The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สุธิดา12

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุธิดา ลอดทอง, 2020-02-20 00:29:11

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สุธิดา12

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สุธิดา12

1

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนของ
ประชาชนในทุกระดบั ต้งั แตร่ ะดบั ครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั
รัฐ ท้งั ในการพฒั นาและบริหารประเทศใหด้ าเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ เพอื่ ใหก้ า้ วทนั ตอ่ โลกยคุ โลกาภิวตั น์

2

ความพอเพยี ง

หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล รวมถึงความจาเป็นที่จะตอ้ ง
มีระบบภูมิคุม้ กนั ในตวั ท่ีดีพอสมควร ตอ่ การกระทบใด ๆ อนั เกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงท้งั ภายในภายนอก ท้งั น้ี จะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้
ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยา่ งยง่ิ ในการนาวิชาการตา่ ง ๆ มา
ใชใ้ นการวางแผนและการดาเนินการ ทุกข้นั ตอน และขณะเดียวกนั
จะตอ้ งเสริมสร้างพ้นื ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ที่ของ
รัฐ นกั ทฤษฎีและนกั ธุรกิจในทุกระดบั ใหม้ ีสานึกในคุณธรรม ความ
ซ่ือสตั ยส์ ุจริต และใหม้ คี วามรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวติ ดว้ ยความ
อดทน ความเพยี ร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพอ่ื ใหส้ มดุลและ
พร้อมตอ่ การรองรับการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วและกวา้ งขวาง ท้งั
ดา้ นวตั ถุ สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็น
อยา่ งดี

3

ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง

ประกอบดว้ ยคุณสมบตั ิ ดงั น้ี
๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไมน่ อ้ ยเกินไปและไม่
มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผอู้ ่ืน เช่น การผลิตและ
การบริโภคที่อยใู่ นระดบั พอประมาณ

4

๒. ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตดั สินใจเกี่ยวกบั ระดบั ความ
พอเพยี งน้นั จะตอ้ งเป็นไปอยา่ งมีเหตผุ ล โดยพจิ ารณาจากเหตุ
ปัจจยั ที่เก่ียวขอ้ ง ตลอดจนคานึงถงึ ผลที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนจากการ
กระทาน้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ

5

๓. ภูมิคุม้ กนั หมายถึง ภูมิคุม้ กนั หมายถงึ การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรับ
ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ ง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึน โดย
คานึงถงึ ความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์
ต่าง ๆ ที่คาดวา่ จะเกิดข้นึ ในอนาคต

6

เงื่อนไข ของการตดั สินใจและการดาเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ
ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพยี ง ๒ ประการ ดงั น้ี

๑. เง่ือนไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เกี่ยวกบั วชิ าการ
ตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งรอบดา้ น ความรอบคอบที่จะนาความรู้
เหล่าน้นั มาพิจารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั เพอื่ ประกอบการวางแผน
และความระมดั ระวงั ในการปฏิบตั ิ

7

๒. เง่ือนไขคุณธรรม ท่ีจะตอ้ งเสริมสร้าง ประกอบดว้ ย มี
ความตระหนกั ใน คุณธรรม มีความซื่อสัตยส์ ุจริตและมีความ
อดทน มีความเพียร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวิต

8

แนวทางการทาการเกษตรแบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เนน้ หาขา้ วหาปลาก่อนหาเงินหาทอง คือ ทามาหากินก่อนทามาคา้ ขาย
1.การทาไร่นาสวนผสมและการเกษตรผสมผสานเพอ่ื ใหเ้ กษตรกร
พฒั นาตนเองแบบเศรษฐกิจพอเพียง
2.การปลูกพืชผกั สวนครัวลดค่าใชจ้ า่ ย
3.การทาป๋ ุยหมกั ป๋ ยุ คอกและใชว้ สั ดุเหลอื ใชเ้ ป็นปัจจยั การผลิต(ป๋ ยุ )เพอ่ื
ลดคา่ ใชจ้ ่ายและบารุงดิน
4.การเพาะเห็ดฟางจากวสั ดุเหลือใชใ้ นไร่นา
5.การปลกู ไมผ้ ลสวนหลงั บา้ น และไมใ้ ชส้ อยในครัวเรือน

9

6.การปลกู พืชสมนุ ไพร ช่วยส่งเสริมสุขภาพอนามยั
7.การเล้ียงปลาในร่องสวน ในนาขา้ วและแหลง่ น้า เพอื่ เป็นอาหาร
โปรตีนและรายไดเ้ สริม
8.การเล้ียงไกพ่ ้ืนเมือง และไก่ไข่ ประมาณ 10-15 ตวั ตอ่ ครัวเรือนเพอื่
เป็นอาหารในครัวเรือน โดยใชเ้ ศษอาหาร รา และปลายขา้ วจากผลผลิต
การทานา ขา้ วโพดเล้ียงสตั วจากการปลกู พชื ไร่ เป็นตน้
9.การทากา๊ ซชีวภาพจากมลู สตั ว์

พระราชดารัสโดยย่อเกย่ี วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง 10

0

00
00

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงเขา้ พระราชหฤทยั ในความเป็นไป
ของเมืองไทยและคนไทยอยา่ งลึกซ้ึงและกวา้ งไกล ไดท้ รงวางรากฐาน
ในการพฒั นาชนบท และช่วยเหลือประชาชนใหส้ ามารถพ่ึงตนเองไดม้ ี
ความ " พออยพู่ อกิน" และมีความอิสระที่จะอยไู่ ดโ้ ดยไมต่ อ้ งติดยดึ อยู่
กบั เทคโนโลยแี ละความเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวฒั น์ ทรง
วเิ คราะห์วา่ หากประชาชนพ่งึ ตนเองไดแ้ ลว้ ก็จะมีส่วนช่วยเหลือ
เสริมสร้างประเทศชาตโิ ดยส่วนรวมไดใ้ นที่สุด พระราชดารัสที่
สะทอ้ นถึงพระวสิ ัยทศั น์ในการสร้างความเขม้ แขง็ ในตนเองของ
ประชาชนและสามารถทามาหากินใหพ้ ออยพู่ อกินได้

11

"….ในการสร้างถนน สร้างชลประทานใหป้ ระชาชนใชน้ ้นั จะตอ้ งช่วย
ประชาชนในทางบุคคลหรือพฒั นาใหบ้ ุคคลมีความรู้และอนามยั
แขง็ แรง ดว้ ยการใหก้ ารศึกษาและการรักษาอนามยั เพอื่ ใหป้ ระชาชน
ในทอ้ งท่ีสามารถทาการเกษตรได้ และคา้ ขายได…้ "

12

ในสภาวการณ์ปัจจุบนั ซ่ึงเกิดความถดถอยทางเศรษฐกิจอยา่ งรุนแรง
ข้ึนน้ีจึงทาใหเ้ กิดความเขา้ ใจไดช้ ดั เจนในแนวพระราชดาริของ
"เศรษฐกิจพอเพยี ง" ซ่ึงไดท้ รงคิดและตระหนกั มาชา้ นาน เพราะหาก
เราไมไ่ ปพง่ี พา ยดึ ติดอยกู่ บั กระแสจากภายนอกมากเกินไป จนได้
ครอบงาความคิดในลกั ษณะด้งั เดิมแบบไทยๆไปหมด มีแต่ความ
ทะเยอทะยานบนรากฐานท่ีไมม่ น่ั คงเหมือนลกั ษณะฟองสบู่ วกิ ฤต
เศรษฐกิจเช่นน้ีอาจไม่เกิดข้ึน หรือไม่หนกั หนาสาหสั จนเกิดความ
เดือดร้อนกนั ถว้ นทว่ั เช่นน้ี ดงั น้นั "เศรษฐกิจพอเพยี ง" จึงไดส้ ื่อ
ความหมาย ความสาคญั ในฐานะเป็นหลกั การสังคมที่พงึ ยดึ ถอื

13

ในทางปฏิบตั ิจุดเร่ิมตน้ ของการพฒั นาเศรษฐกิจพอเพียงคือ การฟ้ืนฟู
เศรษฐกิจชุมชนทอ้ งถ่ิน เศรษฐกิจพอเพยี งเป็นท้งั หลกั การและ
กระบวนการทางสังคม ต้งั แตข่ ้นั ฟ้ื นฟูและขยายเครือข่ายเกษตรกรรม
ยงั่ ยนื เป็นการพฒั นาขีดความสามารถในการผลิตและบริโภคอยา่ งพอ
อยพู่ อกินข้ึนไปถึงข้นั แปรรูปอตุ สาหกรรมครัวเรือน สร้างอาชีพและ
ทกั ษะวชิ าการที่หลากหลายเกิดตลาดซ้ือขาย สะสมทนุ ฯลฯ บน
พ้นื ฐานเครือขา่ ยเศรษฐกิจชุมชนน้ี เศรษฐกิจของ 3 ชาติ จะพฒั นาข้ึน
มาอยา่ งมน่ั คงท้งั ในดา้ นกาลงั ทนุ และตลาดภายในประเทศ รวมท้งั
เทคโนโลยซี ่ึงจะค่อยๆ พฒั นาข้ึนมาจากฐานทรัพยากรและภูมิปัญญาท่ี
มีอยภู่ ายในชาติ และท้งั ท่ีจะพึงคดั สรรเรียนรู้จากโลกภายนอก

14

เศรษฐกิจพอเพยี งเป็นเศรษฐกิจที่พอเพยี งกบั ตวั เอง ทาใหอ้ ยไู่ ด้ ไม่ตอ้ ง
เดือดร้อน มีส่ิงจาเป็นท่ีทาไดโ้ ดยตวั เองไมต่ อ้ งแข่งขนั กบั ใคร และมี
เหลือเพอ่ื ช่วยเหลือผทู้ ่ีไม่มี อนั นาไปสู่การแลกเปลี่ยนในชุมชน และ
ขยายไปจนสามารถท่ีจะเป็นสินคา้ ส่งออก เศรษฐกิจพอเพียงเป็น
เศรษฐกิจระบบเปิ ดที่เร่ิมจากตนเองและความร่วมมือ วิธีการเช่นน้ีจะ
ดึงศกั ยภาพของ ประชากรออกมาสร้างความเขม้ แขง็ ของครอบครัว ซ่ึง
มีความผกู พนั กบั “จิตวญิ ญาณ” คือ “คุณค่า” มากกวา่ “มลู ค่า”

15

ในระบบเศรษฐกิจพอเพยี งจะจดั ลาดบั ความสาคญั ของ “คุณค่า”
มากกวา่ “มูลคา่ ” มลู คา่ น้นั ขาดจิตวิญญาณ เพราะเป็นเศรษฐกิจภาค
การเงิน ที่เนน้ ที่จะตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการที่ไมจ่ ากดั ซ่ึงไร้ขอบเขต
ถา้ ไมส่ ามารถควบคุมไดก้ ารใชท้ รพั ยากรอยา่ งทาลายลา้ งจะรวดเร็วข้ึน
และปัญหาจะตามมา เป็นการบริโภคที่ก่อใหเ้ กิดความทุกขห์ รือพาไป
หาความทกุ ข์ และจะไมม่ ีโอกาสบรรลวุ ตั ถุประสงคใ์ นการบริโภค ที่จะ
ก่อใหค้ วามพอใจและความสุข (Maximization of Satisfaction)
ผบู้ ริโภคตอ้ งใชห้ ลกั ขาดทุนคือกาไร (Our loss is our gain) อยา่ งน้ีจะ
ควบคุมความตอ้ งการที่ไมจ่ ากดั ได้ และสามารถจะลดความตอ้ งการลง
มาได้ ก่อใหเ้ กิดความพอใจและความสุขเท่ากบั ไดต้ ระหนกั ในเรื่อง
“คุณค่า” จะช่วยลดค่าใชจ้ ่ายลงได้ ไมต่ อ้ งไปหาวธิ ีทาลายทรัพยากร
เพ่อื ใหเ้ กิดรายไดม้ าจดั สรรสิ่งที่เป็น “ความอยากท่ีไมม่ ีที่สิ้นสุด” และ
ขจดั ความสาคญั ของ “เงิน” ในรูปรายไดท้ ่ีเป็นตวั กาหนดการบริโภคลง
ไดร้ ะดบั หน่ึง แลว้ ยงั เป็นตวั แปรท่ีไปลดภาระของกลไกของตลาดและ
การพ่งึ พงิ กลไกของตลาด ซ่ึงบคุ คลโดยทวั่ ไปไมส่ ามารถจะควบคุมได้

16

รวมท้งั ไดม้ ีส่วนในการป้องกนั การบริโภคเลียนแบบ (Demonstration
Effects) จะไมท่ าใหเ้ กิดการสูญเสีย จะทาใหไ้ มเ่ กิดการบริโภคเกิน
(Over Consumption) ซ่ึงก่อใหเ้ กิดสภาพเศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา
การพฒั นายงั่ ยนื

การบริโภคท่ีฉลาดดงั กลา่ วจะช่วยป้องกนั การขาดแคลน แมจ้ ะไม่
ร่ารวยรวดเร็ว แตใ่ นยามปกติกจ็ ะทาใหร้ ่ารวยมากข้ึน ในยามทกุ ขภ์ ยั ก็
ไมข่ าดแคลน และสามารถจะฟ้ืนตวั ไดเ้ ร็วกวา่ โดยไม่ตอ้ งหวงั ความ
ช่วยเหลือจากผอู้ น่ื มากเกินไป เพราะฉะน้นั ความพอมพี อกินจะสามารถ
อุม้ ชูตวั ได้ ทาใหเ้ กิดความเขม้ แขง็ และความพอเพยี งน้นั ไมไ่ ด้
หมายความวา่ ทุกครอบครัวตอ้ งผลิตอาหารของตวั เอง จะตอ้ งทอผา้ ใส่
เอง แต่มีการแลกเปลี่ยนกนั ไดร้ ะหวา่ งหมบู่ า้ น เมือง และแมก้ ระทงั่
ระหวา่ งประเทศ ที่สาคญั คือการบริโภคน้นั จะทาใหเ้ กิดความรู้ที่จะอยู่
ร่วมกบั ระบบ รักธรรมชาติ ครอบครัวอบอนุ่ ชุมชนเขม้ แขง็ เพราะไม่
ตอ้ งทิง้ ถ่ินไปหางานทา เพื่อหารายไดม้ าเพื่อการบริโภคที่ไม่เพียงพอ

17

ประเทศไทยอดุ มไปดว้ ยทรัพยากรและยงั มีพอสาหรับประชาชนไทยถา้
มีการจดั สรรที่ดี โดยยดึ " คุณค่า " มากกวา่ " มลู ค่า " ยดึ ความสัมพนั ธ์
ของ “บุคคล” กบั “ระบบ” และปรับความตอ้ งการที่ไมจ่ ากดั ลงมาใหไ้ ด้
ตามหลกั ขาดทุนเพื่อกาไร และอาศยั ความร่วมมือเพื่อใหเ้ กิดครอบครัว
ที่เขม้ แขง็ อนั เป็นรากฐานท่ีสาคญั ของระบบสงั คม การผลิตจะเสีย
ค่าใชจ้ ่ายลดลงถา้ รู้จกั นาเอาส่ิงท่ีมีอยใู่ นขบวนการธรรมชาติมาปรุงแตง่
ตามแนวพระราชดาริในเร่ืองตา่ ง ๆ ท่ีกลา่ วมาแลว้ ซ่ึงสรุปเป็นคาพดู ท่ี
เหมาะสมตามที่ ฯพณฯ พลเอกเปรม ตนิ ณสูลานนท์ ที่วา่ “…ทรงปลกู
แผน่ ดิน ปลกู ความสุข ปลดความทกุ ขข์ องราษฎร” ในการผลิตน้นั
จะตอ้ งทาดว้ ยความรอบคอบไม่เห็นแก่ได้ จะตอ้ งคิดถงึ ปัจจยั ท่ีมีและ
ประโยชน์ของผเู้ ก่ียวขอ้ ง มิฉะน้นั จะเกิดปัญหาอยา่ งเช่นบางคนมี
โอกาสทาโครงการแตไ่ ม่ไดค้ านึงวา่ ปัจจยั ตา่ ง ๆ ไม่ครบ ปัจจยั หน่ึงคือ
ขนาดของโรงงาน หรือเคร่ืองจกั รที่สามารถที่จะปฏิบตั ิได้ แต่ขอ้ สาคญั
ท่ีสุด คือวตั ถดุ ิบ ถา้ ไมส่ ามารถที่จะใหค้ า่ ตอบแทนวตั ถุดิบแก่เกษตรกร
ที่เหมาะสม เกษตรกรกจ็ ะไม่ผลิต ยง่ิ ถา้ ใชว้ ตั ถดุ ิบสาหรับใชใ้ นโรงงา
น้นั

18

เป็นวตั ถดุ ิบที่จะตอ้ งนามาจากระยะไกล หรือนาเขา้ ก็จะยงิ่ ยาก เพราะวา่
วตั ถดุ ิบท่ีนาเขา้ น้นั ราคายง่ิ แพง บางปี วตั ถุดิบมีบริบรู ณ์ ราคาอาจจะ
ต่าลงมา แต่เวลาจะขายส่ิงของท่ีผลิตจากโรงงานก็ขายยากเหมือนกนั
เพราะมีมากจึงทาใหร้ าคาตก หรือกรณีใชเ้ ทคโนโลยที างการเกษตร
เกษตรกรรู้ดีวา่ เทคโนโลยที าใหต้ น้ ทนุ เพมิ่ ข้ึน และผลผลิตที่เพิ่มน้นั จะ
ลน้ ตลาด ขายไดใ้ นราคาท่ีลดลง ทาใหข้ าดทนุ ตอ้ งเป็นหน้ีสิน

19

การผลติ ตามทฤษฎใี หม่สามารถเป็นตน้ แบบการคิดในการ

ผลิตท่ีดีได้ ดงั น้ี

1.การผลิตน้นั มงุ่ ใชเ้ ป็นอาหารประจาวนั ของครอบครัว เพอื่ ใหม้ ี
พอเพียงในการบริโภคตลอดปี เพือ่ ใชเ้ ป็นอาหารประจาวนั และ
เพ่อื จาหน่าย
2. การผลิตตอ้ งอาศยั ปัจจยั ในการผลิต ซ่ึงจะตอ้ งเตรียมใหพ้ ร้อม
เช่น การเกษตรตอ้ งมีน้า การจดั ใหม้ ีและดูแหล่งน้า จะก่อใหเ้ กิด
ประโยชน์ท้งั การผลิต และประโยชน์ใชส้ อยอนื่ ๆ
3. ปัจจยั ประกอบอ่ืน ๆ ที่จะอานวยใหก้ ารผลิตดาเนินไปดว้ ยดี
และเกิดประโยชนเ์ ชื่อมโยง (Linkage) ที่จะไปเสริมใหเ้ กิดความ
ยงั่ ยนื ในการผลิต จะตอ้ งร่วมมือกนั ทุกฝ่ ายท้งั เกษตรกร ธุรกิจ
ภาครัฐ ภาคเอกชน เพื่อเชื่อมโยงเศรษฐกิจพอเพียงเขา้ กบั
เศรษฐกิจการคา้ และใหด้ าเนินกิจการควบคู่ไปดว้ ยกนั ได้

20

การผลติ จะตอ้ งตระหนกั ถึงความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง “บคุ คล” กบั
“ระบบ” การผลิตน้นั ตอ้ งยดึ มนั่ ในเรื่องของ “คุณค่า” ใหม้ ากกวา่
“มูลคา่ ” ดงั พระราชดารัส ซ่ึงไดน้ าเสนอมากอ่ นหนา้ น้ีท่ีวา่
“…บารมีน้นั คือ ทาความดี เปรียบเทียบกบั ธนาคาร …ถา้ เรา
สะสมเงินใหม้ ากเรากส็ ามารถท่ีจะใชด้ อกเบ้ีย ใชเ้ งินที่เป็น
ดอกเบ้ีย โดยไม่แตะตอ้ งทนุ แตถ่ า้ เราใชม้ ากเกิดไป หรือเราไม่
ระวงั เรากิน เขา้ ไปในทุน ทุนมนั กน็ อ้ ยลง ๆ จนหมด …ไป
เบิกเกินบญั ชีเขาก็ตอ้ งเอาเร่ือง ฟ้องเราใหล้ ม้ ละลาย เราอยา่ ไป
เบิกเกินบารมีที่บา้ นเมือง ที่ประเทศไดส้ ร้างสมเอาไวต้ ้งั แต่
บรรพบรุ ุษของเราใหเ้ กินไป เราตอ้ งทาบา้ ง หรือเพิ่มพนู ให้
ประเทศของเราปกติมีอนาคตท่ีมนั่ คง บรรพบรุ ุษของเราแต่
โบราณกาล ไดส้ ร้างบา้ นเมืองมาจนถงึ เราแลว้ ในสมยั น้ีท่ีเรา
กาลงั เสียขวญั กลวั จะไดไ้ ม่ตอ้ งกลวั ถา้ เราไมร่ ักษาไว…้ ”

21

การจดั สรรทรัพยากรมาใชเ้ พอ่ื การผลิตที่คานึงถึง “คุณคา่ ”
มากกวา่ “มูลคา่ ” จะกอ่ ใหเ้ กิดความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง “บคุ คล”
กบั “ระบบ” เป็นไปอยา่ งยงั่ ยนื ไมท่ าลายท้งั ทนุ สงั คมและทุน
เศรษฐกิจ นอกจากน้ีจะตอ้ งไม่ติดตารา สร้างความรู้ รัก สามคั คี
และความร่วมมือร่วมแรงใจ มองกาลไกลและมีระบบสนบั สนุน
ที่เป็ นไปได้
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงปลูกฝังแนวพระราชดาริให้
ประชาชนยอมรับไปปฏิบตั ิอยา่ งตอ่ เน่ือง โดยใหว้ งจรการพฒั นา
ดาเนินไปตามครรลองธรรมชาติ กลา่ วคือ ทรงสร้างความ
ตระหนกั แก่ประชาชนใหร้ ับรู้ (Awareness) ในทุกคราเม่ือ เสดจ็
พระราชดาเนินไปทรงเยยี่ มประชาชนในทุกภมู ิภาคต่าง ๆ จะ
ทรงมีพระราชปฏิสนั ถารใหป้ ระชาชนไดร้ ับทราบถึงสิ่งที่ควรรู้
เช่น การปลกู หญา้ แฝกจะช่วยป้องกนั ดินพงั ทลาย และใชป้ ๋ ุย
ธรรมชาติจะช่วยประหยดั และบารุงดิน

22

“….ประเทศไทยน้ีเป็นที่ท่ีเหมาะมากในการต้งั ถิ่นฐาน แต่วา่
ตอ้ งรักษาไว้ ไมท่ าใหป้ ระเทศไทยเป็นสวนเป็นนากลายเป็น
ทะเลทราย ก็ป้องกนั ทาได…้ .”

ทรงสร้างความสนใจแก่ประชาชน (Interest) หลายทา่ นคงไดย้ นิ
หรือรับฟัง โครงการอนั เน่ือง มาจากพระราชดาริใน
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ท่ีมีนามเรียกขานแปลกหู ชวนฉงน
น่าสนใจติดตามอยเู่ สมอ เช่น โครงการแกม้ ลิง โครงการแกลง้
ดิน โครงการเส้นทางเกลือ โครงการน้าดีไลน่ ้าเสีย หรือ
โครงการน้าสามรส ฯลฯ เหลา่ น้ี เป็นตน้

23

ลว้ นเชิญชวนใหต้ ิดตามอยา่ งใกลช้ ิด แตพ่ ระองคก์ ็จะมี
พระราชาธบายแตล่ ะโครงการอยา่ งละเอียด เป็นที่เขา้ ใจง่าย
รวดเร็วแก่ประชาชนท้งั ประเทศ ในประการตอ่ มา ทรงใหเ้ วลา
ในการประเมินค่าหรือประเมินผล (Evaluate) ดว้ ยการศึกษาหา
ขอ้ มูลตา่ ง ๆ วา่ โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริของ
พระองคน์ ้นั เป็นอยา่ งไร สามารถนาไปปฏิบตั ไิ ดใ้ นส่วนของ
ตนเองหรือไม่ ซ่ึงยงั คงยดึ แนวทางท่ีใหป้ ระชาชนเลือกการ
พฒั นาดว้ ยตนเอง

24

“….ขอใหถ้ ือวา่ การงานท่ีจะทาน้นั ตอ้ งการเวลา เป็นงานท่ีมีผู้
ดาเนินมาก่อนแลว้ ทา่ นเป็นผทู้ ่ีจะเขา้ ไปเสริมกาลงั จึงตอ้ งมี
ความอดทนที่จะเขา้ ไปร่วมมือกบั ผอู้ ื่น ตอ้ งปรองดองกบั เขาให้
ได้ แมเ้ ห็นวา่ มีจุดหน่ึงจุดใดตอ้ งแกไ้ ขปรับปรุงก็ตอ้ งค่อย
พยายามแกไ้ ขไปตามที่ถกู ท่ีควร….”

25
5

ในข้นั ทดลอง (Trial) เพ่อื ทดสอบวา่ งานในพระราชดาริที่ทรงแนะนา
น้นั จะไดผ้ ลหรือไม่ซ่ึงในบางกรณีหากมีการทดลองไมแ่ น่ชดั กท็ รง
มกั จะมิใหเ้ ผยแพร่แก่ประชาชน หากมีผลการทดลองจนแน่พระราช
หฤทยั แลว้ จึงจะออกไปสู่สาธารณชนได้ เช่น ทดลองปลูกหญา้ แฝกเพอื่
อนุรักษด์ ินและน้าน้นั ไดม้ ีการคน้ ควา้ หาความเหมาะสมและความ
เป็นไปไดจ้ นทว่ั ท้งั ประเทศวา่ ดียง่ิ จึงนาออกเผยแพร่แก่ประชาชน เป็น
ตน้

ข้นั ยอมรับ (Adoption) โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริน้นั เมื่อ
ผา่ นกระบวนการมาหลายข้นั ตอน บม่ เพาะ และมีการทดลองมาเป็น
เวลานาน ตลอดจนทรงใหศ้ ูนยศ์ ึกษาการพฒั นาอนั เนื่องมาจาก
พระราชดาริและสถานท่ีอื่น ๆ เป็นแหล่งสาธิตที่ประชาชนสามารถเขา้
ไปศึกษาดูไดถ้ งึ ตวั อยา่ งแห่งความสาเร็จ ดงั น้นั แนวพระราชดาริของ
พระองคจ์ ึงเป็นส่ิงท่ีราษฎรสามารถพสิ ูจน์ไดว้ า่ จะไดร้ ับผลดีตอ่ ชีวติ
และความเป็นอยขู่ องตนไดอ้ ยา่ งไร

26

แนวพระราชดาริท้งั หลายดงั กลา่ วขา้ งตน้ น้ี แสดงถึงพระวิริยะอุตสาหะ
ท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงทมุ่ เทพระสติปัญญา ตรากตราพระ
วรกาย เพอ่ื คน้ ควา้ หาแนวทางการพฒั นาใหพ้ สกนิกรท้งั หลายไดม้ ี
ความร่มเยน็ เป็นสุขสถาพรยง่ั ยนื นาน นบั เป็นพระมหากรุณาธิคุณอนั
ใหญห่ ลวงที่ไดพ้ ระราชทานแก่ปวงไทยตลอดเวลามากกวา่ 50 ปี จึง
กลา่ วไดว้ า่ พระราชกรณียกิจของพระองคน์ ้นั สมควรอยา่ งยง่ิ ท่ีทวย
ราษฎรจกั ไดเ้ จริญรอยตามเบ้ืองพระยคุ ลบาท ตามท่ีทรงแนะนา สงั่
สอน อบรมและวางแนวทางไวเ้ พอื่ ใหเ้ กิดการอยดู่ ีมีสุขโดยถว้ นเช่นกนั
โดยการพฒั นาประเทศจาเป็นตอ้ งทาตามลาดบั ข้ึนตอนตอ้ งสร้าง
พ้นื ฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญเ่ ป็น
เบ้ืองตน้ กอ่ น โดยใชว้ ธิ ีการและอปุ กรณ์ท่ีประหยดั แตถ่ กู ตอ้ งตาหลกั
วิชาการ เพ่อื ไดพ้ ้นื ฐานที่มน่ั คงพร้อมพอสมควรและปฏิบตั ิไดแ้ ลว้ จึง
คอ่ ยสร้างคอ่ ยเสริม ความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจข้ึนที่สูงข้ึนไป
ตามลาดบั

27

ประการท่ีสาคญั ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. พอมพี อกิน ปลูกพชื สวนครัวไวก้ ินเองบา้ ง ปลกู ไมผ้ ลไวห้ ลงั
บา้ น 2-3 ตน้ พอท่ีจะมีไวก้ ินเองในครัวเรือน เหลือจึงขายไป

2. พออยพู่ อใช้ ทาใหบ้ า้ นน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหมน็ ใช้
แตข่ องที่เป็นธรรมชาติ (ใชจ้ ุลินทรียผ์ สมน้าถพู ้นื บา้ น จะสะอาด
กวา่ ใชน้ ้ายาเคมี) รายจ่ายลดลง สุขภาพจะดีข้ึน (ประหยดั ค่า
รักษาพยาบาล)

3. พออกพอใจ เราตอ้ งรู้จกั พอ รู้จกั ประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มี
เช่นผอู้ ื่น เพราะเราจะหลงติดกบั วตั ถุ ปัญญาจะไมเ่ กิด

28

" การจะเป็นเสือน้นั มนั ไมส่ าคญั สาคญั อยทู่ ่ีเราพออยพู่ อกิน
และมีเศรษฐกิจการเป็นอยแู่ บบพอมพี อกิน แบบพอมีพอกิน
หมายความวา่ อมุ้ ชูตวั เองได้ ใหม้ ีพอเพยี งกบั ตวั เอง "

"เศรษฐกิจพอเพียง" จะสาเร็จไดด้ ว้ ย "ความพอดีของตน"

29
9

เศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นกรอบแนวคิด ซ่ึงมงุ่ ใหท้ ุกคนสามารถ
พ่งึ พาตวั เองได้ รวมถึงการพฒั นาใหด้ ียงิ่ ข้ึน จนเกิดความยง่ั ยนื
คาวา่ พอเพียง คือ การดาเนินชีวติ แบบทางสายกลาง โดยต้งั อยู่
บนหลกั สาคญั สามประการ คือ ความพอประมาณ ความมี
เหตุผล และการมีภูมิคุม้ กนั ที่ดี

โดยการดารงชีวติ ตามหลกั การท้งั สามขอ้ น้นั จาเป็นตอ้ งมีความรู้และ
คุณธรรมประกอบดว้ ย ความรู้ช่วยสร้างภูมิคุม้ กนั ที่เหมาะสม เช่น
ความรู้ในการประกอบวชิ าชีพช่วยใหธ้ ุรกิจและการงานเจริญกา้ วหนา้
หรือความรู้ในการลงทนุ ช่วยสร้างภูมิคุม้ กนั ใหน้ กั ลงทนุ ท้งั น้ี ความรู้
และประสบการณ์ จะช่วยทาใหเ้ ราตดั สินใจไดอ้ ยา่ งเป็นเหตเุ ป็นผล
ถึงแมว้ า่ พ้นื ฐานความคิดและประสบการณ์ทีแ่ ตกต่างกนั อาจทาให้
เหตผุ ลของแต่ละคนน้นั แตกตา่ งกนั แตห่ ากทกุ คนยดึ มนั่ อยใู่ นหลกั
คุณธรรม กจ็ ะทาใหก้ ารอยรู่ ่วมกนั ในสังคมเป็นไปอยา่ งสงบสุข

30

อยา่ งที่กลา่ วมาขา้ งตน้ การพ่งึ พาตวั เองไดเ้ ป็นเพียงส่วนเร่ิมตน้ ของการ
พฒั นาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเม่ือทกุ คนสามารถดูแลตวั เอง และ
ครอบครัวไดแ้ ลว้ ข้นั ตอ่ ไปอาจทาการพฒั นาธุรกิจ โดยมีการรวมกลุ่ม
กนั ในวิชาชีพเดียวกนั เพ่อื แลกเปลี่ยนความรู้และใหค้ วามช่วยเหลอื ซ่ึง
กนั และกนั ในการรวมกล่มุ กนั น้นั ไม่จากดั เฉพาะการรวมกลุ่มของ
ชาวบา้ น เกษตรกร ในรูปของสหกรณ์ การทางานในเมืองกส็ ามารถมี
การรวมกล่มุ กนั ได้ เช่น การแบง่ ปันความรู้ ประสบการณ์ในการทา
ธุรกิจของกลุม่ อุตสาหกรรมเดียวกนั การแลกเปล่ียนแนวคิดการลงทนุ
เพื่อเป็นการต่อยอดความรู้ รวมไปจนถึงการแบง่ ปันความช่วยเหลือ
ส่งกลบั คืนสู่สงั คม ไปสู่กล่มุ ท่ียงั ตอ้ งการความช่วยเหลืออยู่ เช่น
กิจกรรมจิตอาสา เพื่อสร้างสังคมท่ีเขม้ แขง็ และอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสงบสุข

31

เช่ือวา่ คนไทยทกุ คนตอ้ งเคยไดย้ นิ "แนวคิดหรือปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง" กนั มาก่อนหนา้ น้ีแลว้ ซ่ึงเป็นแนวพระราชดาริของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช โดยเป็นหลกั การ
นาไปใชใ้ นชีวติ ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง เป็นจุดเร่ิมตน้ ท่ีสาคญั ท้งั ดา้ นการ
วางแผนการเงินการลงทุน บทความน้ีเราจะพาเพอ่ื นๆ มาทาความเขา้ ใจ
ถึง จุดเริ่มตน้ , หลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง และแกน่ ของเศรษฐกิจพอเพียง
ท้งั 3 คุณสมบตั ิ กบั 2 เง่ือนไข ท่ีจะช่วยใหช้ ีวติ คุณเปลี่ยนไปในทางท่ีดี
ข้ึน

32

จุดเริ่มต้นแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลจากการใชแ้ นวทางการพฒั นาประเทศไปสู่ความทนั สมยั ได้
ก่อใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงแก่สังคมไทยอยา่ งมากในทกุ ดา้ น ไม่วา่ จะ
เป็นดา้ นเศรษฐกิจ การเมือง วฒั นธรรม สงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม อีกท้งั
กระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความสลบั ซบั ซอ้ นจนยากท่ีจะ
อธิบายใน เชิงสาเหตุและผลลพั ธไ์ ด้ เพราะการเปลี่ยนแปลงท้งั หมดต่าง
เป็นปัจจยั เช่ือมโยงซ่ึงกนั และกนั

33

สาหรับผลของการพฒั นาในด้านบวกน้ัน ไดแ้ ก่ การเพิ่มข้ึนของอตั รา
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวตั ถุ และสาธารณูปโภค
ต่าง ๆ ระบบส่ือสารทท่ี นั สมยั หรือการขยายปริมาณและกระจาย
การศึกษาอยา่ งทว่ั ถึงมากข้ึน แต่ผลดา้ นบวกเหล่าน้ีส่วนใหญก่ ระจาย
ไปถึงคนในชนบท หรือผดู้ อ้ ยโอกาสในสงั คมนอ้ ย

34

แต่ว่ากระบวนการเปลยี่ นแปลงของสังคมได้เกดิ ผลลบตดิ ตามมาด้วย
เช่น การขยายตวั ของรฐั เขา้ ไปในชนบท ไดส้ ่งผลใหช้ นบทเกิดความ
อ่อนแอในหลายดา้ น ท้งั การตอ้ งพ่ึงพงิ ตลาดและพอ่ คา้ คนกลางในการ
สง่ั สินคา้ ทุน ความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบ
ความสัมพนั ธแ์ บบเครือญาติ และการรวมกลมุ่ กนั ตามประเพณีเพื่อการ
จดั การทรัพยากรที่เคยมีอยแู่ ต่เดิมแตก สลายลง ภูมิความรู้ที่เคยใช้
แกป้ ัญหาและส่งั สมปรับเปลี่ยนกนั มาถกู ลืมเลือนและเริ่ม สูญหายไป

35

ส่ิงสาคญั ก็คือ ความพอเพยี งในการดารงชีวิต ซ่ึงเป็นเงื่อนไขพ้ืนฐานท่ี
ทาใหค้ นไทยสามารถพ่งึ ตนเอง และดาเนินชีวติ ไปไดอ้ ยา่ งมีศกั ด์ิศรี
ภายใตอ้ านาจและความมีอิสระในการกาหนด ชะตาชีวติ ของตนเอง
ความสามารถในการควบคุมและจดั การเพอ่ื ใหต้ นเองไดร้ ับการ
สนองตอบต่อความตอ้ ง การต่าง ๆ รวมท้งั ความสามารถในการจดั การ
ปัญหาตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง

36

พระราชดาริวา่ ดว้ ยเศรษฐกิจพอเพียง

“...การพฒั นาประเทศจาเป็นตอ้ งทาตามลาดบั ข้นั ตอ้ งสร้างพ้นื ฐานคือ
ความพอมี พอกิน พอใชข้ องประชาชนส่วนใหญ่เบ้ืองตน้ ก่อน โดยใช้
วธิ ีการและอุปกรณ์ท่ีประหยดั แต่ถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการ เมอื่ ได้
พ้ืนฐานความมน่ั คงพร้อมพอสมควร และปฏิบตั ิไดแ้ ลว้ จึงค่อยสร้าง
ค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจข้นั ท่ีสูงข้ึนโดยลาดบั
ตอ่ ไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗)

37

“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระ
เจา้ อยหู่ วั ท่ีพระราชทานมานานกวา่ ๓๐ ปี เป็นแนวคิดที่ต้งั อยบู่ น
รากฐานของวฒั นธรรมไทย เป็นแนวทางการพฒั นาที่ต้งั บนพ้ืนฐาน
ของทางสายกลาง และความไมป่ ระมาท คานึงถึงความพอประมาณ
ความมีเหตผุ ล การสร้างภูมิคุม้ กนั ในตวั เอง ตลอดจนใชค้ วามรู้และ
คุณธรรม เป็นพ้นื ฐานในการดารงชีวติ ที่สาคญั จะตอ้ งมี “สติ ปัญญา
และความเพยี ร” ซ่ึงจะนาไปสู่ “ความสุข” ในการดาเนินชีวติ อยา่ ง
แทจ้ ริง

38

“...คนอ่ืนจะวา่ อยา่ งไรก็ช่างเขา จะวา่ เมืองไทยลา้ สมยั วา่ เมืองไทยเชย
วา่ เมืองไทยไมม่ ีสิ่งที่สมยั ใหม่ แต่เราอยพู่ อมีพอกิน และขอใหท้ กุ คนมี
ความปรารถนาท่ีจะใหเ้ มืองไทย พออยพู่ อกิน มีความสงบ และทางาน
ต้งั จิตอธิษฐานต้งั ปณิธาน ในทางน้ีท่ีจะใหเ้ มอื งไทยอยแู่ บบพออยพู่ อ
กิน ไม่ใช่วา่ จะรุ่งเรืองอยา่ งยอด แต่วา่ มีความพออยพู่ อกิน มีความสงบ
เปรียบเทียบกบั ประเทศอ่ืน ๆ ถา้ เรารักษาความพออยพู่ อกินน้ีได้ เราก็
จะยอดยง่ิ ยวดได.้ ..” (๔ ธนั วาคม ๒๕๑๗)

39

พระบรมราโชวาทน้ี ทรงเห็นวา่ แนวทางการพฒั นาท่ีเนน้ การขยายตวั
ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลกั แต่ เพียงอยา่ งเดียวอาจจะเกิดปัญหา
ได้ จึงทรงเนน้ การมีพอกินพอใชข้ องประชาชนส่วนใหญใ่ นเบ้ืองตน้
ก่อน เม่ือมพี ้ืนฐานความมน่ั คงพร้อมพอสมควรแลว้ จึงสร้างความเจริญ
และฐานะทางเศรษฐกิจใหส้ ูงข้ึน

40

หมายถึง แทนท่ีจะเนน้ การขยายตวั ของภาคอตุ สาหกรรมนาการพฒั นา
ประเทศ ควรที่จะสร้างความมน่ั คงทางเศรษฐกิจพ้ืนฐานก่อน นน่ั คือ
ทาใหป้ ระชาชนในชนบทส่วนใหญพ่ อมพี อกินก่อนเป็นแนวทางการ
พฒั นาที่เนน้ การกระจายรายได้ เพอ่ื สร้างพ้นื ฐานและความมน่ั คงทาง
เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ก่อนเนน้ การพฒั นาในระดบั สูงข้ึนไป

41

ทรงเตือนเรื่องพออย่พู อกนิ ต้งั แต่ปี ๒๕๑๗ คือ เม่ือ ๓๐ กวา่ ปี ที่แลว้
แต่ทิศทางการพฒั นามไิ ดเ้ ปล่ียนแปลง

“...เมื่อปี ๒๕๑๗ วนั น้นั ไดพ้ ูดถงึ วา่ เราควรปฏิบตั ิใหพ้ อมพี อกิน
พอมพี อกินน้ีก็แปลวา่ เศรษฐกิจพอเพียงนน่ั เอง ถา้ แต่ละคนมี
พอมีพอกิน ก็ใชไ้ ด้ ยงิ่ ถา้ ท้งั ประเทศพอมีพอกินก็ยงิ่ ดี และประเทศไทย
เวลาน้นั ก็เร่ิมจะเป็นไมพ่ อมพี อกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไม่มีเลย...”
(๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑)

42

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
พระราชทานพระราชดาริช้ีแนะแนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกร
ชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา่ ๒๕ ปี ต้งั แตก่ ่อนเกิดวิกฤตการณ์ทาง
เศรษฐกิจ และเมื่อภายหลงั ไดท้ รงเนน้ ย้าแนวทางการแกไ้ ขเพอ่ื ใหร้ อด
พน้ และสามารถดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ งมนั่ คงและยง่ั ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภิ
วตั นแ์ ละความ เปลี่ยนแปลงตา่ ง ๆ

43

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนของ
ประชาชนในทกุ ระดบั ต้งั แต่ระดบั ครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั
รัฐ ท้งั ในการพฒั นาและบริหารประเทศใหด้ าเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ เพอ่ื ใหก้ า้ วทนั ต่อโลกยคุ โลกาภิวตั น์
ความพอเพยี ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล รวมถึงความ
จาเป็นที่จะตอ้ งมีระบบภูมิคุม้ กนั ในตวั ท่ีดีพอสมควร ต่อการกระทบใด
ๆ อนั เกิดจากการเปล่ียนแปลงท้งั ภายในภายนอก

44

ท้งั น้ี จะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั
อยา่ งยง่ิ ในการนาวชิ าการต่าง ๆ มาใชใ้ นการวางแผนและการ
ดาเนินการ ทกุ ข้นั ตอน และขณะเดียวกนั จะตอ้ งเสริมสร้างพ้นื ฐาน
จิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ นกั ทฤษฎี และนกั
ธุรกิจในทุกระดบั ใหม้ ีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยส์ ุจริต และใหม้ ี
ความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวติ ดว้ ยความอดทน ความเพยี ร มีสติ
ปัญญา และความรอบคอบ เพอื่ ใหส้ มดุลและพร้อมต่อการรองรับการ
เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วและกวา้ งขวาง ท้งั ดา้ นวตั ถุ สงั คม
สิ่งแวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็นอยา่ งดี

45

การนาเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ ตอ้ งคานึงถึง 4 มิติ ดงั น้ี
ด้านเศรษฐกจิ ลดรายจ่าย / เพ่มิ รายได้ / ใชช้ ีวติ อยา่ งพอควร / คิดและ
วางแผนอยา่ งรอบคอบ / มีภูมิคุม้ กนั / ไมเ่ สี่ยงเกินไป / การเผื่อ
ทางเลอื กสารอง

ด้านสังคม ช่วยเหลือเก้ือกูล / รู้รักสามคั คี / สร้างความเขม้ แขง็ ให้
ครอบครัวและชุมชน

ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จกั ใชแ้ ละจดั การอยา่ งฉลาด
และรอบคอบ / เลือกใชท้ รัพยากรที่มีอยอู่ ยา่ งรู้คา่ และเกิดประโยชน์
สูงสุด / ฟ้ืนฟทู รพั ยากรเพอื่ ใหเ้ กิดความยงั่ ยนื สูงสุด

ด้านวฒั นธรรม รักและเห็นคุณค่าในความเป็นไทย เอกลกั ษณ์ไทย /
เห็นประโยชนแ์ ละคุม้ ค่าของภูมิปัญญาไทย ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น / รู้จกั
แยกแยะและเลือกรับวฒั นธรรมอ่ืน ๆ

46

พระราชดารัสทเ่ี กย่ี วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง

“...เศรษฐศาสตร์เป็นวชิ าของเศรษฐกิจ การที่ตอ้ งใชร้ ถไถตอ้ งไปซ้ือ
เราตอ้ งใชต้ อ้ งหาเงินมาสาหรับซ้ือน้ามนั สาหรบั รถไถ เวลารถไถเกา่ เรา
ตอ้ งยง่ิ ซ่อมแซม แต่เวลาใชน้ ้นั เรากต็ อ้ งป้อนน้ามนั ใหเ้ ป็นอาหาร เสร็จ
แลว้ มนั คายควนั ควนั เราสูดเขา้ ไปแลว้ กป็ วดหวั ส่วนควายเวลาเราใช้
เราก็ตอ้ งป้อนอาหาร ตอ้ งใหห้ ญา้ ใหอ้ าหารมนั กิน แตว่ า่ มนั คายออกมา
ที่มนั คายออกมาก็เป็นป๋ ยุ แลว้ ก็ใชไ้ ดส้ าหรับใหท้ ี่ดินของเราไมเ่ สีย...”

47

“...เราไมเ่ ป็นประเทศร่ารวย เรามีพอสมควร พออยไู่ ด้ แตไ่ ม่เป็น
ประเทศที่กา้ วหนา้ อยา่ งมาก เราไมอ่ ยากจะเป็นประเทศกา้ วหนา้ อยา่ ง
มาก เพราะถา้ เราเป็นประเทศกา้ วหนา้ อยา่ งมากกจ็ ะมีแต่ถอยกลบั
ประเทศเหล่าน้นั ที่เป็นประเทศอุตสาหกรรมกา้ วหนา้ จะมีแตถ่ อยหลงั
และถอยหลงั อยา่ งน่ากลวั แตถ่ า้ เรามีการบริหารแบบเรียกวา่ แบบคนจน
แบบท่ีไม่ติดกบั ตารามากเกินไป ทาอยา่ งมีสามคั คีน่ีแหละคือเมตตากนั
จะอยไู่ ดต้ ลอดไป...”

48

“...ตามปกติคนเราชอบดูสถานการณ์ในทางดี ที่เขาเรียกวา่ เลง็ ผลเลิศ ก็
เห็นวา่ ประเทศไทย เรานี่กา้ วหนา้ ดี การเงินการอตุ สาหกรรมการคา้ ดี มี
กาไร อีกทางหน่ึงก็ตอ้ งบอกวา่ เรากาลงั เส่ือมลงไปส่วนใหญ่ ทฤษฎีวา่
ถา้ มีเงินเท่าน้นั ๆ มีการกเู้ ท่าน้นั หมายความวา่ เศรษฐกิจกา้ วหนา้ แลว้ ก็
ประเทศก็เจริญมีหวงั วา่ จะเป็นมหาอานาจ ขอโทษเลยตอ้ งเตือนเขาวา่
จริงตวั เลขดี แตว่ า่ ถา้ เราไมร่ ะมดั ระวงั ในความตอ้ งการพ้ืนฐานของ
ประชาชนน้นั ไมม่ ีทาง...”

49

“...ที่เป็นห่วงน้นั เพราะแมใ้ นเวลา ๒ ปี ท่ีเป็นปี กาญจนาภิเษกก็ไดเ้ ห็น
ส่ิงที่ทาใหเ้ ห็นไดว้ า่ ประชาชนยงั มีความเดือดร้อนมาก และมีสิ่งที่ควร
จะแกไ้ ขและดาเนินการต่อไปทุกดา้ น มีภยั จากธรรมชาติกระหน่า ภยั
ธรรมชาติน้ีเราคงสามารถท่ีจะบรรเทาไดห้ รือแกไ้ ขได้ เพยี งแตว่ า่ ตอ้ ง
ใชเ้ วลาพอใช้ มีภยั ท่ีมาจากจิตใจของคน ซ่ึงกแ็ กไ้ ขไดเ้ หมือนกนั แต่วา่
ยากกวา่ ภยั ธรรมชาติ ธรรมชาติน้นั เป็นสิ่งนอกกายเรา แตน่ ิสัยใจคอ
ของคนเป็นสิ่งที่อยขู่ า้ งใน อนั น้ีก็เป็นขอ้ หน่ึงที่อยากใหจ้ ดั การใหม้ ี
ความเรียบร้อย แตก่ ็ไมห่ มดหวงั ...”

50

“...การจะเป็นเสือน้นั ไม่สาคญั สาคญั อยทู่ ี่เรามีเศรษฐกิจแบบ
พอมพี อกิน แบบพอมพี อกินน้นั หมายความวา่ อมุ้ ชูตวั เองได้ ใหม้ ี
พอเพียงกบั ตนเอง ความพอเพยี งน้ีไม่ไดห้ มายความวา่ ทุกครอบครัว
จะตอ้ งผลิตอาหารของตวั เอง จะตอ้ งทอผา้ ใส่เอง อยา่ งน้นั มนั เกินไป
แต่วา่ ในหม่บู า้ นหรือในอาเภอ จะตอ้ งมีความพอเพยี งพอสมควร บาง
สิ่งบางอยา่ งผลติ ไดม้ ากกวา่ ความตอ้ งการก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่
ห่างไกลเทา่ ไร ไม่ตอ้ งเสียคา่ ขนส่งมากนกั ...”


Click to View FlipBook Version