The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือปฏิบัติงานการให้บริการโสตทัศนูปกรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by netcenter_win, 2022-03-25 14:59:26

คู่มือปฏิบัติงานการให้บริการโสตทัศนูปกรณ์

คู่มือปฏิบัติงานการให้บริการโสตทัศนูปกรณ์

คู่มือปฏบิ ัติงาน

การใหบ้ รกิ ารโสตทศั นปู กรณ์

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

ปรับปรุงครัง้ 1
วนั ทอ่ี นมุ ัติใช้
จดั ทำโดย นำยอศั วิน ไชยภูมิสกลุ
สอบทำนโดย ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร. ปญั ญำ ทองนลิ
อนุมตั ิโดย รองศำสตรำจำรย์ ดร.กำญจนำ บุญส่ง

คมู่ ือการปฏบิ ัติงาน
การให้บรกิ ารโสตทัศนปู กรณ์
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี

ปรบั ปรงุ คร้งั 1
วันท่อี นุมตั ิใช้
จัดทำโดย นายอัศวนิ ไชยภมู ิสกุล
สอบทานโดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปัญญา ทองนิล
อนุมตั โิ ดย รองศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา บญุ ส่ง

คำนำ

การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เป็นภารกิจ
หลักภารกิจหนึง่ ที่มีความสำคญั ย่ิงในการใหบ้ ริการของคณะ โดยงานใหบ้ ริการโสตทัศนปู กรณ์ในห้อง
อบรมสัมมนา สำหรับการเรียนการสอน อบรมสัมมนา แก่อาจารย์ วิทยากร นักศึกษาระดับปริญญา
ตรี ปริญญาโท และประชาชนทั่วไปที่เข้ามาอบรมสัมมนา ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เพชรบุรี ในการปฏิบัติงานให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ซึ่งมีการใช้โสตทัศนูปกรณ์หลายประเภท มี
ขั้นตอนการใช้งานที่ต้องใช้เทคนิควิธีการปฏิบัติงานที่ซับซ้อน ผู้จัดทำคู่มือจึงได้จัดทำคู่มือการ
ปฏิบัติงานให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ขึ้นมา เพื่อเป็นคู่มือการปฏิบัติงานเปรียบเสมือนแผนที่บอก
เส้นทางในการทำงาน ท่มี จี ดุ เริ่มตน้ และจดุ สิ้นสุดของกระบวนการ ไดร้ ะบุถงึ ขนั้ ตอนและรายละเอียด
วิธีการใหบ้ ริการโสตทศั นูปกรณป์ ระเภทต่าง ๆ ที่มีให้บรกิ าร ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั
เพชรบุรี โดยผู้จัดทำคู่มือได้รวบรวมความรูป้ ระสบการณ์ในการทำงานให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ และ
ไดศ้ กึ ษาเพม่ิ เตมิ จากสือ่ ตา่ ง ๆ เพ่อื ให้คมู่ อื ปฏิบัติงานเล่มนี้สมบรู ณ์ที่สุด

คู่มือปฏิบัติงานการให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ เล่มนี้อาจจะมีข้อผิดพลาดบกพร่องอยู่บ้าง
ดังนั้นหากมีข้อบกพร่องผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำคู่มือปฏิบัติงานขอน้องรับข้อผิดพลาดและจะทำ
การปรบั ปรุงแกไ้ ขให้สมบรู ณย์ ิ่งข้นึ ในโอกาสต่อไป

อัศวนิ ไชยภมู ิสกลุ
นกั วิชาการโสตทศั นศึกษา
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

สารบญั หนา้

วตั ถปุ ระสงค์ 1
ของเขต 1
คำจำกดั ความ 1
หนา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบ 2
2
งานหอ้ งเรียนมาตรฐาน 2
งานดแู ลหอ้ งปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอร์ 2
งานดแู ลห้องประชมุ 2
งานประชาสมั พันธ์ 2
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ 2
งานดูแลระบบสารสนเทศของคณะครุศาสตร์ 2
งานประกนั คณุ ภาพ 2
จดั ทำแผนกลยทุ ธ์ และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีของคณะ 3
ปฏิบัติงานอ่นื ๆ ตามทีผ่ ้บู งั คับบญั ชามอบหมาย 3
ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ 4
แผนผงั ข้ันตอนการปฏบิ ตั งิ านใหบ้ ริการโสตทัศนูปกรณ์ 7
ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานใชเ้ ครื่องขยายเสียง (Amplifiers) 8
ข้นั ตอนการปฏิบตั งิ านใชเ้ ครื่องฉายภาพ 3 มติ ิ (Digital Visualizer) 15
ขั้นตอนการปฏิบัติงานใชค้ อมพวิ เตอรแ์ บบพกพากบั เครื่องฉายภาพ (Projector) 17
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ านใชเ้ ครื่องฉายภาพ (Projector) 20
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ านใชจ้ อภาพ (Screen) แบบใช้รโี หมดควบคุม 21
มาตรฐานคณุ ภาพงาน 22
เอกสารอ้างอิง 23
แบบฟอรม์ ท่ีใช้ 26
ข้อมูลสารสนเทศในการปฏบิ ตั งิ าน 26
ขอ้ เสนอแนะ/ปัญหาอปุ สรรค แนวทางแก้ไขและพฒั นางาน 32
ภาคผนวก

สารบญั รูปภาพ

หน้า

ภาพท่ี 1 แสดงการเสยี บปล๊ักไฟเคร่อื งขยายเสียงท่ีเตา้ เสยี บไฟฟา้ ทผี่ นงั ห้อง และสวติ ซไ์ ฟ ON 7

ภาพที่ 2 แสดงการเปิดสวิตซ์ Power On ทเ่ี คร่ืองขยายเสยี ง 7

ภาพท่ี 3 แสดงการปรบั ระดับเสยี งทีป่ มุ่ MASTER 8

ภาพท่ี 4 แสดงการใช้งาน และการพบั เกบ็ ของเคร่ืองฉายภาพ 3 มติ ิ

(Digital Visualizer) 8

ภาพที่ 5 แสดงแผงควบคมุ บนตัวเครื่องฉายภาพ 3 มิติ 9

ภาพท่ี 6 แสดงการตดิ ต้งั เครือ่ งฉายภาพ 3 มิติ 10

ภาพท่ี 7 แสดงการพับเกบ็ เครอ่ื งฉายภาพ 3 มติ ิ 10

ภาพท่ี 8 แสดงการช่อตอ่ สญั ญาณตา่ ง ๆ ของเครอื่ งฉายภาพ 3 มติ ิ 11

ภาพที่ 9 แสดงการเชอ่ื มต่อชอ่ งสญั ญาณกบั อปุ กรณต์ า่ ง ๆ 11

ภาพที่ 10 แสดงการตอ่ สายสญั ญาณจากเครื่องฉายภาพ 3 มติ ิ ไปยงั เครอื่ งฉาย Projector 12

ภาพที่ 11 แสดงการเปดิ เคร่ืองฉายภาพ 3 มติ ิ 12

ภาพที่ 12 แสดงภาพการใชง้ านเครือ่ งฉายภาพ 3 มิติ ปรากฏบนจอรบั ภาพ 13

ภาพที่ 13 แสดงการใช้เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ เชื่อมตอ่ ไปถึงเครือ่ งฉายภาพ (Projector) 13

ภาพท่ี 14 แสดงสถานการณส์ ลบั หนา้ จอจากจอเคร่อื งฉายภาพ 3 มติ ิ เปน็ ภาพจากคอมพวิ เตอร์ 14

ภาพท่ี 15 แสดงคอมพวิ เตอร์ เชอื่ มต่อกับเคร่อื งฉายภาพ (Projector) 14

ภาพท่ี 16 แสดงการเชื่อมตอ่ สายต่อสญั ญาณ RGB (VGA) เขา้ กบั คอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา

ทพ่ี อร์ต VGA และต่อสายรับสญั ญาณ RGB (VGA) เขา้ เคร่ืองฉายภาพ 3 มิติ 15

ภาพที่ 17 แสดงสถานการณส์ ลับหนา้ จอจากจอเครื่องฉายภาพ 3 มติ ิ

เปน็ ภาพจากคอมพิวเตอร์แบบพกพา 16

ภาพท่ี 18 แสดงคอมพิวเตอร์แบบพกพา เชอื่ มต่อกับเครอื่ งฉายภาพ (Projector) 16

ภาพที่ 19 แสดงชอ่ งรบั สัญญาณภาพของเครอ่ื งฉายภาพ Projector 17

ภาพท่ี 20 แสดงสวิตซ์ On ที่ Braker ของเครอ่ื งฉาย Projector 17

ภาพที่ 21 แสดงการเปดิ เคร่ืองฉาย Projector โดยกดทีป่ มุ่ Power ท่ีรีโหมดควบคุม 18

ภาพที่ 22 แสดงการปรับระยะโฟกัสให้คมชัด 18

ภาพท่ี 23 แสดงเครอ่ื งฉาย Projector ที่ใช้รว่ มกบั คอมพวิ เตอร์ 19

ภาพที่ 24 แสดงการปดิ สวิตซ์ Off ที่ Braker ของเครื่องฉาย Projector 19

ภาพท่ี 25 แสดงรโี หมดควบคุมจอฉายภาพ (Screen) 20

ภาพที่ 26 แสดงจอฉายภาพ (Screen) แบบใช้รโี หมดควบคุม 20

ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ าน : การใหบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี

ชื่อหนว่ ยงาน : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขครงั้ ท่ี : วันทเี่ ริ่มใช้ : หนา้ 1 จาก 33

คู่มือปฏิบัตงิ าน การใหบ้ ริการโสตทัศนูปกรณ์

วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ในงานบริการวิชาการของ
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

2. เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของนักวิชาการโสตทัศนศึกษา และผู้ใช้บริการ
โสตทัศนูปกรณ์ ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

3. เพื่อเป็นการลดภาระขั้นตอนวิธีการปฏบิ ัติงาน และเป็นมาตรฐานเดียวกันของผู้ให้บริการ
โสตทศั นปู กรณ์ ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

ขอบเขต

คู่มือปฏิบัติงานเล่มนี้มุ่งศึกษาจากวัตถุประสงค์ ของการจัดทำคู่มือปฏิบัติงานการให้บริการ
โสตทัศนูปกรณ์ ในกิจกรรมการให้บริการวิชาการ ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
ในส่วนของขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติการให้บริการโสตทัศนูปกรณ์เปรียบเสมือนเป็นแผนที่บอก
เส้นทางในการทำงาน ที่มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของกระบวนการงาน ได้ระบุถึงขั้นตอนและ
รายละเอียดวิธีการให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ประเภทต่าง ๆ ที่มีให้บริการ ณ คณะครุศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี โดยได้ศึกษาข้ันตอนและวิธีการปฏิบัติงานการให้บริการโสตทัศนูปกรณ์
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพเพอื่ นำมาจัดทำเปน็ คู่มือปฏิบตั ิงาน

คำจำกัดความ

การให้บริการ หมายถึง การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เครื่องขยาย
เสียง เครื่องฉายภาพ จอรับภาพ เครื่องมัลติมีเดียโปรเจคเตอร์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น รวมทั้งการให้
คำปรึกษาการใชโ้ สตทัศนูปกรณต์ า่ ง ๆ

โสตทัศนูปกรณ์ หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับฉายภาพ และให้เสียงประกอบ ซึ่งใช้ในการ
นำเสนอ การเรียนการสอน เช่น เครื่องเสียง เครื่องฉายภาพ เครื่องมัลติมีเดียโปรเจคเตอร์
คอมพิวเตอร์ เป็นต้น

งานบริการวิชาการ หมายถึง งานที่มีลักษณะช่วยส่งเสริมเผยแพร่วิชาความรู้ทางด้าน
วิชาการ และวิชาชีพต่อกลมุ่ บุคคล สงั คม เพื่อนำไปพฒั นาคุณภาพชวี ิตในทุกดา้ น

ผู้ใช้บริการ หมายถึง ผู้ที่มาใช้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ในห้องเรียน และห้องประชุม
หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบุรี

คู่มอื การปฏิบตั งิ าน : การใหบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี

ช่ือหน่วยงาน : คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขครั้งท่ี : วันท่เี รมิ่ ใช้ : หน้า 2 จาก 33

หนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบ

ลักษณะงานที่ปฏิบัติของตำแหน่งนักวิชาการโสตทัศนศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพชรบุรี ไดป้ ฏิบตั งิ านต่าง ๆ ดังตอ่ ไปนี้
งานหอ้ งเรยี นมาตรฐาน

1) เตรยี มความพร้อมโสตทศั นุปกรณใ์ นหอ้ งเรียนมาตรฐาน
2) แก้ไขปัญหาโสตทศั นูปกรณ์ในห้องเรียนมาตรฐาน
3) ให้คำปรึกษา แนะนำ การใช้งานโสตทัศนูปกรณ์
4) ซอ่ มบำรุง รักษา โสตทัศนูปกรณ์
งานดแู ลหอ้ งปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์
1) จัดเตรียมระบบปฏิบตั ิการและโปรแกรมพนื้ ฐาน
2) งานซอ่ มบำรงุ คอมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วง
3) งานตรวจสอบโสตทศั นูปกรณ์ ประจำเดือน
งานหอ้ งประชุม
1) งานจัดเตรยี มความพรอ้ มห้องประชมุ
2) งานควบคมุ ดแู ลหอ้ งประชุม
3) งานซอ่ มบำรุง โสตทัศนูปกรณ์หอ้ งประชมุ
4) งานจดั หาครุภณั ฑ์โสตทัศนูปกรณห์ ้องประชุม
5) งานตรวจสอบโสตทัศนปู กรณป์ ระจำเดือน
งานประชาสมั พนั ธ์
1) จดั ทำภาพขา่ ว เขียนข่าว ลงวารสาร ดอนขงั ใหญ่
2) งานบันทึกภาพน่งิ และภาพเคลอ่ื นไหว
3) จัดทำข่าวในเวบ็ ไซต์คณะครศุ าสตร์ และส่ือสังคมออนไลน์
งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ
1) ดูแลระบบเครอื ข่าย อนิ เทอรเ์ นต็ เวบ็ ไซต์
2) ดูแลระบบกล้องวงจรปิด
งานดแู ลระบบสารสนเทศของคณะครศุ าสตร์
1) สง่ ขอ้ มูลผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษาของคณะให้ทางคุรสุ ภาผ่านระบบ KSP Bandit
2) อัพเดทฐานขอ้ มลู e-learning ของคณะครศุ าสตร์
งานประกนั คณุ ภาพ
1) จัดทำรวบรวมขอ้ มลู เอกสาร หลักฐาน การสรุป
2) กรอกข้อมูลประกันคุณภาพของคณะครุศาสตร์ ลงระบบออนไลน์ CHE QA
http://www.cheqa.mua.go.th/
จดั ทำแผนกลยุทธ์ และแผนปฏบิ ัติการประจำปขี องคณะ

คมู่ อื การปฏิบัตงิ าน : การใหบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี

ช่อื หนว่ ยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขครั้งท่ี : วนั ท่เี ร่ิมใช้ : หนา้ 3 จาก 33

หน้าท่ีความรบั ผิดชอบ (ต่อ)

ปฏิบตั ิงานอืน่ ๆ ตามทผ่ี ูบ้ ังคบั บัญชามอบหมาย
1) พมิ พค์ ำสัง่ /บันทึกข้อความ/หนงั สอื ราชการ
2) ใหบ้ รกิ ารตอบข้อสงสยั ขอ้ ซกั ถามต่าง ๆ แกน่ กั ศกึ ษาและบคุ คลภายนอก
3) งานสภาการศึกษาของจังหวดั เพชรบรุ ี (จดั ประชุม)
4) คณะดำเนินการตัวแทน สทศ.ประจำศนู ย์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี (O-net)
5) โครงการปฐมนเิ ทศและปจั ฉมิ นิเทศนกั ศึกษาหลักสตู รครุศาสตรบณั ฑติ (ค.บ.) และ
หลกั สูตรประกาศนียบัตรบณั ฑิต สาขาวชิ าชีพครู
6) คณะดำเนินงานโครงการคูปองพัฒนาครู

ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน

FLOW ผู้เก่ยี วข้อง/ขนั้ ตอน เอกสารที่เกย่ี วข้อง
กรอกแบบฟอรม์ ขอใชบ้ ริการ
ผูข้ อใชบ้ รกิ ารกรอกแบบฟอร์ม แบบฟอรม์ ขอใช้บรกิ าร
พจิ ารณาเสนออนุมัติ
ขอใชบ้ ริการ โสตทัศนปู กรณ์
คณบดคี ณะครุศาสตร์
เจา้ หนา้ ทพี่ จิ ารณาเสนออนมุ ัติ แบบฟอร์มขอใช้บรกิ าร
จดั เตรยี มโสตทัศนูปกรณ์
ภายในหอ้ งเรยี น ห้องอบรม เสนอคณบดี โสตทัศนูปกรณ์
ประชมุ สัมมนา
ควบคมุ ดูแลโสตทศั นูปกรณ์ คณบดีพิจารณาอนุมตั ิ แบบฟอรม์ ขอใช้บรกิ าร
ขณะให้บรกิ าร
ตรวจเชค็ โสตทศั นปู กรณ์ โสตทัศนูปกรณ์

ทำความสะอาดและจดั เกบ็ เจ้าหน้าที่โสตทัศน์ แบบฟอรม์ ขอใช้บริการ
โสตทัศนปู กรณเ์ ข้าที่
โสตทศั นูปกรณ์ ตารางกำหนดการ

กิจกรรม

เจ้าหนา้ ทโ่ี สตทัศน์ ตารางกำหนดการกจิ กรรม

เจ้าหน้าท่โี สตทศั น์ แบบฟอรม์ ขอใชบ้ รกิ าร
เจ้าหน้าทีโ่ สตทัศน์ โสตทัศนปู กรณ์

แบบฟอร์มขอใชบ้ ริการ
โสตทศั นปู กรณ์

คมู่ ือการปฏิบัตงิ าน : การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี

ชื่อหนว่ ยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขครงั้ ท่ี : วนั ทเี่ รม่ิ ใช้ : หน้า 4 จาก 33

แผนผงั ขัน้ ตอนการปฏิบัติงานใหบ้ ริการโสตทศั นปู กรณ์
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี

ผขู้ อใหบ้ ริการ

กรอกแบบฟอร์มขอใชบ้ รกิ าร
พิจารณาเสนออนุมัติ

คณบดี ไม่อนุมตั ิ
คณะครศุ าสตร์
ตรวจสอบ วัสดุ อุปกรณ์
อนมุ ตั ิ จัดเตรียม วสั ดุ อุปกรณ์
พิจารณาเสนออนุมัติ ควบคมุ ดแู ล ใหบ้ ริการ
ตรวจเช็ค ซอ่ ม ปรับปรงุ
ผ้รู ับผิดชอบ/เจ้าหนา้ ทีโ่ สตทัศน์
จัดเก็บอปุ กรณ์
การใหบ้ ริการโสตทัศนูปกรณ์

ความพึงพอใจในบริการ

ไม่ผ่าน ตรวจสอบ

ผา่ น
จัดเกบ็

คูม่ อื การปฏิบตั ิงาน : การใหบ้ ริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี

ชอื่ หนว่ ยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขคร้งั ท่ี : วนั ที่เร่ิมใช้ : หน้า 5 จาก 33

1. ผูข้ อใชบ้ รกิ ารโสตทัศนปู กรณ์
1.1 ผู้ขอให้บริการทัศนูปกรณ์จากภายนอก ขอใช้เพื่อกิจกรรมการเรียนการสอน การอบรม

สัมมนาของคณะครุศาสตร์ ที่คณะครุศาสตร์ได้กำหนดจัดข้ึน ส่วนใหญ่จะเป็นบคุ ลากรในงานส่งเสรมิ
บริการการศึกษา และงานบริหารและธุรการ ในบางกิจกรรมผู้ขอใช้บริการโสตทัศนูปกรณ์ก็เป็น
อาจารยห์ รอื นกั ศึกษาขอใช้ แล้วผา่ นธุรการ และนำเสนอตอ่ คณบดเี พือ่ พจิ ารณาอนุมัติ

1.2 ผู้ขอใช้บริการโสตทัศนูปกรณ์จากภายนอก มาขอใช้บริการห้องประชุมและ
โสตทัศนูปกรณ์ ตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงานและองค์กรนั้น ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมท้ัง
ประชาชนทว่ั ไป โดยขอใชบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณผ์ า่ นธรุ การ และนำเสนอคณบดเี พือ่ พจิ ารณาอนุมัติ

2. แบบฟอรม์ ขอใช้บรกิ ารโสตทศั นปู กรณ์
งานบริการสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ใน

ฐานะผู้ให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ในงานบริการวิชาการ ได้จัดทำแบบฟอร์มขอใช้บริการ
โสตทัศนูปกรณ์ ขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกในการขอใช้บริการและการให้บริการ เพื่อเป็นมาตรฐาน
เดียวกัน ในแบบฟอร์มขอใช้บริการได้ระบุวันเวลาขอใช้บริการ กิจกรรมที่ขอใช้บริการและประเภท
ของโสตทศั นูปกรณแ์ ละจำนวนที่ตอ้ งการใช้บริการ

3. การใหบ้ ริการโสตทศั นูปกรณ์
การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ เมื่อมีการขอใช้บริการมีแบบฟอร์มมาถึงผู้ให้บริการ

โสตทัศนูปกรณ์แล้ว ผู้ปฏิบัติงานดำเนินการ ดังนี้ (1) ตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ (2) จัดเตรียม วัสดุ
อุปกรณ์ (3) ควบคมุ ดูแลให้บรกิ าร (4) ตรวจเช็ค ซอ่ ม ปรบั ปรงุ และ (5) จดั เกบ็ อุปกรณ์

4. โสตทศั นปู กรณ์
การใหบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ในงานบริการวิชาการ ของคณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ

เพชรบุรี มีโสตทัศนูปกรณ์ที่ให้บริการ คือ (1) การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ให้ห้องประชุม (2) การ
ให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และ (3) การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์
หอ้ งเรยี นมาตรฐาน

4.1 เครือ่ งขยายเสียง (Amplifiers)
4.1.1 เครื่องขยายเสียง (Amplifiers) สำหรับห้องประชุม ชุดเครื่องขยายเสียง

ประกอบด้วย (1) เครื่องผสมสัญญาณเสียบแบบมีเครื่องขยายเสียงในตัว (2) ไมโครโฟนไร้สาย 1 คู่
และลำโพง 1 คู่

4.1.2 เครื่องขยายเสียง (Amplifiers) สำหรับห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ชุดเครื่อง
ขยายเสียงประกอบด้วย (1) เครื่องผสมสัญญาณเสียบแบบมีเครื่องขยายเสียงในตัว (2) ไมโครโฟน
สาย และลำโพง 1 คู่

4.1.3 เครอื่ งขยายเสียง (Amplifiers) สำหรับห้องเรียนมาตรฐาน 8 ห้อง ชดุ เครื่องขยาย
เสยี งประกอบด้วย (1) เครื่องผสมสัญญาณเสียบแบบมีเคร่ืองขยายเสยี งในตวั (2) ไมโครโฟนสาย และ
ลำโพง ห้องละ 1 คู่

คูม่ ือการปฏบิ ัตงิ าน : การใหบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี

ชือ่ หนว่ ยงาน : คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขคร้งั ท่ี : วันท่ีเริม่ ใช้ : หนา้ 6 จาก 33

4.2 คอมพวิ เตอร์แบบพกพา (Computer Notebook)
คอมพิวเตอร์แบบพกพา (Computer Notebook) ที่มีให้บริการในงานบริการวิชาการของ
คณะครุศาสตร์ มีจำนวน 10 เครื่อง การใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพา ในงานบริการวิชาการของคณะ
ครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี ส่วนมากเป็นการใช้เพ่ือการเรยี นการสอน การอบรม สัมมนา
โดยอาจารยห์ รือวทิ ยากรผู้สอนจะผลิตสื่อการสอน เพ่ือนำเสนอไปยังผเู้ รยี น ผู้อบรม และอีกส่วนหนึ่ง
ก็จะเป็นผลงานของนักศึกษาที่นำมาเสนอต่ออาจารย์ผู้สอน โดยมากจะใช้โปรแกรม PowerPoint
ผลติ ข้นึ เมื่อเวลานำเสนอก็จะต่อคอมพิวเตอร์แบบพกพาเข้ากับเคร่ืองฉายภาพ Projector เพื่อขยาย
ภาพให้ใหญ่ขึ้นสามารถดูกันได้ทั่วถึง ซึ่งมีการให้บริการกันอยู่ประจำในการเรียนการสอน การอบรม
สัมมนา
4.3 เครื่องฉายภาพ (Projector)
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบุรี มีเครอื่ งฉายภาพ Projector ตดิ ตั้งให้บริการใน
ห้องประชุม ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ หอ้ งเรยี นมาตรฐาน และสำหรับใชเ้ คลื่อนท่ี
4.4 เครื่องฉายภาพ 3 มิติ (Digital Visualize)
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มีเครื่องฉายภาพ 3 มิติ (Digital Visualize)
ติดตั้งให้บริการในห้องประชุม ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องเรียนมาตรฐาน และสำหรับใช้
เคลอื่ นท่ี
4.5 จอฉายภาพ (Screen)
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มีจอฉายภาพ (Screen) 100x100 ติดตั้ง
ให้บรกิ ารในห้องประชุม หอ้ งปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอร์ และห้องเรยี นมาตรฐาน

คู่มอื การปฏบิ ตั ิงาน : การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี

ช่ือหนว่ ยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขครัง้ ที่ : วันทเ่ี ร่มิ ใช้ : หน้า 7 จาก 33

ข้นั ตอนการปฏบิ ัติงานใช้เครอื่ งขยายเสยี ง (Amplifiers)
1. เสียบปล๊ักไฟเคร่ืองขยายเสยี งที่เต้าเสียบไฟฟ้าที่ผนังหอ้ ง และสวิตซ์ไฟ ON

ภาพที่ 1 แสดงการเสียบปล๊กั ไฟเคร่อื งขยายเสยี งทเี่ ตา้ เสยี บไฟฟ้าทีผ่ นงั ห้อง และสวิตซไ์ ฟ ON

2. กดป่มุ Power จากเครือ่ งผสมสญั ญาณ

ภาพที่ 2 แสดงการเปดิ สวติ ซ์ Power On ทเี่ คร่ืองขยายเสยี ง

ค่มู ือการปฏบิ ัติงาน : การใหบ้ ริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี

ชอื่ หน่วยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขคร้ังท่ี : วันทเ่ี ริม่ ใช้ : หนา้ 8 จาก 33

3) ปรับความดังของเสียงพอประมาณท่ี ปมุ่ MASTER

ภาพท่ี 3 แสดงการปรบั ระดับเสียงทีป่ มุ่ MASTER
ข้นั ตอนการปฏิบตั งิ านใชเ้ ครื่องฉายภาพ 3 มิติ (Digital Visualizer)

ภาพที่ 4 แสดงการใช้งาน และการพับเกบ็ ของเครื่องฉายภาพ 3 มิติ (Digital Visualizer)

คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ าน : การใหบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

ชอื่ หน่วยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขครง้ั ท่ี : วันท่เี รมิ่ ใช้ : หนา้ 9 จาก 33

การใช้งานตา่ ง ๆ ของเครอื่ งฉายภาพ 3 มิติ
การควบคุมการทำงานตา่ ง ๆ ของเคร่ืองสามารถควบคมุ ได้ทั้งส้นิ 3 วธิ ี 1) ควบคมุ ปุ่มควบคมุ

บนตัวเคร่อื ง 2) ควบคมุ ผา่ นรีโมทคอนโทรล 3) ผา่ นชอ่ งต่อสัญญาณ RS-232
การควบคมุ ผ่านปุ่มควบคมุ บนตัวเคร่อื ง

POWER ภาพท่ี 5 แสดงแผงควบคมุ บนตัวเคร่อื งฉายภาพ 3 มติ ิ
SPLIT ➔ สำหรบั เปดิ / ปิดเคร่ือง
AF/RESET ➔ สำหรบั Function การแบ่งภาพ
RGB ➔ ปรับความคำชดั อตั โนมตั ิ และกลับสูค่ า่ โรงงาน
➔ สำหรับเลือกชอ่ งต่อสัญญาณ RGB (VGA) Input โดยสัญลักษณ์ไฟจะ
FREEZE
ROTATE ปรากฏเพื่อแสดงสถานะของการตอ่ ช่องสัญญาณ CAMERA –
MIRROR
AF ภาพจากหัวกล้อง, PC1 – ภาพจากช่อง RGB (VGA) Input 1 ,
LAMP
NEAR/FAR PC2- ภาพจากช่อง RGB (VGA) Input 2
TELE/WIDE ➔ สำหรับ Function การแชภ่ าพ (หยดุ ภาพ)
BRI+ ➔ สำหรับการหมุนภาพ
BRI- ➔ สำหรบั การหมุนภาพ ซา้ ย – ขวา
B.W/C ➔ ปรับความคมชดั แบบอัตโนมตั ิ
E-TEXT ➔ สำหรับเปดิ ปิดไฟส่องสวา่ งด้านบน และดา้ นลา่ ง
NEGA ➔ สำหรบั ปรับความคมชัดแบบละเอียด
AWB ➔ สำหรับการซูมขยายภาพโดยเครื่องจะปรบั ความคมชัดโดยอัตโนมตั ดิ ว้ ย
VEIW ➔ สำหรบั ปรับเพ่ิมแสงสว่าง
EXIT ➔ สำหรับลดแสงสวา่ ง
SAVE ➔ สำหรับเปลี่ยนภาพสี เปน็ ขาวดำ

RES ➔ สำหรับการทำงานของ Function E-TEXT
➔ สำหรบั การเปล่ียนภาพเปน็ Mode NEGATIVE
➔ สำหรบั การปรบั ภาพแสงสีขาวอัตโนมัติ
➔ สำหรบั การแสดงภาพที่บนั ทกึ ไว้
➔ สำหรับออกจาก Mode แสดงภาพทีบ่ นั ทึกไว้
➔ สำหรบั บันทกึ ภาพจากหัวกล้องในขณะนัน้ ๆ

ลงในหน่วยความจำในตัวเครื่อง
➔ สำหรบั การปรับความละเอยี ดของการแสดงภาพ

คู่มอื การปฏิบตั งิ าน : การให้บรกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบุรี

ช่อื หน่วยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขคร้ังท่ี : วันทเ่ี ริ่มใช้ : หนา้ 10 จาก 33

การติดตงั้ เครื่องฉายภาพ 3 มติ ิ

1. กดป่มุ ยกแกนหวั กล้อง 2. ยกแกนยดึ หวั กล้องขน้ึ

3. ยดึ แกนยดึ หวั กลอ้ งออกให้สุด 4. ปรับหวั กลอ้ งตามแนวนอนใหไ้ ด้มุมที่เหมาะสม

5. ปรับหัวกล้องตามแนวตงั้ ให้ได้มมุ ทีเ่ หมาะสม

6. ยกไฟส่องสว่างด้านข้างและแขนไฟส่องสว่างด้านข้างขึ้น 7. ปรบั ให้ไดร้ ะดับทีต่ ้องการ

ภาพท่ี 6 แสดงการตดิ ตง้ั เคร่ืองฉายภาพ 3 มิติ

การพับเก็บเคร่ืองฉายภาพ 3 มติ ิ 2.เกบ็ ไฟสอ่ งสว่างดา้ นขา้ งลง
1.พบั เก็บไฟสอ่ งสว่างด้านข้าง 4.เก็บแกนหวั กล้องที่ยืดออก
3.กดปุ่มยกแกนหวั กลอ้ ง 6.กดป่มุ ล็อคแกนหวั กล้องและเก็บแกนล็อคหวั กลอ้ งลง
5.หมุนหวั กลอ้ งใหข้ นานกับแกนหมนุ

ภาพที่ 7 แสดงการพบั เกบ็ เครือ่ งฉายภาพ 3 มิติ

คูม่ ือการปฏบิ ัตงิ าน : การให้บรกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี

ชอ่ื หนว่ ยงาน : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขคร้ังที่ : วันทเ่ี ร่มิ ใช้ : หน้า 11 จาก 33

ชอ่ งต่อสัญญาณตา่ ง ๆ ของตัวเครื่อง

ภาพที่ 8 แสดงการช่อต่อสญั ญาณตา่ ง ๆ ของเคร่ืองฉายภาพ 3 มิติ

หมายเลข 1 ช่องสำหรบั ตอ่ ไฟฟ้าชนิด Power Supply (DC12V,2A)
หมายเลข 2 ช่องสำหรับตอ่ Audio Input ช่องท่ี 1
หมายเลข 3 ช่องสำหรบั ต่อ Audio Output
หมายเลข 4 ชอ่ งสำหรบั ตอ่ สัญญาณ RS-232
หมายเลข 5 ชอ่ งสำหรับต่อสัญญาณ RGB (VGA) Input ช่องท่ี 1
หมายเลข 6 ชอ่ งสำหรับต่อสัญญาณ RGB (VGA) Output ช่องที่ 1
หมายเลข 7 ช่องสำหรบั ตอ่ สัญญาณ RGB (VGA) Output ช่องที่ 2
หมายเลข 8 ชอ่ งสำหรบั ตอ่ Audio Input ชอ่ งที่ 2
หมายเลข 9 ชอ่ งสำหรับตอ่ สัญญาณ RGB (VGA) Input ช่องท่ี 2
หมายเลข 10 ชอ่ งสำหรบั ต่อไมโครโฟน
หมายเลข 11 ช่องต่อสญั ญาณ USB

การเช่ือมต่อช่องสัญญาณกบั อุปกรณต์ ่าง ๆ

ภาพที่ 9 แสดงการเชือ่ มต่อช่องสัญญาณกับอุปกรณต์ ่าง ๆ

ค่มู อื การปฏิบัตงิ าน : การใหบ้ ริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

ชอ่ื หนว่ ยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขครั้งท่ี : วนั ทเี่ ร่มิ ใช้ : หน้า 12 จาก 33

ตอ่ สายสัญญาณจากพอร์ต VGA Output จากเคร่อื งฉายภาพ 3 มติ ิ ไปยังพอร์ต VGA Input เครือ่ ง
ฉาย Projector

ภาพท่ี 10 แสดงการต่อสายสญั ญาณจากเคร่ืองฉายภาพ 3 มิติ ไปยงั เครอ่ื งฉาย Projector
กดปุม่ POWER ที่เครือ่ งฉายภาพ 3 มติ ิ (Digital Visualize)

ภาพที่ 11 แสดงการเปดิ เครอ่ื งฉายภาพ 3 มิติ

คู่มอื การปฏิบตั งิ าน : การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

ช่ือหน่วยงาน : คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขคร้ังที่ : วนั ท่เี รม่ิ ใช้ : หน้า 13 จาก 33

เม่อื เปดิ สวิตซ์เครื่องฉายภาพ 3 มิติ สงั เกตไฟแสดงสถานะ จะอย่ใู นตำแหนง่ CAMERA ภาพ
จะไปปรากฏที่จอภาพ หลงั จากนัน้ ใหท้ ำการทดสอบโดยหาส่งิ ของมาวาง หรอื นำกระดาษมาเขียนดู
เคร่อื งจะปรบั ความชดั ให้อัตโนมัติ ผู้ใชส้ ่วนมากก็จะปรับย่อ ขยายเท่าน้ัน

ภาพท่ี 12 แสดงภาพการใชง้ านเคร่อื งฉายภาพ 3 มติ ิ ปรากฏบนจอรบั ภาพ
การใชเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์ เช่ือมต่อกับเคร่อื งฉายภาพ (Projector)

ภาพที่ 13 แสดงการใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เช่ือมต่อไปถงึ เครื่องฉายภาพ (Projector)

คู่มือการปฏิบตั ิงาน : การใหบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี

ชื่อหนว่ ยงาน : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขคร้งั ที่ : วันทเ่ี ริม่ ใช้ : หน้า 14 จาก 33

เมอื่ เปดิ สวติ ซ์เครอื่ งฉายภาพ 3 มติ ิ สังเกตไฟแสดงสถานะ จะอยใู่ นตำแหนง่ PC1 โดยการ
กดป่มุ RGB ภาพจากเคร่ืองคอมพิวเตอรจ์ ะไปปรากฏทีจ่ อรับภาพ

ภาพท่ี 14 แสดงสถานการณส์ ลบั หนา้ จอจากจอเครื่องฉายภาพ 3 มติ ิ เป็นภาพจากคอมพิวเตอร์
ภาพท่ี 15 แสดงคอมพวิ เตอร์ เชื่อมตอ่ กับเคร่ืองฉายภาพ (Projector)

คมู่ อื การปฏิบัติงาน : การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี

ชอ่ื หน่วยงาน : คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขคร้ังท่ี : วนั ทเ่ี ร่ิมใช้ : หน้า 15 จาก 33

ข้ันตอนการปฏิบตั งิ านใช้คอมพวิ เตอรแ์ บบพกพากบั เคร่ืองฉายภาพ (Projector)

ตอ่ สายตอ่ สัญญาณ RGB (VGA) เขา้ กบั คอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา ทพี่ อรต์ VGA และตอ่ สายรับสัญญาณ
RGB (VGA) เขา้ ดา้ นข้างเครื่องฉายภาพ 3 มติ ิ เพื่อท่ีจะสง่ สญั ญาณไปยังเคร่ืองฉายภาพ (Projector)

ภาพท่ี 16 แสดงการเช่อื มต่อสายตอ่ สญั ญาณ RGB (VGA) เข้ากบั คอมพิวเตอร์แบบพกพา ทพ่ี อร์ต
VGA และต่อสายรับสญั ญาณ RGB (VGA) เขา้ เครื่องฉายภาพ 3 มติ ิ

คู่มอื การปฏบิ ตั งิ าน : การใหบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

ช่ือหนว่ ยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขครัง้ ท่ี : วนั ท่เี ร่มิ ใช้ : หน้า 16 จาก 33

เมอื่ เปดิ สวิตซเ์ ครือ่ งฉายภาพ 3 มิติ สังเกตไฟแสดงสถานะ จะอย่ใู นตำแหน่ง PC2 โดยการ
กดป่มุ RGB ภาพจากเครอ่ื งคอมพิวเตอร์จะไปปรากฏท่จี อรับภาพ

ภาพท่ี 17 แสดงสถานการณ์สลับหนา้ จอจากจอเคร่ืองฉายภาพ 3 มิติ
เปน็ ภาพจากคอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา

ภาพท่ี 18 แสดงคอมพวิ เตอร์แบบพกพา เชื่อมตอ่ กบั เครื่องฉายภาพ (Projector)

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงาน : การใหบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี

ช่อื หน่วยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขครงั้ ที่ : วนั ทเี่ ริม่ ใช้ : หนา้ 17 จาก 33

ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงานใชเ้ คร่อื งฉายภาพ (Projector)
1.ต่อพ่วงสายสัญญาณจากเครื่องฉายภาพ 3 มิติ หรือเครื่องอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ต้องการนำ

สัญญาณเข้ามานำเสนอ โดยมากจะมีดังนี้ ช่องสัญญาณแบบ VGA จากคอมพิวเตอร์ ช่องสัญญาณ
แบบ Video จากเคร่ืองเล่นวีดโี อ และช่องสญั ญาณแบบ S-Video จากคอมพวิ เตอรบ์ างรุ่นและเครื่อง
เลน่ ดีวดี ี

ภาพท่ี 19 แสดงช่องรบั สัญญาณภาพของเคร่อื งฉายภาพ Projector
2) เปิดสวิตซ์ On ท่ี Braker ของเครื่องฉาย Projector อยทู่ ่ผี นงั ดา้ นหนา้ ห้อง

ภาพที่ 20 แสดงสวติ ซ์ On ท่ี Braker ของเครอ่ื งฉาย Projector

ค่มู อื การปฏบิ ัติงาน : การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

ชื่อหน่วยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขคร้งั ที่ : วนั ทีเ่ ร่มิ ใช้ : หนา้ 18 จาก 33

3) เปิ ดเครื่องฉาย Projector โดยกดท่ีป่ มุ Power ท่ีรีโหมดควบคมุ เครื่องจะพร้อม
ใชง้ านประมาณ 10 วนิ าที

ภาพที่ 21 แสดงการเปิดเครือ่ งฉาย Projector โดยกดที่ปุม่ Power ท่ีรีโหมดควบคุม
4) เมือ่ ภาพปรากฏท่จี อฉายภาพแล้ว และภาพทไี่ ด้ยังไม่เป็นทตี่ ้องการ จะต้องมีการปรับขนั้ พืน้ ฐาน
โดยปรับท่ีวงแหวนของเคร่ือง ดงั น้ี (1) ขยายภาพให้ใหญ่ข้ึน ยอ่ ภาพให้เล็กลง และ (2) ปรบั ความ
คมชัด

ภาพที่ 22 แสดงการปรบั ระยะโฟกสั ให้คมชดั

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงาน : การให้บรกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี

ชอื่ หน่วยงาน : คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขครง้ั ที่ : วนั ที่เรม่ิ ใช้ : หน้า 19 จาก 33

ภาพท่ี 23 แสดงเครื่องฉาย Projector ทีใ่ ช้รว่ มกับคอมพิวเตอร์
5) หลงั การใชง้ านเสร็จ ปิดเคร่อื งฉาย Projector โดยกดปุ่มปดิ ที่เครื่อง หรือท่รี โี หมด 2 ครงั้ กดคร้งั
แรกจะมคี ำสงั่ ข้ึนมาใหย้ ืนยนั ในการปดิ แล้วกดอีกครั้ง เครื่องจะเป่าหลอดฉายให้เยน็ และจะดบั ภายใน
ประมาณ 30 วินาที หรอื มากกวา่ นน้ั ข้ึนอยู่กับความร้อนของหลอดฉาย
6) ปิดสวิตซ์ Off ที่ Braker ของเคร่ืองฉาย Projector อยทู่ ผี่ นงั ดา้ นหนา้ ห้องและปดิ เคร่ือง
คอมพิวเตอรห์ รือเคร่ืองอปุ กรณอ์ ่นื ๆ ที่ใช้รว่ มกัน

ภาพที่ 24 แสดงการปิดสวิตซ์ Off ที่ Braker ของเครื่องฉาย Projector

คมู่ ือการปฏบิ ัติงาน : การใหบ้ ริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี

ชือ่ หนว่ ยงาน : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขครั้งท่ี : วันที่เร่ิมใช้ : หนา้ 20 จาก 33

ข้ันตอนการปฏิบตั งิ านใชจ้ อฉายภาพ (Screen) แบบใชร้ ีโหมดควบคมุ
ข้นั ตอนการปฏบิ ตั งิ านใช้จอฉายภาพ (Screen) แบบใชร้ ีโหมดควบคุมจอฉายภาพโดย มี 3

ปุ่มกด ความหมาย ปุ่มลกู ศรชล้ี งล่าง คอื การเอาจอฉายลงมาใช้ ปุ่มตรงกลาง คือ หยุดค้างจอฉายไว้
ตรงนน้ั และปุ่มลูกศรชขี้ น้ึ บน คือ การเอาจอฉายข้ึนไปเก็บไว้

ภาพที่ 25 แสดงรโี หมดควบคุมจอฉายภาพ (Screen)

ภาพท่ี 26 แสดงจอฉายภาพ (Screen) แบบใชร้ ีโหมดควบคุม

คู่มือการปฏิบัตงิ าน : การใหบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี

ชอ่ื หน่วยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขครั้งที่ : วันทเี่ รม่ิ ใช้ : หน้า 21 จาก 33

มาตรฐานคณุ ภาพงาน

ตัวชีว้ ดั เกณฑ์ ค่าคะแนน

1.การซอ่ มแซมโสตทัศนปู กรณ์ ซ่อมแซมเสรจ็ ภายใน 30 วนั 1
ของคณะครุศาสตร์ ซอ่ มแซมเสรจ็ ภายใน 15 วัน 2
มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี ซอ่ มแซมเสรจ็ ภายใน 7 วนั 3
ซ่อมแซมเสร็จ ภายใน 24 ชวั่ โมง 4
ซอ่ มแซมเสร็จ ทนั ที ถึง 1 ชม 5

2. การสรา้ งความเข้าใจเบอ้ื งตน้ แนะนำวธิ กี ารใชง้ านเบือ้ งต้น ด้วยวาจา 1
2
อย่างยงั่ ยืน ชี้แจงวิธกี ารใช้งานในทป่ี ระชุม 3
4
ทำป้ายประชาสัมพนั ธ์ 5

สรา้ งค่มู ือ

สรา้ งและปรบั ปรุงคมู่ ือทุก ๆ 1 ปี

3. การดแู ละเวบ็ ไซต์ สรา้ งและดแู ละเวบ็ ไซต์คณะครุศาสตร์ 1
คณะครุศาสตร์ อัพเดตขอ้ มลู ให้อาจารยต์ ามความต้องการของอาจารย์ 2
มกี ารลงประกาศของมหาวิทยาลัยทุกคร้งั 3
มกี ารแจง้ ขา่ วประชาสัมพันธค์ ณะทกุ ครั้งท่ีมีกิจกรรม 4
มกี ารอัพเดตข้อมลู เว็บไซต์คณะครุศาสตร์ทุกวัน 5

คู่มอื การปฏิบตั ิงาน : การใหบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี

ช่ือหน่วยงาน : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขคร้งั ท่ี : วันทเี่ ร่ิมใช้ : หน้า 22 จาก 33

เอกสารอ้างองิ

ชลยิ า ลิมปิยากร. (2540). เทคโนโลยกี ารศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร: สถาบันราชภัฏธนบุรี.
ภาควิชาเทคโนโลยกี ารศกึ ษา (2554) เทคโนโลยีการศึกษา คน้ คนื วันที่ 25 กรกฎาคม 2560 จาก:

http://etc.pn.psu.ac.th/wbi/263201/
นายจเรวัฒน์ เทวรตั น์. คูม่ ือปฏบิ ตั ิงานการให้บรกิ ารโสตทศั นปู กรณ์. ศนู ย์วทิ ยพัฒนา

มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช: นครศรีธรรมราช.
ค่มู ือการใชง้ านเครื่องถ่ายทอดสัญญาณ 3 มติ ิ. คน้ คืนวันที่ 25 กรกฎาคม 2560 จาก:

http://www.vertex.co.th/index.php
คมู่ ือการใช้งานเครอื่ งฉายภาพ (Projectors). ค้นคนื วันท่ี 25 กรกฎาคม 2560 จาก:

https://www.acer.com/ac/th/TH/

คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ าน : การใหบ้ ริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี

ชอ่ื หนว่ ยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขคร้ังที่ : วันทีเ่ รม่ิ ใช้ : หน้า 23 จาก 33

แบบฟอรม์ ทใ่ี ช้

แบบฟอรม์ ขอใชบ้ ริการโสตทศั นูปกรณ์

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี

วนั ที่.........../ .........../ ...........
ช่ือ-นามสกุล ...............................................................................................................(ผขู้ อใหบ้ รกิ าร)
( ) อาจารย์ ( ) เจา้ หนา้ ท่ี ( ) นกั ศกึ ษา ( ) อน่ื ๆ ............................................................................
สงั กดั .............................................................................. มคี วามประสงค์ ขอใช้บรกิ ารโสตทศั นูปกรณ์
และให้จัดเตรียม / ควบคุม การใชโ้ สตทัศนปู กรณใ์ นงาน / กิจกรรม.....................................................
ห้อง.............................................................................................................................. ..........................
ในวนั ท่.ี ............ เดอื น .................................. พ.ศ. .............. เวลา ............... น. ถงึ เวลา ............... น.

ประเภทโสตทศั นูปกรณ์ทีต่ ้องการใช้บริการ

( ) เครือ่ งฉายภาพ 3 มติ ิ (Digital Visualize) จำนวน ...........................

( ) เครื่องฉายภาพ (Projector) จำนวน ...........................

( ) จอภาพ (Screen) จำนวน ...........................

( ) คอมพิวเตอร์แบบเคลื่อนที่ (Computer Notebook) จำนวน ...........................

( ) คอมพิวเตอรต์ ั้งโตะ๊ (Computer Desktop) จำนวน ...........................

( ) ไมโครโฟน (Microphone) จำนวน ...........................

( ) ชดุ เคร่ืองเสยี ง (Audio Set) จำนวน ...........................

( ) อื่น ๆ (ระบุ) ..............................................................................................................

เห็นสมควร  อนุมัติ  ไม่อนุมตั ิ ลงชื่อ......................................................
ผ้ขู อใช้บริการ
ลงช่ือ.....................................................
คณบดีคณะครศุ าสตร์ ลงชื่อ......................................................
เจ้าหน้าทโ่ี สตทศั นูปกรณ์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี
วนั ที่ ........... /........... /...........

คูม่ อื การปฏบิ ตั ิงาน : การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี

ชอ่ื หน่วยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขครัง้ ท่ี : วนั ทเ่ี ร่ิมใช้ : หนา้ 24 จาก 33

แบบฟอรม์ ขอใช้บรกิ ารผลติ โสตทัศน์

คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี

วนั ท่.ี ........../ .........../ ...........
ชื่อ-นามสกลุ ...............................................................................................................(ผขู้ อให้บริการ)
( ) อาจารย์ ( ) เจ้าหนา้ ที่ ( ) นกั ศกึ ษา ( ) อน่ื ๆ ............................................................................
สังกดั .................................................... มคี วามประสงค์ ขอใช้บรกิ ารส่ือการศกึ ษา ส่อื ประชาสัมพันธ์

ประเภททข่ี อใชบ้ รกิ าร

( ) บันทึกภาพน่ิงและวดี ที ัศน์

( ) ถ่ายภาพน่งิ ( ) ถ่ายวีดีทัศน์

กจิ กรรม...................................................วนั ท.่ี ......./......./....... ถงึ วนั ท่ี วันท่.ี ......./......./.......

สถานท่.ี ....................................................................................................................................

( ) ผลติ สื่อโสตทัศน์เพื่อการศึกษาประชาสัมพนั ธ์

( ) ผลิตสอื่ วีดีทัศน์ และสอื่ บันทึกเสียง เรอื่ ง...........................................จำนวน.............

( ) ผลติ ส่ือคอมพิวเตอร์ เรือ่ ง...........................................จำนวน.............

( ) ผลติ สอื่ กราฟิก เร่อื ง...........................................จำนวน.............

( ) ผลิตสำเนาส่ือโสตทศั น์เพอื่ การศกึ ษาประชาสัมพนั ธ์

( ) สำเนาภาพ (CD,DVD Picture File) เรื่อง...........................................จำนวน.............

( ) สำเนาวดี ีทัศน์ (VCD DVD VDO) เรือ่ ง...........................................จำนวน.............

( ) อน่ื ๆ (ระบ)ุ ............................................................................................................................. ....

เพอื่ ใชส้ ำหรบั งานกจิ กรรม...............................วันท่.ี ........เดอื น............................พ.ศ. ...........

และจะขอรบั งาน ในวนั ท่.ี ................เดือน................................พ.ศ. ................ เวลา ........................น.

เห็นสมควร  อนุมัติ  ไมอ่ นุมตั ิ ลงชื่อ......................................................
ผูข้ อใช้บริการ
ลงช่ือ.....................................................
คณบดคี ณะครศุ าสตร์ ลงชอื่ ......................................................
เจา้ หน้าท่ีโสตทศั นูปกรณ์
มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี
วันท่ี ........... /........... /...........

คูม่ อื การปฏิบตั ิงาน : การให้บรกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี

ชือ่ หนว่ ยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขคร้งั ท่ี : วันท่เี ร่มิ ใช้ : หนา้ 25 จาก 33

แบบฟอรม์ ขอยืมโสตทศั นปู กรณ์

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบุรี

วนั ท.่ี ........../ .........../ ...........
ช่อื -นามสกุล ...............................................................................................................(ผ้ขู อให้บริการ)
( ) อาจารย์ ( ) เจา้ หน้าท่ี ( ) นักศกึ ษา ( ) อ่ืนๆ ............................................................................
สงั กัด .................................................... มีความประสงค์ ขอยืมโสตทศั นปู กรณ์

 ชุดเคร่อื งเสยี ง จำนวน...........................

 ไมโครโฟน จำนวน...........................

 คอมพวิ เตอรแ์ บบเคลือ่ นที่ (Computer Notebook) จำนวน...........................

 คอมพิวเตอรแ์ บบตง้ั โต๊ะ (Computer Desktop) จำนวน...........................

 เคร่ืองฉายภาพ 3 มติ ิ (Digital Visualize) จำนวน...........................

 เครอื่ งฉายภาพ (Projector) จำนวน...........................

 กลอ่ งถา่ ยภาพ Digital จำนวน...........................

 กลอ่ งถ่ายภาพเคลือ่ นไหว จำนวน...........................

 อน่ื ๆ .................................................................................... ...................................

เพื่อใช้สำหรบั งาน/กิจกรรม ...................................................................................................................
สถานที.่ ............................................. ในวนั ท่ี ........../ ........../ .......... ถึงวนั ที่ ........../ ........../ ..........

เหน็ สมควร  อนมุ ตั ิ  ไม่อนุมัติ ลงช่อื ......................................................
ผู้ขอใชบ้ ริการ
ลงช่ือ.....................................................
คณบดีคณะครุศาสตร์ รับอุปกรณค์ นื สภาพ  ปกติ  อน่ื ๆ.......................

มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี ลงชือ่ ......................................................
เจา้ หน้าที่โสตทัศนศึกษา

วันท่ี ........... /........... /...........

คู่มือการปฏิบัตงิ าน : การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี

ช่ือหน่วยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขคร้งั ท่ี : วนั ทเี่ รม่ิ ใช้ : หนา้ 26 จาก 33

ผ้ขู อใชบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ ตอ้ งกรอกแบบฟอร์มขอใช้บรกิ ารโสตทัศนปู กรณ์ ตามที่
กำหนดเพ่ือขอใชบ้ ริการ ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี

1) กรอกวนั /เดือน/พ.ศ. ทขี่ อใชบ้ ริการโสตทัศนปู กรณ์
2) กรอกช่ือผขู้ อใช้บรกิ าร
3) ทำเครื่องหมายถกู หน้าประเภทผขู้ อใช้บรกิ าร
4) กรอกข้อมูลสังกดั และระบุขอใช้บริการโสตทัศนูปกรณ์ในกจิ กรรมใด
5) กรอกชือ่ ห้อง และจำนวนหอ้ งทีใ่ ชใ้ นกจิ กรรมใด
6) เลือกประเภทโสตทศั นปู กรณ์ทตี่ ้องการใช้บริการ โดยการทำเคร่ืองหมายถูกช่อง
หน้าประเภทโสตทศั นปู กรณ์ และระบจุ ำนวนโสตทัศนูปกรณ์
7) ลงช่ือผู้ขอใชบ้ ริการโสตทัศนปู กรณ์

ขอ้ มลู สารสนเทศในการปฏบิ ัตงิ าน

ให้บริการอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์สำหรับพิมพ์งาน และสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจาก
อินเทอรเ์ น็ต จำนวน 40 เครอื่ ง

ให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ภายใน คณะครุศาสตร์ ให้บริการยืม – ยืนทรัพยากรสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์แบบพกพา จำนวน 10 เครื่อง เครื่องฉายภาพ (Projector) จำนวน 2 เครื่อง เครื่องฉาย
ภาพ 3 มิติ จำนวน 2 เคร่อื ง หอ้ งพร้อมโสตทัศนปู กรณ์เพื่อสนบั สนุนการเรียนการสอน

ห้องปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ 1 หอ้ ง คอมพิวเตอร์ จำนวน 41 เครื่อง เครื่องฉายภาพ 3 มิติ
(Digital Visualize) 1 เครื่อง เครื่องฉายภาพ (Projector) 1 เครื่อง) ชุดเครื่องเสียงพร้อมไมโครโฟน
1 ชุด

ห้องประชุม 1 ห้อง คอมพิวเตอร์ จำนวน 1 เครือ่ ง เคร่อื งฉายภาพ 3 มิติ (Digital Visualize)
1 เครอื่ ง เคร่ืองฉายภาพ (Projector) 1 เครือ่ ง) ชุดเคร่ืองเสยี งพร้อมไมโครโฟน 1 ชุด

ข้อเสนอแนะ/ปัญหาอปุ สรรค แนวทางการแกไ้ ขและพัฒนางาน

1. ปญั หาอุปสรรคในการปฏบิ ตั ิงาน
ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ของคณะครุศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบุรีมีปัญหาการปฏิบัติงานในการให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ สำหรับการเรยี น
การสอน และการอบรมสัมมนา ผู้เขียนคู่มือปฏิบัติงานขอสรุปปัญหาตามประสบการณ์ที่ผู้เขียนได้
ให้บรกิ ารโสตทัศนปู กรณ์มา ดังต่อไปนี้

1.1 ปัญหาการปฏบิ ตั ิงานดา้ นบุคลากรผ้ใู ช้บรกิ ารโสตทศั นูปกรณ์
1) ปญั หาบคุ ลากรผใู้ ช้บรกิ ารไม่มีความรู้ในการใชเ้ คร่ืองมืออปุ กรณ์
2) ปญั หาบคุ ลากรผใู้ ชบ้ ริการท่ีขอใช้บริการไมต่ ดิ ต่อลว่ งหน้า

1.2 ปญั หาการปฏบิ ัตงิ านดา้ นขัน้ ตอนการปฏิบัติงานและการสอื่ สาร
1) ขั้นตอนในการปฏบิ ัติงานท่ีซบั ซ้อน
2) การส่อื สารและส่อื ความหมาย ไมช่ ัดเจนผดิ ความหมาย

คู่มือการปฏบิ ตั งิ าน : การให้บรกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี

ช่อื หนว่ ยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขคร้งั ที่ : วนั ท่เี ริ่มใช้ : หน้า 27 จาก 33

1.3 ปัญหาการปฏบิ ตั งิ านการบรกิ ารโสตทศั นปู กรณ์
1) ปัญหาการใชง้ านเครื่องขยายเสยี ง (Amplifiers)
2) ปญั หาการใชง้ านคอมพิวเตอรแ์ บบพกพา (Computer Notebook)
3) ปัญหาการใชง้ านเครื่องฉายภาพ (Projector)
4) ปญั หาการใชง้ านเคร่ืองฉายภาพ 3 มติ ิ (Digital Visualizer)
5) ปัญหาโสตทศั นูปกรณ์เก่าไม่มีประสิทธิภาพ
6) ปญั หาโสตทัศนูปกรณ์ท่ีไม่ได้ใชเ้ ป็นเวลานานอาจเกิดการชำรุดเสยี หายได้
7) ปัญหาไม่มคี ู่มอื ในการใชง้ านโสตทศั นปู กรณ์

2. ปญั หาอปุ สรรคในการปฏิบัติงาน และแนวทางแกไ้ ข
2.1 ปัญหาการปฏบิ ตั งิ านดา้ นบคุ ลากรผใู้ ช้บริการโสตทัศนปู กรณ์

ปญั หาอุปสรรค แนวทางแก้ไขปัญหา

1) ปญั หาบคุ ลากรผใู้ ชบ้ รกิ ารไม่มีความรู้ใน ผใู้ ห้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ตอ้ งประสานงาน
การใชเ้ คร่ืองมืออุปกรณ์ กบั ผใู้ ช้บริการ และตกลงจะวา่ ใชโ้ สตทศั นูปกรณ์
ประเภทไหนอย่างไร กอ่ นการใช้โสตทัศนูปกรณ์
ผู้ให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ต้องแนะนำการใช้
เครื่องมืออุปกรณ์ชนิดนั้น ๆ ในขั้นพื้นฐานให้
ผู้ใช้บริการได้ทราบ ในขั้นที่ผู้ใช้บริการใช้
เครื่องมืออุปกรณ์อยู่ ผู้ให้บริการจะต้องดูแล
ควบคุมการใช้โสตทัศนูปกรณ์ และที่เครื่อง
โสตทัศนูปกรณ์ทุกเครื่อง ผู้ให้บริการจะต้องปิด
ขั้นตอนการทำงาน ของโสตทัศนูปกรณ์เครื่อง
นน้ั ๆไวเ้ สมอ

2) ปญั หาบคุ ลากรผู้ขอใช้ บริการไม่ติดตอ่ ผ้ขู อใช้บรกิ ารกรอกแบบฟอรม์ เพื่อขอใช้
ลว่ งหนา้ บริการดว้ ยตนเอง หรือผู้แทนทส่ี ามารถ
รบั ผิดชอบ ตดั สินใจ และทำความเข้าใจเกยี่ วกับ
การใหบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ ให้ได้ตามที่ การใชโ้ สตทศั นปู กรณ์ และขั้นตอนกบั ผู้
ตอ้ งการและมีประสทิ ธิภาพด้วยนนั้ ผู้ใชบ้ รกิ าร ใหบ้ ริการได้อย่างชัดเจน ขอใชบ้ ริการลว่ งหน้า
จะต้องติดต่อขอใชบ้ รกิ ารล่วงหน้า ไมน่ อ้ ยกว่า 3 วัน

คู่มือการปฏิบตั งิ าน : การให้บรกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

ชื่อหน่วยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขคร้ังที่ : วันที่เร่มิ ใช้ : หนา้ 28 จาก 33

2.2 ปัญหาการปฏิบตั ิงานดา้ นข้ันตอนการปฏิบตั งิ านและการสื่อสาร

ปัญหาอุปสรรค แนวทางแกไ้ ขปัญหา

1) ข้นั ตอนในการปฏิบตั ิงานที่ซบั ซ้อน ผู้ขอใช้บริการ ปฏิบัติตามขั้นตอนการขอใช้

การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ในบางคร้ัง บริการตามลาดับ โดยขอล่วงหน้า ประมาณ 7

บางกิจกรรม ระหว่างผู้ขอใช้บริการและผู้ วนั ตามขน้ั ตอนให้ถึงผู้ให้บริการโสตทัศนูปกรณ์

ให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ นั้นต้องผ่านขั้นตอน อย่างน้อย 3 วันทำการ และผู้ใช้บรกิ ารต้องแจ้ง

มากเกินไป ทา ให้เกิดความล่าช้า ที่จะถึง ทางโทรศัพท์หรือแจ้งด้วยตนเองให้ผู้ให้บริการ

ผู้ปฏิบัติงานให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ที่จะต้อง โสตทัศนูปกรณ์ทราบถึงขั้นตอน รายละเอียด

จัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ได้ทันเวลาและ การปฏิบัติงาน ก่อนหนังสือหรือแบบฟอร์มการ

บรกิ ารได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ขอใช้บริการจะมาถึง เพื่อจะได้เตรียมการ

ลว่ งหน้า

2) การส่ือสารและสอ่ื ความหมายไม่ชัดเจน ในการขอใชบ้ รกิ าร ผ้ขู อใช้บริการตอ้ ง
ผิดความหมาย ทบทวนส่งิ ทเี่ ขียนขอใชบ้ รกิ าร วา่ ใช้คำ
การขอใชบ้ ริการโสตทัศนูปกรณ์ มศี ัพท์ บญั ญตั ิศัพท์ท่ีถูกต้องหรือไม่ เพอ่ื จะได้ส่ือ
เรียกอปุ กรณ์เครื่องมอื หรือข้ันตอนปฏบิ ตั ิ ความหมายไปในทางเดยี วกัน สาหรับผู้
ตา่ งๆ มากมาย ซึง่ ในวงการเทคโนโลยี ให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ เม่ือไดร้ บั หนงั สอื หรือ
การศึกษา จะมีบัญญตั ิศพั ทใ์ ห้เรยี กอปุ กรณ์ แบบฟอรม์ การของใช้บรกิ ารโสตทัศนปู กรณ์
หรอื วิธีการปฏิบตั กิ นั อยู่แล้ว แตบ่ างครงั้ กม็ ี แล้ว ถ้ามีคำศัพท์คำไหนท่ีไมเ่ ข้าใจ หรอื ไมแ่ นใ่ จ
การใช้ผิดกันอยู่ กท็ าให้ความหมายนน้ั ในความหมายวา่ จะเข้าใจตรงกนั หรอื ไม่ จะต้อง
เปล่ยี นไป หรอื ไมช่ ดั เจน ติดตอ่ กลับไปยงั ผูข้ อใช้บริการ ปรับความเข้าใจ
ปรับความหมายใหต้ รงกัน เพื่อจะไดป้ ฏบิ ัตงิ าน
ให้ตรงกบั ความตอ้ งการ ของผขู้ อใชบ้ ริการใหไ้ ด้
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

คมู่ อื การปฏิบตั ิงาน : การให้บรกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

ชื่อหน่วยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขคร้ังท่ี : วันท่เี รม่ิ ใช้ : หนา้ 29 จาก 33

2.3 ปัญหาการปฏบิ ตั ิงานการบรกิ ารโสตทศั นปู กรณ์

ปญั หาอุปสรรค แนวทางแก้ไขปญั หา

1) ปัญหาการใช้เครือ่ งขยายเสยี ง (Amplifiers) (1) ตรวจสอบว่าเสียบไมโครโฟนหรือยังเปิด

(1) เปดิ เครอ่ื งเสยี งแลว้ ไมม่ เี สยี ง สวติ ซท์ ไ่ี มโครโฟนหรือยงั และสายลำโพงต่ออยู่ปกติ

(2) สัญญาณเสียงรบกวนเวลาใช้ไมโครโฟน หรือไม่ เมื่อเรียบร้อยแล้วไปปรับระดับเสียงที่ช่อง

เสยี งหวีดเสยี งหอนจากลำโพง เสยี บไมโครโฟน และปรับเสยี งขนึ้ พอประมาณ

(2) ลดความดังของลำโพงลดเพือ่ ลดปัญหาเสียง

หวีด และเปลี่ยนตำแหน่งการวางลำโพง หรือ

ไมโครโฟนไปในจุดที่เสียงหวีดลดลง และระวังการ

มือไมโครโฟนที่อาจเผลอไปหน้า ตู้ลำโพง

หรือทิศทางทเี่ สยี งสะทอ้ น

2) ปัญหาการใช้งานคอมพิวเตอร์แบบพกพา (1) ตรวจสอบไฟแสดงสถานะเปิดเคร่ืองกอ่ นวา่

(Computer Notebook) ตดิ หรอื ไม่ จากนั้นให้ดูว่าแบตเตอรี่เหลอื น้อย หรอื

(1) เปิดเครอ่ื งคอมพิวเตอรไ์ ม่ตดิ หมดแลว้ หรือยัง แล้วจงึ เสยี บปล๊ัก แลว้ ลองกดปุ่ม

2) จอภาพแสดงตัวอักษรเบลอ เปิดใชง้ าน ถา้ กดปมุ่ เปิดแลว้ ยังไม่ตดิ ให้ลองดูว่า

เกิดมาจากการปรบั ความละเอยี ดของ เสียบปลั๊กทกุ ๆ จุดดีแลว้ หรือยงั ทั้งท่ีโนต้ บกุ๊ และ

Projector ไมต่ รงตามคุณสมบตั ทิ ่กี ำหนดไว้ ซง่ึ ชอ่ งเสียบปลกั๊ ไฟ ถา้ ตรวจสอบทง้ั หมดแลว้ ยังเปิด

เปน็ ข้อจา กัดของ Projector ท่เี ราต้องปรบั ไม่ติดใหร้ ีบติดตอ่ ไปยงั ศูนยบ์ รกิ ารทันที

ความละเอยี ดให้ตรง เพราะว่า Projector จะ (2) สามารถเขา้ ไปปรับได้ที่ Start =>

ระบจุ ำนวนพิกเซลทเี่ อาไวแ้ สดงทัง้ แนวตัง้ และ Settings => Control Panel => Display คลกิ ท่ี

แนวนอนเอาไว้ หากปรบั ไม่ตรง จอภาพจะต้อง แถบ Settings แลว้ เลอื กปรับความละเอียดที่ดีท่สี ดุ

มกี ารนาจดุ สหี ลายๆ จดุ มาแสดงเป็นจุดเดียว ให้ตรงกับคุณสมบตั ิของเคร่ือง Projector ทสี่ ามา

ทา ใหภ้ าพเกิดความเบลอ ปกติแลว้ ท่วั ไปจะ รบั ได้

ปรบั ตงั้ กันไวท้ ่ี 1024x768 พิกเซล (3) ปรับใน Windows สามารถปรบั ขนาด

(3) ตัวอักษรที่แสดงมีขนาดเล็กเกินไปจาก ตวั อกั ษรให้ใหญไ่ ด้ โดยเข้าไปที่ Start =>

ข้อจา กัดในการปรับความละเอียด ทำให้ Control Panel => Display คล้ิกที่แถบ

บางครั้งตัวอักษรที่แสดงเล็กเกินไป จะมีปัญหา Appearanceแลว้ ปรบั ขนาดท่ี Fontด้านล่าง ให้

กบั ผู้ทีม่ ปี ญั หาทางสายตา เป็น Large Fonts หรอื Extra Large Fonts

คู่มือการปฏบิ ัติงาน : การใหบ้ ริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี

ชอื่ หน่วยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขคร้งั ท่ี : วนั ทีเ่ ร่มิ ใช้ : หน้า 30 จาก 33

ปญั หาอุปสรรค แนวทางแกไ้ ขปญั หา

3) ปญั หาการใช้งานเคร่ืองฉายภาพ (Projector) (1) ปิดและเปดิ เคร่ืองในเวลาทีใ่ กล้กันเกินไป
(1) ไมส่ ามารถเปดิ เคร่ืองได้ ให้รอประมาณ 90 วนิ าที ก่อนจะทาการเปิด
(2) ไม่มสี ญั ญาณภาพออกมา เคร่อื งใหมอ่ ีกครัง้
(3) สญั ญาณภาพจากเครื่องฉาย Projector
(2) ตรวจสอบสาย RGB วา่ เสียบถูกชอ่ ง
ไม่ชดั หรอื ไม่ ตรวจสอบช่องสัญญาณภาพ ชอ่ ง In
ชอ่ ง Out และทาการแก้ไขปัญหาที่เครื่อง
คอมพวิ เตอร์ หรือคอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา
ตวั อย่างเชน่ ถา้ คอมพิวเตอร์แบบพกพา ที่ใช้เป็น
เครอ่ื ง HP ให้กดฟังก์ชนั่ (FN) + F4 กดครงั้
แรก สัญญาณภาพจะออกทีโ่ ปรเจคเตอร์ ให้กด
(FN) + F4 ซำ้ อกี ครงั้ เพือ่ ให้สญั ญาณภาพ
ออกทง้ั โปรเจคเตอรแ์ ละ คอมพวิ เตอร์แบบพกพา

(3) ปรบั Focus ท่ีเครอ่ื ง Projector หรือ
เคลือ่ นย้ายเคร่ือง Projector ใกล้-ไกล

4) ปญั หาการใช้งานเคร่ืองฉายภาพ 3 มติ ิ (1) ไมไ่ ด้เปิดฝาครอบกลอ้ ง
(Digital Visualizer) (2) ยงั ไมป่ รบั ความชดั กดปุม่ Auto focus
(3) โดยใหก้ ดที่ปมุ่ Source หรอื Input Select ท่ี
(1) ไม่มีภาพออกจากเคร่ืองฉายภาพ 3 มิติ เคร่ืองฉายภาพ 3 มิติ เพือ่ เลอื กชอ่ งสง่ สญั ญาณ
(2) ภาพที่ฉายจากเคร่อื งฉายภาพ 3 มติ ิ ที่ ระหว่าง คอมพวิ เตอร์ กบั Visualize โดยกดหนงึ่
จอภาพไมช่ ดั ครั้งสญั ญาณจะสลับวนกลบั ไป
(3) สลับการใช้งานระหวา่ งคอมพิวเตอร์ &
Visualize โสตทัศนปู กรณบ์ างอย่าง ยังใชง้ านได้อยู่
ถงึ ไม่มปี ระสิทธิภาพมากนัก ผู้ให้บรกิ าร
5) ปัญหาโสตทัศนูปกรณเ์ ก่าไม่มปี ระสทิ ธภิ าพ โสตทศั นปู กรณ์ ต้องรคู้ ุณสมบตั ิของเคร่อื งน้นั ๆ
และรู้จักประยุกต์ ปรบั ปรงุ ใช้งานให้เกิดประโยชน์
ยกตัวอย่าง เชน่ LCD Projector รนุ่ เก่าๆ เครอื่ ง
จะมีความสวา่ งในการฉายแสงออกมาน้อย จะใชใ้ น
ท่สี ว่างมากไม่ได้ ผ้ใู ห้บรกิ ารโสตทศั นูปกรณ์ต้อง
จัดใชก้ บั ห้องทีม่ จี ำนวนคนไม่มากนกั และหอ้ งมี
ความสว่างไม่มากด้วย กจ็ ะแก้ปญั หาได้ระดบั หนึ่ง
เพ่อื รอทางมหาวทิ ยาลยั จัดสรรใหใ้ หมใ่ นปี ต่อไป

คู่มอื การปฏิบัตงิ าน : การใหบ้ ริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี

ช่ือหน่วยงาน : คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี

หมายเลขเอกสาร :

แก้ไขคร้งั ท่ี : วันทเ่ี รม่ิ ใช้ : หนา้ 31 จาก 33

ปญั หาอุปสรรค แนวทางแก้ไขปญั หา

6) ปญั หาโสตทศั นปู กรณ์ ไม่มีคู่มอื ผู้ ใ ห ้ บ ร ิ ก า ร โ ส ต ท ั ศ น ู ป ก ร ณ ์ จ ะ ต ้ อ ง ใ ช้
โสตทัศนปู กรณ์ ไม่มีค่มู ือมาด้วย หรือ ประสบการณ์ของตนเอง และต้องศึกษาจากเครื่อง
อื่นๆ ที่เป็นรุ่นที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกันและ
โสตทศั นูปกรณ์เก่าคู่มือหาย ผใู้ ห้บรกิ าร แหล่งข้อมูลข่าวสาร อีกอย่างที่ผู้ให้บริการ
โสตทศั นปู กรณ์ ต้องรคู้ ุณสมบตั กิ ารใช้งานใน โสตทศั นูปกรณ์จะต้องเรียนรู้ คอื การค้นหาข้อมูลที่
อุปกรณ์น้นั เพื่อให้บรกิ าร เกี่ยวข้องในระบบอินเทอร์เน็ต เพื่อศึกษาข้อมูลที่
เกี่ยวโสตทัศนูปกรณ์แล้วนำมาพัฒนางานในหน้าที่
ได้

คมู่ ือการปฏิบัติงาน : การใหบ้ ริการโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี

ชื่อหนว่ ยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขครงั้ ที่ : วนั ที่เร่มิ ใช้ : หนา้ 32 จาก 33

ภาคผนวก

คู่มือการปฏิบตั งิ าน : การให้บรกิ ารโสตทัศนูปกรณ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

ชอื่ หนว่ ยงาน : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบุรี

หมายเลขเอกสาร :

แกไ้ ขคร้ังท่ี : วันที่เรม่ิ ใช้ : หน้า 33 จาก 33

แบบประเมนิ ความพึงพอใจการใช้บริการโสตทัศนปู กรณ์
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี

ขอ้ มูลทวั่ ไปของผูม้ าใชบ้ รกิ าร

 อาจารย์  เจา้ หนา้ ท่ี  นักศึกษา  บุคคลภายนอก

ความพงึ พอใจในการใหบ้ รกิ ารโสตทัศนูปกรณ์
(กรณุ าทำเครอ่ื งหมาย  ลงในชอ่ งทตี่ รงกบั ความคิดเห็นของทา่ นมากทสี่ ดุ )

ความพึงพอใจ มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทีส่ ดุ
54321
1. ดา้ นการให้บรกิ ารของเจา้ หน้าที่
1.1 ความเอาใจใส่/ตรงต่อเวลา
1.2 คำพูดกิริยามารยาทของผู้ใหบ้ รกิ าร
1.3 ความกระตือรอื รน้ การใหบ้ รกิ าร
1.4 ความรวดเร็วในการบริการ

2. ด้านประสิทธิภาพของผลงาน
2.1 ความถูกตอ้ ง
2.2 ความสมบูรณ์ครบถว้ น
2.3 ความประณีตเอาใจใส่

3. ด้านโสตทัศนูปกรณ์
3.1 ความเรียบร้อยของโสตทศั นูปกรณ์
3.2 คณุ ภาพของโสตทศั นูปกรณ์
3.3 ความเพยี งพอของโสตทศั นูปกรณ์
3.4 โสตทศั นูปกรณต์ รงกับความตอ้ งการ

ข้อเสนอแนะ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................... ......
................................................................................................................................................................

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๒๔ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา



พระราชบัญญัติ

วา่ ดว้ ยการกระทําความผดิ เก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ (ฉบบั ท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐

สมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู

ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐
เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปจั จุบนั

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศวา่

โดยท่เี ป็นการสมควรแก้ไขเพมิ่ เติมกฎหมายว่าดว้ ยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานิตบิ ัญญตั ิแหง่ ชาติ ดงั ต่อไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเก่ียวกับ
คอมพิวเตอร์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหนึ่งร้อยย่ีสิบวันนับแต่วันประกาศ
ในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
เก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนแ้ี ทน
“มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมรักษาการ
ตามพระราชบัญญัติน้ี และให้มีอํานาจแต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าท่ีกับออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการ
ตามพระราชบญั ญัติน้ี
กฎกระทรวงและประกาศนน้ั เมือ่ ไดป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใชบ้ ังคับได้”
มาตรา ๔ ใหเ้ พ่ิมความตอ่ ไปนเี้ ปน็ วรรคสองและวรรคสามของมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบัญญัติ
วา่ ดว้ ยการกระทาํ ความผดิ เกีย่ วกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๒๕ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

“ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นอันมีลักษณะเป็นการก่อให้เกิด
ความเดือดร้อนรําคาญแก่ผู้รับข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับ
สามารถบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์เพ่ือปฏิเสธการตอบรับได้โดยง่าย ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน
สองแสนบาท

ให้รัฐมนตรีออกประกาศกําหนดลักษณะและวิธีการส่ง รวมท้ังลักษณะและปริมาณของ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงไม่เป็นการก่อให้เกิดความเดือดร้อนรําคาญแก่ผู้รับ
และลกั ษณะอันเปน็ การบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์เพอื่ ปฏิเสธการตอบรบั ไดโ้ ดยง่าย”

มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
เกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปนแี้ ทน

“มาตรา ๑๒ ถ้าการกระทําความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘
หรือมาตรา ๑๑ เป็นการกระทําต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ท่ีเกี่ยวกับการรักษา
ความม่ันคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ
หรือโครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่หน่ึงปีถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่
สองหมนื่ บาทถึงหนึง่ แสนสีห่ ม่ืนบาท

ถ้าการกระทําความผิดตามวรรคหน่ึงเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์
หรือระบบคอมพิวเตอร์ดังกล่าว ต้องระวางโทษจําคุกต้ังแต่หน่ึงปีถึงสิบปี และปรับต้ังแต่สองหมื่นบาทถึง
สองแสนบาท

ถ้าการกระทําความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ เป็นการกระทําต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์
หรอื ระบบคอมพวิ เตอรต์ ามวรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจําคุกต้ังแต่สามปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาท
ถึงสามแสนบาท

ถ้าการกระทําความผิดตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสามโดยมิได้มีเจตนาฆ่า แต่เป็นเหตุให้บุคคลอื่น
ถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจาํ คุกตงั้ แตห่ ้าปถี งึ ยส่ี บิ ปี และปรบั ตั้งแตห่ นง่ึ แสนบาทถงึ สีแ่ สนบาท”

มาตรา ๖ ให้เพ่ิมความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๑๒/๑ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทํา
ความผิดเกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐

“มาตรา ๑๒/๑ ถา้ การกระทาํ ความผดิ ตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ เป็นเหตุให้เกิดอันตราย
แกบ่ ุคคลอืน่ หรือทรัพย์สนิ ของผู้อ่นื ต้องระวางโทษจาํ คุกไมเ่ กินสิบปี และปรับไมเ่ กินสองแสนบาท

ถ้าการกระทาํ ความผดิ ตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ โดยมิได้มีเจตนาฆ่า แต่เป็นเหตุให้บุคคลอื่น
ถึงแก่ความตาย ตอ้ งระวางโทษจําคกุ ต้งั แตห่ า้ ปถี ึงย่สี ิบปี และปรับตั้งแตห่ น่งึ แสนบาทถงึ ส่แี สนบาท”

มาตรา ๗ ให้เพ่มิ ความตอ่ ไปนี้เปน็ วรรคสอง วรรคสาม วรรคส่ี และวรรคห้าของมาตรา ๑๓
แหง่ พระราชบญั ญัตวิ า่ ด้วยการกระทําความผดิ เก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๒๖ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

“ผู้ใดจําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําสั่งท่ีจัดทําขึ้นโดยเฉพาะเพ่ือนําไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทํา
ความผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคหน่ึงหรือวรรคสาม ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หม่ืนบาท
หรอื ทงั้ จาํ ทั้งปรบั

ผู้ใดจําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําส่ังท่ีจัดทําขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนําไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทํา
ความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑
หากผู้นําไปใช้ได้กระทําความผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคหนึ่งหรือวรรคสาม หรือต้องรับผิดตามมาตรา ๑๒
วรรคสองหรือวรรคส่ี หรือมาตรา ๑๒/๑ ผู้จําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําส่ังดังกล่าวจะต้องรับผิดทางอาญา
ตามความผดิ ท่ีมีกาํ หนดโทษสูงขึ้นดว้ ย ก็เฉพาะเม่ือตนได้รู้หรอื อาจเล็งเหน็ ได้ว่าจะเกดิ ผลเช่นที่เกิดขน้ึ นน้ั

ผู้ใดจําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําส่ังที่จัดทําข้ึนโดยเฉพาะเพ่ือนําไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทํา
ความผดิ ตามมาตรา ๑๒ วรรคหนึ่งหรือวรรคสาม หากผู้นําไปใช้ได้กระทาํ ความผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคหนึ่ง
หรือวรรคสาม หรือต้องรับผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคสองหรือวรรคสี่ หรือมาตรา ๑๒/๑ ผู้จําหน่าย
หรือเผยแพรช่ ดุ คําสงั่ ดังกล่าวต้องรบั ผดิ ทางอาญาตามความผิดท่ีมกี ําหนดโทษสงู ขนึ้ น้นั ดว้ ย

ในกรณีทผี่ จู้ ําหนา่ ยหรอื เผยแพร่ชุดคําสั่งผู้ใดต้องรับผิดตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง และตามวรรคสาม
หรอื วรรคสี่ดว้ ย ให้ผนู้ ัน้ ตอ้ งรบั โทษที่มีอัตราโทษสงู ทีส่ ุดแต่กระทงเดยี ว”

มาตรา ๘ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
เก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน

“มาตรา ๑๔ ผู้ใดกระทําความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปี
หรือปรับไมเ่ กนิ หนึง่ แสนบาท หรอื ทงั้ จําทง้ั ปรบั

(๑) โดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีบิดเบือน
หรอื ปลอมไม่วา่ ทง้ั หมดหรือบางส่วน หรอื ข้อมลู คอมพิวเตอร์อนั เป็นเทจ็ โดยประการท่ีน่าจะเกิดความเสียหาย
แก่ประชาชน อันมใิ ชก่ ารกระทาํ ความผิดฐานหม่ินประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา

(๒) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิด
ความเสียหายต่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคง
ในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพ้ืนฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะของประเทศ หรือก่อให้เกิด
ความตนื่ ตระหนกแกป่ ระชาชน

(๓) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง
แหง่ ราชอาณาจักรหรือความผดิ เกย่ี วกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา

(๔) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูล
คอมพวิ เตอรน์ น้ั ประชาชนท่ัวไปอาจเข้าถึงได้

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๒๗ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

(๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑)
(๒) (๓) หรือ (๔)

ถ้าการกระทําความผิดตามวรรคหน่ึง (๑) มิได้กระทําต่อประชาชน แต่เป็นการกระทําต่อบุคคลใด
บุคคลหนึ่ง ผู้กระทํา ผู้เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ดังกล่าวต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี
หรอื ปรับไม่เกนิ หกหม่ืนบาท หรือทงั้ จําท้งั ปรบั และให้เป็นความผดิ อนั ยอมความได”้

มาตรา ๙ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
เกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน

“มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดให้ความร่วมมือ ยินยอม หรือรู้เห็นเป็นใจให้มีการกระทําความผิด
ตามมาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทําความผิด
ตามมาตรา ๑๔

ให้รัฐมนตรีออกประกาศกําหนดขั้นตอนการแจ้งเตือน การระงับการทําให้แพร่หลายของ
ขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์ และการนาํ ขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์น้นั ออกจากระบบคอมพวิ เตอร์

ถ้าผู้ให้บริการพิสูจน์ได้ว่าตนได้ปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีท่ีออกตามวรรคสอง ผู้นั้นไม่ต้อง
รบั โทษ”

มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๖ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
เกีย่ วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนแี้ ทน

“มาตรา ๑๖ ผู้ใดนําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนท่ัวไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์
ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น และภาพน้ันเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลง
ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด โดยประการท่ีน่าจะทําให้ผู้อ่ืนน้ันเสียชื่อเสียง ถูกดูหม่ิน
ถูกเกลยี ดชงั หรอื ไดร้ ับความอบั อาย ตอ้ งระวางโทษจําคกุ ไมเ่ กินสามปี และปรบั ไม่เกินสองแสนบาท

ถา้ การกระทาํ ตามวรรคหนึ่งเป็นการกระทําตอ่ ภาพของผู้ตาย และการกระทํานั้นน่าจะทําให้บิดา
มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้ตายเสียช่ือเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย
ผู้กระทาํ ต้องระวางโทษดงั ทีบ่ ัญญตั ิไวใ้ นวรรคหนึง่

ถ้าการกระทําตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง เป็นการนําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยสุจริตอันเป็น
การตชิ มดว้ ยความเป็นธรรม ซึง่ บคุ คลหรือสงิ่ ใดอนั เป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทาํ ผ้กู ระทาํ ไมม่ คี วามผดิ

ความผดิ ตามวรรคหน่งึ และวรรคสองเป็นความผดิ อันยอมความได้
ถ้าผู้เสียหายในความผิดตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสองตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส
หรือบุตรของผู้เสยี หายรอ้ งทุกข์ได้ และใหถ้ ือวา่ เป็นผ้เู สยี หาย”
มาตรา ๑๑ ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๑๖/๑ และมาตรา ๑๖/๒ แห่งพระราชบัญญัติ
ว่าดว้ ยการกระทาํ ความผดิ เก่ยี วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๒๘ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

“มาตรา ๑๖/๑ ในคดีความผิดตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๖ ซึ่งมีคําพิพากษาว่าจําเลย
มคี วามผดิ ศาลอาจสัง่

(๑) ใหท้ ําลายข้อมลู ตามมาตราดงั กล่าว
(๒) ใหโ้ ฆษณาหรือเผยแพร่คําพิพากษาท้ังหมดหรือแต่บางส่วนในส่ืออิเล็กทรอนิกส์ วิทยุกระจายเสียง
วิทยุโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ หรือสื่ออื่นใด ตามที่ศาลเห็นสมควร โดยให้จําเลยเป็นผู้ชําระค่าโฆษณา
หรอื เผยแพร่
(๓) ให้ดําเนินการอื่นตามท่ีศาลเห็นสมควรเพื่อบรรเทาความเสียหายท่ีเกิดข้ึนจากการกระทํา
ความผิดน้นั
มาตรา ๑๖/๒ ผู้ใดรู้ว่าข้อมูลคอมพิวเตอร์ในความครอบครองของตนเป็นข้อมูลท่ีศาลสั่งให้ทําลาย
ตามมาตรา ๑๖/๑ ผู้น้ันต้องทําลายข้อมูลดังกล่าว หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษก่ึงหน่ึงของโทษท่ีบัญญัติไว้
ในมาตรา ๑๔ หรอื มาตรา ๑๖ แล้วแตก่ รณ”ี
มาตรา ๑๒ ให้เพ่ิมความต่อไปนเ้ี ป็นมาตรา ๑๗/๑ ในหมวด ๑ ความผดิ เก่ียวกับคอมพิวเตอร์
แหง่ พระราชบญั ญัตวิ ่าดว้ ยการกระทาํ ความผิดเกีย่ วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
“มาตรา ๑๗/๑ ความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง
มาตรา ๑๖/๒ มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๗ ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบท่ีรัฐมนตรีแต่งตั้ง
มีอํานาจเปรยี บเทยี บได้
คณะกรรมการเปรียบเทียบท่ีรัฐมนตรีแต่งต้ังตามวรรคหนึ่งให้มีจํานวนสามคนซึ่งคนหนึ่งต้องเป็น
พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
เมื่อคณะกรรมการเปรียบเทียบได้ทําการเปรียบเทียบกรณีใดและผู้ต้องหาได้ชําระเงินค่าปรับ
ตามคําเปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเปรียบเทียบกําหนดแล้ว ให้ถือว่าคดีน้ันเป็นอันเลิกกัน
ตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
ในกรณที ผ่ี ตู้ อ้ งหาไม่ชําระเงินค่าปรับภายในระยะเวลาท่ีกําหนด ให้เริ่มนับอายุความในการฟ้องคดีใหม่
นบั ต้ังแต่วนั ท่คี รบกาํ หนดระยะเวลาดังกล่าว”
มาตรา ๑๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๘ และมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วย
การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนแ้ี ทน
“มาตรา ๑๘ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๙ เพ่ือประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีที่มี
เหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติน้ี หรือในกรณีท่ีมีการร้องขอตามวรรคสอง
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจอย่างหน่ึงอย่างใด ดังต่อไปนี้ เฉพาะท่ีจําเป็นเพื่อประโยชน์ในการใช้เป็น
หลักฐานเกี่ยวกับการกระทาํ ความผิดและหาตัวผกู้ ระทาํ ความผดิ

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๒๙ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

(๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระทําความผิดมาเพื่อให้ถ้อยคํา
สง่ คาํ ชี้แจงเปน็ หนังสือ หรือสง่ เอกสาร ข้อมูล หรอื หลกั ฐานอ่นื ใดทีอ่ ยใู่ นรปู แบบท่สี ามารถเข้าใจได้

(๒) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอรจ์ ากผู้ให้บรกิ ารเก่ียวกับการติดตอ่ สื่อสารผา่ นระบบคอมพิวเตอร์
หรอื จากบคุ คลอื่นท่เี กี่ยวข้อง

(๓) สั่งให้ผู้ให้บริการส่งมอบข้อมูลเก่ียวกับผู้ใช้บริการที่ต้องเก็บตามมาตรา ๒๖ หรือที่อยู่
ในความครอบครองหรือควบคุมของผูใ้ ห้บริการใหแ้ ก่พนกั งานเจา้ หน้าท่หี รือให้เก็บขอ้ มลู ดงั กล่าวไว้ก่อน

(๔) ทําสําเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากระบบคอมพิวเตอร์ที่มี
เหตุอันควรเช่ือได้ว่ามีการกระทําความผิด ในกรณีท่ีระบบคอมพิวเตอร์น้ันยังมิได้อยู่ในความครอบครอง
ของพนกั งานเจา้ หนา้ ที่

(๕) ส่ังใหบ้ ุคคลซึง่ ครอบครองหรอื ควบคมุ ข้อมลู คอมพวิ เตอร์ หรืออุปกรณ์ท่ีใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์
สง่ มอบขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ หรอื อุปกรณด์ งั กล่าวให้แกพ่ นกั งานเจา้ หนา้ ท่ี

(๖) ตรวจสอบหรือเข้าถงึ ระบบคอมพิวเตอร์ ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
หรืออุปกรณ์ท่ีใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใด อันเป็นหลักฐานหรืออาจใช้เป็นหลักฐานเก่ียวกับ
การกระทําความผิด หรือเพื่อสืบสวนหาตัวผู้กระทําความผิดและส่ังให้บุคคลน้ันส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์
ขอ้ มูลจราจรทางคอมพวิ เตอร์ ท่ีเกยี่ วข้องเท่าทจ่ี ําเป็นให้ดว้ ยกไ็ ด้

(๗) ถอดรหสั ลบั ของขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์ของบุคคลใด หรือสั่งให้บุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับการเข้ารหัสลับ
ของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทําการถอดรหัสลับ หรือให้ความร่วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าท่ีในการถอดรหัสลับ
ดงั กลา่ ว

(๘) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์เท่าท่ีจําเป็นเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการทราบรายละเอียด
แห่งความผดิ และผ้กู ระทาํ ความผดิ

เพ่ือประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวนของพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา ในบรรดาความผิดอาญาต่อกฎหมายอ่ืนซ่ึงได้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์
หรืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบหรือเป็นส่วนหน่ึงในการกระทําความผิด
หรือมีข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับการกระทําความผิดอาญาตามกฎหมายอื่น พนักงานสอบสวน
อาจร้องขอให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีตามวรรคหน่ึงดําเนินการตามวรรคหน่ึงก็ได้ หรือหากปรากฏข้อเท็จจริง
ดังกล่าวต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เนื่องจากการปฏิบัติหน้าท่ีตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ี
รบี รวบรวมข้อเท็จจริงและหลักฐานแล้วแจ้งไปยงั เจา้ หน้าท่ที เี่ กีย่ วขอ้ งเพอื่ ดําเนินการต่อไป

ให้ผู้ได้รับการร้องขอจากพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามวรรคหน่ึง (๑) (๒) และ (๓) ดําเนินการ
ตามคําร้องขอโดยไม่ชักช้า แต่ต้องไม่เกินเจ็ดวันนับแต่วันท่ีได้รับคําร้องขอ หรือภายในระยะเวลาท่ีพนักงาน

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๓๐ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

เจา้ หนา้ ท่ีกาํ หนดซ่งึ ต้องไม่น้อยกวา่ เจ็ดวันและไมเ่ กินสิบหา้ วัน เว้นแต่ในกรณีท่ีมีเหตุสมควร ต้องได้รับอนุญาต
จากพนักงานเจ้าหน้าที่ ท้ังน้ี รัฐมนตรีอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดระยะเวลาท่ีต้องดําเนินการ
ท่เี หมาะสมกับประเภทของผ้ใู หบ้ ริการกไ็ ด้

มาตรา ๑๙ การใชอ้ าํ นาจของพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘)
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ย่ืนคําร้องต่อศาลท่ีมีเขตอํานาจเพ่ือมีคําสั่งอนุญาตให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีดําเนินการ
ตามคําร้อง ท้ังนี้ คําร้องต้องระบุเหตุอันควรเชื่อได้ว่าบุคคลใดกระทําหรือกําลังจะกระทําการอย่างหนึ่ง
อย่างใดอันเป็นความผิด เหตุที่ต้องใช้อํานาจ ลักษณะของการกระทําความผิด รายละเอียดเก่ียวกับอุปกรณ์
ทใ่ี ช้ในการกระทําความผดิ และผู้กระทําความผิด เท่าทีส่ ามารถจะระบุได้ ประกอบคาํ ร้องด้วย ในการพิจารณา
คําร้องใหศ้ าลพิจารณาคาํ ร้องดงั กลา่ วโดยเร็ว

เมื่อศาลมีคําส่ังอนุญาตแล้ว ก่อนดําเนินการตามคําส่ังของศาล ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีส่งสําเนา
บันทึกเหตุอันควรเชื่อท่ีทําให้ต้องใช้อํานาจตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให้เจ้าของ
หรอื ผ้คู รอบครองระบบคอมพวิ เตอร์นนั้ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน แต่ถ้าไม่มีเจ้าของหรือผู้ครอบครองเคร่ืองคอมพิวเตอร์อยู่
ณ ท่ีน้ัน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งมอบสําเนาบันทึกน้ันให้แก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองดังกล่าวในทันที
ที่กระทําได้

ใหพ้ นกั งานเจ้าหน้าที่ผ้เู ป็นหัวหน้าในการดาํ เนินการตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘)
ส่งสําเนาบันทึกรายละเอียดการดําเนินการและเหตุผลแห่งการดําเนินการให้ศาลท่ีมีเขตอํานาจภายใน
ส่สี บิ แปดชัว่ โมงนับแต่เวลาลงมอื ดาํ เนนิ การ เพื่อเป็นหลักฐาน

การทําสําเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามมาตรา ๑๘ (๔) ให้กระทําได้เฉพาะเมื่อมีเหตุอันควร
เชื่อได้ว่ามีการกระทําความผิด และต้องไม่เป็นอุปสรรคในการดําเนินกิจการของเจ้าของหรือผู้ครอบครอง
ข้อมูลคอมพิวเตอรน์ นั้ เกนิ ความจําเปน็

การยึดหรืออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะตอ้ งส่งมอบสําเนาหนังสือแสดงการยึดหรืออายัด
มอบให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็นหลักฐานแล้ว พนักงานเจ้าหน้าท่ีจะสั่งยึด
หรืออายัดไว้เกินสามสิบวันมิได้ ในกรณีจําเป็นท่ีต้องยึดหรืออายัดไว้นานกว่าน้ัน ให้ย่ืนคําร้องต่อศาลท่ีมี
เขตอํานาจเพ่ือขอขยายเวลายึดหรืออายัดได้ แต่ศาลจะอนุญาตให้ขยายเวลาคร้ังเดียวหรือหลายคร้ัง
รวมกันได้อีกไม่เกินหกสิบวัน เม่ือหมดความจําเป็นที่จะยึดหรืออายัดหรือครบกําหนดเวลาดังกล่าวแล้ว
พนกั งานเจ้าหน้าท่ีตอ้ งส่งคนื ระบบคอมพวิ เตอร์ทย่ี ดึ หรอื ถอนการอายดั โดยพลนั

หนงั สือแสดงการยดึ หรอื อายัดตามวรรคห้าให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง”
มาตรา ๑๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
เกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใชค้ วามต่อไปน้ีแทน

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๓๑ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

“มาตรา ๒๐ ในกรณีที่มกี ารทําใหแ้ พร่หลายซง่ึ ข้อมลู คอมพวิ เตอร์ ดังตอ่ ไปน้ี พนักงานเจ้าหน้าที่
โดยไดร้ บั ความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจย่ืนคําร้องพร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลท่ีมีเขตอํานาจขอให้มี
คาํ สั่งระงบั การทาํ ใหแ้ พร่หลายหรือลบขอ้ มลู คอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพวิ เตอรไ์ ด้

(๑) ขอ้ มลู คอมพวิ เตอรท์ เี่ ป็นความผดิ ตามพระราชบัญญตั ินี้
(๒) ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่อาจกระทบกระเทือนต่อความม่ันคงแห่งราชอาณาจักรตามท่ีกําหนดไว้
ในภาค ๒ ลักษณะ ๑ หรอื ลักษณะ ๑/๑ แหง่ ประมวลกฎหมายอาญา
(๓) ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นความผิดอาญาตามกฎหมายเก่ียวกับทรัพย์สินทางปัญญา
หรือกฎหมายอ่นื ซ่งึ ขอ้ มูลคอมพิวเตอรน์ ั้นมลี กั ษณะขดั ต่อความสงบเรียบรอ้ ยหรอื ศีลธรรมอันดีของประชาชน
และเจ้าหนา้ ทีต่ ามกฎหมายนนั้ หรือพนกั งานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญาได้ร้องขอ
ในกรณีที่มีการทําให้แพร่หลายซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อย
หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกล่ันกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
จะมอบหมายให้พนักงานเจ้าหน้าท่ียื่นคําร้องพร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลท่ีมีเขตอํานาจขอให้มีคําสั่ง
ระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์น้ันออกจากระบบคอมพิวเตอร์ได้ ท้ังนี้ ให้นําบทบัญญัติ
ว่าด้วยคณะกรรมการที่มีอํานาจดําเนินการพิจารณาทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครองมาใชบ้ ังคบั กับการประชมุ ของคณะกรรมการกลัน่ กรองขอ้ มูลคอมพิวเตอร์โดยอนโุ ลม
ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามวรรคสองข้ึนคณะหนึ่ง
หรือหลายคณะ แต่ละคณะให้มีกรรมการจํานวนเก้าคนซ่ึงสามในเก้าคนต้องมาจากผู้แทนภาคเอกชน
ด้านสิทธิมนุษยชน ด้านสื่อสารมวลชน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือด้านอื่นที่เก่ียวข้อง และให้กรรมการ
ได้รับคา่ ตอบแทนตามหลกั เกณฑ์ที่รัฐมนตรีกาํ หนดโดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง
การดําเนินการของศาลตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้นําประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีท่ีศาลมีคําส่ังให้ระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์
ตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง พนักงานเจ้าหน้าท่ีจะทําการระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์
นั้นเองหรือจะส่ังให้ผู้ให้บริการระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นก็ได้ ท้ังนี้ ให้รัฐมนตรี
ประกาศกําหนดหลักเกณฑ์ ระยะเวลา และวิธีการปฏิบัติสําหรับการระงับการทําให้แพร่หลายหรือ
ลบข้อมลู คอมพวิ เตอรข์ องพนักงานเจ้าหนา้ ที่หรอื ผูใ้ หบ้ ริการให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันโดยคํานึงถึงพัฒนาการ
ทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป เว้นแต่ศาลจะมีคําส่งั เป็นอย่างอน่ื
ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นเร่งด่วน พนักงานเจ้าหน้าท่ีจะย่ืนคําร้องตามวรรคหนึ่งไปก่อนที่จะได้รับ
ความเห็นชอบจากรัฐมนตรี หรือพนักงานเจ้าหน้าที่โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกลั่นกรอง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์จะยื่นคําร้องตามวรรคสองไปก่อนท่ีรัฐมนตรีจะมอบหมายก็ได้ แต่ทั้งนี้ต้องรายงาน
ให้รัฐมนตรที ราบโดยเร็ว”

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๓๒ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๑๕ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วย
การกระทําความผิดเกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความตอ่ ไปนแี้ ทน

“ชุดคําส่ังไม่พึงประสงค์ตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคําสั่งท่ีมีผลทําให้ข้อมูลคอมพิวเตอร์
หรือระบบคอมพิวเตอร์หรือชุดคําสั่งอ่ืนเกิดความเสียหาย ถูกทําลาย ถูกแก้ไขเปล่ียนแปลงหรือเพิ่มเติม
ขัดข้องหรือปฏิบัติงานไม่ตรงตามคําส่ัง หรือโดยประการอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง เว้นแต่
เป็นชุดคําส่ังไม่พึงประสงค์ที่อาจนํามาใช้เพื่อป้องกันหรือแก้ไขชุดคําสั่งดังกล่าวข้างต้น ทั้งน้ี รัฐมนตรี
อาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดรายช่ือ ลักษณะ หรือรายละเอียดของชุดคําสั่งไม่พึงประสงค์
ซง่ึ อาจนาํ มาใชเ้ พอื่ ปอ้ งกันหรอื แก้ไขชดุ คาํ สงั่ ไม่พงึ ประสงค์กไ็ ด”้

มาตรา ๑๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๕
แห่งพระราชบญั ญัตวิ ่าดว้ ยการกระทําความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใชค้ วามต่อไปน้แี ทน

“มาตรา ๒๒ ห้ามมใิ หพ้ นักงานเจา้ หน้าท่แี ละพนักงานสอบสวนในกรณีตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง
เปิดเผยหรือส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการท่ีได้มา
ตามมาตรา ๑๘ ให้แกบ่ คุ คลใด

ความในวรรคหน่ึงมิให้ใช้บังคับกับการกระทําเพ่ือประโยชน์ในการดําเนินคดีกับผู้กระทําความผิด
ตามพระราชบัญญัติน้ีหรือผู้กระทําความผิดตามกฎหมายอ่ืนในกรณีตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง
หรือเพื่อประโยชน์ในการดําเนินคดีกับพนักงานเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการใช้อํานาจหน้าที่โดยมิชอบ
หรือกับพนักงานสอบสวนในส่วนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง โดยมิชอบ
หรือเป็นการกระทาํ ตามคําสงั่ หรอื ทีไ่ ดร้ บั อนญุ าตจากศาล

พนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือพนักงานสอบสวนผู้ใดฝ่าฝืนวรรคหนึ่งต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี
หรือปรบั ไมเ่ กินหกหม่ืนบาท หรือทัง้ จําทั้งปรบั

มาตรา ๒๓ พนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือพนักงานสอบสวนในกรณีตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง
ผใู้ ดกระทําโดยประมาทเป็นเหตุใหผ้ อู้ นื่ ล่วงรขู้ ้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูล
ของผู้ใช้บริการ ท่ีได้มาตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
หรือทง้ั จําทั้งปรบั

มาตรา ๒๔ ผู้ใดล่วงรู้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของ
ผู้ใช้บริการที่พนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือพนักงานสอบสวนได้มาตามมาตรา ๑๘ และเปิดเผยข้อมูลน้ันต่อ
ผ้หู นง่ึ ผู้ใด ตอ้ งระวางโทษจาํ คุกไมเ่ กนิ สองปี หรอื ปรบั ไม่เกินส่ีหม่นื บาท หรือทง้ั จําทัง้ ปรบั

มาตรา ๒๕ ข้อมูล ข้อมลู คอมพิวเตอร์ หรือขอ้ มลู จราจรทางคอมพวิ เตอรท์ ีพ่ นักงานเจ้าหนา้ ท่ีได้มา
ตามพระราชบัญญัตินี้หรือที่พนักงานสอบสวนได้มาตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง ให้อ้างและรับฟังเป็น
พยานหลักฐานตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาหรือกฎหมายอ่ืนอันว่าด้วย

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๓๓ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

การสบื พยานได้ แตต่ ้องเป็นชนิดทม่ี ไิ ด้เกิดขึน้ จากการจงู ใจ มีคาํ มัน่ สัญญา ขู่เขญ็ หลอกลวง หรือโดยมิชอบ
ประการอืน่ ”

มาตรา ๑๗ ให้ยกเลิกความในวรรคหน่ึงของมาตรา ๒๖ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วย
การกระทาํ ความผดิ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนีแ้ ทน

“มาตรา ๒๖ ผู้ให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน
นบั แตว่ ันท่ขี อ้ มูลนั้นเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจําเป็น พนักงานเจ้าหน้าที่จะส่ังให้ผู้ให้บริการผู้ใด
เก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้เกินเก้าสิบวันแต่ไม่เกินสองปีเป็นกรณีพิเศษเฉพาะราย
และเฉพาะคราวกไ็ ด”้

มาตรา ๑๘ ใหเ้ พม่ิ ความต่อไปนเ้ี ปน็ วรรคสองและวรรคสามของมาตรา ๒๘ แห่งพระราชบัญญัติ
ว่าดว้ ยการกระทําความผดิ เกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐

“ผู้ที่ได้รับการแต่งต้ังเป็นพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติน้ี อาจได้รับค่าตอบแทนพิเศษ
ตามท่ีรัฐมนตรกี ําหนดโดยไดร้ ับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลงั

ในการกําหนดให้ได้รับค่าตอบแทนพิเศษต้องคํานึงถึงภาระหน้าท่ี ความรู้ความเช่ียวชาญ
ความขาดแคลนในการหาผู้มาปฏิบัตหิ น้าท่หี รอื มีการสญู เสยี ผปู้ ฏิบัติงานออกจากระบบราชการเป็นจํานวนมาก
คุณภาพของงาน และการดํารงตนอยู่ในความยุติธรรมโดยเปรียบเทียบค่าตอบแทนของผู้ปฏิบัติงานอ่ืน
ในกระบวนการยุติธรรมด้วย”

มาตรา ๑๙ ใหเ้ พ่ิมความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๓๑ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
เกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐

“มาตรา ๓๑ ค่าใช้จ่ายในเรื่องดังต่อไปนี้ รวมท้ังวิธีการเบิกจ่ายให้เป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรี
กาํ หนดโดยได้รบั ความเหน็ ชอบจากกระทรวงการคลัง

(๑) การสบื สวน การแสวงหาข้อมูล และรวบรวมพยานหลักฐานในคดีความผิดตามพระราชบัญญตั ิน้ี
(๒) การดําเนินการตามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) และมาตรา ๒๐
(๓) การดําเนินการอื่นใดอันจําเป็นแก่การป้องกันและปราบปรามการกระทําความผิด
ตามพระราชบญั ญัตนิ ้”ี
มาตรา ๒๐ บรรดาระเบียบหรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ท่ีใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ยังคง
ใช้บังคับต่อไปเท่าท่ีไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเก่ียวกับ
คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีระเบียบหรือประกาศท่ีต้อง
ออกตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติม
โดยพระราชบัญญตั นิ ้ี ใชบ้ ังคับ

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๓๔ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

การดําเนินการออกระเบียบหรือประกาศตามวรรคหน่ึง ให้ดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวัน
นับแต่วันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หากไม่สามารถดําเนินการได้ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมรายงานเหตผุ ลทีไ่ มอ่ าจดําเนนิ การได้ตอ่ คณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ

มาตรา ๒๑ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมรักษาการ
ตามพระราชบญั ญตั นิ ี้

ผรู้ บั สนองพระราชโองการ
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา

นายกรัฐมนตรี

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๓๕ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ีพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีบทบัญญัติบางประการท่ีไม่เหมาะสมต่อการป้องกันและปราบปราม
การกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ซ่ึงมีรูปแบบการกระทําความผิดท่ีมีความซับซ้อนมากข้ึน
ตามพัฒนาการทางเทคโนโลยีซ่ึงเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและโดยท่ีมีการจัดต้ังกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคมซ่ึงมีภารกิจในการกําหนดมาตรฐานและมาตรการในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ รวมทั้ง
การเฝ้าระวงั และติดตามสถานการณ์ด้านความมัน่ คงปลอดภยั ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของประเทศ
สมควรปรับปรุงบทบัญญัติในส่วนท่ีเกี่ยวกับผู้รักษาการตามกฎหมาย กําหนดฐานความผิดขึ้นใหม่ และแก้ไข
เพิ่มเติมฐานความผิดเดิม รวมทั้งบทกําหนดโทษของความผิดดังกล่าว การปรับปรุงกระบวนการและหลักเกณฑ์
ในการระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตลอดจนกําหนดให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบ
ซงึ่ มีอาํ นาจเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
และแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ อาํ นาจหนา้ ท่ีของพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีให้เหมาะสมยิ่งขนึ้ จงึ จําเปน็ ต้องตราพระราชบญั ญตั ิน้ี


Click to View FlipBook Version