The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบ-PA1-ส-ครู-ครูชำนาญการ-ปัญญารัฐ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panya7176, 2022-06-11 06:47:04

แบบ-PA1-ส-ครู-ครูชำนาญการ-ปัญญารัฐ

แบบ-PA1-ส-ครู-ครูชำนาญการ-ปัญญารัฐ

แบบบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน
สำหรับข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
ตำแหน่ง ครู

PANYARAT PROMPHUWAN

PA

PERFORMANCE
AGREEMENT

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

โรงเรียนแนงมุดวิทยา
สำนักงานเขตพื้ นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

PA 1/ส

แบบขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA)
สำหรับขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ -

(ทุกสังกดั )
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ระหว่างวนั ที่ 1 เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถงึ วนั ท่ี 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2565

ผ้จู ดั ทำข้อตกลง
ช่ือ นางสาวปัญญารัฐ นามสกลุ พรหมภวู ัลย์ ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ -
สถานศกึ ษา โรงเรียนแนงมดุ วทิ ยา สงั กัด สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสรุ นิ ทร์
รับเงินเดือนในอนั ดบั คศ.2 อตั ราเงนิ เดือน 29,540 บาท

ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด
การเรยี นรจู้ ริง)

 ห้องเรียนวิชาสามัญหรอื วิชาพนื้ ฐาน
 หอ้ งเรียนปฐมวยั
 หอ้ งเรียนการศกึ ษาพิเศษ
 หอ้ งเรยี นสายวชิ าชพี
 ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ/ตามอธั ยาศยั

ข้าพเจา้ ขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพฒั นางาน ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ - ซึง่ เป็นตำแหน่งท่ี
ดำรงอยู่ในปจั จบุ นั กับผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ไว้ดงั ตอ่ ไปนี้

ส่วนท่ี 1 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตำแหนง่

1. ภาระงาน จะมภี าระงานเปน็ ไปตามท่ี ก.ค.ศ. กำหนด

ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

1.1 ช่วั โมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 22 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ดงั นี้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ

รายวิชา ศลิ ปะ รหสั วชิ า ศ22102 ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2 จำนวน 8 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

รายวชิ า ศิลปะ รหัสวชิ า ศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 3 ชัว่ โมง/สปั ดาห์

รายวชิ า ศิลปะ รหสั วิชา ศ32102 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 3 ชวั่ โมง/สปั ดาห์

รายวิชา ศิลปะ รหสั วิชา ศ33102 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวน 3 ชวั่ โมง/สัปดาห์

กลมุ่ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน

ชมุ นุม E-Sports ชนั้ มธั ยมศึกษาตน้ -ปลาย จำนวน 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์

กจิ กรรมผู้บำเพญ็ ประโยชน์ จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

กิจกรรมโฮมรูม จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

กิจกรรมลดเวลาเรียน จำนวน 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์

2

1.2 งานสง่ เสริม และสนบั สนุนการจดั การเรียนรู้ จำนวน 6 ชัว่ โมง/สปั ดาห์
- การออกแบบ และจัดทำหน่วยการเรยี นรู้
- การจัดทำแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
- การวัด และประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้
- การทำวิจัยในชน้ั เรยี นเพ่ือแกไ้ ขปญั หา
- การมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมชุมนุมแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

1.3 งานพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา จำนวน 4 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
- หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ
กล่มุ บริหารงานบุคคล
- งานเวรยาม/ร่วมงานวนั สำคัญต่างๆ
กลุ่มบรหิ ารงบประมาณ
- งานนโยบายและแผน
กลมุ่ บริหารทว่ั ไป
- งานครทู ่ีปรึกษา /ระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน
- หวั หน้างานอาคารสถานที่
- คณะทำงานส่ิงแวดล้อมบริบท และความปลอดภัยในโรงเรียน
- คณะทำงานงานประดับสถานท่ี ธงและปา้ ย
- คณะทำงานกจิ กรรมTo be Number1

1.4 งานตอบสนองนโยบาย และจุดเนน้ จำนวน 2 ช่วั โมง/สปั ดาห์
- งานขบั เคลอ่ื นงานโรงเรยี นมาตรฐานสากล
- งานขบั เคลอ่ื นโรงเรียนสวยน่าอยู่
- งานขับเคลือ่ นสนองนโยบายของสำนกั งานเขตพ้นื ท่ี และสพฐ.

รวมจำนวนชว่ั โมงภาระงานเป็นไปตาม ก.ค.ศ.กำหนด จำนวน 34 ชัว่ โมง

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565
1.1 ช่วั โมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 20 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ดงั น้ี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
รายวิชา ศลิ ปะ รหัสวชิ า ศ22101 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 จำนวน 8 ช่วั โมง/สปั ดาห์
รายวิชา ศลิ ปะ รหัสวชิ า ศ31101 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 3 ชัว่ โมง/สัปดาห์
รายวิชา การออกแบบตัวอักษร รหัสวิชา ศ31203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2-4/3 จำนวน
2 ชัว่ โมง/สัปดาห์

3

รายวชิ า การแกะสต๊ิกเกอร์ รหสั วิชา ศ32203 ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 5/1 จำนวน 1 ชั่วโมง/

สปั ดาห์

รายวิชา การพิมพ์ซิลค์สกรีน รหัสวิชา ศ33203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 จำนวน 1

ชั่วโมง/สัปดาห์

กลมุ่ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น

ชมุ นมุ E-Sports ชัน้ มธั ยมศึกษาต้น-ปลาย จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

กิจกรรมผบู้ ำเพญ็ ประโยชน์ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

กิจกรรมโฮมรูม จำนวน 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

กจิ กรรมลดเวลาเรยี น จำนวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์

1.2 งานสง่ เสริม และสนบั สนนุ การจดั การเรยี นรู้ จำนวน 6 ชัว่ โมง/สัปดาห์

- การออกแบบ และจัดทำหน่วยการเรียนรู้

- การจัดทำแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

- การวดั และประเมินผลการจดั การเรียนรู้

- การทำวจิ ัยในชัน้ เรียนเพอ่ื แกไ้ ขปญั หา

- การมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมชุมนมุ แห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC)

1.3 งานพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา จำนวน 4 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

- หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล

- งานเวรยาม/ร่วมงานวันสำคัญต่างๆ

กลุ่มบรหิ ารงบประมาณ

- งานนโยบายและแผน

กลุ่มบรหิ ารทั่วไป

- งานครทู ี่ปรึกษา /ระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น

- หัวหนา้ งานอาคารสถานท่ี

- คณะทำงานสงิ่ แวดลอ้ มบริบท และความปลอดภัยในโรงเรยี น

- คณะทำงานงานประดับสถานที่ ธงและปา้ ย

- คณะทำงานกจิ กรรมTo be Number1

1.4 งานตอบสนองนโยบาย และจุดเน้น จำนวน 2 ช่วั โมง/สัปดาห์

- งานขับเคลอ่ื นงานโรงเรยี นมาตรฐานสากล

- งานขบั เคล่อื นโรงเรยี นสวยนา่ อยู่

- งานขับเคล่ือนสนองนโยบายของสำนกั งานเขตพนื้ ท่ี และสพฐ.

รวมจำนวนชว่ั โมงภาระงานเป็นไปตาม ก.ค.ศ.กำหนด จำนวน 32 ชว่ั โมง

4

2. งานท่ีจะปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานตำแหน่ง ครู (ใหร้ ะบรุ ายละเอียดของงานท่ีจะปฏิบตั ิในแต่ละด้าน

ว่าจะดำเนนิ การอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาท่ีใชใ้ นการดำเนินการด้วยกไ็ ด)้

ลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตวั ช้ีวดั (Indicators)

ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทจี่ ะดำเนินการพฒั นาตาม (Outcomes) ทจี่ ะเกิดข้นึ กับผเู้ รยี น

ข้อตกลง ใน 1 รอบประเมิน ของงานตามขอ้ ตกลง ทแี่ สดงใหเ้ ห็นถึงการ

(โปรดระบ)ุ ท่คี าดหวังให้เกิดขนึ้ เปล่ยี นแปลงไปในทาง

กับผูเ้ รียน (โปรดระบุ) ทดี่ ีขน้ึ หรือมกี ารพฒั นา

มากขนึ้ หรือผลสัมฤทธ์ิ

สูงขึน้ (โปรดระบ)ุ

1.ด้านการจัดการเรยี นรู้ การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการ 1. ผ้เู รยี นเรยี นไดเ้ รียนรู้ 1.ผเู้ รยี นมคี ะแนน

ลกั ษณะงานทเ่ี สนอให้ เรียนรู้ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 เก่ียวกับเทคนิคพนื้ ฐาน หลังเรียนในแต่ละหน่วย

ครอบคลุมถงึ การสร้าง และหรอื เรอื่ ง รปู แบบทัศนธาตแุ ละ การสรา้ งสรรค์งาน รอ้ ยละ 80 ขึ้นไป

พฒั นาหลักสูตร การออกแบบ แนวคิดในงานทัศนศลิ ป์ วิชา ทศั นศิลป์ 2. ผ้เู รยี นร้อยละ 60 มี

การจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรม ทัศนศิลป์ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปี 2. ผเู้ รยี นไดฝ้ กึ ทักษะ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

การเรียนรู้ การสร้าง และหรือ ที่ 2 โรงเรียนแนงมดุ วทิ ยา โดย โดยใชช้ ุดกิจกรรม ระดับ 2.5 ขึน้ ไป

พฒั นาส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยี ใช้บทเรียนสำเรจ็ รปู บทเรียนสำเรจ็ รปู 3. ผูเ้ รยี นรอ้ ยละ 80

และแหลง่ เรียนรู้ การวัด และ 1.1 สร้าง และหรอื พัฒนาหลักสูตร 3. ผเู้ รยี นมีความพงึ มคี ุณลกั ษณะอนั พึง

ประเมินผลการจดั การเรยี นรู้ ศกึ ษา วเิ คราะห์หลักสตู ร พอใจตอ่ การจัด ประสงคร์ ะดบั ดีขึ้นไป

การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ แกนกลางมาตรฐานการเรยี นรู้ บรรยากาศการเรียนรู้

เพอ่ื แก้ปญั หาหรอื พฒั นาการเรียนรู้ ตวั ชวี้ ัด และผลการเรียนรใู้ นวชิ า จากการใช้ชุดกิจกรรม

การจดั บรรยากาศท่ีสง่ เสรมิ และ ทศั นศิลป์ นำไปใช้ในการจัดทำ อเิ ลก็ ทรอนิกส์

พัฒนาผเู้ รยี น และการอบรม และ กำหนดโครงสรา้ งรายวชิ า (E - Book)

พัฒนาคณุ ลักษณะทด่ี ีของผเู้ รียน ทัศนศลิ ป์ กำหนดหน่วยการ 4. ผูเ้ รียนไดส้ บื คน้

เรยี นรู้ จัดทำคำอธิบายรายวชิ า ข้อมลู เกยี่ วกบั เน้ือหาที่

ออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ ตนเองสนใจ และนำมา

องิ มาตรฐาน เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นได้ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั

พฒั นาสมรรถนะ และการเรยี นรู้ กิจกรรมได้

เตม็ ตามศักยภาพ โดยปรับ

ประยุกต์ใหส้ อดคลอ้ งกับวสิ ยั ทัศน์

พนั ธกิจ ของสถานศึกษาทเี่ น้น

การเปน็ องคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ปรบั

5

ลกั ษณะงานที่ปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวช้วี ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่
ทจ่ี ะดำเนนิ การพัฒนาตาม (Outcomes) ที่จะเกิดขึ้นกับผเู้ รยี น

ขอ้ ตกลง ใน 1 รอบประเมนิ ของงานตามขอ้ ตกลง ท่ีแสดงให้เหน็ ถึงการ

(โปรดระบุ) ทค่ี าดหวังใหเ้ กดิ ข้ึน เปล่ียนแปลงไปในทาง

กับผเู้ รยี น (โปรดระบ)ุ ทด่ี ขี ้นึ หรอื มกี ารพัฒนา

มากขน้ึ หรือผลสัมฤทธิ์

สงู ขึ้น (โปรดระบ)ุ

ประยุกต์ตามผู้เรยี น และ

มาตรฐานสากล

1.2 ออกแบบการจัดการเรยี นรู้

ออกแบบการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้ เพอ่ื พัฒนาผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี

1 เรื่อง รปู แบบทัศนธาตแุ ละ

แนวคิดในงานทัศนศลิ ป์ วิชา

ทัศนศิลป์ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปี

ที่ 2 โรงเรียนแนงมดุ วิทยา โดย

ใช้บทเรยี นสำเรจ็ รูป เพอื่ มุง่ เนน้

ให้ผ้เู รยี นพัฒนาทักษะ การคิด

วเิ คราะห์ ตามศักยภาพของ

ตนเอง เสริมสมรรถนะสำคัญของ

ผู้เรียน และคุณลักษณะอันพงึ

ประสงค์ การนำความรู้ วชิ า

ทศั นศลิ ป์ ไปประยุกต์ใช้

ชวี ิตประจำวนั ได้

1.3 จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

จดั กิจกรรมการเรียนรดู้ ว้ ย

กระบวนการกลมุ่ คละความสามารถ

ของผูเ้ รียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้

(5E) การฝึกทกั ษะในการ

สรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ป์โดย

การนำความรทู้ ่ีมีอยู่ ควบคู่กับ

การสบื ค้นความรู้ใหม่ สง่ เสริม

6

ลกั ษณะงานที่ปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตวั ช้วี ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่
ทจ่ี ะดำเนินการพัฒนาตาม (Outcomes) ทจ่ี ะเกิดข้ึนกับผเู้ รียน

ข้อตกลง ใน 1 รอบประเมนิ ของงานตามขอ้ ตกลง ที่แสดงใหเ้ หน็ ถึงการ

(โปรดระบุ) ที่คาดหวงั ใหเ้ กิดขึน้ เปล่ยี นแปลงไปในทาง

กับผเู้ รียน (โปรดระบ)ุ ท่ดี ขี น้ึ หรือมีการพฒั นา

มากขน้ึ หรือผลสัมฤทธ์ิ

สงู ข้นึ (โปรดระบ)ุ

แรงบันดาลใจใหน้ ักเรยี น กล้า

แสดงออก และสามารถแสดง

ทัศนคติแลกเปลยี่ นกับเพ่ือน

ภายในกลมุ่ ได้อย่างสรา้ งสรรค์

1.4 สรา้ ง และหรอื พฒั นาสื่อ

นวตั กรรม เทคโนโลยี และแหลง่

เรยี นรู้

สรา้ ง และพฒั นาชดุ กจิ กรรม

บทเรียนสำเรจ็ รูป นักเรียนชน้ั

มัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการ

เรยี นรทู้ ่ี 1 เรือ่ ง รูปแบบทัศน

ธาตุและแนวคิดในงานทัศนศิลป์

1.5 วดั และประเมินผลการเรยี นรู้

ออกแบบการวดั และประเมินผล

การเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย ปรบั

ประยุกตใ์ ห้เหมาะสมกบั

ความสามารถของผ้เู รียน และ

มงุ่ เน้นการประเมนิ ตามสภาพจรงิ

ทสี่ อดคล้องกบั จุดประสงค์การ

เรียนรู้ และมาตรฐานการเรียนรู้

รายวิชาทศั นศลิ ป์ ที่ประเมนิ โดย

เพอ่ื น ผู้ปกครอง และครู มกี าร

สะท้อนผลประเมนิ อย่างต่อเนื่อง

เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาอย่างเต็ม

ศกั ยภาพ

7

ลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตวั ช้วี ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
ทีจ่ ะดำเนนิ การพฒั นาตาม (Outcomes) ทีจ่ ะเกิดขึน้ กบั ผเู้ รยี น

ขอ้ ตกลง ใน 1 รอบประเมนิ ของงานตามข้อตกลง ที่แสดงให้เห็นถึงการ

(โปรดระบ)ุ ทค่ี าดหวังใหเ้ กดิ ขน้ึ เปลย่ี นแปลงไปในทาง

กับผเู้ รียน (โปรดระบ)ุ ทีด่ ขี ้นึ หรือมกี ารพัฒนา

มากขึ้นหรือผลสัมฤทธ์ิ

สงู ขึน้ (โปรดระบ)ุ

1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์

เพือ่ แก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้

- ศึกษา วเิ คราะห์ และสงั เคราะห์

ปญั หา และพฒั นาทักษะการเรยี นรูใ้ น

รายวิชา ทัศนศิลป์ ให้นักเรียนมีความ

มั่นใจ ในการนำทกั ษะต่างๆ ใน

งานทัศนศิลป์มาประยุกต์

สร้างสรรค์เปน็ ผลงานตนเอง

- ศกึ ษาการเรยี นรเู้ กีย่ วกับการ

สร้างส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์

- นำผลการจดั การเรียนรมู้ า

ศกึ ษา วิเคราะห์ เพ่ือแก้ปญั หาที่

เกิดขึ้นจากการจดั การเรยี นรู้ ใน

รปู แบบวจิ ัยในชั้นเรยี น

1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริม

และพฒั นาผูเ้ รียน

จดั บรรยากาศการเรยี นรู้ท่ี

สง่ เสรมิ และพฒั นาผ้เู รียนให้เกิด

ทกั ษะกระบวนการคิดสง่ เสริม

การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้

(5E) ส่งเสริมนกั เรียนทกุ คน ไดม้ ี

โอกาสแลกเปลีย่ นทัศนคติ และ

กล้าแสดงออก ส่งเสริมทกั ษะด้าน

สารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี

ผ่านชอ่ งทางสอื่ ออนไลน์ ไดแ้ ก่

Google classroom สร้างแรง

8

ลักษณะงานท่ีปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตวั ชีว้ ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
ที่จะดำเนนิ การพัฒนาตาม (Outcomes) ที่จะเกิดขน้ึ กบั ผเู้ รยี น
2.ดา้ นการส่งเสรมิ และสนบั สนุน
การจดั การเรยี นรู้ ขอ้ ตกลง ใน 1 รอบประเมนิ ของงานตามข้อตกลง ท่แี สดงให้เหน็ ถึงการ

ลกั ษณะงานท่เี สนอให้ (โปรดระบุ) ทค่ี าดหวงั ให้เกิดข้นึ เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ครอบคลุมถึงการจัดทำข้อมลู
สารสนเทศของผูเ้ รยี นและ กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ทีด่ ีขน้ึ หรือมกี ารพัฒนา
รายวชิ า การดำเนินการตาม
ระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรียน การ มากขน้ึ หรือผลสัมฤทธิ์

สูงขึ้น (โปรดระบุ)

บันดาลใจในการเรยี น และ

แนวคดิ ในการสรา้ งสรรค์งาน

ทศั นศิลป์ เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีทกั ษะ

ชีวติ ทักษะการทำงาน และ

ทกั ษะการเรียนร้ตู ่อไป

1.8 อบรม และพัฒนาคณุ ลกั ษณะ

ทดี่ ีของผเู้ รียน

สอดแทรก หลักการมเี หตุผล

จริยธรรม คุณลกั ษณะอันพงึ

ประสงค์ และคา่ นยิ ม ความเปน็

ไทยท่ีดีงาม ระหว่างการจดั กจิ กรรม

การเรยี นรรู้ ายวิชา ทัศนศลิ ป์ ทกุ คร้งั

อบรมฝึกนสิ ัยผู้เรยี น สง่ เสริม

คุณลักษณะทดี่ ีของผูเ้ รยี น คอื

ความรับผดิ ชอบในการสง่ ภาระงาน

มีความซ่ือสัตยต์ ่อตนเอง ในการ

ทำงานในรายวชิ า ทัศนศิลป์ ไม่

ลอกงานหรือนำผลงานของผ้อู ่ืน มา

เปน็ ผลงานของตนเอง

2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของ 1. ผู้เรียนได้รับการ 1. ผูเ้ รยี นทไ่ี มผ่ า่ นเกณฑ์

ผ้เู รียน และรายวชิ า ดูแลช่วยเหลือตาม ไดร้ ับการเรียนซอ่ มเสริม

- จัดทำข้อมูลสารสนเทศของ ข้อมูลสารสนเทศได้ และปรับปรงุ ผลการ

ผู้เรยี นทีไ่ ดร้ บั มอบหมายเปน็ อย่างรวดเร็ว และ เรยี นใหด้ ขี ้นึ ไม่ตำ่ กวา่

ครปู ระจำช้ัน ในรูปแบบการ ทว่ั ถงึ รอ้ ยละ 80 ของผู้เรยี น

วเิ คราะหผ์ ู้เรยี นการดูแลนกั เรียน 2. ผู้เรียนได้รับการ ที่ไมผ่ า่ นเกณฑจ์ ากการ

ดว้ ยการประเมิน SDQ ผา่ น การพัฒนาผลสัมฤทธิ์

9

ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตัวช้วี ัด (Indicators)

ตามมาตรฐานตำแหนง่ ทจ่ี ะดำเนนิ การพัฒนาตาม (Outcomes) ท่ีจะเกิดขึน้ กบั ผูเ้ รยี น

ขอ้ ตกลง ใน 1 รอบประเมนิ ของงานตามขอ้ ตกลง ท่แี สดงใหเ้ หน็ ถึงการ

(โปรดระบุ) ทีค่ าดหวงั ใหเ้ กดิ ข้นึ เปล่ียนแปลงไปในทาง

กบั ผเู้ รียน (โปรดระบ)ุ ทีด่ ขี ้ึนหรือมีการพัฒนา

มากข้นึ หรือผลสมั ฤทธ์ิ

สูงขึน้ (โปรดระบ)ุ

ปฏิบัตงิ านวิชาการ และงานอื่น ๆ โปรแกรม GIS ทโี่ รงเรยี นกำหนด ทางการเรียนรายวิชา เรียนซ่อมเสริมผ่านการ

ของสถานศึกษา และการประสาน การเยย่ี มบา้ นของผูเ้ รียน ทัศนศิลป์ ได้อย่างมี ฝกึ ซอ้ มนอกเวลาเรยี น

ความร่วมมือกบั ผปู้ กครอง ภาคี - จัดทำเป็นข้อมูลสารสนเทศของ ประสิทธิภาพมากข้ึน 2. ผ้เู รียนรอ้ ยละ 100

เครือขา่ ย และหรือสถาน ผ้เู รยี นท่รี บั ผดิ ชอบการจัดการ ไดร้ บั การดูแลช่วยเหลือ

ประกอบการ เรยี นรู้ในผลการเรยี นตลอดภาค ตามข้อมูลสารสนเทศที่

เรียน และมีการแจ้งเตือนเพื่อให้ ครูจดั ทำขน้ึ

ผู้เรยี นได้มสี ว่ นร่วมในการตรวจสอบ 3. ผู้เรยี นร้อยละ 100

ข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ ตลอดจนใช้ เข้าถึงขอ้ มลู สารสนเทศ

เป็นข้อมลู สารสนเทศในการสง่ เสริม รายวิชา

สนบั สนุนการเรียนรู้ และพฒั นา 4. ผู้เรยี นร้อยละ 100

คณุ ภาพผู้เรยี น ได้รับการจัดกจิ กรรม

2.2 ดำเนนิ การตามระบบดแู ล การเรยี นรู้ท่เี น้นผ้เู รยี น

ช่วยเหลอื ผูเ้ รียน เป็นสำคัญ

จดั ทำข้อมูลสารสนเทศผู้เรยี น 5. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 80

รายบคุ คล ดแู ลช่วยเหลอื ดา้ น สามารถเขา้ ถึงแหลง่

การเรยี น ดา้ นความประพฤติ การเรยี นร้ทู ่เี กดิ จาก

ดา้ นทนุ การศกึ ษา และดา้ นอื่นๆ การประสานความ

ตามท่ีสถานศกึ ษามอบหมาย การ ร่วมมือ

นำเข้าเทคโนโลยี มาชว่ ยในการ

ประสานความรว่ มมือระหวา่ งครู

และผูป้ กครอง เพอ่ื ชว่ ยพฒั นา

และแกป้ ัญหาผู้เรียน

2.3 ปฏบิ ัติงานวิชาการ และงานอื่นๆ

ของสถานศึกษา

- ปฏบิ ัติหนา้ ที่คณะทำงาน

กลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ

10

ลกั ษณะงานท่ีปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตวั ชว้ี ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง
ทจ่ี ะดำเนนิ การพัฒนาตาม (Outcomes) ทจ่ี ะเกิดขนึ้ กบั ผเู้ รยี น

ข้อตกลง ใน 1 รอบประเมนิ ของงานตามข้อตกลง ท่แี สดงให้เหน็ ถึงการ

(โปรดระบ)ุ ทค่ี าดหวังให้เกิดขน้ึ เปลี่ยนแปลงไปในทาง

กบั ผู้เรยี น (โปรดระบุ) ที่ดีขึ้นหรอื มกี ารพัฒนา

มากขน้ึ หรือผลสมั ฤทธิ์

สงู ขึ้น (โปรดระบุ)

- งานครูท่ปี รกึ ษา

- คณะทำงานโรงเรียนสวย นา่

อยู่

- คณะทำงานส่ิงแวดล้อม

บรบิ ท และความปลอดภยั

- คณะทำงานงานประดบั

สถานท่ี และปา้ ย

- คณะทำงานกิจกรรมTo be

Number1

- ประสานความรว่ มมอื กบั

กล่มุ สาระการเรียนร้ศู ิลปะในการ

ดำเนินกิจกรรมตา่ งๆ รวมทง้ั การ

วางแนวทางจัดการเรยี นรูแ้ บบ

เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั และ

แก้ปญั หาผูเ้ รียน รว่ มกับครูใน

กล่มุ สาระผ่านกระบวนการ PLC

- ปฏบิ ัติหน้าที่ตามทไี่ ดร้ ับ

มอบหมาย ตดิ ต่อประสานงานกับ

ทกุ ภาคสว่ นทีเ่ กี่ยวข้อง

2.4 ประสานความรว่ มมือกับ

ผปู้ กครองภาคีเครือข่าย และ

หรือสถานประกอบการ

จัดทำกล่มุ ไลน์ผ้ปู กครองของ

นกั เรยี นที่ปรึกษา ไลน์นกั เรยี น

และกลมุ่ Facebook รายวชิ าท่ี

รบั ผดิ ชอบในการสอน เพอื่ แจ้งข่าว

11

ลักษณะงานที่ปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชวี้ ดั (Indicators)

ตามมาตรฐานตำแหน่ง ท่ีจะดำเนินการพัฒนาตาม (Outcomes) ทจี่ ะเกิดขนึ้ กบั ผู้เรียน

ข้อตกลง ใน 1 รอบประเมิน ของงานตามขอ้ ตกลง ท่ีแสดงให้เห็นถึงการ

(โปรดระบ)ุ ที่คาดหวงั ใหเ้ กิดขน้ึ เปล่ียนแปลงไปในทาง

กบั ผ้เู รียน (โปรดระบุ) ทดี่ ขี ึน้ หรือมีการพัฒนา

มากข้นึ หรือผลสมั ฤทธิ์

สูงข้นึ (โปรดระบ)ุ

เผยแพร่ข้อมลู ประชาสมั พันธ์การ

จดั กิจกรรมผลงานของโรงเรียน

อยา่ งรวดเรว็ ทนั เวลา และเปน็

ปัจจบุ นั เพื่อประสานความรว่ มมอื

กับผปู้ กครองภาคีเครือขา่ ย เกดิ

ความเข้าใจทีต่ รงกนั และลดความ

ขดั แย้ง

3.ด้านการพฒั นาตนเอง และ 3.1 การพัฒนาตนเองอยา่ งเป็น 1. ได้รบั การพัฒนา ผู้เรียนได้รับการความรู้

วิชาชีพ ระบบ และต่อเนอ่ื ง ตนเองอย่างเป็นระบบ ที่ได้รับจากการพัฒนา

ลกั ษณะงานท่ีเสนอให้ พฒั นาตนเองอย่างเปน็ ระบบ 2.นกั เรียนได้รับการ ตนเองมาใช้ในการ

ครอบคลุมถงึ การพฒั นาตนเอง และตอ่ เน่ือง โดยการเขา้ รว่ มการ ความรทู้ ีไ่ ด้รับจาก จัดการเรียนรู้ และการ

อยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนื่อง การ ประชุม/อบรม/สัมมนา พฒั นา การพฒั นาตนเองมา เข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้

มสี ่วนรว่ มในการแลกเปล่ยี น เองเกยี่ วกบั ความรทู้ างการ ใชใ้ นการจดั การ ทางวิชาชพี (PLC) มี

เรียนรูท้ างวิชาชีพ เพ่อื พฒั นาการ สง่ เสริมการจดั การเรียนรู้รายวิชา เรียนรู้ และการเข้า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

จดั การเรยี นรู้ และการนำความรู้ ทัศนศิลป์ อบรมการใช้เทคโนโลยี ร่วมชมุ ชนการเรยี นรู้ ร้อยละ 76 ระดบั 3.5

ความสามารถ ทักษะท่ีไดจ้ าก ดิจิทัลเพือ่ การศึกษา เชน่ การใช้ ทางวิชาชีพ (PLC) ข้นึ ไป

การพฒั นาตนเองและวิชาชพี มา โปรแกรม Google classroom, 3. ผู้เรยี นมีความพึง

ใชใ้ นการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ Google from, Google meet พอใจในการได้รับ

การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน และ สร้างแบบทดสอบออนไลน์ บรรยากาศ และ

การพฒั นานวัตกรรมการจัดการ รายงานผลการประชมุ /อบรม/ ประสบการณ์ใหมๆ่

เรยี นรู้ สมั มนา อย่างเป็นระบบไมน่ อ้ ยกว่า ทเี่ กิดขนึ้ จากกจิ กรรม

20 ชวั่ โมงตอ่ ปกี ารศกึ ษา นิเทศการสอน

3.2 การมสี ว่ นร่วมในการแลก 4. ผ้เู รียนมคี วามพงึ

เปลย่ี นเรียนร้ทู างวชิ าชพี เพื่อ พอใจในการไดร้ ับ

พฒั นาการจดั การเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ด้วย

นวตั กรรมทีส่ รา้ งข้ึน

12

ลกั ษณะงานท่ีปฏิบตั ิ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชีว้ ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่
ท่ีจะดำเนินการพฒั นาตาม (Outcomes) ทีจ่ ะเกิดขนึ้ กับผ้เู รยี น

ขอ้ ตกลง ใน 1 รอบประเมิน ของงานตามขอ้ ตกลง ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถึงการ

(โปรดระบุ) ที่คาดหวงั ใหเ้ กดิ ข้ึน เปล่ยี นแปลงไปในทาง

กับผ้เู รียน (โปรดระบุ) ที่ดีข้ึนหรือมีการพฒั นา

มากขึ้นหรือผลสมั ฤทธิ์

สงู ขน้ึ (โปรดระบ)ุ

เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลย่ี น

เรยี นรทู้ างวชิ าการที่สามารถ

นำมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้

ภายในกลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ

และบรู ณาการรว่ มกับกลุ่มสาระ

การเรยี นรู้อ่นื ๆ ได้ โดยมีการ

เผยแพรผ่ ลงานความรู้ที่ไดจ้ าก

ประชุม/อบรม/สัมมนา และสือ่

นวตั กรรมที่ใช้ในการจัดการเรยี นรู้

3.3 การนำความรคู้ วามสามารถ

ทกั ษะทไี่ ด้จากการพฒั นาตนเอง

และวิชาชพี มาใช้ในการพฒั นา

จัดทำนวัตกรรมเพอ่ื การเรยี นรู้

จากการเขา้ ร่วมประชมุ /อบรม/

สัมมนา อย่างน้อย 1 รายการ เพอ่ื

นำมาแลกเปล่ยี นความคิดเหน็

ภายในกลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ

ใหเ้ ป็นแนวทางในพฒั นาตนเองได้

อยา่ งตอ่ เน่อื ง

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพ

การจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และ
ขา้ ราชการครผู จู้ ดั ทำข้อตกลง

2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่
ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธก์ ารเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม

13

ของรายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหน่ึงได้
โดยจะต้องแสดงให้เห็นถงึ การปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพฒั นางาน
ตามขอ้ ตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมนิ PA 2

3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
(Outcomes) และตวั ชวี้ ัด (Indicators) ทเ่ี ป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมนิ ผล การ
พัฒนางานตามขอ้ ตกลง ใหค้ ณะกรรมการดำเนนิ การประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏบิ ัติงานจรงิ สภาพการ
จัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตาม
ข้อตกลงเป็นสำคัญ โดยไมเ่ นน้ การประเมนิ จากเอกสาร

สว่ นท่ี 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานทเ่ี ป็นประเด็นทา้ ทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรง
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ - ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของ วิทยฐานะ ครูชำนาญการ คือ การ
แก้ปัญหา การจัดการเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพการเรียนรูข้ องผู้เรียน ให้เกิดการเปล่ียนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
หรือมีการพฒั นามากขึ้น (ทัง้ น้ี ประเด็นทา้ ทายอาจจะแสดงใหเ้ ห็นถึงระดับการปฏบิ ัติท่ีคาดหวังในวิทยฐานะท่ี
สูงกว่าได้)
ประเด็นท้าทาย เร่อื ง การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง รปู แบบทศั น
ธาตแุ ละแนวคิดในงานทศั นศิลป์ วิชา ทัศนศลิ ป์ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนแนงมดุ วิทยา โดยใช้
บทเรียนสำเร็จรปู

1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้ และคุณภาพการเรียนรขู้ องผ้เู รียน
จากการศึกษาขอ้ มลู ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชา ทัศนศิลป์ ของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2

โรงเรียนแนงมุดวิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 70 ขาดความรู้ และความเข้าใจใน
เทคนิคพนื้ ฐานท่ีเกย่ี วกบั การสรา้ งสรรคง์ านทศั นศลิ ป์ ซึง่ นำมาสผู่ ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทต่ี ่ำกวา่ เกณฑ์คา่ เป้าหมายท่ี
สถานศึกษากำหนด ดังนั้น จึงนำมาสู่การสรา้ ง และพัฒนาชุดกิจกรรมบทเรียนสำเร็จรูป ซึ่งเป็นความรู้ที่สำคัญท่จี ะ
นำมาประยกุ ต์ใช้ใน รายวชิ า ทัศนศิลป์ ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2

2. วิธกี ารดำเนนิ การใหบ้ รรลผุ ล
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ระหว่างวนั ท่ี 1 ตุลาคม 2564 – 31 มีนาคม 2565
2.1 ศึกษา และวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่

กำหนดตัวชี้วัด และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)
2.2 จัดทำ กำหนดโครงสร้าง ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา

ทศั นศิลป์ ตามตัวช้ีวัด และผลการเรียนรู้
2.3 สร้างชดุ กจิ กรรมบทเรียนสำเร็จรูป

14

2.4 ให้ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ในเนื้อหา การเฉลย
ของตัวอย่าง ชดุ กจิ กรรม พรอ้ มท้ังเสนอแนะ เพื่อปรบั ปรุง แกไ้ ข

2.5 ครูผ้สู อนนำชดุ กิจกรรม มาปรบั ปรุง แก้ไขตามคำแนะนำของคณะครูในกลมุ่ สาระ การ
เรยี นรู้ศิลปะ

2.6 นำชุดกจิ กรรม ไปทดลองใช้กับนกั เรียนระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ทเี่ คยเรียนเนอ้ื หาเรื่อง
ในชุดกิจกรรมมาแล้ว และให้นักเรียนเสนอแนะข้อคิดเห็น เพื่อปรับปรุง แก้ไข หรือนักเรียนมีความสับสนใน
ขอ้ ความใด ให้ดำเนินการปรบั ภาษาใหเ้ ขา้ ใจไดง้ ่ายขึ้น

2.7 นำเอกสารชุดกิจกรรม รายวิชาทัศนศิลป์ ไปจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กับนักเรียนระดับชน้ั
มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2665 ระหว่างวนั ท่ี 16 พฤษภาคม 2565 – 30 กนั ยายน 2565
นำชุดกิจกรรมบทเรียนสำเรจ็ รูป สำหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 ไปใช้ในการจัดกิจกรรม

การเรียนรู้ใน รายวิชา ทัศนศิลป์ ของภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 มีการบันทึกผลการเรียนรูข้ องนักเรียน ท่ี
เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในโปรแกรม Microsoft Excel และสะท้อนผลการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
เป็นระยะ หากมีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินในเรื่องใด ให้ใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน และซ่อมเสริมด้วย
กิจกรรมในแต่ละหน่วย สำหรับแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ศึกษา และทำการทดสอบใหม่ จน
นักเรียนมีผลการเรียนรผู้ ่านเกณฑท์ กี่ ำหนด

3. ผลลพั ธ์การพฒั นาท่คี าดหวัง
3.1 เชิงปรมิ าณ ผ้เู รยี นได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดส่งเสริมการเรียนรแู้ บบ สบื

เสาะหาความรู้ (5E) โดยใชช้ ดุ กิจกรรมบทเรียนสำเรจ็ รูป สำหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ให้มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนรายวิชา ทัศนศิลป์ ในระดับ 2.5 ขึ้นไป ร้อยละ76 และผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม
การเรยี นรู้ ดว้ ยชดุ กิจกรรมอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ในระดับมากข้ึนไป รอ้ ยละ 80

3.2 เชิงคุณภาพ ผู้เรียนเป็นผู้มีทักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถศึกษาหาความรู้ได้ด้วย
ตนเอง เป็นการฝึกความรับผดิ ชอบ ความมรี ะเบยี บวินัยในการอ่าน การวิเคราะห์ ทำใหน้ กั เรยี นเกิดการเรียนรู้
แบบคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง และรู้วิธีสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สามารถนำความรู้ ไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวันไดอ้ ย่างเหมาะสม

ลงชื่อ............................................................
(นางสาวปญั ญารัฐ พรหมภูวัลย์)
ตำแหน่ง ครู
ผูจ้ ัดทำขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน
1/ต.ค./2564

15

ความเห็นของผ้อู ำนวยการสถานศึกษา
() เห็นชอบให้เปน็ ขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน
( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอ

เพอ่ื พจิ ารณาอีกครง้ั ดงั น้ี
............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ............................................................
(นายสาโรจน์ พฤษภา)

ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียนแนงมดุ วิทยา
1/ต.ค./2564

แบบบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน

สำหรับข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา

ตำแหน่ง ครู

PANYARAT PROMPHUWAN

PA

PERFORMANCE
AGREEMENT

โรงเรียนแนงมุดวิทยา
สำนักงานเขตพื้ นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์


Click to View FlipBook Version