The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by apichat.fopdev, 2022-04-30 16:28:26

การพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชุม

ชมรมผู้สูงอายุตำบลบ้านเป้า

โครงการพั ฒนาศักยภาพชมรมผู้
สูงอายุในการขับเคลื่อนระบบการ
ดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน”




ภายใต้โครงการ เสริมสร้างศักยภาพชมรมผู้สูงอายุ 3 จังหวัดภาคเหนือตอนบน



สนับสนุนโดย
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ห น้ า 1 | แ บ็ ก แ พ็ ก

ค ว า ม เ ป็ น ม า



จากการศึกษาข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุตำบลบ้านเป้า พบว่าในผู้สูงอายุยังขาดฐาน
ข้อมูลผู้สูงอายุที่เป็นปัจจุบัน ส่งผลให้ผู้สูงอายุไม่ได้รับการช่วยเหลือดูแลอย่างเหมาะสม โดย
สถานการณ์ปัญหาผู้สูงอายุที่พบในด้านสุขภาพ พบว่ามีผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้(ติด
เตียง) และไม่มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาตนเองรวมทั้งขาดบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ
ในระบบดูแลผู้สูงอายุ ด้านเศรษฐกิจ พบว่า ผู้สูงอายุมีรายได้เพี ยงจากเบี้ยยังชีพ ไม่มีเงิน
ออมเพี ยงพอ และต้องพึ่ งพิ งบุตร ในสถานการณ์โควิด ส่งผลให้บุตรตกงานไม่มีเงินส่งให้
พ่ อแม่ ทางด้านสังคม พบว่า ผู้สูงอายุต้องอยู่เพี ยงลำพั งคนเดียว หรืออยู่ตามลำพั งกับคู่
สมรส ขาดผู้ดูแล ส่วนในด้านสภาพแวดล้อม มีผู้สูงอายุอาศัยในสถาพแวดล้อมบ้านที่ไม่เอื้อ
กับการใช้ชีวิตประจำวันเช่น ไม่มีทางลาด อาศัยอยู่ชั้นสองของบ้าน ห้องน้ำอยู่นอกตัวบ้าน
ไม่มีราวจับในห้องน้ำ ส่งผลให้ผู้สูงอายุเกิดอุบัติเหตุบ่อย จากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าว จึง
ค ว ร มี ก า ร ว า ง แ ผ น ร ะ บ บ ก า ร ดู แ ล ผู้ สู ง อ า ยุ ร ะ ย ะ ย า ว ใ น ชุ ม ช น ใ ห้ ส า ม า ร ถ ร อ ง รั บ ผู้ สู ง อ า ยุ ไ ด้ จ า ก
ทุ ก ภ า ค ส่ ว น ทั้ ง ภ า ค รั ฐ บ า ล แ ล ะ ภ า ค เ อ ก ช น

ชมรมผู้สูงอายุตำบลบ้านเป้าจึงมีแนวคิดในการ "พั ฒนาศักยภาพและบทบาทชมรมผู้
สูงอายุในการขับเคลื่อนระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน" โดยการดึงกลุ่มผู้สูงอายุที่
ยังแข็งแรง สามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้ และมีใจในการทำงานของกลุ่มติดสังคม ให้กลับมาช่วย
เหลือสังคมและผู้สูงอายุที่เจ็บป่วย หรือต้องการความช่วยเหลือ ในกลุ่มติดบ้าน และติดเตียง
โดยการวางแผนร่วมมือจากกลุ่มต่างๆในชุมชน โดยมีชมรมผู้สูงอายุเป็นศูนย์กลาง หน่วย
งานทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการหนุนเสริม ทั้งด้าน องค์ความรู้และงบประมาณ ให้
ชมรมผู้สูงอายุเป็นฐานขับเคลื่อนในการดำเนินงานพั ฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุร่วมกับภาคี
ทั้งภาครัฐ เอกชนและภาคประชาสังคมในการดำเนินงานที่ครอบคลุมทุกมิติทั้งด้านสุขภาพ
เศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดล้อม รวมทั้งเทคโนโลยี เพื่ อส่งเสริมพั ฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูง
อายุแบบองค์รวมซึ่งกิจกรรมการแก้ไขขึ้นอยู่กับปัญหาและบริบทของผู้สูงอายุแต่ละพื้ นที่ “มุ่ง
สู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพบนพื้ นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน”

สร้างและพั ฒนาศักยภาพทีม
วิ ท ย า ก ร ก ร ะ บ ว น ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ง า น
ผู้ สู ง อ า ยุ ร ะ ดั บ ตำ บ ล ใ ห้ มี ห น้ า ที่
ส นั บ ส นุ น เ ส ริ ม ส ร้ า ง ศั ก ย ภ า พ ข อ ง
ช ม ร ม ผู้ สู ง อ า ยุ ใ น ร ะ ดั บ ชุ ม ช น ใ ห้ มี
ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง แ ล ะ มี บ ท บ า ท ใ น ก า ร
กำ ห น ด แ น ว ท า ง ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า
ข อ ง ผู้ สู ง อ า ยุ ด้ ว ย ต น เ อ ง

ทำ ฐ า น ข้ อ มู ล ป ร ะ ช า ก ร ผู้ สู ง อ า ยุ
ค ร บ ทุ ก ห มู่ บ้ า น แ ล ะ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก
ข้ อ มู ล ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น ดู แ ล แ ล ะ
พั ฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
โ ด ย ก า ร ห นุ น เ ส ริ ม จ า ก ห น่ ว ย ง า น
ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง

ส ร้ า ง ก ล ไ ก ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง
ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ใ น
การวางแผนพั ฒนาส่งเสริมสุขภาพ
ดู แ ล สุ ข ภ า พ ผู้ สู ง อ า ยุ ร ะ ย ะ ย า ว

เ ส ริ ม ศั ก ย ภ า พ ก า ร บ ริ ห า ร
จัดการพั ฒนาโครงการตามบริบท
ของตนเองในพื้ นที่

ร ณ ร ง ค์ ส ร้ า ง ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก แ ล ะ
ส ร้ า ง เ ค รื อ ข่ า ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ป ร ะ เ ด็ น
ค ว า ม สำ คั ญ ข อ ง ก า ร เ ป็ น ผู้ สู ง อ า ยุ
แ ล ะ ก า ร เ ต รี ย ม เ ป็ น ผู้ สู ง อ า ยุ ที่ มี
คุ ณ ภ า พ ผ่ า น เ พ จ โ ร ง เ รี ย น ผู้ สู ง อ า ยุ
ตำ บ ล บ้ า น เ ป้ า

เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง
โครงการ

ท รั พ ย า ก ร ข อ ง
โครงการ

โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง
ค ณ ะ ทำ ง า น ก า ร
กำ ห น ด บ ท บ า ท ห น้ า ที่




1 . ก า ร ใ ช้ ก ล ไ ก วิ ท ย า ก ร ก ร ะ บ ว น ก า ร ชุ ม ช น ขั บ เ ค ลื่ อ น ง า น ส่ ง
เสริมพั ฒนาศักยภาพชมรมผู้สูงอายุเพื่ อเป็นทีมติดตามหนุน
เสริมเพื่ อให้เกิดการทำงานของชมรมผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง

2.องค์กรท้องถิ่นหน่วยงานด้านสาธารณสุข ครู กศน.หน่วย
งานที่เกี่ยวข้องในพื้ นที่ และภาคีเครือข่ายภายนอกเป็นทีมหนุน
เสริมให้กับชมรมผู้สูงอายุในพื้ นที่ไม่ใช่ผู้ดำเนินการให้กับชมรมผู้
สู ง อ า ยุ

กระบวนการ
ดำ เ นิ น ง า น



1 . ว า ง แ ผ น ดำ เ นิ น ก า ร
- จั ด ป ร ะ ชุ ม ป ฏิ บั ติ ก า ร
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ช ม ร ม
ผู้ สู ง อ า ยุ ตำ บ ล บ้ า น เ ป้ า
- แ ต่ ง ตั้ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร
ป ฏิ บั ติ ง า น ป ร ะ จำ ห มู่ บ้ า น
1 2 ห มู่ บ้ า น

2 . ป ฏิ บั ติ ง า น ต า ม แ ผ น
- ล ง พื้ น ที่ เ พื่ อ เ ก็ บ

ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล
- วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ใ น รู ป

แ บ บ โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร บ ริ ห า ร
ง า น ใ น แ ต่ ล ะ ห มู่ บ้ า น

3 . ติ ด ต า ม ต ร ว จ ส อ บ ข้ อ มู ล
ก า ร ดำ เ นิ น ง า น แ ล ะ จั ด ทำ
ร ะ บ บ ข้ อ มู ล ป ร ะ ช า ก ร ผู้ สู ง
อ า ยุ ใ น แ ต่ ล ะ ห มู่ บ้ า น
4 . ส รุ ป แ ล ะ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร
ดำ เ นิ น ง า น

• ชมรมผู้สูงอายุ เป็นกลุ่ม
อ ง ค์ ก ร ผู้ สู ง อ า ยุ ที่ จั ด กิ จ ก ร ร ม
ต่างๆ ตามความต้องการของ
ส ม า ชิ ก ผู้ สู ง อ า ยุ

• องค์การบริหารส่วนตำบล/
เทศบาล เป็นหน่วยงานหลัก
ในการพั ฒนาระบบการดูแลผู้
สู ง อ า ยุ ผ่ า น แ ผ น ง า น
โครงการ มีงบประมาณ
ส นั บ ส นุ น

• เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ
บุ ค ล า ก ร ใ น โ ร ง พ ย า บ า ล ส่ ง
เสริมสุขภาพตำบล ทำหน้าที่
ดู แ ล สุ ข ภ า พ อ ง ค์ ร ว ม อ ย่ า ง
เ ป็ น ร ะ บ บ

• โรงเรียน/สถานศึกษา จัด
กิจกรรมเพื่ อให้ผู้สูงอายุเข้ามา
เ ป็ น วิ ท ย า ก ร ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้
แ ล ะ ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น
สืบสานความรู้ เชิดชูเกียรติ
ผู้ ท ร ง ภู มิ ปั ญ ญ า ห รื อ ป ร า ช ญ์
ชาวบ้าน จัดทำหลักสูตรเกี่ยว
กั บ ผู้ สู ง อ า ยุ

ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง
ชุ ม ช น อ ง ค์ ก ร ภ า คี
ต่ า ง ๆ

ค ว า ม สํ า เ ร็ จ
เ ชิ ง รู ป ธ ร ร ม ที่

เ กิ ด ขึ้ น



เกิดกลไกการการขับเคลื่อนโยบายด้านผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง มีส่วนร่วม
อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม เ ส ริ ม ศั ก ย ภ า พ แ ล ะ บ ท บ า ท ข อ ง ช ม ร ม ผู้ สู ง
อายุ

ชมรมผู้สูงอายุในพื้ นที่โครงการสามารถพั ฒนาโครงการตามบริบท
ของตนเอง ดำเนินกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นเพื่ อนำไปสู่การพั ฒนา
คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ผู้ สู ง อ า ยุ

ผู้สูงอายุในพื้ นที่โครงการได้รับการดูแลและพั ฒนาคุณภาพชีวิตของ
ต น เ อ ง จ า ก ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ข อ ง ช ม ร ม ผู้ สู ง อ า ยุ แ ล ะ ไ ด้ รั บ ก า ร ห นุ น เ ส ริ ม จ า ก ห น่ ว ย
ง า น ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น

มี ฐ า น ข้ อ มู ล ป ร ะ ช า ก ร ผู้ สู ง อ า ยุ ค ร บ ทุ ก ห มู่ บ้ า น
ใช้ประโยชน์จากข้อมูลในการวางแผนขับเคลื่อนการพั ฒนางานชมรมผู้
สู ง อ า ยุ ร ะ ดั บ ตำ บ ล
ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการวางแผนพั ฒนาส่งเสริมสุขภาพดูแลสุขภาพผู้
สู ง อ า ยุ

ปั จ จั ย ภ า ย น อ ก

ป ร ะ ส า น ง า น กั บ เ ค รื อ ข่ า ย มี เ ค รื อ
ข่ายที่หลากหลาย ทั้งภาครัฐ ภาค
เอกชน ประชาชน และภาคธุรกิจ

มี ก า ร ติ ด ต่ อ กั บ เ ค รื อ ข่ า ย อ ย่ า ง
สม่ำเสมอ เช่น เชิญร่วมกิจกรรม
ชมรมผู้สูงอายุ หรือเข้าร่วมกิจกรรม
เ ค รื อ ข่ า ย อื่ น ๆ

ภ า คี เ ค รื อ ข่ า ย ใ ห้ ก า ร ส นั บ ส นุ น
และให้ความร่วมมือในการพั ฒนา
เ พ ร า ะ ไ ด้ ทำ ข้ อ ต ก ล ง ร่ ว ม กั น ใ น ก า ร
วางแผนพั ฒนาผู้สูงอายุในตำบล

อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ตำ บ ล บ้ า น
เป้า ให้การสนับสนุนงบประมาณ
ดำเนินการ ซึ่งได้เล็งเห็นความ
สำ คั ญ แ ล ะ กำ ห น ด เ ป็ น น โ ย บ า ย ใ น
ร ะ ดั บ ตำ บ ล

ปั จ จั ย ที่ ทำ ใ ห้ ป ร ะ ส บ
ค ว า ม สำ เ ร็ จ

ปั จ จั ย ภ า ย ใ น

ด้านผู้นำ และสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ
- ประธาน และคณะกรรมการมีภาวะผู้นำสูง
- ผู้นำมีความเสียสละ และรับฟังความคิดเห็นของสมาชิก

ใ น ก า ร ดำ เ นิ น ง า น กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ
- มีสมาชิกคนอื่นๆ นอกจากผู้สูงอายุเข้าร่วมด้วย

ด้ า น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร
- การมีส่วนร่วมของสมาชิกในการเสนอแนะกิจกรรม
- มีความโปร่งใสในการดำเนินงาน
- จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีรูปแบบที่หลากหลาย

ด้านพึ่ งพาตนเอง
- การแสวงหาแหล่งเงินทุน ในการบริหารดำเนินกิจกรรม
- ใช้แหล่งทรัพยากร/ทุนทางสังคมที่มีอยู่ในชุมชน เช่น

บุคคล ความรู้ เครื่องมือ

บ ท เ รี ย น จ า ก
ก า ร ดำ เ นิ น ง า น




ต้องมีระบบข้อมูลผู้สูงอายุที่เป็นปัจจุบัน เพราะมีความ
จำเป็นที่ต้องใช้เป็นฐานในการวางแผนพั ฒนาผู้สูงอายุในปีต่อไป

ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ควรมีความรู้ และทักษะเบื้องต้นสำหรับ
การดูแลผู้สูงอายุ โดยอาจจะมีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะ
เ บื้ อ ง ต้ น ใ น ก า ร ดู แ ล ผู้ สู ง อ า ยุ

ทำ ง า น แ บ บ บู ร ณ า ก า ร กั บ ห น่ ว ย ง า น ภ า ย น อ ก ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง
เช่น สำนักงานสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
หรือผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านสุขภาพผู้สูงอายุ วางแผนพั ฒนา
ร่ ว ม กั น

ควรมีอาสาดูแลผู้สูงอายุที่มีจิตอาสาในระดับหมู่บ้าน โดยมี
การการอบรม และเพิ่ มทักษะความรู้พื้ นฐานในการดูแลผู้สูงอายุ

การจดทะเบียนเป็นองค์กรสาธารณะ เพื่ อได้รับการ
ส นั บ ส นุ น จ า ก อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น อื่ น ๆ ที่
เกี่ยวข้องจาก เพื่ อให้เกิดการบูรณาการทำงานด้านผู้สูงอายุ ใน
พื้ นที่อย่างยั่งยืน


Click to View FlipBook Version