The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้ วิชา สังคมศึกษา3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jeerawan7018, 2022-06-14 05:05:04

ใบความรู้ วิชา สังคมศึกษา3

ใบความรู้ วิชา สังคมศึกษา3

ใบความรู้เรอ่ื ง การเมอื งการปกครอง
สทิ ธิมนุษยชนและบทบาทหน้าทีต่ ามรัฐธรรมนูญ

สิทธิมนษุ ยชน หมายถึง สทิ ธิขัน้ พน้ื ฐานที่พงึ มโี ดยเสมอภาคกัน เพอ่ื การดารงชวี ิตได้อย่าง มศี กั ดิ์ศรมี โี อกาสเท่า
เทยี มกนั ในการเรยี นรแู้ ละพฒั นาศกั ยภาพของตนเองอย่างเต็มท่แี ละสร้างสรรค์ ดังนน้ั จึงเปน็ สทิ ธทิ ่ไี ด้มาพร้อมกับการ
เกิดและเปน็ สิทธิตดิ ตวั บุคคลนั้นตลอดไปไม่ว่าจะอยใู่ นเขตปกครองใด หรอื เช้อื ชาติ ภาษา ศาสนาใด ๆ

สิทธิมนุษยชน หมายถึง แนวคดิ เกี่ยวกบั มนุษยท์ ่ีว่า มนุษย์นั้นมสี ทิ ธหิ รือสถานะสากล ซึ่งไมข่ ้ึนอยู่กับขอบเขต
ของกฎหมาย หรือปัจจัยทอ้ งถนิ่ อื่นใด เชน่ เช้อื ชาติ หรอื สัญชาติ

สทิ ธิ หมายถงึ อานาจอันชอบธรรม ซ่งึ ความถูกตอ้ งชอบธรรมนน้ั มที ่มี าจากการเคารพซึง่ กนั และกนั การใชส้ ทิ ธิ
นนั้ เราใชไ้ ดเ้ ทา่ ท่ีไม่ไปละเมิดในสทิ ธิของผู้อ่ืน เชน่ เคารพในสิทธขิ ้นั พน้ื ฐาน ซ่ึงถอื ว่าเปน็ ความจาเป็นของชีวิต

สทิ ธมิ นุษยชน หมายถึง สทิ ธิขน้ั พนื้ ฐานท่ีมนุษยเ์ กดิ มาพร้อมกับความเท่าเทียมกันในแง่ของศักด์แิ ละสิทธ์ิ เพื่อ
ดารงชีวิตอยา่ งมีศกั ดิ์ศรี โดยไมค่ านงึ ถึงความแตกต่างในเร่อื งเชือ้ ชาติ สีผวิ อายุ ศาสนา ภาษา และสถานภาพ ทาง
กายภาพและสุขภาพ รวมทั้งความเช่ือทางสังคม การเมือง ชาตกิ าเนดิ เหลา่ นี้ คือสทิ ธทิ ีม่ ีมาแต่กานิด ไมส่ ามารถถ่ายโอน
กนั ได้ เช่นสิทธิในรา่ งกาย สิทธใิ นชวี ติ เป็นต้น

สรุป
รัฐธรรมนญู ฉบบั ปัจจบุ นั ให้ความสาคัญกับการคุม้ ครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สทิ ธแิ ละ เสรภี าพของบุคคล ซง่ึ

เปน็ หวั ใจสาคญั ของสทิ ธิมนษุ ยชน และยงั มีการจัดตั้งคณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติขน้ึ โดยให้มหี นา้ ที่ตรวจสอบ
และรายงานการกระทาหรือละเว้นการกระทาทีล่ ะเมิดสิทธมิ นุษยชนตามกฎหมายไทย หรอื ตามพนั ธกรณรี ะหว่าง
ประเทศทีป่ ระเทศไทยได้รว่ มลงนาม โดยไมไ่ ด้แบ่งแยกวา่ บุคคลนน้ั จะมีอายเุ ท่าไร เพศใด เชอื้ ชาตใิ ด นบั ถอื ศาสนาและ
ภาษาอะไร มสี ถานภาพทางกายหรอื ฐานะใด หากบุคคลอยู่ในพนื้ ท่ีท่ใี ช้รฐั ธรรมนูญยอ่ มได้รับความค้มุ ครองสิทธิ เสรีภาพ
และมีความเทา่ เทียมกนั ในศักดิศ์ รีความเปน็ มนุษย์ ด้วยเหตนุ ีใ้ นการปฏิบตั งิ านตามอานาจหนา้ ท่ตี ลอดจนการตรา
กฎหมาย การตคี วาม และการบังคับใชก้ ฎหมายอาจมีการละเมดิ สิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามรฐั ธรรมนูญ หากถกู
ลดิ รอนหรอื ถูกละเมิดสิทธมิ นุษยชนกส็ ามารถร้องเรยี นต่อศาลเพื่อให้ดาเนนิ คดีได้

หน้าทข่ี องพลเมืองดตี ามรัฐธรรมนญู
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ได้กล่าวถึงหน้าของชนชาวไทยตามระบอบประชาธิปไตย อันมี

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซ่ึงเป็นหน้าท่ีตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายสูงสุดของประเทศ ซ่ึงทุกคนจะต้องรักษาและ
ปฏิบตั ิตามจะหลกี เลย่ี งไม่ได้ พอสรุปได้ ดังนี้

1. การรกั ษาชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
- การรักษาชาติ
- การรกั ษาศาสนา

- การรักษาพระมหากษัตริยแ์ ละการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็
ประมุข

2. การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย
เมื่อเราต้องเก่ียวขอ้ งหรอื สมั พนั ธก์ บั กฎหมายใดก็ต้องปฏิบัติตามกฎหมายนน้ั ๆอยา่ งเครง่ ครดั เพราะกฎหมายแต่

ละฉบบั นั้นได้มกี ารรา่ งและประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาอย่างเปดิ เผยต่อหน้าสาธารณชน
3. การไปใช้สทิ ธิเลือกตัง้ หน้าที่ = สามารถลงช่ือถอดถอน (20,000 คน) แตถ่ ้าไม่มาใชห้ นา้ ท่กี จ็ ะไม่มีสทิ ธ์ใิ น

การลงสมัครเลือกตง้ั
4. การพัฒนาประเทศ
4.1. การป้องกันประเทศ
4.2. การรับราชการทหาร
4.3. การเสยี ภาษีอากร
- ภาษเี งินได้บคุ คลธรรมดา
- ภาษเี งนิ ได้นิตบิ คุ คล
- ภาษีการคา้
- ค่าอากรแสตมป์
4.4. การช่วยเหลือราชการ
4.5. การศึกษาอบรม
4.6. การพิทกั ษป์ กป้องและสบื สานศลิ ปะ วัฒนธรรมของชาติและภูมิปัญญาท้องถนิ่
4.7. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
5. การปฏิบัติงานตามกฎหมายเพ่ือประโยชนส์ ่วนรวม

แนวทางการปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมอื งดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตยควรมีแนวทางการปฏิบัติตนดังนี้ คอื
1) ดา้ นสังคม ไดแ้ ก่

(1) การแสดงความคดิ อย่างมีเหตผุ ล
(2) การรับฟงั ขอ้ คดิ เห็นของผอู้ ่นื
(3) การยอมรับเม่ือผอู้ น่ื มีเหตุผลทด่ี ีกว่า
(4) การตัดสนิ ใจโดยใชเ้ หตุผลมากกว่าอารมณ์
(5) การเคารพระเบียบของสังคม
(6) การมีจิตสาธารณะ คือ เห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวมและรกั ษาสาธารณสมบตั ิ
2) ดา้ นเศรษฐกิจ ไดแ้ ก่
(1) การประหยัดและอดออมในครอบครัว
(2) การซื่อสัตยส์ ุจรติ ต่ออาชีพที่ทา
(3) การพัฒนางานอาชีพให้ก้าวหน้า
(4) การใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและสังคม

(5) การสร้างงานและสร้างสรรค์ส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อสังคมไทย
และสงั คมโลก

(6) การเปน็ ผผู้ ลติ และผบู้ ริโภคที่ดี มีความซือ่ สัตย์ ยดึ มนั่ ในอุดมการณ์ที่ดตี ่อชาตเิ ป็น
สาคญั

3) ด้านการเมืองการปกครอง ได้แก่
(1) การเคารพกฎหมาย
(2) การรบั ฟงั ขอ้ คิดเห็นของทกุ คนโดยอดทนต่อความขดั แยง้ ทีเ่ กดิ ขึน้
(3) การยอมรบั ในเหตุผลที่ดีกวา่
(4) การซ่อื สตั ย์ตอ่ หนา้ ท่โี ดยไมเ่ หน็ แก่ประโยชนส์ ว่ นตน
(5) การกล้าเสนอความคิดเห็นต่อส่วนรวม กลา้ เสนอตนเองในการทาหน้าที่
สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร หรอื สมาชกิ วุฒิสภา
(6) การทางานอย่างเต็มความสามารถ เตม็ เวลา

การสง่ เสริมใหผ้ ้อู น่ื ปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมอื งดี
การทบ่ี คุ คลปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตยแล้ว ควรสนับสนุนสง่ เสริมให้บุคคลอื่นปฏิบัตติ นเปน็

พลเมอื งดใี นวถิ ปี ระชาธิปไตยดว้ ย โดยมแี นวทางการปฏบิ ัติดังน้ี
1. การปฏบิ ัตติ นให้เป็นพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย โดยยึดม่ันในคุณธรรมจริยธรรมของศาสนาและหลักการ

ของประชาธปิ ไตยมาใชใ้ นวถิ ีการดารงชวี ิตประจาวนั เพอื่ เป็นแบบอยา่ งท่ีดแี ก่คนรอบข้าง
2. เผยแพร่ อบรม หรือส่ังสอนบุคคลในครอบครัว เพ่ือนบ้าน คนในสังคม ให้ใช้หลักการทางประชาธิปไตย

เป็นพ้ืนฐานในการดารงชวี ิตประจาวัน
3. สนับสนุนชุมชนในเร่ืองที่เก่ียวกับการปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามกฎหมาย โดยการบอกเล่า เขียนบทความ

เผยแพร่ผา่ นส่ือมวลชน
4. ชักชวน หรือสนับสนุนคนดีมีความสามารถในการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมทางการเมืองหรือกิจกรรม

สาธารณประโยชน์ของชุมชน
5. เป็นหูเป็นตาให้กับรัฐหรือหน่วยงานของานรัฐในการสนับสนุนคนดี และกาจัดคนท่ีเป็นภัยกับสังคมการ

สนับสนนุ ใหผ้ ูอ้ ่นื ปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมืองดใี นวิถีประชาธิปไตย ควรเป็นจิตสานึกที่บุคคลพึงปฏิบัติเพื่อให้เกิดประชาธิปไตย
อยา่ งแทจ้ รงิ


Click to View FlipBook Version