The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการขับเคลื่อน ITA สถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by niwnarak, 2021-09-08 08:49:20

แนวทางการขับเคลื่อน ITA

แนวทางการขับเคลื่อน ITA สถานศึกษา

Keywords: วิชาการ

แนวทางการขับเคลอ่ื นการประเมิน

คณุ ธรรมและความโป งใสในการด เนินงาน
ของสถานศกึ ษาออนไล

Moving Forward

พั ฒ น า เ พ่ื อ เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง

ITA

O n l i ne

ส นกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
ส นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

fb:@UprightSchoolProject
www.uprightschool.net


์น
ำ่รำำ

แนวทางการขบั เคลือ่ นการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์

ช่วงการประเมิน กรอบระยะเวลา ขัน้ ตอนการประเมนิ
การเตรียมการประเมิน ส.ค. 2564 สพท.เตรียมบุคลากรผู้รับผิดชอบ ได้แก่ ผู้รับผิดชอบการ
ประเมิน ITA Online ระดับ สพท. ผู้ดูแลระบบ ITA Online
◊ ช้แี จงแนวการประเมิน 14-15 ก.ย. 2564 และ ผู้รบั ผิดชอบโครงการทเ่ี กยี่ วข้อง
◊ Workshop ระบบ ITA ก.ย. 2564
Online ให้กบั สพท. สพฐ.ประชุมเชิงปฏิบัติการ ระบบ ITA Online ให้กับ
◊ สถานศกึ ษาจัดเตรียม ก.ย. - ต.ค. 2564 ผรู้ ับผดิ ชอบ 245 สพท.
Open Data
สพท.ประชมุ ชแี้ จงแนวทางการประเมิน ITA Online
การดำเนินการประเมนิ ของสถานศกึ ษาในสงั กัด
สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขระบบงานและการเปิดเผยข้อมูล
◊ ตอบแบบ IIT, EIT ผา่ นทางเวบ็ ไซตข์ องหนว่ ยงานตามเกณฑท์ ่กี ำหนด
◊ ทำแบบ OIT สพท. ส่งช่องทางการตอบแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียภายใน (IIT) ให้สถานศกึ ษา
การสรปุ ผลการประเมิน สถานศึกษาเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ช่องทางการตอบแบบ
วดั การรับรู้ IIT ใหผ้ ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสียภายในเขา้ มาตอบ
◊ ตรวจใหค้ ะแนนและ สพท. ส่งช่องทางการตอบแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วน
ข้อเสนอแนะ เสียภายนอก (EIT) ให้สถานศึกษา
◊ ประมวลผลการประเมนิ สถานศึกษาเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ช่องทางการตอบแบบ
◊ ประกาศผลคะแนน ITA วดั การรับรู้ EIT ใหผ้ มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสียภายนอกเขา้ มาตอบ
สถานศึกษาดำเนินการตอบแบบสำรวจ OIT

สพท.ตรวจและใหค้ ะแนนแบบ OIT ประมวลผลคะแนน
วิเคราะหผ์ ลและให้ขอ้ เสนอแนะ

สพท.จัดทำรายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์
ประกาศผลและเผยแพรร่ ายงานผลการประเมิน ITA Online
ของสถานศกึ ษาและนำเสนอต่อ สพฐ.

หมายเหตุ : แนวทางการดำเนนิ การขา้ งตน้ อาจมีการปรับเปล่ยี นตามสถานการณ์ โดย สพฐ. / สพท. จะแจ้งให้
สถานศึกษาทราบลว่ งหนา้

คู่มือการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งาน
ของสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาออนไลน์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

คำนำ

แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์ฉบับนี้
จัดทำขึ้นเพื่อให้สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย ได้ใช้ในการศึกษารายละเอียดและเตรียมความพร้อมสำหรับการ
ประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์ ประกอบด้วย เนอ้ื หาที่เกี่ยวข้อง
กับการประเมิน ITA ข้อมูลพื้นฐานของการประเมิน ระเบียบวิธีในการประเมิน หลักเกณฑ์การประเมินผล
ประเด็นในการประเมิน และวิธีการประเมินผ่านระบบ ITA Online ทั้งนี้เพื่อให้การประเมินบรรลุผลตาม
วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปน็ ไปตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ที่ได้พัฒนาเครื่องมือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน
ของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นในการรณรงค์และเสริมสร้างวัฒนธรรมขององค์กร จนนำไปสู่
การขยายผลเพื่อพฒั นาและยกระดับคุณธรรมและความโปรง่ ใสในสถานศึกษาและสำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา
ในสังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐานจนประสบผลสำเรจ็

หวงั เป็นอยา่ งยิ่งวา่ แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา
ออนไลน์ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์และสามารถสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการประเมิน และกรอบการ
ประเมินที่เป็นมาตรฐานในทิศทางเดียวกัน เพื่อยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสและภาพลักษณ์ในการ
ดำเนินงานของหน่วยงาน มีการดำเนนิ งานท่ีมุ่งให้เกิดประโยชน์ตอ่ ประชาชนและสว่ นรวมเปน็ สำคัญ และลดโอกาส
ที่จะเกิดการทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงาน ส่งผลให้หน่วยงานสามารถบรรลตุ ามเปา้ หมายท่ีกำหนดไว้
ในแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 21 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 –
2580) ตอ่ ไป

สำนกั พัฒนานวตั กรรมการจัดการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

แนวทางการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์

ความเปน็ มาการประเมิน ITA Online

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สำนักงาน ป.ป.ช.)
ได้พัฒนาเครื่องมือการประเมินเชิงบวกเพื่อเป็นมาตรการป้องกันการทุจริต และเป็นกลไกในการสร้าง
ความตระหนักให้หน่วยงานภาครัฐมีการดำเนินงานอย่างโปร่งใสและมีคุณธรรม โดยใช้ชื่อว่า “การประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency
Assessment: ITA)” เป็นกลยุทธ์ที่สำคัญของยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ซึ่งถือเป็นการยกระดับให้การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
ดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ให้เป็น “มาตรการป้องกันการทุจริตเชิงรุก” ที่หน่วยงานภาครัฐทั่วประเทศ
จะตอ้ งดำเนนิ การ โดยมงุ่ หวังใหห้ น่วยงานภาครัฐท่ีเข้ารับการประเมิน ไดร้ บั ทราบผลการประเมินและแนวทาง
ในการพัฒนาและยกระดับหน่วยงานในด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานได้อย่างเหมาะสม
และที่ผ่านมาพบว่า หลายหน่วยงานนำการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐไปเป็นกรอบในการพัฒนาและยกระดับการบริหารการจัดการให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล
เกิดการปรับปรุงประสิทธิภาพในการให้บริการและการอำนวยความสะดวกต่อประชาชน ให้เข้าถึงการ
บริการสาธารณะด้วยความเป็นธรรมผา่ นการปฏิบตั ิงานอยา่ งมีมาตรฐาน มีการประกาศข้ันตอนและระยะเวลา
ในการให้บรกิ ารอยา่ งชดั เจน นอกจากนี้ ในด้านบรหิ ารจัดการในหน่วยงาน กย็ ังพบว่าหน่วยงานให้ความสำคัญ
กับการป้องกันในประเด็นที่อาจเป็นความเสี่ยงหรือเป็นช่องทางที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริต การรับสินบน
หรือก่อให้เกิดผลประโยชน์ทับซ้อน และสามารถยับยั้งการทุจริตหรือผลประโยชน์ทับซ้อนที่อาจเกิดข้ึน
ได้อย่างเท่าทันสถานการณ์ ซึ่งเมื่อหน่วยงานภาครัฐทั่วประเทศมีการป้องกันการทุจริตเชิงรุกในลักษณะ
ดังกล่าว ก็จะทำให้การทุจริตในภาพรวมของประเทศลดลงได้ในที่สุด ตลอดจนยังผลักดันให้เกิดทิศทาง
การพฒั นาและปรับปรุงการทำงานภายในหนว่ ยงานในภาพรวมของประเทศให้มปี ระสิทธภิ าพมากยงิ่ ขึ้นอีกดว้ ย

การดำเนินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
(Integrity and Transparency Assessment: ITA) ที่ผ่านมา ถือว่าประสบความสำเร็จเป็นอย่างยิ่ง โดยได้รับ
ความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐที่เข้าร่วมเป็นอย่างดี และได้รับเสียงสะท้อนว่าการประเมินคุณธรรม
และความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั นั้น เป็นเครื่องมอื ที่ชว่ ยให้หน่วยงานที่รับการประเมิน
ได้มีการตรวจสอบและสอบทานตนเอง มีการปรับปรุงการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลในส่วนท่ี
ยงั ขาดตกบกพรอ่ ง มกี ารพัฒนาระบบงานใหเ้ กิดความโปรง่ ใส มีการปรับปรุงการบรหิ ารงานและการปฏิบัติงาน
อยา่ งเป็นธรรมท้ังตอ่ บคุ ลากรในหนว่ ยงานและต่อผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสียของหนว่ ยงานได้เป็นอย่างดี

1

แนวทางการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์

ปัจจุบันการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ได้ถูกกำหนดเป็นตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 21 การต่อต้าน
การทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 – 2580) โดยในระยะแรก (พ.ศ. 2561 – 2565) กำหนด
ค่าเปา้ หมายใหห้ นว่ ยงานภาครฐั ท่ีมผี ลการประเมินผา่ นเกณฑ์ (85 คะแนนข้ึนไป) ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากจะเป็นหน่วยงานระดับกรม
ที่รับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานจากสำนักงาน ป.ป.ช. แล้ว ยังเป็นหน่วยงาน
ที่นำเครื่องมือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and
Transparency Assessment: ITA) ไปขยายผลเพื่อพัฒนาและยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใส
ของหน่วยงานในสังกัด โดยการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา จำนวน 225 เขต อย่างต่อเนื่อง และได้พัฒนานวัตกรรมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสใน
การดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในรูปแบบออนไลน์ โดยมีแนวคิดการพัฒนานวัตกรรมการ
ประเมนิ ดว้ ยระบบ ITA Online เพือ่ ความสะดวกในการจัดเกบ็ ข้อมูล รวดเรว็ ในการวิเคราะห์และประมวลผล
โปร่งใสตรวจสอบได้ด้วยระบบเวลาจริง (Real-time system) และการประเมินมีประสิทธิภาพ ลดภาระงาน
ด้านเอกสาร (Paperless) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่รับการประเมินโดยปรับปรุงระบบการเก็บขอ้ มลู
ให้เปน็ แบบออนไลน์เต็มรูปแบบ

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สำนักงาน ป.ป.ช. โดยสำนักประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ของหน่วยงานภาครัฐ ได้พัฒนาเกณฑ์การประเมนิ ให้เกิดการสนับสนุนต่อการยกระดับคา่ คะแนนดัชนีการรบั รู้
การทุจริตของประเทศไทยได้อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งเป็นไปตามทิศทางของยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) โดยได้สังเคราะห์ผลการวิจัยเรื่องแนวทางการ
ปรับปรุงและแนวการพัฒนาเครื่องมือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐ เพื่อนำไปสู่การยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI)
ของประเทศไทยให้สูงขึ้น และพัฒนาเกณฑ์การประเมินให้สามารถป้องกันการทุจริตเชิงรุกได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการบูรณาการเครื่องมือส่งเสริมด้านคุณธรรมและความโปร่งใสจากหน่วยงานอ่ืน
ทเ่ี ก่ยี วข้อง เพอ่ื ใหเ้ ป็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน ลดความซำ้ ซอ้ นของการดำเนินการ และมงุ่ เน้นการร่วมดำเนินการ
ขับเคลื่อนด้านธรรมาภบิ าลในภาพรวมของประเทศ ส่งผลให้หน่วยงานราชการที่ไดร้ ับการประเมิน ได้ประโยชน์
จากการประเมิน และนำผลการประเมินไปการปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และได้รับ
ประโยชน์ในมุมของการสื่อสารภาพลักษณ์องค์กร โดยเฉพาะการแสดงให้สังคมและสาธารณชนรับรู้
ว่าหน่วยงานให้ความสำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลและการป้องกันการทุจริตในหน่วยงานอย่างไร และการ
ดำเนินการดังกล่าว ไม่เป็นต้นทุนหรือภาระของหน่วยงานมากเกินไป รวมทั้งต้องไม่เป็นภาระกับบุคคล
ทเ่ี ข้าร่วมกระบวนการประเมนิ ด้วย

2

แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์

แนวทางการประเมิน ITA Online

สำหรับเกณฑ์ การประเมิ นคุณธรรมและควา มโปร่งใสในการดำเนินงา นของ สถาน ศึ ก ษา
ออนไลน์ ยงั คงใช้กรอบแนวทางการประเมินเช่นเดียวกบั ปงี บประมาณท่ีผ่านมา เพ่ือให้สถานศกึ ษาท่ีเข้ารับการ
ประเมิน ได้ทราบผลการประเมินตลอดจนข้อเสนอแนะที่จะนำไปสู่การปรับปรุงพัฒนาคุณธรรมและความ
โปร่งใสของหน่วยงานอยา่ งเชื่อมโยงและต่อเนอ่ื ง โดยมกี ารเก็บขอ้ มูลจาก 3 ส่วน ดังน้ี

ส่วนที่ 1 การเก็บข้อมูลจากบุคลากรในสถานศึกษา (Internal Integrity and Transparency
Assessment: IIT) โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกระดับที่ปฏิบัติงานมาได้มีโอกาสสะท้อนและแสดงความคิดเห็น
ตอ่ คุณธรรมและความโปรง่ ใสของสถานศกึ ษาตนเอง โดยสอบถามการรับรู้และความคดิ เหน็ ใน 5 ตัวชว้ี ดั ได้แก่

ตัวชว้ี ัดที่ 1 การปฏบิ ัตหิ น้าที่
ตัวชี้วดั ท่ี 2 การใช้งบประมาณ
ตัวชวี้ ดั ท่ี 3 การใช้อำนาจ
ตวั ชว้ี ดั ที่ 4 การใช้ทรพั ยส์ ินของราชการ
ตวั ชวี้ ัดท่ี 5 การแก้ไขปัญหาการทุจรติ

ส่วนที่ 2 การเก็บข้อมูลจากผู้รับบริการหรือผู้ติดต่อสถานศึกษา (External Integrity and
Transparency Assessment: EIT) โดยเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการหรือผู้ติดต่อสถานศึกษาได้มีโอกาสสะท้อน
และแสดงความคดิ เห็นต่อการดำเนินงานของสถานศึกษา โดยสอบถามการรับรู้และความคิดเห็นใน 3 ตวั ชว้ี ัด ได้แก่

ตวั ชี้วดั ท่ี 6 คุณภาพการดำเนินงาน
ตวั ชว้ี ดั ที่ 7 ประสทิ ธภิ าพการส่อื สาร
ตวั ชว้ี ัดท่ี 8 การปรบั ปรุงระบบการทำงาน

ส่วนที่ 3 การเปิดเผยข้อมูลทางเว็บไซต์ของ สถานศึกษา (Open Data Integrity and
Transparency Assessment: OIT) เป็นการตรวจสอบระดับการเปิดเผยข้อมูลของสถานศึกษา ที่เผยแพร่ไว้ทาง
หน้าเว็บไซต์หลักของสถานศึกษา โดยมีคณะที่ปรึกษาการประเมินเป็นผู้ตรวจสอบข้อมูลและให้คะแนน พร้อม
ขอ้ เสนอแนะตามหลกั เกณฑก์ ารประเมินที่กำหนด แบง่ ออกเป็น 2 ตวั ช้ีวัด ไดแ้ ก่

ตวั ช้ีวัดท่ี 9 การเปดิ เผยขอ้ มลู
ตัวชว้ี ัดย่อยท่ี 9.1 ขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ตวั ชี้วดั ยอ่ ยที่ 9.2 การบรหิ ารงาน
ตัวช้ีวดั ย่อยที่ 9.3 การบริหารเงินงบประมาณ
ตัวช้ีวดั ยอ่ ยท่ี 9.4 การบรหิ ารและพัฒนาทรพั ยากรบุคคล
ตวั ชี้วัดยอ่ ยที่ 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส

ตวั ชวี้ ัดท่ี 10 การป้องกนั การทจุ ริต
ตัวชวี้ ดั ย่อยท่ี 10.1 การดำเนินการเพอ่ื ปอ้ งกนั การทุจรติ
ตวั ชี้วัดยอ่ ยที่ 10.2 มาตรการภายในเพื่อปอ้ งกนั การทจุ ริต

3

แนวทางการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์

แต่เนื่องด้วยมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ระลอกใหม่
ขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และทุกจังหวัดทั่วประเทศ เป็นผลให้มีผู้ติดเช้ือ
เพิ่มขึ้นจำนวนมาก สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกำหนดมาตรการป้องกันและควบคุม
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 รวมทั้งการปรับลดเวลาและวันทำงาน
ของบุคลากรในสงั กัด เพือ่ ปอ้ งกนั ควบคมุ และจำกัดการแพร่ระบาดตามมาตรการของศูนย์บรหิ ารสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) โดยให้บุคลากรและหน่วยงานในสังกัด
จัดบุคลากรหมุนเวียนมาปฏิบัติงาน ณ สถานที่ทำงาน มอบหมายงานให้บุคลากรในสังกัดปฏิบัติงาน ณ ที่พัก
อาศัย เลื่อนการจัดประชุม การฝึกอบรม หรือการสัมมนาต่าง ๆ ออกไป งดการจัดการเรียนการสอนและ
กิจกรรมใด ๆ ที่ต้องมีการรวมกลุ่ม และปฏิบัติตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing)
อย่างเคร่งครัด การประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์ จึงต้องมีการ
ปรับแผนการดำเนินกิจกรรมให้สอดรับกับสถานการณ์ เพื่อสนองตอบมาตรการสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานดังกล่าวข้างต้น โดยปรับรูปแบบจากการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
ดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์ (ITA Online) เปลยี่ นเป็น

- การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับการประเมิน ITA ให้กับสถานศึกษาเพื่อเตรียม
รับการประเมิน ITA Online

- การส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษามีการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันบนเว็บไซต์ของ
สถานศึกษาเพื่อเปิดเผยข้อมูลและการดำเนินการต่าง ๆ ของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับแบบวัดการเปิดเผยข้อมูล
สาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT) ใหส้ าธารณชนไดร้ บั ทราบ

- การปรับปรุงและพัฒนาระบบการประเมิน ITA Online ระดับสถานศึกษา
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โควิด-19 ดังทีก่ ล่าวมาขา้ งตน้ ส่งผลตอ่ การกำหนดกลไก
และกระบวนการในการขับเคลื่อนแนวทางการประเมิน ITA Online ในปีนี้ โดยสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ออกแบบระบบเพื่อให้สามารถรองรับการประเมินสถานศึกษา ทั้งนี้เพื่อประโยชน์
ในการนำผลทีไ่ ด้จากการประเมิน ITA Online มาใช้เปน็ ฐานขอ้ มลู ในการพฒั นาหนว่ ยงานในอนาคต

4

แนวทางการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์

หน่วยงานท่ีเกีย่ วขอ้ งในการประเมิน ITA Online

ในการขับเคลอ่ื นการประเมิน ITA Online จำเปน็ ทจี่ ะต้องมีหลายหนว่ ยงานรว่ มกันขบั เคล่ือน
การประเมิน ITA Online ให้สามารถดำเนินการได้อย่างเรียบร้อยและเป็นไปตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ประกอบดว้ ย

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นหน่วยศูนย์กลางในการกำกับติดตาม
การประเมิน ITA Online โดยมหี นา้ ทก่ี ำหนดกลไกและกระบวนการในการขับเคลื่อนการประเมินคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์ในภาพรวม รวมไปถึงหลักการและหลักเกณฑ์ต่างๆ
ในการประเมิน การกำกับตดิ ตามการประเมินและการดำเนินการต่อผลการประเมนิ เพื่อนำเสนอต่อ สำนักงาน
ป.ป.ช.

สำนักงาน ป.ป.ช. มีบทบาทในการร่วมกำหนดแนวทางและร่วมกำกับติดตามการประเมิน
รวมไปถึงการประสานงานในระหวา่ งกระบวนการต่างๆในการประเมิน

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นหน่วยย่อยในการดำเนินการประเมินคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์ โดยมีหน้าที่กำหนดกลไกและกระบวนการในการ
ขบั เคล่อื นการประเมนิ สถานศกึ ษาในสงั กัด

สถานศึกษา เป็นกลุม่ เป้าหมายทรี่ ับการประเมนิ

สำหรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของ สถานศึกษาออนไลน์
ถือเป็นการขยายผลการนำเครื่องมือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส มาใช้ในการประเมินสถานศึกษา
ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานรูปแบบออนไลน์ต่อเนื่องจากการประเมินในปีที่ผ่านมา
โดยการประเมนิ ผ่านระบบ ITA Online ซง่ึ ไดด้ ำเนินการพฒั นาและออกแบบระบบการประเมนิ ในครั้งน้ีให้ง่าย
ต่อการใช้งาน ลดความยุ่งยาก ซับซ้อนในการนำเข้าข้อมูลและคำนึงถึงความสะดวกในการตอบคำถามแบบ
สำรวจของผทู้ ีเ่ ก่ียวข้อง

การประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์จะทำให้
หน่วยงานเกิดความตระหนัก และนำกรอบการประเมินที่กำหนดไปดำเนินการจัดทำมาตรการส่งเสริม
คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส พฒั นาระบบงาน ออกแบบกลไกปรบั ปรุงแกไ้ ข ขั้นตอน วิธกี ารปฏิบัติงานต่างๆ
ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้
ผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์ จะเป็นข้อมูลพื้นฐาน
สำคัญที่จะนำไปสู่การปรับปรุงหน่วยงานและการวางแผนในการป้องกันการทุจริตทั้งระดับนโยบายและ
ระดับปฏิบัติในอนาคตอีกดว้ ย

5

แนวทางการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์

ตวั ช้วี ัดการประเมนิ ITA Online

เกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์
จำแนกออกเป็น 10 ตวั ชีว้ ดั ได้แก่

1) การปฏบิ ตั หิ น้าที่
2) การใช้งบประมาณ
3) การใชอ้ ำนาจ
4) การใชท้ รพั ย์สินของราชการ
5) การแกไ้ ขปญั หาการทุจริต
6) คณุ ภาพการดำเนนิ งาน
7) ประสทิ ธิภาพการส่ือสาร
8) การปรบั ปรุงระบบการทำงาน
9) การเปิดเผยข้อมูล
10) การปอ้ งกันการทุจริต

รายละเอียดตวั ช้ีวัดของแบบวดั IIT

แบบวดั การรับรขู้ องผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency
Assessment: IIT) ใช้เกบ็ รวบรวมข้อมลู ในตวั ชว้ี ัดท่ี 1 – ตัวช้วี ดั ท่ี 5 ประกอบดว้ ย

ตัวชวี้ ัดท่ี 1 การปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี
เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากรภายในหน่วยงาน
ต่อการปฏบิ ตั งิ านของบุคลากรอ่ืนในหน่วยงานของตนเอง ในประเด็นทเ่ี กี่ยวข้องกับ การปฏบิ ัติงานโดยยึดหลัก
ตามมาตรฐาน มีความโปร่งใส ปฏิบัติงานหรอื ดำเนินการตามขั้นตอนและระยะเวลาท่ีกำหนดไว้อยา่ งเคร่งครัด
และจะต้องเป็นไปอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็นผู้มาติดต่อทั่วไปหรือผู้มาติดต่อที่รู้จักกันเป็นการส่วนตัว
รวมไปถึงการปฏิบัติงานอย่างมุ่งมั่น เต็มความสามารถ และความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่ที่รับผิดชอบ
ซึ่งล้วนถือเป็นลักษณะการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะเจ้าหน้าที่ของรัฐอย่างมีคุณธรรม นอกจากนี้ ยังประเมิน
การรับรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเรียกรับเงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่น ๆ ของบุคลากรอ่ืน
ในหน่วยงานทั้งในกรณีที่แลกกับการปฏิบัติหน้าที่ และในกรณีช่วงเทศกาลหรือวาระสำคัญต่าง ๆ
ตามขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือแม้แต่กรณีการให้เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่น ๆ ต่อบุคคลภายนอก
ซง่ึ ถือเป็นความเสย่ี งท่ีอาจจะกอ่ ให้เกิดการรับสนิ บนไดใ้ นอนาคต

6

แนวทางการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์

ตวั ช้ีวดั ท่ี 1 การปฏิบัตหิ นา้ ท่ี ประกอบดว้ ยขอ้ คำถามจำนวน 6 ข้อ ดงั น้ี

ประเด็นการประเมนิ ระดับ มากทส่ี ดุ
i1 บุคลากรในหนว่ ยงานของท่าน ปฏิบตั งิ าน/ให้บริการ น้อยทส่ี ุด นอ้ ย มาก
แก่ผูม้ าตดิ ตอ่ ตามประเดน็ ดังต่อไปน้ี มากน้อยเพียงใด หรือไม่มีเลย
▪ เป็นไปตามขน้ั ตอนท่กี ำหนด
▪ เปน็ ไปตามระยะเวลาที่กำหนด

ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยท่สี ดุ ระดับ มากที่สดุ
น้อย มาก
หรอื ไม่มเี ลย

i2 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน ปฏิบัติงาน/ให้บริการ

แก่ผู้มาติดต่อทั่ว ๆ ไป กับผู้มาติดต่อที่รู้จักเป็นการ

ส่วนตัวอย่างเทา่ เทยี มกนั มากนอ้ ยเพยี งใด

ประเดน็ การประเมิน ระดับ
น้อย มาก
i3 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีพฤติกรรมในการ น้อยทส่ี ดุ มากท่สี ดุ

ปฏิบัติงาน ตามประเดน็ ดังตอ่ ไปนี้ อยา่ งไร หรือไม่มีเลย

▪ ม่งุ ผลสำเรจ็ ของงาน

▪ ให้ความสำคญั กับงานมากกว่าธรุ ะสว่ นตัว

▪ พรอ้ มรับผิดชอบ หากความผิดพลาดเกิดจากตนเอง

ประเด็นการประเมนิ ระดับ

i4 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการเรียกรับสิ่งดังต่อไปน้ี จากผู้มาติดต่อ มี ไม่มี
เพอื่ แลกกับการปฏบิ ัติงาน การอนุมตั ิ อนุญาต หรือใหบ้ ริการ หรือไม่

▪ เงนิ

▪ ทรพั ยส์ นิ

▪ ประโยชน์อื่น ๆ ที่อาจคำนวณเป็นเงินได้ เช่น การลดราคา การรับความบันเทิง

เปน็ ตน้

หมายเหตุ: เป็นการเรียกรับที่นอกเหนือจากที่กฎหมายกำหนดให้รับได้ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ ค่าปรับ

เป็นต้น

7

แนวทางการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์

ประเด็นการประเมนิ ระดบั
i5 นอกเหนือจากการรบั จากญาติหรอื จากบุคคล ท่ีให้กนั ในโอกาสต่าง ๆ โดยปกติ มี ไมม่ ี
ตามขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือวัฒนธรรม หรือให้กันตามมารยาทที่ปฏิบัติกัน
ในสงั คมแล้ว บคุ ลากรในหน่วยงานของท่าน มีการรบั สิง่ ดงั ต่อไปนี้ หรือไม่
▪ เงนิ
▪ ทรัพย์สนิ
▪ ประโยชน์อื่น ๆ ที่อาจคำนวณเป็นเงินได้ เช่น การลดราคา การรับความบันเทงิ
เปน็ ตน้

ประเด็นการประเมนิ ระดับ
i6 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการให้สิ่งดังต่อไปน้ี แก่บุคคลภายนอกหรือ มี ไมม่ ี
ภาคเอกชน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและคาดหวังให้มีการตอบแทนในอนาคต
หรือไม่
▪ เงิน
▪ ทรพั ย์สนิ
▪ ประโยชน์อื่น ๆ เช่น การยกเว้นค่าบริการ การอำนวยความสะดวกเป็นกรณี
พิเศษ เป็นต้น

ตัวชวี้ ดั ที่ 2 การใช้งบประมาณ

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากร ภายในหน่วยงานต่อการ
ดำเนินการต่าง ๆ ของหน่วยงานของตนเอง ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงิน งบประมาณ นับตั้งแต่
การจัดทำแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีและเผยแพร่อย่างโปร่งใส ไปจนถึงลักษณะการใช้จ่าย
งบประมาณของหน่วยงานอย่างคุ้มค่า เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และไม่เอื้อประโยชน์แก่ตนเองหรือพวกพ้อง
การเบิกจา่ ยเงนิ ของบุคลากรภายในในเร่ืองต่าง ๆ เช่น คา่ ทำงานลว่ งเวลา คา่ วัสดอุ ุปกรณ์ หรอื คา่ เดินทาง ฯลฯ
ตลอดจนกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างและการตรวจรับพัสดุด้วย นอกจากน้ี ยังให้ความสำคัญกับการเปิดโอกาส
ให้บคุ ลากรภายในมสี ว่ นร่วมในการตรวจสอบการใชจ้ ่ายงบประมาณของหน่วยงานตนเองได้

8

แนวทางการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์

ตัวชวี้ ัดท่ี 2 การใช้งบประมาณ ประกอบด้วยข้อคำถามจำนวน 6 ขอ้ ดงั น้ี

ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยที่สดุ ระดับ มากที่สุด
น้อย มาก
หรอื ไม่มีเลย

i7 ท่านรู้เกี่ยวกับแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี

ของหนว่ ยงานของท่าน มากน้อยเพยี งใด

ประเด็นการประเมนิ ระดบั
นอ้ ย มาก
i8 หน่วยงานของท่าน ใช้จ่ายงบประมาณ โดยคำนึงถึง นอ้ ยที่สุด มากทสี่ ุด

ประเดน็ ดงั ต่อไปนี้ มากนอ้ ยเพยี งใด หรือไม่มีเลย

▪ คมุ้ ค่า

▪ ไมบ่ ดิ เบือนวตั ถุประสงคข์ องงบประมาณทีต่ ั้งไว้

ประเด็นการประเมนิ น้อยทส่ี ุด ระดับ มากท่ีสุด
นอ้ ย มาก
หรือไม่มเี ลย

i9 หนว่ ยงานของทา่ น ใช้จา่ ยงบประมาณเพ่อื ประโยชน์

สว่ นตัว กลมุ่ หรอื พวกพ้อง มากนอ้ ยเพียงใด

ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยท่สี ุด ระดับ มากทส่ี ุด
นอ้ ย มาก
หรือไม่มเี ลย

i10 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการเบิกจ่ายเงิน

ที่เป็นเท็จ เช่น ค่าทำงานล่วงเวลา ค่าวัสดุอุปกรณ์

ค่าเดินทาง ฯลฯ มากนอ้ ยเพยี งใด

ประเด็นการประเมิน ระดบั
นอ้ ย มาก
i11 หน่วยงานของท่าน มีการจัดซื้อจัดจ้าง/การจัดหา นอ้ ยทส่ี ุด มากที่สุด
พัสดุ และการตรวจรับพัสดุในลักษณะดังต่อไปนี้ หรอื ไม่มีเลย
มากนอ้ ยเพยี งใด

▪ โปรง่ ใส ตรวจสอบได้

▪ เอ้อื ประโยชน์ให้ผูป้ ระกอบการรายใดรายหนงึ่

9

แนวทางการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์

ประเดน็ การประเมนิ ระดับ
น้อย มาก
i12 หน่วยงานของท่าน เปิดโอกาสให้ท่าน มีส่วนร่วม น้อยทสี่ ดุ มากทสี่ ุด
ในการตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณ ตามประเด็น หรอื ไม่มเี ลย
ดงั ต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด

▪ สอบถาม

▪ ทักทว้ ง

▪ ร้องเรียน

ตวั ช้ีวดั ท่ี 3 การใชอ้ ำนาจ

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากรภายใน หน่วยงานต่อการ
ใช้อำนาจของผู้บังคับบัญชาของตนเอง ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการมอบหมายงาน การประเมินผล
การปฏิบัติงาน การคัดเลือกบุคลากรเพื่อให้สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ซึ่งจะต้องเป็นไปอย่างเป็นธรรม และไม่เลือก
ปฏิบัติ รวมไปถึงการใช้อำนาจสั่งการให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำในธุระส่วนตัวของผู้บังคับบัญชาหรือทำในสิ่งท่ี
ไม่ถูกต้อง นอกจากนี้ ยังประเมินเกี่ยวกับกระบวนการบริหารงานบุคคลท่ีอาจเกิดการแทรกแซงจากผู้มีอำนาจ
การซอ้ื ขายตำแหน่ง หรือการเออ้ื ผลประโยชนใ์ หก้ ลมุ่ หรอื พวกพอ้ ง

ตัวช้วี ดั ที่ 3 การใช้อำนาจ ประกอบดว้ ยข้อคำถามจำนวน 6 ข้อ ดงั น้ี

ประเด็นการประเมิน นอ้ ยทีส่ ุด ระดบั มากท่สี ดุ
นอ้ ย มาก
หรอื ไม่มเี ลย

i13 ท่านได้รับมอบหมายงานตามตำแหน่งหน้าที่

จากผบู้ ังคับบัญชาอยา่ งเปน็ ธรรม มากนอ้ ยเพยี งใด

หมายเหต:ุ การมอบหมาย หมายถึง การมอบหมายงานตามตำแหน่งหนา้ ที่

ประเดน็ การประเมิน น้อยท่สี ดุ ระดบั มากทีส่ ุด
น้อย มาก
หรือไม่มีเลย

i14 ท่านได้รับการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ตามระดับ

คณุ ภาพของผลงานอย่างถูกตอ้ ง มากน้อยเพียงใด

10

แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์

ประเดน็ การประเมิน นอ้ ยที่สดุ ระดับ มากท่ีสดุ
หรือไม่มเี ลย น้อย มาก
i15 ผบู้ งั คับบญั ชาของทา่ น มีการคัดเลือกผูเ้ ข้ารับการ
ฝึกอบรม การศึกษาดงู าน หรือการให้ทุนการศกึ ษา
อย่างเป็นธรรม มากน้อยเพียงใด

ประเดน็ การประเมิน นอ้ ยที่สุด ระดับ มากทีส่ ดุ
หรอื ไม่มีเลย นอ้ ย มาก
i16 ทา่ นเคยถกู ผบู้ งั คบั บญั ชาสัง่ การใหท้ ำธรุ ะส่วนตัว
ของผูบ้ งั คับบญั ชา มากน้อยเพยี งใด

ประเดน็ การประเมิน นอ้ ยทส่ี ุด ระดบั มากที่สุด
น้อย มาก
หรือไม่มเี ลย

i17 ทา่ นเคยถูกผ้บู งั คับบญั ชาสั่งการใหท้ ำในสิง่ ทไ่ี ม่

ถกู ต้อง หรอื มีความเสี่ยงต่อการทจุ รติ มากน้อยเพียงใด

ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยทีส่ ุด ระดับ มากที่สดุ
i18 การบรหิ ารงานบุคคลของหน่วยงานของท่าน หรือไม่มีเลย น้อย มาก
มลี กั ษณะดงั ต่อไปน้ี มากน้อยเพยี งใด
▪ ถกู แทรกแซงจากผู้มีอำนาจ
▪ มีการซอ้ื ขายตำแหน่ง
▪ เอ้อื ประโยชน์ใหก้ ลมุ่ หรือพวกพอ้ ง

11

แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์

ตัวช้ีวัดท่ี 4 การใช้ทรพั ย์สินของราชการ

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากรภายในหน่วยงานต่อการ
ใช้ทรัพย์สินของราชการ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของบุคลากรภายใน ในการนำทรัพย์สิน
ของราชการของหนว่ ยงานไปเป็นของตนเองหรือนำไปให้ผู้อื่น และพฤตกิ รรมในการขอยืมทรัพยส์ นิ ของราชการ
ทั้งการยืมโดยบุคลากรภายในหน่วยงานและการยืมโดยบุคคลภายนอกหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงานจะต้อง
มีกระบวนการในการขออนุญาตที่ชัดเจนและสะดวก นอกจากนี้ หน่วยงานจะต้องมีการจัดทำแนวทางปฏิบัติ
เกี่ยวกับการใช้ทรัพย์สินของราชการที่ถูกต้อง เพื่อเผยแพร่ให้บุคลากรภายในได้รับทราบและ นำไปปฏิบัติ
รวมไปถึงหนว่ ยงานจะตอ้ งมกี ารกำกับดูแลและตรวจสอบการใช้ทรัพย์สนิ ของราชการของหน่วยงานดว้ ย

ตัวชี้วดั ที่ 4 การใช้ทรพั ยส์ นิ ของราชการ ประกอบดว้ ยข้อคำถามจำนวน 6 ข้อ ดงั นี้

ประเด็นการประเมนิ น้อยทสี่ ดุ ระดบั มากที่สุด
นอ้ ย มาก
หรือไม่มีเลย

i19 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการเอาทรัพย์สิน

ของราชการ ไปเป็นของส่วนตัว หรือนำไปให้กลุ่มหรือ

พวกพอ้ ง มากนอ้ ยเพยี งใด

ประเดน็ การประเมนิ นอ้ ยทส่ี ดุ ระดบั มากทีส่ ดุ
น้อย มาก
หรือไม่มีเลย

i20 ขั้นตอนการขออนุญาตเพื่อยืมทรัพย์สินของ

ราชการ ไปใช้ปฏิบัติงานในหน่วยงานของท่าน มีความ

สะดวก มากน้อยเพียงใด

ประเดน็ การประเมิน น้อยท่ีสดุ ระดับ มากท่สี ุด
นอ้ ย มาก
หรือไม่มีเลย

i21 ถ้าต้องมีการขอยืมทรัพย์สินของราชการไปใช้

ปฏิบัตงิ าน บคุ ลากรในหน่วยงานของท่าน มกี ารขออนุญาต

อย่างถกู ตอ้ ง มากน้อยเพยี งใด

12

แนวทางการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์

ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยทส่ี ุด ระดบั มากที่สดุ
นอ้ ย มาก
หรือไม่มีเลย

i22 บุคคลภายนอกหรือภาคเอกชน มีการนำทรัพย์สิน

ของราชการไปใช้ โดยไม่ได้ขออนุญาตอย่างถูกต้อง

จากหน่วยงานของท่าน มากน้อยเพยี งใด

ประเดน็ การประเมนิ นอ้ ยทีส่ ดุ ระดบั มากทีส่ ุด
นอ้ ย มาก
หรอื ไม่มีเลย

i23 ท่านรู้แนวปฏิบัติของหน่วยงานของท่าน เกี่ยวกับ

การใชท้ รพั ยส์ นิ ของราชการทถี่ กู ตอ้ ง มากนอ้ ยเพียงใด

ประเด็นการประเมนิ น้อยท่สี ุด ระดับ มากทส่ี ดุ
นอ้ ย มาก
หรอื ไม่มีเลย

i24 หน่วยงานของท่าน มีการกำกับดูแลและตรวจสอบ

การใช้ทรัพย์สินของราชการ เพื่อป้องกันไม่ให้

มีการนำไปใช้ประโยชน์ส่วนตัว กลุ่ม หรือพวกพ้อง

มากน้อยเพียงใด

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 5 การแก้ไขปญั หาการทุจริต

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของ บุคลากรภายในหน่วยงานต่อการแก้ไข
ปัญหาการทุจริตของหน่วยงาน ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการให้ ความสำคัญของผู้บริหารสูงสุดในการต่อต้าน
การทุจริตอย่างจริงจัง โดยหน่วยงานจะต้องทบทวนนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการทุจริตในหน่วยงาน
ให้มีประสิทธิภาพ และจัดทำแผนงานด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของหน่วยงาน เพื่อให้เกิด
การแก้ไขปัญหาการทุจริตได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมไปถึงการประเมินเกี่ยวกับประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหา
การทจุ รติ ของหน่วยงาน ทจ่ี ะตอ้ งทำให้การทุจรติ ในหนว่ ยงานลดลงหรือไม่มีเลย และจะตอ้ งสร้างความเช่ือมั่น
ให้บุคลากรภายใน ในการร้องเรียนเมื่อพบเห็นการทุจริตภายในหน่วยงานด้วย นอกจากนี้ หน่วยงานจะต้องมี

13

แนวทางการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์

กระบวนการเฝ้าระวงั ตรวจสอบการทุจริตภายในหน่วยงาน รวมถึงการนำผลการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบ
จากทั้งภายในและภายนอกหนว่ ยงาน ไปปรบั ปรงุ การทำงาน เพื่อป้องกนั การทจุ ริต

ตัวช้วี ดั ที่ 5 การแก้ไขปญั หาการทุจริต ประกอบดว้ ยขอ้ คำถามจำนวน 6 ข้อ ดงั นี้

ประเดน็ การประเมิน น้อยท่สี ดุ ระดับ มากที่สดุ
นอ้ ย มาก
หรอื ไม่มเี ลย

i25 ผ้บู รหิ ารสงู สุดของหนว่ ยงานของท่านให้ความสำคัญ

กบั การต่อต้านการทุจริต มากนอ้ ยเพยี งใด

ประเดน็ การประเมิน ระดบั
i26 หน่วยงานของทา่ น มีการดำเนินการ ดังต่อไปน้ี หรือไม่ มี ไมม่ ี
▪ ทบทวนนโยบายหรือมาตรการป้องกนั การทุจรติ ในหน่วยงานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ
▪ จัดทำแผนงานด้านการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ ของหนว่ ยงาน

ระดับ

ประเดน็ การประเมนิ น้อยท่สี ุด น้อย มาก มากท่สี ดุ
หรือไม่มเี ลย

i27 ปัญหาการทุจริตในหน่วยงานของท่าน ได้รับการแก้ไข

มากน้อยเพยี งใด

หมายเหตุ: หากท่านเห็นว่าหน่วยงานของท่านไม่มีปัญหาการทุจริตให้ตอบ “มากที่สุด”

ประเด็นการประเมิน ระดบั

i28 หน่วยงานของท่าน มีการดำเนินการดังต่อไปน้ี น้อยทส่ี ดุ นอ้ ย มาก มากท่ีสดุ

ตอ่ การทุจรติ ในหน่วยงาน มากนอ้ ยเพียงใด หรอื ไม่มเี ลย

▪ เฝา้ ระวงั การทุจริต

▪ ตรวจสอบการทุจรติ

▪ ลงโทษทางวนิ ัย เมือ่ มีการทจุ รติ

หมายเหตุ: หากหน่วยงานของทา่ นไม่มีการทุจริต จึงทำให้ไมม่ กี ารลงโทษทางวินยั ให้ตอบ "มากท่ีสดุ "

14

แนวทางการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์

ระดับ

ประเดน็ การประเมิน นอ้ ยทีส่ ุด น้อย มาก มากท่ีสุด
หรอื ไม่มเี ลย

i29 หน่วยงานของท่าน มีการนำผลการตรวจสอบของฝ่าย

ตรวจสอบ ทงั้ ภายในและภายนอกหน่วยงานไปปรับปรงุ การ

ทำงาน เพือ่ ป้องกนั การทุจริตในหนว่ ยงาน มากน้อยเพยี งใด

หมายเหตุ: ฝ่ายตรวจสอบภายใน หมายถึง คณะกรรมการตรวจสอบภายในของหน่วยงานหรือต้นสังกัด

ฝา่ ยตรวจสอบภายนอก หมายถงึ หน่วยงานทีม่ ีอำนาจหน้าที่ตรวจสอบการดำเนนิ งานของ

สถานศึกษา เชน่ สำนักงานการตรวจเงนิ แผ่นดิน (สตง.) สำนักงาน ป.ป.ช. สำนกั งาน ป.ป.ท. เป็นตน้

ประเด็นการประเมิน ระดบั

i30 หากท่านพบเห็นแนวโน้มการทุจริตที่จะเกิดข้ึน นอ้ ยท่ีสุด นอ้ ย มาก มากท่ีสุด
ในหน่วยงานของท่าน ท่านมีความคิดเห็นต่อประเด็น หรือไม่มีเลย
ดงั ตอ่ ไปน้ี อย่างไร

▪ สามารถร้องเรยี นและส่งหลักฐานไดอ้ ย่างสะดวก

▪ สามารถติดตามผลการร้องเรียนได้

▪ ม่ันใจวา่ จะมีการดำเนนิ การอยา่ งตรงไปตรงมา

▪ ม่นั ใจว่าจะปลอดภยั และไม่มผี ลกระทบต่อตนเอง

15

แนวทางการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์

รายละเอยี ดตวั ชีว้ ัดของแบบวดั EIT

แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภ ายนอก (External Integrity and
Transparency Assessment: EIT) ใช้เกบ็ รวบรวมข้อมูลในตวั ช้ีวดั ท่ี 6 – ตวั ชว้ี ดั ท่ี 8 ประกอบด้วย

ตัวชีว้ ดั ท่ี 6 คุณภาพการดำเนนิ งาน

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของ ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียของหน่วยงานต่อการคุณภาพการดำเนินงาน ในประเด็นที่เกีย่ วข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่
โดยยึดหลักตามมาตรฐาน ขั้นตอน และระยะเวลาท่ีกำหนดไว้อย่างเคร่งครัด และจะต้องเป็นไปอย่าง
เท่าเทียมกันไม่เลือกปฏิบัติ รวมถึงจะต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินการ/ให้บริการของหน่วยงาน
แก่ผู้รับบรกิ าร ผู้มาติดตอ่ หรอื ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี อย่างตรงไปตรงมาไม่ปิดบังหรือบิดเบือนข้อมูล ซึ่งสะท้อนถึง
การปฏบิ ัติหน้าทีอ่ ย่างมีคุณธรรม และยงั ประเมนิ การรบั รู้เกยี่ วกบั ประสบการณ์ตรงในการถูกเจ้าหน้าท่ีเรียกรับ
เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่น ๆ เพื่อแลกกับการปฏิบัติหน้าท่ีด้วย นอกจากนี้ ยังประเมินการรับรู้เกี่ยวกับ
การบริหารงานและการดำเนินงานในภาพรวมของหน่วยงานที่จะต้องคำนึงถึงประโยชน์ของประชาชน
และสว่ นรวมเปน็ หลัก ไมม่ ีการเอ้ือประโยชน์ใหก้ บั บคุ คลใดบุคคลหน่ึง หรอื กลุ่มใดกลมุ่ หนึ่ง

ตวั ชีว้ ดั ท่ี 6 คณุ ภาพการดำเนินงาน ประกอบด้วยข้อคำถาม จำนวน 5 ขอ้ ดังน้ี

ประเด็นการประเมนิ ระดับ
น้อย มาก
e1 เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ ปฏิบัติงาน/ นอ้ ยทส่ี ดุ มากที่สุด
ให้บริการแก่ท่าน ตามประเด็นดังต่อไปนี้ มากน้อย หรอื ไม่มเี ลย
เพยี งใด

▪ เป็นไปตามขน้ั ตอนที่กำหนด

▪ เปน็ ไปตามระยะเวลาท่ีกำหนด

ประเดน็ การประเมนิ น้อยท่ีสุด ระดบั มากทส่ี ดุ
น้อย มาก
หรือไม่มเี ลย

e2 เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ ปฏิบัติงาน/

ใหบ้ รกิ ารแก่ท่าน กับผู้มาตดิ ตอ่ คนอน่ื ๆ อยา่ งเทา่ เทยี มกนั

มากนอ้ ยเพยี งใด

16

แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์

ประเดน็ การประเมนิ น้อยทส่ี ดุ ระดับ มากท่ีสดุ
น้อย มาก
หรือไม่มเี ลย

e3 เจ้าหน้าท่ขี องหนว่ ยงานทท่ี า่ นตดิ ต่อ ให้ข้อมูลเก่ียวกับ

การดำเนินการ/ให้บริการแก่ท่านอย่างตรงไปตรงมา

ไม่ปิดบงั หรือบิดเบือนขอ้ มูลมากนอ้ ยเพยี งใด

ประเด็นการประเมิน ระดบั

e4 ในระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา ท่านเคยถูกเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ

ร้องขอให้จ่ายหรือให้สิ่งดังต่อไปนี้ เพื่อแลกกับการปฏิบัติงาน การอนุมัติ อนุญาต มี ไม่มี

หรอื ใหบ้ ริการ หรอื ไม่

▪ เงิน

▪ ทรัพยส์ ิน

▪ ประโยชน์อื่น ๆ ที่อาจคำนวณเป็นเงินได้ เช่น การลดราคา การให้ความบันเทิง

เป็นต้น

หมายเหต:ุ เป็นการให้ทนี่ อกเหนอื จากท่ีกฎหมายกำหนด เช่น คา่ ธรรมเนยี ม คา่ บรกิ าร คา่ ปรับ เป็นตน้

ประเดน็ การประเมนิ น้อยท่สี ดุ ระดบั มากทีส่ ดุ
นอ้ ย มาก
หรอื ไม่มเี ลย

e5 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการดำเนินงาน โดย

คำนึงถึงประโยชน์ของประชาชนและส่วนรวมเป็นหลัก

มากน้อยเพยี งใด

ตัวชี้วดั ท่ี 7 ประสิทธิภาพการส่อื สาร

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียของหน่วยงานต่อประสทิ ธิภาพการสื่อสาร ในประเด็น ที่เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่ข้อมูลของหน่วยงาน
ในเรื่องต่างๆ ต่อสาธารณชน ผ่านช่องทางที่หลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่ายและไม่ซับซ้อน โดยข้อมูล
ที่เผยแพร่จะต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผลการดำเนินงานของหน่วยงานและข้อมูล
ที่สาธารณชนควรรับทราบ รวมถึงการจัดให้มีช่องทางให้ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
สามารถส่งคำติชมหรือความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินงาน/การให้บริการ และมีการชี้แจงในกรณีที่มี

17

แนวทางการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์

ข้อกังวลสงสัยได้อย่างชัดเจน นอกจากนี้ ยังประเมินการรับรูเ้ กีย่ วกับการจัดให้มชี อ่ งทางให้ผู้มาติดต่อสามารถ
ร้องเรยี นการทุจรติ ของเจ้าหน้าทใี่ นหนว่ ยงานดว้ ย ซึ่งสะทอ้ นถึงการสื่อสารกับ ผรู้ ับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มี
สว่ นได้สว่ นเสียอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

ตัวชี้วัดที่ 7 ประสิทธิภาพการส่ือสาร ประเด็นสำรวจ ประกอบด้วยข้อคำถามจำนวน 5 ขอ้ ดังนี้

ประเดน็ การประเมนิ ระดับ

e6 การเผยแพร่ข้อมูลของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ น้อยทส่ี ุด น้อย มาก มากทส่ี ุด

มลี กั ษณะดงั ต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด หรือไม่มเี ลย

▪ เขา้ ถึงงา่ ย ไม่ซบั ซอ้ น

▪ มชี อ่ งทางหลากหลาย

ประเดน็ การประเมนิ นอ้ ยที่สดุ ระดับ มากทสี่ ดุ
นอ้ ย มาก
หรอื ไม่มเี ลย

e7 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการเผยแพร่ผลงานหรือ

ข้อมูลที่สาธารณชนควรรบั ทราบอย่างชัดเจน มากน้อย

เพียงใด

ประเด็นการประเมนิ ระดบั
มี ไม่มี
e8 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีช่องทางรับฟังคำติชมหรือความคิดเห็นเกี่ยวกับ
การดำเนินงาน/การให้บรกิ าร หรือไม่

ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยทส่ี ุด ระดับ มากทีส่ ดุ
นอ้ ย มาก
หรอื ไม่มีเลย

e9 หน่วยงานที่ท่านติดตอ่ มีการชี้แจงและตอบคำถาม

เมื่อมีข้อกังวลสงสัยเกี่ยวกับการดำเนินงานได้อย่าง

ชัดเจน มากนอ้ ยเพยี งใด

หมายเหตุ: หากท่านไม่มีข้อกังวลสงสยั ใหต้ อบ “มากทส่ี ุด”

18

แนวทางการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์

ประเด็นการประเมนิ ระดบั
มี ไมม่ ี
e10 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีช่องทางให้ผู้มาติดต่อร้องเรียนการทุจริตของ
เจา้ หน้าทใี่ นหน่วยงาน หรือไม่

ตวั ช้วี ดั ที่ 8 การปรบั ปรงุ ระบบการทำงาน

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของ ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้
สว่ นเสียของหน่วยงานตอ่ การปรบั ปรงุ ระบบการทำงาน ในประเด็นทเี่ กี่ยวข้องกบั การปรบั ปรงุ พฒั นาหน่วยงาน
ทั้งการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และกระบวนการทำงานของ หน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น รวมไปถึงการนำเทคโนโลยี
มาใช้ในการดำเนินงานเพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น โดยควรมีกระบวนการเปิดโอกาส
ให้ผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุง พัฒนาการดำเนินงานเพื่อให้สอดคล้องกับ
ความต้องการด้วย ทั้งน้ี นอกจากหน่วยงานจะต้องปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงานให้ดีขึ้นแล้ว ยังควรให้
ความสำคญั กบั การปรบั ปรงุ การดำเนนิ งานใหม้ คี วามโปรง่ ใสมากข้นึ อีกดว้ ย

ตวั ชว้ี ัดท่ี 8 การปรับปรุงระบบการทำงาน ประกอบด้วยข้อคำถามจำนวน 5 ขอ้ ดังน้ี

ระดบั

ประเดน็ การประเมิน นอ้ ยที่สุด นอ้ ย มาก มากท่สี ุด
หรอื ไม่มเี ลย

e11 เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการ

ปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงาน/การให้บริการให้ดีขึ้น

มากน้อยเพียงใด

หมายเหตุ: หากท่านติดต่อครั้งแรก ให้เปรียบเทียบกับคุณภาพการปฏิบัติงาน/การให้บริการที่ท่านคาดหวังไว้

กอ่ นมาติดต่อ

ระดับ

ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยท่ีสุด นอ้ ย มาก มากทส่ี ดุ
หรอื ไม่มีเลย

e12 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการปรับปรุงวิธีการและ

ขั้นตอนการดำเนินงาน/การใหบ้ ริการให้ดีข้ึน มากน้อย

เพียงใด

หมายเหตุ: หากท่านติดต่อครั้งแรก ให้เปรียบเทียบกับวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน/การให้บริการที่ท่าน

คาดหวงั ไว้กอ่ นมาติดตอ่

19

แนวทางการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์

ประเด็นการประเมนิ ระดับ
มี ไมม่ ี
e13 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินงาน/
การใหบ้ ริการ ให้เกดิ ความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น หรือไม่

ระดับ

ประเด็นการประเมนิ น้อยท่ีสดุ นอ้ ย มาก มากที่สุด
หรอื ไม่มีเลย

e14 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ เปิดโอกาสให้ผู้รับบริการ

ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เข้าไปมีส่วนร่วม

ในการปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงาน/การให้บริการ

ของหน่วยงานใหด้ ีข้นึ มากนอ้ ยเพียงใด

หมายเหตุ: การมีส่วนร่วม เช่น ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และร่วมติดตาม

ประเมินผล เปน็ ตน้

ประเด็นการประเมิน นอ้ ยทีส่ ดุ ระดบั มากทีส่ ุด
น้อย มาก
หรอื ไม่มเี ลย

e15 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการปรับปรุงการ

ดำเนินงาน/การให้บริการ ให้มีความโปร่งใสมากขึ้น

มากน้อยเพียงใด

20

แนวทางการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์

รายละเอียดตัวชวี้ ัดของแบบวัด OIT

แบบวัดการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency
Assessment: OIT) ใช้เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในตัวชว้ี ัดที่ 9 – ตวั ช้ีวดั ท่ี 10 ประกอบด้วย

ตวั ชี้วดั ท่ี 9 การเปดิ เผยข้อมูล

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเผยแพร่ข้อมูล ที่เป็นปัจจุบันบนเว็บไซต์
ของหน่วยงาน เพื่อเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ ของหน่วยงานให้สาธารณชนได้รับทราบ ใน 5 ประเด็น คือ (1) ข้อมูล
พื้นฐาน ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐาน ข่าวประชาสัมพันธ์ และการปฏิสัมพันธ์ข้อมูล (2) การบริหารงาน ได้แก่
แผนดำเนินงาน การปฏิบัติงาน และการให้บริการ (3) การบริหารเงินงบประมาณ ได้แก่ แผนการใช้จ่าย
งบประมาณประจำปี และการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ (4) การบริหารและพัฒนา ทรัพยากรบุคคล
ได้แก่ นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล และ
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล และ (5) การส่งเสริมความโปร่งใสในหน่วยงาน ได้แก่
การจดั การเรื่องรอ้ งเรียนการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ และการเปิดโอกาสใหเ้ กิดการมสี ่วนร่วม ซ่ึงการเผยแพร่
ขอ้ มูลในประเดน็ ขา้ งต้นแสดงถึงความโปร่งใสในการบริหารงานและการดำเนนิ งานของหน่วยงาน

ตัวช้ีวัดที่ 9 การเปิดเผยขอ้ มูล ประกอบดว้ ย 5 ตัวชว้ี ดั ยอ่ ย (33 ข้อมลู ) ดงั น้ี

ตัวชวี้ ัดยอ่ ยท่ี 9.1 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน

ข้อมูลพ้นื ฐาน

ข้อ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบดา้ นข้อมลู

o1 โครงสร้าง o แสดงแผนผังแสดงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของสถานศึกษา

o ประกอบด้วยตำแหน่งที่สำคัญ และการแบ่งสว่ นงานภายใน สอดคล้อง

กับภารกิจงาน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริหารวิชาการ ด้านงบประมาณ

ด้านบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่วไป และคณะกรรมการ

สถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

o2 ข้อมูลผู้บรหิ าร o แสดงข้อมูลของผู้บรหิ ารของสถานศกึ ษา

o แสดงข้อมูล อย่างน้อยประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่งรูปถ่าย

เบอรโ์ ทรศัพท์ และที่อยู่ไปรษณยี ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e–mail)

o3 อำนาจหนา้ ที่ o แสดงข้อมูลหน้าทแี่ ละอำนาจของสถานศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด
o แสดงแผนการดำเนนิ ภารกิจของสถานศกึ ษาที่มีระยะมากกวา่ 1 ปี
o4 แผนยทุ ธศาสตร์ หรือ
แผนพัฒนาสถานศกึ ษา o มีข้อมูลรายละเอยี ดของแผนฯ ยกตวั อย่างเช่น ยุทธศาสตร์ หรือ

แนวทางเป้าหมาย ตัวช้ีวดั เปน็ ต้น

o เป็นแผนทม่ี รี ะยะเวลาบังคับใช้ครอบคลุมปี พ.ศ. 2564

21

แนวทางการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์

ข้อ ขอ้ มูล องค์ประกอบดา้ นข้อมูล
o5 ขอ้ มูลการตดิ ต่อ แสดงข้อมลู การติดตอ่ ดังนี้
o ท่ีอยู่สถานศกึ ษา
o6 กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง o หมายเลขโทรศัพทท์ ่สี ามารถติดต่อได้
o หมายเลขโทรสาร (ถา้ มี)
o ที่อยู่ไปรษณีย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e–mail) ที่สามารถติดต่อได้
o แผนทีต่ ั้งสถานศึกษา
o แสดงกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการดำเนินงานหรือการปฏบิ ัตงิ านของ
สถานศึกษา ที่เปน็ ปัจจบุ นั อยา่ งนอ้ ยประกอบด้วย
- รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช
- พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี ก้ไขเพิม่ เตมิ
- พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546

และทแ่ี กไ้ ขเพิ่มเตมิ
- พรบ.ระเบยี บข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547
และท่แี ก้ไขเพิ่มเตมิ
- พรบ.การศึกษาภาคบังคบั พ.ศ. 2545
- พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 และทแ่ี ก้ไขเพิ่มเติม
- พรบ.สภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546
- ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าด้วยการบริหารจัดการและขอบเขต

การปฏบิ ตั ิหนา้ ทข่ี องสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ท่ีเปน็ นติ บิ คุ คลในสงั กดั
เขตพนื้ ที่การศึกษา พ.ศ. 2546 (ออกตาม มาตรา 35 พรบ.ระเบียบ

บรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร)
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลักเกณฑ์วิธกี าร
สรรหากรรมการสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ. 2546 เป็นต้น

การประชาสมั พันธ์

ขอ้ ขอ้ มูล องค์ประกอบดา้ นข้อมลู

o7 ขา่ วประชาสมั พันธ์ o แสดงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามอำนาจ

หนา้ ทห่ี รอื ภารกิจของสถานศึกษา

o เป็นข้อมลู ข่าวสารที่เกดิ ขน้ึ ในปี พ.ศ. 2564

22

แนวทางการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์

การปฏสิ มั พันธ์ขอ้ มูล

ข้อ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบดา้ นข้อมลู
o8 Q&A o แสดงตำแหน่งบนเว็บไซต์ของสถานศึกษาที่บุคคลภายนอกสามารถ

สอบถามข้อมูลต่าง ๆ ได้ และหน่วยงานสามารถสื่อสารให้คำตอบ

กับผู้สอบถามได้ โดยมีลักษณะเป็นการสื่อสารได้สองทาง (Q&A)

ยกตวั อย่างเช่น Web board, กล่องข้อความถาม-ตอบ เป็นตน้

o9 Social Network o แสดงตำแหน่งบนเว็บไซต์ของสถานศึกษาที่สามารถเชื่อมโยงไปยัง

เครือข่ายสังคมออนไลน์ของสถานศึกษา ยกตัวอย่างเช่น Facebook,

Twitter, Instagram เปน็ ต้น

ตัวชี้วดั ยอ่ ยที่ 9.2 การบริหารงาน

การดำเนนิ งาน

ข้อ ข้อมูล องคป์ ระกอบด้านข้อมลู

o10 แผนดำเนินงานประจำปี o แสดงแผนการดำเนนิ ภารกิจของหนว่ ยงานที่มรี ะยะ 1 ปี

o มีข้อมลู รายละเอยี ดของแผนฯ ยกตวั อยา่ งเช่น โครงการ

กิจกรรม งบประมาณทใี่ ช้ ระยะเวลาในการดำเนนิ การ เป็นต้น

o เปน็ แผนท่มี ีระยะเวลาบังคบั ใช้ในปี พ.ศ. 2564

o11 รายงานการกำกับติดตาม o แสดงความกา้ วหนา้ ในการดำเนนิ งานตามแผนดำเนนิ งานประจำปี

การดำเนนิ งานประจำปี o มเี นือ้ หาหรอื รายละเอียดความกา้ วหน้า อยา่ งน้อยประกอบดว้ ย

รอบ 6 เดือน ความก้าวหน้าการดำเนนิ การแต่ละโครงการ/กจิ กรรม รายละเอยี ด

งบประมาณท่ใี ชด้ ำเนินงาน เป็นตน้

o เป็นขอ้ มลู ในระยะเวลา 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

o12 รายงานผลการดำเนินงาน o แสดงผลการดำเนินงานตามแผนดำเนนิ งานประจำปี

ประจำปี o มีข้อมูลรายละเอียดสรุปผลการดำเนนิ งาน อย่างน้อยประกอบด้วย

ผลการดำเนินการโครงการหรือกิจกรรม ผลการใช้จ่ายงบประมาณ

ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ ผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย เป็นรายงาน

ผลของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

การปฏบิ ัติงาน องค์ประกอบดา้ นข้อมูล
ข้อ ขอ้ มูล
o13 ค่มู ือหรือมาตรฐาน o แสดงคมู่ ือหรอื แนวทางการปฏิบัตงิ านทบี่ ุคลากรในสถานศกึ ษา
ใช้ยึดถือปฏบิ ัตใิ ห้เป็นมาตรฐานเดยี วกัน
การปฏบิ ตั ิงาน o มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติงาน อย่างน้อยประกอบด้วย
คู่มือการปฏิบัติภารกิจงาน 4 ด้าน สำหรับบุคลากรในสถานศึกษา
กำหนดวธิ ีการขั้นตอน การปฏิบตั อิ ย่างไร

23

แนวทางการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์

การใหบ้ ริการ

การให้บริการ หมายถึง การให้บริการตาม พรบ.การอำนวยความสะดวกของทางราชการ

พ.ศ. 2558 (ของสถานศึกษา) สำหรับสถานศึกษาที่มีการปฏิบัติงานหรือการให้บริการเป็นจำนวนมาก

อาจมุ่งเนน้ เผยแพรก่ ารปฏิบตั ิงานหรือการใหบ้ รกิ ารทีม่ ีความสำคัญต่อภารกิจของสถานศกึ ษา

ขอ้ ข้อมูล องคป์ ระกอบดา้ นข้อมูล

o14 คูม่ ือหรือมาตรฐาน o แสดงคมู่ ือหรอื แนวทางการปฏบิ ตั ิท่ผี ู้รับบริการหรอื ผมู้ าติดต่อกบั

การให้บริการ สถานศึกษาใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการขอรบั บริการหรือตดิ ต่อกับ

สถานศกึ ษา

o มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติ ประกอบด้วย คู่มือหรือ

แนวทางการปฏิบัติสำหรับการให้บริการ ประเภทงานให้บริการ

ขั้นตอนการให้บริการ แผนผัง/แผนภูมิการให้บริการ ระยะเวลา

ท่ีใช้ในการใหบ้ ริการ ผรู้ บั ผดิ ชอบการใหบ้ ริการ

o15 ข้อมูลเชิงสถติ ิ o แสดงข้อมูลสถิติการให้บริการของสถานศกึ ษา

การให้บริการ o เป็นข้อมูลในระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ

พ.ศ. 2564

o16 รายงานผลการสำรวจ o แสดงผลสำรวจความพึงพอใจการใหบ้ ริการของสถานศึกษา

ความพงึ พอใจ o เปน็ รายงานผลของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

การให้บริการ

o17 E–Service o แสดงช่องทางที่บุคคลภายนอกสามารถขอรบั บรกิ ารกบั สถานศึกษา

ผ่านชอ่ งทางออนไลน์ เพ่ือช่วยอำนวยความสะดวกแกผ่ ู้ขอรบั บริการ

o สามารถเข้าถงึ หรอื เช่ือมโยงไปยงั ชอ่ งทางข้างตน้ ได้จากเว็บไซต์

หลักของหน่วยงาน

หมายเหตุ: บริการ หมายถึง การให้บริการตามอำนาจหน้าที่หรือภารกิจตามกฎหมายของ สถานศึกษาสำหรับ

สถานศึกษาที่มีการปฏิบัติงานหรือการให้บริการเป็นจำนวนมาก อาจมุ่งเน้นเผยแพร่การปฏิบัติงานหรือ

การให้บริการท่มี คี วามสำคัญต่อ ภารกจิ ของหนว่ ยงาน

หมายเหตุ : E-Service แสดงช่องทางท่ีบุคคลภายนอกสามารถขอรับบริการตามอำนาจหนา้ ที่ ภารกิจของสถานศึกษา
ผ่านช่องทางออนไลน์ เช่น SMSS++ (Scholl Management Support System) หมายถึง โปรแกรมสนับสนุนการ
บริหารจัดการของสถานศึกษา สำหรับให้บุคลากรในสถานศึกษาใช้สารสนเทศในการบริหารงานในสถานศึกษา
ตามภาระงาน 4 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านบริหารงานบคุ คล และด้านบริหารงานทั่วไป โปรแกรม
หรือแอปพลิเคชันอื่น ๆ ที่มีการปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน หรือระบบสำนักงานอัจฉริยะ โดยการนำเทคโนโลยี
สารสนเทศทีท่ ันสมยั มาใช้มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นสถานศึกษา สามารถปฏิบตั งิ านไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ และสามารถทำงาน
ไดท้ ุกท่ี ทกุ เวลา

24

แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์

ตัวชี้วดั ย่อยท่ี 9.3 การบริหารเงินงบประมาณ

แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี

ข้อ ข้อมูล องคป์ ระกอบด้านข้อมูล

o18 แผนการใช้จา่ ย o แสดงแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณของสถานศึกษาทีม่ รี ะยะ 1 ปี

งบประมาณประจำปี o มขี อ้ มูลรายละเอยี ดของแผนฯ อยา่ งน้อยประกอบดว้ ย

งบประมาณตามแหล่งท่ไี ด้รบั การจดั สรรงบประมาณตามประเภท

รายการใช้จ่าย

o เป็นแผนท่ีมีระยะเวลาบังคบั ใชใ้ นปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

o19 รายงานการกำกบั ติดตาม o แสดงความกา้ วหนา้ ในการดำเนนิ งานตามแผนการใชจ้ า่ ย

การใชจ้ ่ายงบประมาณ งบประมาณประจำปี

ประจำปีรอบ 6 เดือน o มีข้อมลู รายละเอยี ดความก้าวหนา้ การใช้จา่ ยงบประมาณ

o เปน็ ข้อมูลในระยะเวลา 6 เดอื นแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

o20 รายงานผลการใช้จา่ ย o แสดงผลการดำเนนิ งานตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี

งบประมาณประจำปี o มขี ้อมูลรายละเอียดสรุปผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ อย่างนอ้ ย

ประกอบดว้ ย ผลการใช้จา่ ยงบประมาณ ปญั หา อุปสรรค

ขอ้ เสนอแนะ ผลสมั ฤทธิ์ ตามเปา้ หมาย

o เปน็ รายงานผลของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

การจดั ซอ้ื จัดจา้ งหรือการจัดหาพัสดุ

ข้อ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านข้อมลู

o21 แผนการจดั ซอ้ื จัดจ้างหรอื o แสดงแผนการจัดซ้ือจดั จา้ งหรือแผนการจัดหาพัสดุตามท่ี

แผนการจดั หาพสั ดุ สถานศกึ ษา จะต้องดำเนนิ การตามพระราชบัญญตั ิการจดั ซื้อจดั จ้าง

และการบริหาร พสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560

o เปน็ ข้อมูลการจัดซ้ือจดั จ้างในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

o22 ประกาศต่าง ๆ เกยี่ วกบั o แสดงประกาศตามท่ีสถานศกึ ษาจะต้องดำเนนิ การตาม

การจดั ซ้ือจดั จ้างหรอื พระราชบญั ญตั ิ การจัดซื้อจัดจ้างและการบรหิ ารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ.

การจดั หาพัสดุ 2560 ยกตวั อย่างเชน่ ประกาศเชญิ ชวน ประกาศผลการจดั ซือ้ จดั จา้ ง

เปน็ ตน้

o เปน็ ขอ้ มลู การจดั ซ้ือจดั จา้ งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

o23 สรุปผลการจัดซื้อจัดจา้ ง o แสดงสรุปผลการจดั ซ้อื จัดจ้างของสถานศึกษา (แบบ สขร.1)

หรือการจัดหาพสั ดุ o มีข้อมูลรายละเอยี ดผลการจดั ซื้อจดั จ้าง อย่างน้อยประกอบดว้ ย

รายเดือน งานทีซ่ อ้ื หรือจ้าง วงเงินท่ีซ้ือหรอื จ้าง ราคากลาง วธิ กี ารซ้ือหรอื จา้ ง

รายช่อื ผู้เสนอราคาและราคาทเ่ี สนอ ผ้ไู ดร้ ับการคัดเลือกและราคา

ทีต่ กลง เหตผุ ลท่ีคัดเลือกโดยสรปุ เลขทแ่ี ละวนั ทขี่ องสญั ญาหรอื

ขอ้ ตกลงในการซอ้ื หรือจ้าง

25

แนวทางการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์

ข้อ ขอ้ มูล องค์ประกอบดา้ นข้อมลู

o จำแนกข้อมลู เปน็ รายเดือน (กรณีไม่มีการจดั ซื้อจัดจ้างในรอบเดอื น

ใดใหเ้ ผยแพร่ว่าไมม่ ีการจัดซ้ือจดั จา้ งในเดอื นน้นั )

o เป็นข้อมูลในระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ

พ.ศ. 2564

o24 รายงานผลการจัดซอื้ จัดจ้าง o แสดงผลการจดั ซ้ือจดั จ้างของสถานศกึ ษา

หรอื การจัดหาพัสดุประจำปี o มขี ้อมลู รายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย งบประมาณทีใ่ ช้ใน

การจดั ซ้อื จัดจา้ ง ปัญหา อุปสรรค ขอ้ เสนอแนะ

o เป็นรายงานผลของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ตวั ชีว้ ดั ยอ่ ยที่ 9.4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

การบรหิ ารและพฒั นาทรัพยากรบุคคล

ขอ้ ข้อมูล องคป์ ระกอบดา้ นข้อมลู

o25 นโยบายการบรหิ าร o เปน็ นโยบายหรือแผนการบรหิ ารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่ยังใช้

ทรพั ยากรบุคคล บังคับในสถานศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

o แสดงนโยบาย หรอื แผนการบรหิ ารและพัฒนาทรัพยากรบคุ คลทม่ี ี

จดุ มุ่งหมายหรือวตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื กอ่ ใหเ้ กดิ การบรหิ ารทรัพยากร

บคุ คลทม่ี ีความโปร่งใสและมีคณุ ธรรม

o เป็นนโยบายหรือแผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

ของผบู้ ริหารสงู สดุ ท่ีกำหนดในนามของสถานศึกษา

o26 การดำเนนิ การตามนโยบาย o เปน็ การดำเนนิ การในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

การบริหารทรพั ยากรบคุ คล o แสดงการดำเนนิ การตามนโยบายหรือแผนการบริหารและพัฒนา

ทรัพยากรบุคคล อย่างน้อยประกอบด้วย การวางแผนกำลังคน

การสรรหาคนดีคนเก่งเพื่อปฏิบัติงานตามภารกิจของสถานศึกษา

การพัฒนาบุคลากร การสร้างทางก้าวหน้าในสายอาชีพ การพัฒนา

คุณภาพชีวิต การบรรจุและแต่งตั้งบุคลากร การประเมินผล

การปฏิบัติงาน การส่งเสริมจริยธรรมและรักษาวินัยของบุคลากร

ในสถานศึกษา

o เป็นการดำเนินการที่มีความสอดรับกับนโยบาย หรือแผนการ

บรหิ ารและพฒั นาทรพั ยากรบคุ คล ตามขอ้ o25

26

แนวทางการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์

ข้อ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบดา้ นข้อมูล

o27 หลักเกณฑ์การบรหิ ารและ แสดงหลกั เกณฑ์การบริหารและพฒั นาทรัพยากรบุคคลทย่ี ังใชบ้ ังคบั

พัฒนาทรัพยากรบุคคล ในสถานศกึ ษาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 อย่างน้อยประกอบด้วย

o การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร

o การบรรจุและแต่งตง้ั บุคลากร

o การพัฒนาบุคลากร

o การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านบุคลากร

o การใหค้ ณุ ใหโ้ ทษและการสรา้ งขวัญกำลังใจ

o28 รายงานผลการบรหิ าร o เป็นรายงานผลของ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

และพฒั นาทรัพยากร o แสดงผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

บคุ คลประจำปี o มีข้อมูลรายละเอียดของการดำเนินการ อย่างน้อยประกอบด้วย

ผลการดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล

ผลการวเิ คราะห์การบริหารและพฒั นาทรพั ยากรบคุ คล

ตวั ช้ีวดั ยอ่ ยที่ 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส

การจดั การเรอื่ งร้องเรียนการทุจรติ และประพฤติมิชอบ

ข้อ ขอ้ มูล องค์ประกอบดา้ นข้อมูล

o29 แนวปฏบิ ัติการจดั การ o แสดงคู่มือหรือแนวทางการดำเนนิ การต่อเร่ืองรอ้ งเรียนทีเ่ กี่ยวข้อง

เร่อื งรอ้ งเรยี นการทจุ ริต กบั การทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบของบุคลากรในสถานศึกษา

และประพฤติมิชอบ o มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติงาน อย่างน้อยประกอบด้วย

รายละเอียดวิธีการที่บุคคลภายนอกจะทำการร้องเรียน รายละเอียด

ขั้นตอนหรือวิธีการในการจัดการต่อเรื่องร้องเรียน ส่วนงานที่

รบั ผดิ ชอบ ระยะเวลา ดำเนนิ การ

o30 ช่องทางแจ้งเร่ืองร้องเรียน o แสดงชอ่ งทางท่ีบคุ คลภายนอกสามารถแจง้ เร่ืองร้องเรียนเกย่ี วกบั

การทจุ ริตและประพฤติ การทจุ รติ และประพฤติมิชอบของบุคลากรในสถานศึกษา ผ่านทาง

มชิ อบ ชอ่ งทางออนไลน์ โดยแยกต่างหากจากช่องทางทว่ั ไป เพอ่ื เปน็

การคุม้ ครองข้อมลู ของผ้แู จง้ เบาะแสและเพื่อใหส้ อดคลอ้ งกับ

แนวปฏิบัติการจดั การเรื่องร้องเรียนการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ

o สามารถเข้าถงึ หรอื เช่อื มโยงไปยงั ช่องทางข้างตน้ ไดจ้ ากเว็บไซต์หลัก

ของสถานศึกษา

o31 ข้อมลู เชิงสถติ เิ ร่ืองร้องเรียน o แสดงขอ้ มลู สถิติเร่ืองรอ้ งเรยี นการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ

การทจุ ริต ของบุคลากรในสถานศึกษา

และประพฤติมิชอบ o มีขอ้ มูลความก้าวหน้าการจดั การเรื่องร้องเรยี น ยกตวั อยา่ งเชน่

จำนวนเรอ่ื ง เรอ่ื งทีด่ ำเนนิ การแล้วเสรจ็ เร่อื งท่อี ยูร่ ะหวา่ งดำเนนิ การ

เป็นต้น (กรณีไม่มีเรอื่ งร้องเรยี นให้ระบวุ ่า ไม่มเี รอื่ งร้องเรยี น)

o เปน็ ข้อมูลในระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดอื นแรกของปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

27

แนวทางการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์

การเปิดโอกาสให้เกิดการมสี ่วนร่วม

ขอ้ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล

o32 ช่องทางการรบั ฟัง o แสดงชอ่ งทางทบี่ คุ คลภายนอกสามารถแสดงความคิดเหน็ ต่อ

ความคดิ เห็น การดำเนนิ งานตามอำนาจหน้าทีห่ รือภารกิจของสถานศึกษาผา่ นทาง

ชอ่ งทางออนไลน์

o สามารถเข้าถึงหรอื เชือ่ มโยงไปยังชอ่ งทางขา้ งต้นไดจ้ ากเวบ็ ไซต์หลัก

ของสถานศกึ ษา

o33 การเปดิ โอกาสให้เกิด o แสดงการดำเนินการหรือกจิ กรรมที่แสดงถึงการเปดิ โอกาส

การมีสว่ นรว่ ม ให้ผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ไดม้ ีส่วนร่วมในการดำเนนิ งานตามภารกจิ

ของสถานศึกษา ยกตัวอยา่ งเช่น รว่ มวางแผน ร่วมดำเนินการ

ร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือร่วมติดตามประเมินผล เปน็ ต้น

o เป็นการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชว้ี ัดที่ 10 การป้องกันการทจุ ริต

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันบนเว็บไซต์
ของสถานศึกษา เพื่อเปิดเผยการดำเนินการต่าง ๆ ของสถานศึกษาให้สาธารณชนได้รับทราบ ใน 2 ประเด็น
คอื (1) การดำเนินการเพอื่ ป้องกันการทจุ ริต ไดแ้ ก่ เจตจำนงสุจรติ ของผูบ้ ริหาร การประเมนิ ความเส่ียงเพ่ือการ
ป้องกันการทุจริต การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร และแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต และ (2) มาตรการ
ภายในเพื่อป้องกันการทุจริต ได้แก่ มาตรการภายในเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริต ซึ่งการ
เผยแพร่ข้อมูลในประเด็นข้างต้น แสดงถึงการให้ความสำคัญต่อผลการประเมินเพื่อนำไปสู่การจัดทำมาตรการ
สง่ เสรมิ ความโปรง่ ใสภายในสถานศึกษา และมกี ารกำกบั ติดตามการนำไปสู่การปฏบิ ัติอย่างเปน็ รูปธรรม

ตัวช้วี ัดท่ี 10 การป้องกันการทจุ รติ ประกอบดว้ ย 2 ตวั ช้วี ดั ย่อย (10 ข้อมลู ) ดงั น้ี

ตวั ชว้ี ดั ย่อยท่ี 10.1 การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจรติ

เจตจำนงสจุ ริตของผู้บริหาร

ขอ้ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมลู

o34 เจตจำนงสุจรติ o แสดงเนื้อหาเจตนารมณ์หรือคำมัน่ วา่ จะปฏิบัติหนา้ ทแ่ี ละบรหิ าร

ของผู้บริหาร สถานศึกษาอย่างซ่ือสตั ย์สุจริต โปร่งใส และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล

o จดั ทำอย่างน้อย 2 ภาษา ไดแ้ ก่ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ

o ดำเนินการโดยผบู้ ริหารสูงสดุ คนปัจจบุ ันของสถานศึกษา

28

ข้อ ข้อมูล แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์
o35 การมีสว่ นร่วมของ
ผู้บริหาร องค์ประกอบด้านข้อมลู
o แสดงการดำเนนิ การหรือกิจกรรมทีแ่ สดงถึงการมีสว่ นร่วมของ
ผ้บู รหิ ารสูงสดุ คนปจั จบุ นั
o เป็นการดำเนนิ การหรือกิจกรรมทีแ่ สดงใหเ้ ห็นถงึ การให้ความสำคญั
กบั การปรบั ปรงุ พัฒนา และส่งเสริมสถานศกึ ษาด้านคณุ ธรรมและ
ความโปรง่ ใส
o เป็นการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

การประเมินความเสี่ยงเพอื่ การปอ้ งกนั การทุจรติ

ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมลู

o36 การประเมนิ ความเสย่ี ง o แสดงผลการประเมินความเส่ียงของการดำเนินงานหรือการปฏบิ ตั ิ

การทจุ รติ ประจำปี หน้าท่ีทอ่ี าจกอ่ ใหเ้ กิดการทุจริตหรือก่อให้เกิดการขัดกนั ระหวา่ ง

ผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวมของสถานศึกษา

o มขี ้อมูลรายละเอียดของผลการประเมิน ยกตัวอย่างเชน่ เหตุการณ์

ความเส่ียงและระดบั ของความเสีย่ ง มาตรการและการดำเนินการ

ในการบริหารจัดการความเส่ียง เปน็ ต้น

o เป็นการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

o37 การดำเนินการเพ่ือจดั การ o แสดงการดำเนนิ การหรอื กิจกรรมทีแ่ สดงถงึ การจดั การความเส่ียง

ความเสยี่ งการทจุ ริต ในกรณที ่ีอาจกอ่ ใหเ้ กิดการทจุ ริตหรอื ก่อให้เกิดการขัดกนั ระหวา่ ง

ผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวมของสถานศึกษา

o เป็นกิจกรรมหรือการดำเนินการทสี่ อดคลอ้ งกบั มาตรการ

หรอื การดำเนินการเพ่ือบริหารจัดการความเส่ยี งตามข้อ o36

o เป็นการดำเนินการใน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

การเสรมิ สร้างวัฒนธรรมองคก์ ร

ข้อ ข้อมูล องคป์ ระกอบดา้ นข้อมูล

o38 การเสริมสร้างวฒั นธรรม o แสดงการดำเนนิ การหรือกิจกรรมของสถานศกึ ษาท่แี สดงถงึ

องค์กร การเสริมสรา้ งวฒั นธรรมองค์กรให้บุคลากรของสถานศึกษามที ศั นคติ

ค่านิยมในการปฏบิ ัตงิ านอย่างซ่ือสตั ยส์ จุ รติ อยา่ งชัดเจน ไม่น้อยกว่า

5 กิจกรรม

o เป็นการดำเนนิ การในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

29

แนวทางการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์

แผนปอ้ งกันการทุจริต

ข้อ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบดา้ นข้อมูล

o39 แผนปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั o แสดงแผนปฏิบัตกิ ารป้องกันการทจุ รติ หรอื โครงการโรงเรียนสจุ ริต

การทุจรติ ทม่ี วี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื ป้องกันการทจุ รติ หรือพฒั นาดา้ นคุณธรรมและ

ความโปร่งใสของสถานศึกษา

o มขี อ้ มูลรายละเอยี ดของแผนปฏบิ ัตกิ ารป้องกันการทจุ รติ หรือ

โครงการโรงเรียนสุจริต ยกตัวอย่างเช่น โครงการ กิจกรรม

งบประมาณ ชว่ งเวลาดำเนนิ การ เปน็ ต้น

o เป็นแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตหรือโครงการโรงเรียนสุจริต

ท่มี รี ะยะเวลาบังคบั ใชค้ รอบคลุมปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

o40 รายงานการกำกบั ติดตาม o แสดงความกา้ วหน้าในการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ัติการปอ้ งกัน

การดำเนินการป้องกัน การทจุ รติ หรือโครงการโรงเรียนสุจริต ตามข้อ o39

การทจุ รติ ประจำปี o มขี อ้ มูลรายละเอยี ดความก้าวหน้า ยกตวั อย่างเชน่ ความก้าวหน้า

รอบ 6 เดือน การดำเนนิ การแตล่ ะโครงการ/กจิ กรรม รายละเอียดงบประมาณท่ใี ช้

ดำเนินงาน เปน็ ต้น

o เป็นข้อมลู ในระยะเวลา 6 เดอื นแรก ของปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

o41 รายงานผลการดำเนินการ o แสดงผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการป้องกันการทุจริต หรอื

ปอ้ งกนั การทจุ ริตประจำปี โครงการโรงเรียนสุจริต

o มขี ้อมูลรายละเอียดสรุปผลการดำเนินการ อย่างน้อยประกอบดว้ ย

ผลการดำเนนิ การ โครงการหรอื กจิ กรรม ผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณ

ปญั หา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ผลสมั ฤทธ์ติ ามเปา้ หมาย

o ใช้รายงานผลการดำเนนิ งาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

30

แนวทางการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์

ตัวชว้ี ัดย่อย 10.2 มาตรการภายในเพอ่ื ปอ้ งกันการทจุ ริต

มาตรการส่งเสรมิ ความโปร่งใสและป้องกันการทจุ รติ ภายในสถานศึกษา

ข้อ ขอ้ มูล องค์ประกอบดา้ นข้อมลู

o42 มาตรการสง่ เสรมิ คณุ ธรรม o แสดงการวเิ คราะห์ผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใส

และความโปร่งใสภายใน ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
o มขี อ้ มลู รายละเอียดการวิเคราะห์ ยกตวั อย่างเชน่ ประเด็นทเ่ี ปน็
สถานศกึ ษา* ขอ้ บกพร่องหรือจุดอ่อนทจ่ี ะต้องแกไ้ ขโดยเรง่ ดว่ นท่มี ีความสอดคลอ้ ง

กบั ผลการประเมนิ ฯ ประเด็นทจี่ ะต้องพัฒนาให้ดีขึ้น แนวทางการนำ

ผลการวเิ คราะห์ไปสกู่ ารปฏบิ ัตขิ องสถานศึกษา เปน็ ตน้

o มีมาตรการเพื่อขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส

ภายในสถานศึกษาให้ดีขึ้น ซึ่งสอดคล้องตามผลการวิเคราะห์ผลการ

ประเมินฯ โดยมีรายละเอียดต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น การกำหนด

ผู้รับผิดชอบหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง การกำหนดขั้นตอนหรือวิธีการปฏิบัติ

การกำหนดแนวทางการกำกับติดตามให้นำไปสู่การปฏิบัติและการ

รายงานผล เป็นต้น

o43 การดำเนนิ การตาม o แสดงผลการดำเนินการตามมาตรการเพ่ือสง่ เสรมิ คุณธรรมและ

มาตรการสง่ เสรมิ คณุ ธรรม ความโปร่งใสภายในสถานศึกษา
o มีขอ้ มลู รายละเอยี ดการนำมาตรการเพอ่ื สง่ เสริมคณุ ธรรมและ
และความโปร่งใสภายใน ความโปร่งใสภายในสถานศึกษาในข้อ o42 ไปสู่การปฏบิ ัติอยา่ งเปน็
สถานศึกษา* รูปธรรม

o เป็นการดำเนนิ การในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

หมายเหตุ: สถานศึกษาที่ยังไม่ได้รับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของ
สถานศกึ ษาออนไลน์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ไม่นำข้อ o42-o43 มาคดิ คะแนนเน่ืองจากเปน็ การประเมิน
ในปีแรกของสถานศึกษา

การเปดิ เผยข้อมูล พจิ ารณาจาก 2 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบของการเปิดเผย และ องค์ประกอบ
ของข้อมูล โดยจะต้องสอดคล้องตามเงื่อนไขครบถ้วนทั้ง 2 องค์ประกอบ จึงจะถือว่าเป็นการเปิดเผยข้อมูล
ตามหลักเกณฑ์การประเมนิ ท่กี ําหนด

องคป์ ระกอบของการเปดิ เผย พจิ ารณาตามเงอื่ นไข ดังน้ี
- สามารถเข้าถึงขอ้ มูลไดผ้ า่ น URL
- ขอ้ มูลเผยแพรท่ เี่ วบ็ ไซตห์ ลกั ของสถานศกึ ษา
- ขอ้ มลู เผยแพร่ในหัวขอ้ ท่ีสอดคลอ้ งกับเนื้อหาของข้อมลู ซ่งึ ประชาชนทัว่ ไปสามารถ

เขา้ ใจและเข้าถงึ ได้
องคป์ ระกอบของข้อมลู จะแตกตา่ งกันในแตล่ ะขอ้ ตามทีป่ รากฏในรายละเอียดต่อไป

31

แนวทางการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์

ตารางแสดงสรปุ จำนวนข้อคำถามแตล่ ะตัวชี้วัด

แบบ น้ำหนกั ตวั ชี้วัด ตวั ชีว้ ัดยอ่ ย ข้อคำถาม

การปฏบิ ตั หิ น้าที่ – 6

การใชง้ บประมาณ – 6

IIT 30 การใชอ้ ำนาจ –6

การใช้ทรพั ยส์ นิ ของราชการ – 6

การแก้ไขปัญหาการทุจริต – 6

คณุ ภาพการดำเนินงาน – 5

EIT 30 ประสิทธภิ าพการสื่อสาร – 5

การปรบั ปรุงการทำงาน – 5

ขอ้ มูลพืน้ ฐาน 9

การบริหารงาน 8

การเปดิ เผยข้อมลู การบรหิ ารเงนิ งบประมาณ 7

OIT 40 การบริหารและพฒั นาทรัพยากรบคุ คล 4

การสง่ เสริมความโปรง่ ใส 5

การป้องกนั การทุจรติ การดำเนนิ การเพื่อปอ้ งกันการทุจริต 8
มาตรการภายในเพ่ือปอ้ งกนั การทจุ รติ 2

เครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการประเมิน

เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการประเมิน จำแนกออกเปน็ 3 เคร่ืองมือ ดงั น้ี
1) แบบวัดการรับรู้ของผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency
Assessment: IIT) มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการประเมินระดับการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในที่มีต่อ
สถานศึกษาตนเอง ในตัวชี้วัดการปฏิบัติหน้าที่ การใช้งบประมาณ การใช้อำนาจ การใช้ทรัพย์สินของราชการ
และการแกไ้ ขปัญหาการทุจริต
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน หมายถึง บุคลากรในสถานศึกษา ตั้งแต่ระดับผู้บริหารสถานศึกษา
ครูและบุคลากรทางการศึกษา ไปจนถึงลูกจ้าง/พนักงานจ้าง ที่ทำงานให้กับสถานศึกษามาเป็นระยะเวลา
ไมน่ ้อยกวา่ 1 ปี นับถึงวันที่แจง้ จำนวนบุคลากรเขา้ ในระบบ ITA Online

2) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency
Assessment: EIT) มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการประเมินระดับการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกที่มีต่อ
สถานศึกษาที่ประเมิน ในตัวชี้วัดคุณภาพการดำเนินงาน ประสิทธิภาพการสื่อสาร และการปรับปรุงระบบ
การทำงาน

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก หมายถึง คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คู่ค้า คู่สัญญา ผู้รับจ้าง ที่มารับบริการหรือมาติดต่อตามภารกิจของสถานศึกษา
นบั ตงั้ แตใ่ นปีที่ทำการประเมิน

32

แนวทางการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์

3) แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency
Assessment: OIT) มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการประเมินระดับการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะของสถานศึกษา
เพ่ือให้ประชาชนท่วั ไปสามารถเข้าถงึ ได้ ในตวั ชว้ี ัดการเปดิ เผยข้อมูล และการป้องกนั การทจุ ริต

การเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ เก็บข้อมูลจากเว็บไซต์สถานศึกษาที่เข้ารับการประเมิน
โดยผู้ดูแลระบบของสถานศึกษามีหนา้ ท่ีในการตอบแบบสำรวจ หนว่ ยงานละ 1 ชุด

การตอบแบบสำรวจ OIT ในแต่ละข้อคำถาม ให้ผู้ดูแลระบบของสถานศึกษาระบุ URL
ของหน้าใดหน้าหนึ่งบนเว็บไซต์หลักของสถานศึกษา ซึ่งเชื่อมโยงไปสู่แหล่งที่อยู่ของการเปิดเผยข้อมูล
โดยสถานศกึ ษาสามารถระบุ URL ได้มากกวา่ 1 URLในแตล่ ะข้อ

กรณีที่สถานศึกษามีข้อจำกัดหรือเหตุผลความจำเป็น ทำให้เผยแพร่ข้อมูลได้ไม่ตรงตาม
รายละเอียดที่กำหนดหรือไม่สามารถเผยแพร่ข้อมูลตามรายละเอียดที่กำหนดตามแบบสำรวจ OIT ได้
ใหห้ นว่ ยงานอธบิ ายเหตุผลความจำเป็นประกอบโดยละเอียด

การประมวลผลคะแนน

การประมวลผลคะแนน มขี ้ันตอนการประมวลผลคะแนนตามลำดบั ดงั น้ี

คะแนน แบบ IIT แบบ EIT แบบ OIT
คะแนนขอ้ คำถาม
คะแนนเฉล่ยี ของ คะแนนเฉล่ียของ
คะแนนตวั ช้ีวดั ย่อย
ข้อคำถามจากผตู้ อบ ข้อคำถามจากผู้ตอบ คะแนนของข้อคำถาม
คะแนนตวั ช้ีวัด
คะแนนแบบสำรวจ ทุกคน ทุกคน
นำ้ หนกั แบบสำรวจ
คะแนนเฉล่ยี ของ
คะแนนรวม
– – ทกุ ข้อคำถาม

ในตัวช้วี ดั ย่อย

คะแนนเฉล่ียของ คะแนนเฉลย่ี ของ คะแนนเฉลีย่ ของ

ทุกข้อคำถามในตัวช้ีวัด ทกุ ข้อคำถามในตวั ชีว้ ดั ทุกตวั ช้ีวดั ยอ่ ยในตัวชว้ี ดั

คะแนนเฉล่ียของ คะแนนเฉลย่ี ของ คะแนนเฉลี่ยของ

ทกุ ตัวชีว้ ัดในแบบสำรวจ ทกุ ตวั ชี้วัดในแบบสำรวจ ทุกตวั ช้วี ัดในแบบสำรวจ

รอ้ ยละ 30 รอ้ ยละ 30 รอ้ ยละ 40

ผลรวมของคะแนนแบบสำรวจทีถ่ ่วงน้ำหนกั แล้ว

33

แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์

คะแนนและระดบั ผลการประเมนิ

ผลการประเมินจะมี 2 ลักษณะ คือค่าคะแนน โดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน และระดับผล
การประเมิน (Rating Score) โดยจำแนกออกเป็น 7 ระดบั ดงั น้ี

คะแนน ระดับ
95.00 – 100 AA
85.00 – 94.99 A
75.00 – 84.99 B
65.00 – 74.99 C
55.00 – 64.99 D
50.00 – 54.99 E
0 – 49.99 F

ผลการประเมินตามเปา้ หมาย

เปา้ หมายระดบั ประเทศ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 21 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
(พ.ศ. 2561 - 2580) ในระยะแรกของแผนแม่บทฯ (พ.ศ. 2561 - 2565) ได้กําหนดค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ให้หน่วยงานภาครัฐท่มี ผี ลการประเมิน ITA ผา่ นเกณฑ์ (85 คะแนน) มีสัดสว่ นไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80

ค่าเป้าหมายในปี พ.ศ. 2563 ผลการประเมิน ITA ผ่านเกณฑม์ ีสดั สว่ นไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 50

คา่ เป้าหมายในปี พ.ศ. 2564 ผลการประเมิน ITA ผ่านเกณฑ์มสี ดั ส่วนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 65

คา่ เปา้ หมายในปี พ.ศ. 2565 ผลการประเมนิ ITA ผา่ นเกณฑ์มีสดั สว่ นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

เปา้ หมายระดับ สพฐ.
สถานศึกษาทัง้ หมดท่เี ข้ารับการประเมิน ITA อยา่ งน้อยร้อยละ 65 มผี ลคะแนนการประเมนิ
ITA เฉลย่ี ไม่น้อยกวา่ 85 คะแนน (ระดบั A)

เปา้ หมายระดับสถานศึกษา
สถานศึกษาทเี่ ข้ารับการประเมินฯ มีผลคะแนนการประเมิน ITA ไม่น้อยกวา่ 85 คะแนน (ระดบั A)

34

แนวทางการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์

ตัวอย่างการแสดงผลการประเมนิ ITA Online

35

แนวทางการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์

คณะจัดทำ
แนวทางการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน

ของสถานศึกษาออนไลน์

____________________________

ที่ปรกึ ษา

1. นายอมั พร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

2. ว่าที่รอ้ ยตรี ธนุ วงษจ์ นิ ดา รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

3. นายอุทิศ บัวศรี รองเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

4. นายภูธร จันทะหงษ์ ปุณยจรัสธำรง ผู้อำนวยการสำนักพัฒนานวัตกรรมการจดั การศึกษา

5. นางอรนุช มัง่ มสี ุขศริ ิ ผู้เชย่ี วชาญด้านพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ สพฐ.

คณะทำงาน รองผู้อำนวยการ สพม.อุบลราชธานี อำนาจเจริญ
1. นายวรี ะศักด์ิ พลมณี รองผู้อำนวยการ สพป.สรุ ินทร์ เขต 1
2. นายประจักษ์ สระแก้ว รองผู้อำนวยการ สพป.ราชบุรี เขต 2
3. นางบรรเจิด อนุ่ มณีรตั น์ รองผู้อำนวยการ สพป.ประจวบคีรีขันธ์ เขต 2
4. นางกิตติมา เย็นกาย ผอู้ ำนวยการกลมุ่ อำนวยการ สพป.ตรงั เขต 2
5. นายชัยยทุ ธ สมบรู ณ์ ผอู้ ำนวยการกลุ่มอำนวยการ สพม.สุพรรณบรุ ี
6. นางสาวนิชานนั ท์ สญั ญเดช ผูอ้ ำนวยการกล่มุ ส่งเสริมการศกึ ษาทางไกลเทคโนโลยีสารสนเทศ
7. นางวัชรา คำภู่ และการสื่อสาร สพป.อุตรดติ ถ์ เขต 1
ผู้อำนวยการกลมุ่ สง่ เสริมการศึกษาทางไกลเทคโนโลยสี ารสนเทศ
8. นางสมทรง ภิรมยร์ ส และการสื่อสาร สพป.ประจวบคีรีขนั ธ์ เขต 2
ศึกษานเิ ทศก์ สพป.กรงุ เทพมหานคร
9. นางสาวสุธาทิพย์ เลศิ ลำ้ ศกึ ษานิเทศก์ สพป.กาฬสนิ ธุ์ เขต 1
10. นายอนิ สวน สาธเุ ม ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.เชียงใหม่ เขต 1
11. นางจินดาภา ละฟู่ ศึกษานเิ ทศก์ สพป.นครสวรรค์ เขต 2
12. นายพินจิ เชื้อแพ่ง ศึกษานิเทศก์ สพป.เลย เขต 1
13. นางสาวกิ่งนภา สกุลต้งั ศกึ ษานิเทศก์ สพป.สกลนคร เขต 3
14. นางยุวดี ชุมปัญญา ศกึ ษานิเทศก์ สพป.อดุ รธานี เขต 1
15. นายวนิ ัย อสณุ ี ณ อยธุ ยา ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.อุบลราชธานี เขต 3
16. นายเฉลิมพล สายหอม ศกึ ษานเิ ทศก์ สพม.นนทบุรี
17. นายปรญิ ญา อนิ ทรา ศกึ ษานิเทศก์ สพม.อุบลราชธานี อำนาจเจริญ
18. นายอานนท์ วงศ์วิศิษฎ์รังสี ศึกษานิเทศก์ สพม.อุบลราชธานี อำนาจเจริญ
19. นางสาวกชพร พนั ธศ์ ริ ิ นิตกิ ร สพป.ชลบุรี เขต 2
20. นายประยทุ ธ์ ศรบี ญุ เรือง

36

แนวทางการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์

21. นายนคร เจือจันทร์ นติ ิกร สพป.สรุ นิ ทร์ เขต 3

22. จสอ. ณพล ยะนินทร นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน สพป.สระแก้ว เขต 2

23. นางสภุ ทั รา เพลยี หาญ นกั จัดการงานทัว่ ไป สพป.ลำพูน เขต 1

24. นางสาวพิไลภรณ์ ตระกูลพนั ธเุ์ ลิศ นกั ประชาสัมพันธ์ สพป.ปทมุ ธานี เขต 2

25. นายเสวก บุญประสพ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลตาก สพป.ตาก เขต 1

26. นายนฤพงษ์ พิมพ์ทอง ผู้อำนวยการโรงเรียนเชาวน์วัศ สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 1

27. นางจนิ ตนา ถาคำ ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดสงั เวช สพม.กรุงเทพมหานคร 1

28. นางธัญมัย แฉล้มเขตต์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนกุนนทรี ุทธารามวทิ ยาคม สพม.กรงุ เทพมหานคร 2

29. นายวรรณดน สุขาทิพยพนั ธ์ุ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ่อกรุวิทยา สพม.สุพรรณบุรี

30. นางสาวอฏิ ฐิรา ทรงกิติพิศาล รองผู้อำนวยการโรงเรียนสขุ ุมนวพนั ธ์อปุ ถมั ภ์ สพม.กรงุ เทพมหานคร 2

31. นางสาวเปรมฤทยั เลิศบำรุงชยั ผอู้ ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบและเครือข่ายเทคโนโลยี สทร.

32. นายจกั รพงษ์ วงคอ์ ้าย ผอู้ ำนวยการกล่มุ บริหารทั่วไป สนก.

33. นายสพลกติ ต์ิ สงั ข์ทิพย์ นกั วิชาการศึกษา สนก.

34. นางสาวณฐั รดา เนตรสว่าง นักจดั การงานทัว่ ไป สนก.

35. นางสาวมณฑาทพิ ย์ ศริ สิ ุมทุม นักจดั การงานทัว่ ไป สนก.

36. นางสาวศรัญญา โชติ พนักงานบนั ทกึ ข้อมลู สนก.

37. นายสหสั พล ษรบณั ฑติ พนกั งานจา้ งเหมาบริการ สนก.

38. นางสาวปยิ ฉตั ร สิงห์ทองคำ พนักงานจา้ งเหมาบริการ สนก.

บรรณาธกิ าร รองผ้อู ำนวยการสำนักพัฒนานวตั กรรมการจดั การศึกษา
นายจกั รพงษ์ วงค์อ้าย

ออกแบบปก/รปู เล่ม ศกึ ษานเิ ทศก์ สพม.อบุ ลราชธานี อานาจเจริญ
นายอานนท์ วงศ์วิศษิ ฎร์ ังสี

37

Moving Forward

พั ฒ น า เ พื่ อ เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง

ส นักพฒั นานวตั กรรมการจัดการศกึ ษา
ส นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

www.uprightschool.net

fb:@UprightSchoolProject

ำำ


Click to View FlipBook Version