The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

7_หลักสูตรกลุ่มสาระการงานอาชีพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suvanna2626, 2022-09-15 02:15:54

7_หลักสูตรกลุ่มสาระการงานอาชีพ

7_หลักสูตรกลุ่มสาระการงานอาชีพ

48

โครงสร้างรายวชิ าการงานอาชพี

ง 23102 การงานอาชพี 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ลำดบั ช่ือ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
(ชั่วโมง) คะแนน
ท่ี หนว่ ยการเรียนรู้ การเรยี นรู้ / ตวั ช้ีวัด
8 40
1 การสร้างสรรค์ ง 2.1 ม 2/1 ม - บทบาทหน้าทขี่ องบรรจุภัณฑ์
บรรจภุ ณั ฑ์ 2/2 - ประเภทของบรรจุภณั ฑ์
ม 2/3 - การเลอื กใชบ้ รรจภุ ัณฑ์
- การสรา้ งสรรคบ์ รรจภุ ัณฑ์
กระดาษ
- การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์
จากไม้
- การสร้างสรรค์บรรจภุ ัณฑ์
จากธรรมชาติ

2 งานอาชีพ ง 2.1 ม 2/1 ม - คุณสมบตั ทิ ี่จำเปน็ ในงานอาชีพ 10 40
2/2 - การหางานจากสื่อ สิ่งพิมพ์
ม 2/3 - การหางานส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์
- แนวทางการประกอบอาชีพ
- อาชพี เกษตร
- การทำเกษตรแบบพอเพียง
- ความมัน่ คงของอาชีพ
- การประเมินทางเลอื กอาชพี
- อาชพี ในท้องถิ่น

คะแนนระหว่างภาคเรียน 70
คะแนนสอบระหวา่ งภาค 1 10
1 20
คะแนนสอบปลายภาคเรียน 20 100
รวม

***หมายเหตุ : โรงเรยี นกำหนดหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามบรบิ ทและความต้องการของโรงเรียนโดยให้สอดคล้อง
กบั ตัวชีว้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางหรือสาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ินทีก่ ำหนดไว้

49

แนวการจดั การเรียนรู้

หลักการจัดการเรียนรู้

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 24 (2) และ (3) ได้ระบุแนวทางการ
จดั การเรียนรู้ โดยเน้นการฝึกทักษะกระบวนการคดิ ฝกึ ทกั ษะการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย ดังน้นั เพ่อื ให้การจัดการเรียนรสู้ อดคล้องกับนโยบายดังกลา่ วนี้ จึงยึดแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่
เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั (Child Centered) เน้นการเรยี นรู้จากการปฏิบตั จิ ริง และเน้นการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ที่ผสมผสานเชื่อมโยงสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ มีทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
สามารถนำความรู้เกยี่ วกบั การดำรงชวี ิต การอาชีพ มาประยกุ ตใ์ ช้ในการทำงานอยา่ งมีความคิดสรา้ งสรรค์ เห็น
แนวทางการประกอบอาชีพ รักการทำงาน มีเจตคติที่ดีต่อการทำงาน สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่าง
พอเพียง ที่สอดคล้องกับชีวิตจริงเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาในองค์กรเป็นธรรมชาติสอดคล้องกับสภาพและ
ปญั หาท่ีเกดิ ในวิถีชีวติ ของนกั เรียน

กระบวนการเรียนรู้
ฝึกฝนทักษะการทำงาน มุ่งเน้นการทำงานในชีวิตประจำวัน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว ชุมชน

และสังคม ที่ว่าด้วยงานบ้าน งานเกษตร งานช่าง งานประดิษฐ์ งานธุรกิจ และงานอื่นๆ ฝึกวิธีการทำงานดว้ ย
ตนเอง ตั้งแต่การวิเคราะห์งาน การวางแผนทำงาน การปฏิบัติงาน และการประเมินผลการทำงาน ทั้งทำงาน
เป็นรายบุคคลและทำงานเป็นกลุ่ม เพื่อให้เด็กสามารถทำงานได้บรรลุเป้าหมาย และสามารถทำงานร่วมกับ
ผอู้ ่ืนได้อยา่ งมีความสุข ดว้ ยการรู้จักบทบาทหนา้ ท่ภี ายในกลุ่ม มีทักษะในการฟัง-พูด มีคณุ ธรรมในการทำงาน
ร่วมกัน สามารถสรปุ ผลและนำเสนอรายงาน ดงั ตัวอยา่ งกิจกรรมต่อไปนี้

▪ การทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเอง มุ่งเน้นการฝึกทำงานอย่างสม่ำเสมอ ทำงานให้เกิดผลอย่างเป็น
ขั้นตอนตามกระบวน การทำงาน ด้วยความสะอาด รอบคอบ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม คำนึงถึง
ความปลอดภัยในการทำงาน และเลือกใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสมกับประเภทและลักษณะของงาน
เรมิ่ จากการแต่งกาย การเก็บของใช้ การหยบิ จับและใช้ของใช้สว่ นตัว การจดั เตรียมอุปกรณ์การ
เรียน การทำความสะอาดรองเท้า กระเป๋านักเรียน การทำความสะอาดห้องเรียน การจัดโต๊ะ ตู้
ชัน้ ในห้อง เรยี น

▪ การทำงานเพื่อช่วยเหลือครอบครัว เน้นบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบงานบ้านของสมาชิกใน
บ้าน การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และสร้างลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงาน มีความ
กระตือรือร้น ตรงเวลา สามารถจัดสรรเวลาต่างๆให้สมดุลได้ ได้แก่ การจัด วาง เก็บเสื้อผ้า/
รองเท้า การเลือกใชเ้ สื้อผา้ การชว่ ยครอบครวั เตรยี ม ประกอบอาหาร การลา้ งจาน การปัดกวาด
เช็ดถบู ้านเรือน เปน็ ต้น

สร้างนิสัยการเป็นผู้ผลิต ผู้สร้างสรรค์ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้แสวงหาข้อมูลความรู้ต่างๆ ด้วยการศึกษา
ค้นคว้า การรวบ รวม การสังเกต การสำรวจ และการบันทึก จัดลำดับความคิดหรือจินตนาการอย่างเป็น
ขั้นตอน นำไปสู่การวางแผน เกิดความคิด หาวิธีการแก้ปัญหา รู้จักสังเกต วิเคราะห์ สร้างทางเลือก และ
ประเมินทางเลือก เพื่ออธิบายและสื่อสารให้ผู้อื่นเข้า ใจ เป็นการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาความสามารถของผูเ้ รียนใน
การแก้ปัญหาและสนองความต้องการอย่างสร้างสรรค์ โดยนำความ รู้มาใช้กับกระบวนการเทคโนโลยี สร้าง

50

สิ่งของเครื่องใช้ วิธีการ หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการดำรงชีวิตและกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ โดยคำนึงถึง
ผลกระทบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกจิ ดงั ตวั อยา่ งกจิ กรรมตอ่ ไปน้ี

▪ การศกึ ษาสง่ิ ของเครื่องใช้ในชวี ิตประจำวัน ท่ีถกู สรา้ งมาใหม้ ีรูปร่างแตกต่างกนั ตามหน้าที่ใช้สอย
และฝึกฝนการใช้ให้ถูกวิธี ปลอดภัยต่อการทำงาน จนสามารถปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่ว
รวดเร็ว และถูกต้อง เช่น แปรงสีฟัน หม้อหุงข้าว กรร ไกร ปากกา ดินสอ ฯลฯ

▪ การสร้างของเล่นหรือของใช้อย่างเป็นขั้นตอน ตั้งแต่กำหนดปัญหาหรือความต้องการ รวบรวม
ข้อมูล ออกแบบ ถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 2 มิติ 3 มิติ ก่อนลงมือสร้างและประเมินผล
รวมถึงการนำสิ่งของกลบั มาใช้ซ้ำ ลดการใช้ทรพั ยากรหรือเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบกับ
สิ่งแวดล้อม รวมถึงการสรา้ งเอกสารเพือ่ ใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวัน เช่น บัตรอวยพร รายงาน
นิทานประกอบภาพ เป็นตน้

▪ นำเสนอข้อมูลหลากหลายวิธี หลากหลายลักษณะ เช่น นำเสนอหน้าชั้นเรียน จัดทำเอกสาร
รายงาน ปา้ ยประกาศ ส่อื คอมพวิ เตอร์ ฯลฯ

จัดประสบการณ์ในอาชีพต่างๆ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ได้เห็น ได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมที่เกี่ยวกับอาชีพที่
ตนเองถนดั และสน ใจ เพ่อื ให้ผ้เู รียนมที ักษะการทำงานอาชีพ เหน็ คุณคา่ ของงานอาชีพสุจรติ และเหน็ แนวทาง
ในการประกอบอาชีพ เช่น การจัดนิทรรศการ บทบาทสมมติ ฯลฯ อันจะนำไปสู่การรู้จักตนเองด้านความรู้
ความสามารถ ทัศนคติ ศักยภาพ วิสัยทัศน์ แนว โน้มด้านอาชีพที่ต้องการของตลาดแรงงาน ที่เหมาะสมกับ
ความสนใจ ความถนดั และทกั ษะทางด้านอาชีพก่อนตัดสินใจเลือกอาชีพ

การออกแบบการเรียนรู้
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญได้เปลี่ยนแปลงบทบาทของครูจากการเป็นผู้ชี้นำผู้

ถ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้ชว่ ยเหลือ อำนวยความสะดวกและส่งเสริมสนับสนนุ นักเรยี นโดยใช้วิธีการต่างๆอย่าง
หลากหลายรูปแบบเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการสร้างสรรค์ความรู้ และนำความรู้ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้
นำเสนอทฤษฎแี ละเทคนิควธิ กี ารเรียนการสอนตา่ งๆมาเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ เช่น

การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain Based Learning - BBL) ที่เป็นวิธีการจัดการ
เรียนรู้ที่อิงผลวิจัยทางประสาทวิทยา ซึ่งได้เสนอแนะไว้ว่าได้ตามธรรมชาตินั้นสมองเรียนรู้ได้อย่างไร โดยได้
กล่าวถึงสร้างที่แท้จริงของสมองและการทำงานของสมองมนุษย์ที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามขั้นตอนของการ
พฒั นา ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นกรอบคิดของการสรา้ งสรรคก์ ารจดั การเรียนรูไ้ ด้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning - PBL) เป็นวิธีการจัดการ
เรียนรู้ที่ใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นจุดเริ่มต้นและเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนร่วมกัน
แก้ปัญหาภายใต้การแนะนำของผู้สอน ให้นักเรียนช่วยกันตั้งคำถามและช่วยกันค้นหาคำตอบ โดยอาจใช้
ความรู้เดิมมาแก้ปัญหา หรือศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมสำหรับการแก้ปัญหา นำข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้ามาสรุป
เป็นข้อมูลในการเก็บปัญหา แล้วช่วยกันประเมินการแก้ปัญหาเพื่อใช้ในการเก็บปัญหาครั้งต่อไป สำหรับ
ขน้ั ตอนการจัดการเรยี นรู้

การจัดการเรยี นรู้แบบพหุปัญญา (Multiple Intelligences) เป็นการพัฒนาองค์รวมของนักเรียน
ทั้งสมองด้านซ้ายและสมองดา้ นขวา บนพื้นฐานความสามารถและสติปญั ญาที่แตกต่างกันของแตล่ ะบุคคล มุ่ง
หมายจะให้นักเรียนสามารถแก้ปัญหาหรือสร้างสรรค์สิ่งต่างๆภายใต้ความหลากหลายของวัฒนธรรมหรือ
สภาพแวดล้อม

51

การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ(Cooperative learning) เป็นจากการจัดสถานการณ์และ
บรรยากาศให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ร่วมกันฝึกให้นักเรียนที่มีลักษณะทางสติปัญญาและความร่วมมือกัน
ทำงานเป็นกลุม่ รว่ มกนั ศกึ ษาค้นคว้า

การจัดการเรียนรูแ้ บบใช้หมวกความคิด 6 ใบ (Six thinking Hats) ให้นักเรียนฝึกต้ังคำถามและ
ตอบคำถามท่ีใชค้ วามคดิ ในลักษณะต่างๆโดยสามารถอธิบายเหตผุ ลประกอบหรือวเิ คราะห์วจิ ารณไ์ ด้

การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา(Problem Solving ) เป็นการฝึกให้นักเรียนเรียนรู้
จากการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยการทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา และ
ตรวจสอบหรอื มองยอ้ นหลงั

การจัดการเรยี นรูแ้ บบโครงงาน (Project Work) ซึ่งเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งทีส่ ่งเสริม
ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองจากการลงมือปฏิบัติ โดยใช้กระบวนการแสวงหาความรู้หรือค้นคว้าหาคำตอบใน
ส่ิงทผ่ี ้เู รยี นอยากรหู้ รือสงสัยดว้ ยวิธกี ารตา่ งกันอยา่ งหลากหลาย

การจดั การเรยี นรูท้ เ่ี น้นการปฏิบัติ(Active learning) ใหน้ กั เรียนได้ทดลองทำดว้ ยตนเอง เพ่ือจะได้
เรยี นรู้ขนั้ ตอนของงาน รจู้ กั วิธีแกป้ ญั หาในการทำงาน

การจัดการเรียนรู้แบบสร้างผังความคิด (Concept Mapping) เป็นการสอนด้วยวิธีการจัดกลุ่ม
ความคิดรวบยอด เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์กันระหว่างความคิดหลักและความคิดรองลงไป โดยนำเสนอเป็น
ภาพหรือเปน็ ผัง

การจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experience learning) เป็นการจัดกิจกรรมหรือจัด
ประสบการณ์ให้นักเรยี นเกดิ การเรียนรจู้ ากการปฏิบตั ิ เรียกกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนพัฒนาทักษะใหม่ๆ เจตคติใหม่ๆ
หรอื วธิ กี ารคดิ ใหมๆ่

การเรียนรู้โดยการแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้แสดง
บทบาทในสถานการณ์ที่สมมุติขึ้น โดยอาจกำหนดให้แสดงบทบาทสมมติที่เป็นพฤติกรรมของบุคคลอื่น หรือ
แสดงพฤติกรรมในบทบาทของตนเองในสถานการณต์ ่างๆ

การจัดการเรยี นรู้โดยใช้กจิ กรรมสะเต็มศึกษา (STEM Education) เป็นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
ทบี่ ูรณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตรเ์ ขา้ ดว้ ยกนั เพอ่ื ใหน้ กั เรียนไดว้ างตวั เอง
คิดค้น วิเคราะห์ ออกแบบ สร้างชิ้นงานและปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้เกิดการเรียนรู้แบบบูรณาการ นำความรู้ไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในการแกป้ ญั หา และการสรา้ งชิน้ งานทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การดำรงชีวติ

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ เพ่ือปรบั ปรุงกระบวนการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ
ให้ถือปฏิบัติดงั นี้

1. แจ้งให้นกั เรยี นทราบมาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้ วธิ ีการวดั และประเมินผล เกณฑ์การผ่าน
มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้

โดยกำหนดเกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลเป็น ร้อยละ เปน็ รายวิชา รายป/ี ภาค ดงั น้ี
การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ของแต่ละสาระกำหนดสัดส่วนของการวัดและประเมนิ ผลการ
เรยี นรู้ดงั นี้
1.1 การวดั และประเมินระหวา่ งเรยี น เป็นการวดั และประเมินผลการเรยี นรูข้ องผู้เรยี นท่ีเกดิ ข้ึน
ระหวา่ งการกรรมการเรียนการสอนซง่ึ ประกอบดว้ ยสดั สว่ นของ

52

1.1.1คะแนนของตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้
1.1.2คะแนนของการวดั และประเมินผลงานผ้เู รียน
1.1.3 คะแนนของพฤติกรรมผู้เรียน
1.1.4คะแนนการปฏบิ ัติอนื่ ๆทผี่ ู้สอนกำหนด
1.2 การวัดและประเมนิ ผลปลายปี/ปลายภาค เปน็ การวดั และประเมินผลจากการตรวจสอบภาพ
ปฏิบัตหิ รอื ภาคความรู้ของผ้เู รียนของแต่ละรายวิชาท่ีกำหนดระยะเวลาไว้ชัดเจนตามตารางการวดั และประเมิน
ฝา่ ยวชิ าการกำหนด
1.3 การกำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกบั ปลายปี/ปลายภาคเปน็ 80 : 20
2. แจ้งให้นักเรียนทราบคุณลักษณะพึงประสงค์ของโรงเรียน วิธีการประเมินผลและเกณฑ์การตัดสิน
โดยนกั เรยี นมีพฤติกรรมในแต่ละคุณลักษณะอันพ่ึงประสงค์ท่ีกำหนด และผา่ นการประเมนิ อย่างต่อเน่ืองทั้งใน
และนอกหอ้ งเรยี นและมผี ลการประเมนิ ในระดับ “ดเี ย่ียม” “ดี” และ “ผ่าน” ดงั น้ี
ดีเยี่ยม หมายถงึ ผูเ้ รยี นมคี ุณลกั ษณะในการปฏิบัติจนเป็นนิสยั และนำไปใช้ในชวี ิตประจำวันเพ่ือ
ประโยชนส์ ขุ ของตนเองและชุมชน
ดี หมายถงึ ผเู้ รียนมีคุณลกั ษณะในการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์เพื่อให้เป็นทีย่ อมรับของสังคม
ผา่ น หมายถงึ ผเู้ รยี นรบั รู้และปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ์เงื่อนไขท่ีกำหนด
3. แจ้งให้นักเรียนทราบมาตรฐานการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน วิธีการประเมินและเกณฑ์การ
ตัดสินโดยนักเรียนมีมาตรฐานการอ่านคิดวิเคราะห์ผ่านการประเมินอย่างต่อเนื่อง และหรือ การประเมิน
ปลายปี/ภาค และมีผลการประเมิน ในระดบั “ดเี ยี่ยม” “ด”ี และ “ผา่ น” ดังน้ี
ดีเยยี่ ม หมายถงึ มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ที่มี
คุณภาพดีเลิศอยเู่ สมอ
ดี หมายถงึ มีผลงานทีแ่ สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ท่มี ีคุณภาพ
เป็นท่ยี อมรับ
ผ่าน หมายถึง มีผลงานทีแ่ สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ท่ีมี
ข้อบกพร่องบางประการ
4. ก่อนการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ครูผสู้ อนจะตอ้ งประเมนิ ผลก่อนเรียน เพือ่ ตรวจสอบความรู้
พื้นฐานและทักษะเบื้องต้นของผู้เรียนโดยก่อนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครูผูส้ อนจะต้องตรวจสอบความรู้
ทักษะและความรู้ตา่ งๆ ของผเู้ รียนทีเ่ ป็นพืน้ ฐานของเรือ่ งใหมๆ่ ด้วยวธิ ีการทห่ี ลากหลายและเหมาะสม
5. ระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้ผู้สอนประเมินผลการเรียนของนักเรียนเป็นระยะๆ เพื่อ
ตรวจสอบพัฒนาการของนักเรียนว่าบรรลุผลมาตรฐาน / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ ตามที่กำหนดไว้ในแผนการ
จัดการเรียนรู้ เมื่อมีนักเรียนไม่ผ่านการประเมินให้ครูจัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริมหรือพัฒนาอย่างต่อเนื่องและ
ประเมินจนกว่าจะผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามที่โรงเรียนกำหนด
6. ใช้ตัวเลขแสดงผลการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ โดยนำผลการประเมินระหว่างเรียนรวมกับคะแนน
ประเมนิ ปลายปี/ภาค ตามสัดสว่ นที่โรงเรยี นกำหนด แล้วนำมาเปล่ียนเป็นระดบั ผลการเรยี นโดยใชต้ ัวเลขแสดง
ระดับผลการเรยี น 8 ระดับคอื “4” “3.5” “3” “2.5” “2” “1.5” “1” “0” ดังนี้

53

ระดบั ผลการเรยี น ความหมาย ชว่ งคะแนน
4 ดเี ย่ยี ม 80 - 100
3.5 ดีมาก 75 - 79
3 ดี 70 – 74
2.5 ค่อนข้างดี 65 - 69
2 ปานกลาง 60 – 64
1.5 พอใช้ 55 - 59
1 50 – 54
0 ผ่านเกณฑ์ข้นั ตำ่ 0 - 49
ตำ่ กว่าเกณฑ์

7. ให้ใช้คำว่า “ดีเยี่ยม” “ดี” และ “ผ่าน” ในการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ
การประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำหรับการประเมนิ ในแตล่ ะรายวิชา

สอื่ และแหล่งเรยี นรู้

ในการจัดการเรียนรู้ทุกรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ผู้สอนแล ะ
ผ้เู รยี นสามารถศกึ ษาหาความรู้ หรอื เรียนรจู้ ากแหลง่ เรียนรดู้ งั นี้

1. ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หรือห้องสมุด
หน่วยงานอ่ืน ๆ

2. แหล่งวทิ ยาการทง้ั ภาครฐั และเอกชน ซึง่ ใหบ้ รกิ ารความรใู้ นเรือ่ งตา่ ง ๆ
3. ภูมิปัญญาท้องงถิ่น ปราชญ์ชาวบ้านที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ ประสบ
ความสำเร็จในงาน อาชพี ทม่ี ีอย่ใู นชมุ ชนท้องถ่ิน ผ้นู ำชุมชน ฯลฯ
4. สถานประกอบการต่าง ๆ สถานประกอบการวิชาชีพอิสระ โรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม
หนว่ ยงานวิจยั ในทอ้ งถ่ิน ซง่ึ ใหบ้ ริการความรู้ ฝกึ อบรมเกีย่ วกับงานและวชิ าชพี ตา่ ง ๆ ทม่ี ีอยใู่ นชมุ ชนทอ้ งถน่ิ
5. สื่อสงิ่ พิมพ์ต่าง ๆ เช่น แผ่นพับ วารสาร หนงั สืออา้ งองิ หนงั สือพมิ พ์ ฯลฯ
6. ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม เชน่ อทุ ยานแห่งชาติ สวนสัตว์ พพิ ธิ ภัณฑ์
สวนพฤกษศาสตร์ พิพธิ ภณั ฑ์พชื
7. ส่ืออีเล็กทรอนกิ ส์ เชน่ อนิ เทอร์เน็ต ซดี ี – รอม วซี ีดี วดี ที ัศน์ CAI Online ฯลฯ

54

ภาคผนวก

55

ภาคผนวก ก
อภธิ านศัพท์

56

อภธิ านศัพท์

สาระท่ี 1 การดำรงชีวิตและครอบครวั

กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการในการทำงานกลุ่ม มขี ัน้ ตอน ดังน้ี การเลือกหน้ากลุม่ การกำหนดเป้าหมาย

หรือวตั ถุประสงค์ของงาน วางแผนการทำงาน แบง่ งานตามความสามารถของแต่ละบุคคล ปฏบิ ตั ิ
ตามบทบาทหน้าท่ี ประเมินผล และปรับปรุงการทำงาน

การดำรงชีวติ
เปน็ การทำงานในชีวติ ประจำวันเอช่วยเหลอื ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสงั คมทว่ี า่ ด้วย

งานบา้ น งานเกษตร งานช่าง งานประดิษฐ์ งานธรุ กจิ และงานอนื่ ๆ

การทำงานเพอ่ื การดำรงชีวิต
เปน็ การทำงานทจี่ ำเป็นเกี่ยวกับความเป็นอย่ใู นชวี ติ ประจำวัน ชว่ ยเหลอื ตนเอง ครอบครัว

และสงั คมได้ในสภาพเศรษฐกิจพอเพียง ไมท่ ำลายสงิ่ แวดล้อม เนน้ การปฏิบัติจรงิ จนเกิดความมั่นใจ
และภูมิใจในผลสำเร็จของงาน เพ่ือให้คน้ พบความสามารถ ความถนัดและความสนใจของตนเอง
ทำงานบรรลเุ ปา้ หมาย ทำงานถูกวธิ ี ทำงานเป็นขัน้ ตอน ทำงานเปน็ ระบบ มีความคิดสรา้ งสรรค์
มปี ระสทิ ธิภาพ รักษาสงิ่ แวดลอ้ ม ฯลฯ

ทักษะกระบวนการแกป้ ัญหา
เป็นกระบวนการทีต่ ้องการให้ผเู้ รยี นไดเ้ กิดความคิดหาวิธีการแก้ปัญหาอยา่ งมีขน้ั ตอน

การสงั เกต การวิเคราะห์ การสรา้ งทางเลอื ก และการประเมินทางเลอื ก

ทกั ษะการจดั การ
ความพยายามของบุคคลทจี่ ะจดั ระบบงาน (ทำงานเปน็ รายบุคคล) และจัดระบบคน

(ทำงานเปน็ กลมุ่ ) เพื่อใหท้ ำงานสำเร็จตามเป้าหมายอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

ทักษะกระบวนการทำงาน
การลงมือทำงานดว้ ยตนเอง โดยม่งุ เนน้ การฝึกวธิ กี ารทำงานอย่างสำ่ เสมอ ทงั้ การทำงาน

เปน็ รายบุคคล และการทำงานเปน็ กลุ่ม เพื่อใหส้ ามารถทำงานไดบ้ รรลเุ ปา้ หมายไดแ้ กก่ ารวิเคราะห์
งาน การวางแผนในการทำงาน การปฏิบัติงานและการประเมินผลการทำงาน
ทักษะการทำงานร่วมกนั

การทำงานเป็นกลมุ่ สามารุทกงานร่วมกับผู้อน่ื ได้อย่างมีความสขุ โดยมุ่งเน้นใหผ้ ้เู รียนได้
ทำงานอย่างมีกระยวนการตามขัน้ ตอนการทำงาน และฝึกหลักการทำงานกลุ่ม โดยร้จู กั บทบาท
หน้าทภ่ี ายในกลมุ่ มีทกั ษะในการฟงั พดู มีคุณธรรมในการทำงานรว่ มกัน สรุปผลและนำเสนอรายงาน

57

ทกั ษะการแสวงหาความรู้
วิธีการและภารกิจที่มุ่งเนน้ ให้ผเู้ รยี นได้แสวงหาข้อมูลความรตู้ ่างๆเกีย่ วกับเร่ืองหรือเนอ้ื หา

นั้นๆไดแ้ ก่ การศึกษาค้นคว้า การรวบรวม การสังเกต การสำรวจ แลละการบนั ทึก

สาระท่ี 2 การอาชพี

การจำลองอาชีพ
เปน็ การจดั กิจกรรมเพอื่ การเรียนรเู้ กย่ี วกับอาชีพท่ีสถานศึกษาจัดทำให้เสมือนจริงเพอ่ื ให้

ผู้เรียน มที กั ษะการทำงานอาชีพ เห็นคณุ คา่ ของงานอาชพั สจุ ริต และเหน็ แนวทางในการประกอบ
อาชีพเชน่ การจดั นิทรรศการ บทบาทสมมุติ ฯลฯ

การประเมินทางเลือกอาชีพ
เป็นการรจู้ กั ตนเองดา้ นความรู้ ความสามารถ ทัศนคติ ศักยภาพ วสิ ยั ทัศน์ แนวโนม้ ด้าน

อาชพี ท่ีต้องการของตลาดแรงงาน ท่ีเหมาะสมกบั ความสนใจ ความถนดั และทกั ษะทางด้านอาชีพ

การอาชพี
เปน็ สาระทเี่ กีย่ วข้องกับทักษะท่จี ำเป็นทจ่ี ำเป็นต่ออาชพี เห็นความสำคัญของคณุ ธรรม

จรยิ ธรรมและเจตคตทิ ี่ดตี อ่ อาชพี ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เห็นคุณคา่ ของอาชพี สจุ รติ และเหน็
แนวทางในการประกอบอาชีพ

ทักษะที่จำเปน็ ตอ่ อาชีพ
ประกอบด้วย ทกั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกป้ ญั หา

ทกั ษาการทำงานร่วมกัน และทักษาการแสวงหาความรู้

58

ภาคผนวก ข
คำส่ังแตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการกล่มุ สาระการเรยี นรูแ้ ละกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น ปรบั ปรุงหลักสตู รโรงเรยี น

บ้านตะโละหะลอ พุทธศักราช 2563 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

59

คำสั่งโรงเรียนบา้ นตะโละหะลอ
ท่ี 032/2563

แต่งตัง้ คณะกรรมการจัดทำหลกั สูตรสถานศกึ ษา
โรงเรียนบา้ นตะโละหะลอ พทุ ธศกั ราช 2563

................................................................................................

ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ

เรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ

วฒั นธรรม (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ตาม

คำสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสั่งสำนักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการ

เรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคำส่งั

ให้โรงเรยี นดำเนินการใชห้ ลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ สถานศึกษาทุกแห่งจึงต้องทำการปรบั ปรุงหลกั สตู ร

ของตนเองใหม่ เพื่อให้การดำเนินงานปรับปรุงหลักสูตรของโรงเรียนบ้านตะโละหะลอเป็นไปด้วยความ

เรียบร้อย มีประสิทธิภาพจึงขอแต่งตั้ง คณะกรรมการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตะโละหะลอ

พทุ ธศักราช 2563 ดังน้ี

1. คณะกรรมการฝ่ายอำนวยการ มีหน้าที่อำนวยความสะดวก ให้คำปรึกษาแนะนำ เพื่อให้

การดำเนินงานเป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย ประกอบด้วย

1.1 นางรอยทรง การีอมู า ประธานกรรมการ

1.2 นายนรา มะเย็ง กรรมการ

1.3 วา่ ท่ี ร.ต.ประสาร อุดมผล กรรมการ

1.4 นายซอฟวาน ลบิ ูละ กรรมการ

1.5 ดร.ถวลั ย์ สุวรรณอินทร์ กรรมการและเลขานุการ

2. คณะกรรมการกลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ประกอบด้วย

2.1 นางสาวฮาลเี ม๊าะ สนิ ประธานกรรมการ

2.2 นางฮายาตี สมารา กรรมการ

2.3 นางจินดา วรรณเพช็ ร กรรมการ

2.4 นางพิระดา ตง กรรมการ

2.5 นางสาวสุนิสา ถิ่นนยุ้ กรรมการ

2.6 นายนรา มะเยง็ กรรมการ

2.7 นายอัสดี ยงิ ทา กรรมการ

2.8 นางสาวซากีรา เจะเฮ็ง กรรมการ

2.9 นางวาฮีดา ลาเต๊ะ กรรมการ

2.10 นางกรณุ า อดิ ดือเระ กรรมการและเลขานุการ

60

3. คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ประกอบด้วย

3.1 นางสาวสุกัญญา โอ๊ะหลำ ประธานกรรมการ

3.2 นายซอฟวาน ลบิ ลู ะ กรรมการ

3.3 นางสาวคอรีเยาะห์ กาโสะ กรรมการ

3.4 นางสาวฮาซอื เมาะ เจ๊ะโอ๊ะห์ กรรมการ

3.5 นางสาวกมู าซือนา แวหะยี กรรมการ

3.6 นางสาวฮาดีบะห์ โตะลากอ กรรมการและเลขานุการ

4. คณะกรรมการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ประกอบดว้ ย

4.1 นางพนิดา ใบหวงั ประธานกรรมการ

4.2 นางสาวรซุ นานี โดตะเซะ กรรมการ

4.3 นางฟริ ฮานา หะนิมะ กรรมการ

4.4 นางสาวรสสุคนธ์ อศั วภมู ิ กรรมการ

4.5 นางสาวไลลา ดะดุนะ กรรมการ

4.6 นางสาวพริ ดาว หวังจิ กรรมการ

4.7 นางสาวฮดี ายู บนิ มามุ กรรมการ

4.8 นางซูซานา ยิงทา กรรมการ

4.9 นางสาวนูรีตา มูซอ กรรมการ

4.10 นางสาวมานเี ร๊าะ โดะมะแซ กรรมการ

4.11 นางสาวอานซี ะห์ ยายอ กรรมการและเลขานุการ

5. คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม และรายวิชา

หนา้ ทพี่ ลเมือง ประกอบดว้ ย

5.1 นางสาวสรยี านี อาบู ประธานกรรมการ

5.2 นางฟาตเี มาะ ยามามะลี กรรมการ

5.3 นายอัมราน การีอุมา กรรมการ

5.4 นางซารูวา มูสะอะรง กรรมการและเลขานุการ

6. คณะกรรมการกลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ประกอบด้วย

6.1 ดร.ถวลั ย์ สุวรรณอนิ ทร์ ประธานกรรมการ

6.2 ว่าที่ ร.ต.ประสาร อดุ มผล กรรมการ

6.3 นายมะรอยี อดลุ ยศาสน์ กรรมการ

6.4 นายอบั ดลุ ราซคั ดอื รานิง กรรมการและเลขานุการ

7. คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ประกอบดว้ ย

7.1 นางสาวยามีละห์ ดะแซสาเมาะ ประธานกรรมการ

7.2 นายสไุ ฮมี คามิ กรรมการ

7.3 นางรอมอื ล๊ะ ยะโตะ๊ กรรมการและเลขานุการ

61

8. คณะกรรมการกลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี ประกอบด้วย

8.1 นางอาซียะ๊ เจ๊ะอาแดร์ ประธานกรรมการ

8.2 นางสาวฮานีบะห์ เจ๊ะเล๊าะ กรรมการ

8.3 นายอนันต เละเตง็ โซะ กรรมการ

8.4 นางซไู บด๊ะ ดาโอ๊ะมารยี อ กรรมการและเลขานุการ

9. คณะกรรมการกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ ประกอบดว้ ย

9.1 นางอาซเี ย๊าะ สะอิ ประธานกรรมการ

9.2 นางมสั กะ สงสรุ ินทร์ กรรมการ

9.3 นางสาวสไู วบะห สาแม กรรมการ

9.4 นายมาหะมะกอรี นาแว กรรมการ

9.5 นางสาวอาตกี ะห์ หะยีปเู ตะ กรรมการและเลขานุการ

10. คณะกรรมการกลุม่ สาระการเรยี นรู้อิสลามศกึ ษา ประกอบดว้ ย

10.1 นายมูหามะ อาแว ประธานกรรมการ

10.2 นายไซนัลอาบีดงิ มะเต๊ะ กรรมการ

10.3 นางสาวสะอดี ๊ะ ดาโต๊ะ กรรมการ

10.4 นางซาอีด๊ะ อีแต กรรมการ

10.5 นายมะหะมะซอและ สอื รี กรรมการ

10.6 นายอบั ดุลนาเซ มะอีลา กรรมการ

10.7 นายบุรฮนั อาแด กรรมการ

10.8 นางสาวนรุ ฮายาตี เจะ๊ โกะ กรรมการ

10.9 นางสาวสุรานา แดงเครา กรรมการ

10.10 นายซูเฟยี น มีเร๊ะ กรรมการ

10.11 นายเตาฟิต เจะ๊ นา กรรมการ

10.12 นางสาวต่วนมรั ยัม มะเต๊ะ กรรมการ

10.13 นายมะ เลาะแม กรรมการ

10.14 นางสาวการม์ ี กอระ กรรมการและเลขานุการ

ขอให้ผ้ทู ี่ไดร้ ับการแต่งต้ังปฏบิ ัติหน้าท่ดี ว้ ยความรับผดิ ชอบ เสยี สละ เตม็ ความสามารถ
เพื่อใหก้ ารดำเนินงานจัดทำหลกั สตู รของสถานศึกษาในครงั้ นี้เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และสำเรจ็ ตาม
วตั ถุประสงคต์ ่อไป

ท้ังน้ี ตง้ั แตว่ ันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2563

ส่งั ณ วนั ท่ี 29 เมษายน พ.ศ. 2563

(นางรอยทรง การอี ูมา)
ผู้อำนวยการ โรงเรยี นบ้านตะโละหะลอ


Click to View FlipBook Version