,000,000 แผนงานพื้นฐาน แผนงานยุทธศาสตร์ 99.9% 0 20,000,000 40,000,000 60,000,000 งบดำ เนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น ANNUAL REPORT 2022 เบิกจ่าย คงเหลือ รายงานประจำ ปี 2565 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) 59


ANNUAL REPORT2020 การประเมินส่วนราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สรุปคะแนนผลการประเมินส่วนราชการ 60 รายงานประจำ ปี 2565 สำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น) *หมายเหตุ : การคำ นวณคะแนน (คะแนนที่ได้) (D) ได้มาจาก 1. นำ ผลการดำ เนินงาน (C) เทียบกับเกณฑ์การประเมิน (B) (ถ้าอยู่ในช่วงระหว่าง 2 เป้าหมาย ใช้วิธีเทียบบัญญัติไตรยางค์) 2. นำ คะแนนที่ได้จากข้อ 1. คูณกับน้ำ หนักตัวชี้วัดนั้น ๆ แล้วหารด้วย 100 จะได้คะแนนช่อง (D) 3. ผลการดำ เนินงานต่ำ กว่าค่าเป้าหมายขั้นต้น จะได้คะแนนเป็นศูนย์ เกณฑ์การประเมินระดับส่วนราชการ 4 ระดับ ANNUAL REPORT2022


นายไพบูลย์ รัตนะเจริญธรรม ผู้อำ นวยการสำ นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 นายสุมน นำ พูลสุขสันติ์ ผู้อำ นวยการส่วนอำ นวยการ นายสราวุธ สุโพธิ์ ผู้อำ นวยการส่วนป้องกันรักษาป่าและควบคุมไฟป่า นางกฤษณา จตุรสุขสกุล ผู้อำ นวยการส่วนส่งเสริมการปลูกป่า นายสมศักดิ์ วนัสกุล ผู้อำ นวยการส่วนจัดการป่าชุมชน นายครรชิต โล่ห์คำ ผู้อำ นวยการส่วนจัดการที่ดินป่าไม้ นายไชยา คล้ายคลึง ผู้อำ นวยการศูนย์ป่าไม้ขอนแก่น นายประจัน ดาวังปา ผู้อำ นวยการศูนย์ป่าไม้กาฬสินธุ์ นายปัญญา บุตะกะ ผู้อำ นวยการศูนย์ป่าไม้มหาสารคาม นายสุพจน์ อินทร์เหล่าใหญ่ ผู้อำ นวยการศูนย์ป่าไม้ร้อยเอ็ด นายพรภิรมณ์ อุระแสง ผู้อำ นวยการศูนย์ป่าไม้มุกดาหาร นางสายสุดา โม้ทอง นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ/บรรณาธิการ นางนัฐกานต์ เฉลิมมีประเสริฐ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นางสาวสาธินี ทูลไชย นักจัดการงานทั่วไป นางสาวชัญนัน วิริยะ นักจัดการงานทั่วไป นางสาววาสนา แสนกันยา เจ้าหน้าที่ธุรการ ที่ปรึกษา ผู้สนับสนุนข้อมูล ผู้จัดทำ รายนามคณะผู้จัดทำ ส่วนทุกส่วน และศูนย์ป่าไม้ทุกศูนย์


A N N U A L R E P O R T 2 0 2 2 2 5 6 5 ร า ย ง า น ป ร ะ จำจำจำจำ ปีปีปีปี เ ล ข ที่ 3 4 6 ถ.ห น้ า ศู น ย์ ร า ช ก า ร ต.ใ น เ มื อ ง อ.เ มื อ ง ข อ น แ ก่ น จ.ข อ น แ ก่ น 4 0 0 0 0


Click to View FlipBook Version