The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by vachi.crpao, 2019-07-14 10:57:29

02-ลักษณะภูมิอากาศ

02-Weather

Keywords: Weather

ลักษณะภูมิอากาศของประเทศไทย

Weather CRPAO
School
ลักษณะภูมิอากาศ
1
นางสาววชริ ญาณ์ มานะ

โรงเรียนองค์การบริหารสว่ นจังหวดั เชยี งราย

CRPAO Chiangrai Provincial Administrative Organization School
School

ลกั ษณะภมู ิอากาศของประเทศไทย -

ปจั จัยภมู ิอากาศในประเทศไทย - ธพิ ลของลมพายุหมุน: ลมพายุทีพ่ ดั ผา่ นประเทศ
ไทย จะนาฝนมาตกเป็นปริมาณสูงและมักเกิด
แม้ว่าประเทศไทยจะมีพื้นท่ีอยู่ในเขตร้อน แต่ก็มี อุทกภัยอยู่บ่อยครั้ง แต่บางปีที่มีพายุหมุนเข้า
สภาพอากาศทแี่ ตกตา่ งกันเนือ่ งจากปัจจัยดังตอ่ ไปนี้ นอ้ ยจะมปี ริมาณนา้ ฝนนอ้ ย อาจถงึ การขาด
- ท่ีต้ังตามละติจูด: ตามปกติตาแหน่งท่ีต้ังที่มีค่า แคลนนา้ โดยเฉพาะพ้นื ที่ในภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
ละติจูดต่าจะมีอุณหภูมิสูงกว่าตาแหน่งที่ตั้งท่ีมี
ค่าละตจิ ูดสูงกวา่ เพราะอยใู่ กล้เส้นศนู ยส์ ูตร ลมมรสุม
- ความสูงของพ้ืนที่: ตามปกติพื้นที่สูงจะมี
อุณหภูมิต่ากว่าพ้ืนท่ีท่ีเป็นท่ีราบ เช่น ยอดดอย ประเทศไทยอยู่ภายใต้อิทธิพลของมรสุมสองชนิด
อินทนนท์จะมีอุณหภูมิต่ากว่าพ้ืนที่ล่างที่อาเภอ คื อ ม ร สุ ม ต ะ วั น ต ก เ ฉี ย ง ใ ต้ แ ล ะ ม ร สุ ม
จอมทอง จงั หวดั เชยี งใหม่ ตะวันออกเฉียงเหนอื
- แนวทิวเขาท่ีขวางกั้นทิศทางลมประจา: การ
วางตัวของทิวเขาบริเวณจังหวัดกาญจนบุรี ตาก
ส่งผลทาให้จังหวัดกาแพงเพชร นครสวรรค์
สุพรรณบุรี มีอุณหภูมิสูงและมีปริมาณน้าฝน
นอ้ ย โดยเรยี กพ้ืนท่นี ้วี ่า "พน้ื ทอี่ ับฝน"
- ระยะห่างจากทะเล: พ้ืนที่ที่อยู่ใกล้ทะเลจะมี
โอกาสได้รับความชื้นและมีฝนตกมากกว่า
บริเวณที่ห่างไกลทะเลออกไป เช่น จังหวัด
ระนองและตราด อยู่ใกล้ทะเล และเป็นด้านรับ
ลม จะมีปริมาณฝนตกมากกว่าจังหวัดท่ีลึกเข้า
ไปในแผน่ ดนิ
- ทิศทางของลมประจา: บริเวณภาคตะวันออก
ช่วงท่ีได้รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะมีฝนตก
ชุ ก แ ต่ เ มื่ อ ล ม เ ป ลี่ ย น ทิ ศ เ ป็ น ล ม ม ร สุ ม
ตะวันออกเฉียงเหนือ ปริมาณน้าฝนจะลดลงจน
เห็นความแตกตา่ งชดั เจน

CRPAO 2
School
Chiangrai Provincial Administrative Organization School

มรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนอื มรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้
หลังจากหมดอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แล้ว มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดปกคลุมประเทศไทย
ป ร ะ ม า ณ ก ล า ง เ ดื อ น ตุ ล า ค ม จ ะ มี ม ร สุ ม ระหว่างกลางเดีอนพฤษภาคมถึง กลางเดือนตุลาคม
ตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทยจนถึง โดยมีแหล่งกาเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงใน
กลางเดือนกุมภาพันธ์ มรสุมน้ีมีแหล่งกาเนิดจาก ซีกโลกใต้ บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งพัดออกจาก
บริเวณความกดอากาศสูงในซีกโลกเหนือแถบ ศูนย์กลางเป็นลมตะวันออกเฉยี งใต้ และเปล่ียนเป็น
ประเทศ มองโกเลยี และจีน จึงพดั พาเอามวลอากาศ ลมตะวันตกเฉียงใต้เมื่อพัดข้ามเส้นศูนย์สูตร มรสุม
เยน็ และแหง้ จากแหลง่ กาเนดิ เข้ามาปกคลมุ ประเทศ น้ีจะนามวลอากาศชื้นจากมหาสมุทรอินเดีย มาสู่
ไทย ทาให้ท้องฟ้าโปร่ง อากาศหนาวเย็นและแห้ง ประเทศไทย ทาให้มีเมฆมากและฝนตกชุกทั่วไป
แ ล้ ง ท่ั ว ไ ป โ ด ย เ ฉ พ า ะ ภ า ค เ ห นื อ แ ล ะ ภ า ค โดยเฉพาะอย่างย่ิงตามบริเวณชายฝ่ังทะเล และ
ตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคใต้จะมีฝนชุก เทอื กเขาด้านรับลมจะมฝี นมากกว่าบรเิ วณอ่ืน
โดยเฉพาะภาคใต้ฝ่ังตะวันออก เนื่องจากมรสุมนี้นา
ความชุม่ ชนื้ จากอา่ วไทยเข้ามาปกคลมุ

CRPAO 3
School
Chiangrai Provincial Administrative Organization School

ฤดูกาล ฤดูฝน
เร่ิมตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมเมื่อมรสุม
ประเทศไทยแบ่งฤดูกาลออกเป็น 3 ฤดู ได้แก่ ฤดู
ร้อน ฤดูฝน และฤดหู นาว ตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทย และร่อง
ความกดอากาศต่าพาดผ่านประเทศไทยทาให้มีฝน
ฤดรู ้อน ชุกทั่วไป ร่องความกดอากาศต่าน้ีปกติจะพาดผ่าน
เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึง ภาคใต้ในเดือนพฤษภาคม แล้วจึงเลื่อนขึ้นไปทาง
เหนือตามลาดับจนถึงช่วงประมาณปลายเดือน
กลางเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงเปลี่ยนจากมรสุม มิถุนายน จะพาดผ่านอยู่บริเวณประเทศจีนตอนใต้
ตะวันออกเฉียงเหนือเป็นมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ทาให้ฝนในประเทศไทยลดลงระยะหน่ึง และ
และเป็นระยะท่ีข้ัวโลกเหนือหันเข้าหาดวงอาทิตย์ เรยี กว่าเป็น "ชว่ งฝนทิ้ง" ซ่งึ อาจนานประมาณ 1 - 2
โดยเฉพาะเดือนเมษายนบริเวณประเทศไทย มีดวง สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดข้ึนรุนแรงและมีฝนน้อย
อาทิตย์อยู่เกือบตรงศีรษะในเวลาเท่ียงวัน ทาให้ นานนับเดือน ในเดือนกรกฎาคมปกติร่องความกด
ได้รับความรอ้ นจากดวงอาทติ ย์เต็มท่ี สภาวะอากาศ อากาศต่าจะเลื่อนกลับลงมาทางใต้พาดผ่านบริเวณ
จึงร้อนอบอ้าวท่ัวไป ในฤดูน้ีแม้ว่าโดยท่ัวไปจะมี ประเทศไทยอีกครั้ ง ทาให้มีฝนชุกต่อเน่ือง
อากาศร้อนและแห้งแล้ง แต่บางครั้งอาจมีมวล จนกระท่ังมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดเข้ามาปก
อากาศเย็นจากประเทศจีนแผ่ลงมาปกคลุมถึง คลุมประเทศไทยแทนที่มรสุมตะวันตกเฉียงใต้
ประเทศไทยตอนบน ทาให้เกิดการปะทะกันของ ประมาณกลางเดือนตุลาคมประเทศไทยตอนบน จะ
มวลอากาศเย็นกับมวลอากาศร้อนท่ีปกคลุมอยู่ เริ่มมีอากาศเย็นและฝนลดลง โดยเฉพาะภาคเหนือ
เหนือประเทศไทย ซึ่งก่อให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เว้นแต่ภาคใต้ยังคงมี
และลมกระโชกแรงหรืออาจมีลูกเห็บตกก่อให้เกิด ฝนชุกต่อไปจนถึงเดือนธันวาคมและมักมีฝนหนักถงึ
ความเสียหายได้ พายุฝนฟ้าคะนองท่ีเกิดขึ้นในฤดูนี้ หนักมาก จนก่อให้เกิดอทุ กภยั โดยเฉพาะภาคใต้ฝงั่
มักเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า "พายุฤดูร้อน" ลักษณะของ ตะวันออกซ่ึงจะมีปริมาณฝนมากกว่าภาคใต้ฝ่ัง
อากาศในฤดูร้อนใช้เกณฑ์อุณหภูมิสูงสุดของแต่ละ ตะวันตก อย่างไรก็ตามการเร่ิมต้นฤดูฝนอาจจะช้า
วัน โดยแบง่ ดังน้ี หรือเร็วกว่ากาหนดได้ประมาณ 1 - 2 สัปดาห์ การ
- อากาศร้อน จะมีอุณหภูมิระหว่าง 35-39.9 พิจารณาปริมาณฝนในเวลา 24 ช่ัวโมงของแต่ละวนั
จะนับต้ังแต่เวลา 07.00 น. จนถึงเวลา 07.00 น.
องศาเซลเซยี ส ของวันถดั ไป โดยมีเกณฑแ์ บง่ ดังน้ี
- อากาศร้อนจัด มีอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียสขนึ้

ไป

CRPAO 4
School
Chiangrai Provincial Administrative Organization School

- ฝนวัดจานวนไม่ได้: ปริมาณฝนน้อยกว่า 0.1 เปล่ยี นฤดูจากฤดฝู นเป็นฤดูหนาว อากาศแปรปรวน
มิลลิเมตร ไม่แน่นอน อาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟ้า
คะนอง โดยเฉพาะบริเวณภาคกลางตอนล่างและ
- ฝนเล็กน้อย: ปริมาณฝนระหว่าง 0.1 - 10.0 ภาคตะวันออกลงไปซ่ึงจะหมดฝน และเร่ิมมีอากาศ
มิลลเิ มตร เย็นช้ากว่าภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะของอากาศในฤดูหนาว ลักษณะของอากาศ
- ฝนปานกลาง: ปริมาณฝนระหว่าง 10.1 - 35.0 ในฤดูหนาวใช้เกณฑ์อุณหภูมิต่าสุดของแต่ละวัน
มลิ ลเิ มตร โดยแบ่งดังน้ี

- ฝนหนัก: ปริมาณฝนระหว่าง 35.1 - 90.0 - อากาศหนาวจัด จะมีอุณหภูมิต่ากว่า 8.0 องศา
มลิ ลิเมตร เซลเซียส

- ฝนหนักมาก: ปริมาณฝนต้ังแต่ 90.1 มิลลิเมตร - อากาศหนาว มีอุณหภูมิระหว่าง 8.0 - 15.9
ขึ้นไป องศาเซลเซียส

ฤดหู นาว - อากาศเย็น มีอุณหภูมิระหว่าง 16.0 - 22.9
เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือน องศาเซลเซยี ส

กุมภาพันธ์ เมื่อมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปก
คลุมประเทศไทยตั้งแต่กลางเดือนตุลาคม ในช่วง
กลางเดือนตุลาคมนานราว 1-2 สัปดาห์ เป็นช่วง

CRPAO 5
School
Chiangrai Provincial Administrative Organization School

CRPAO 6
School
Chiangrai Provincial Administrative Organization School

พายุหมนุ พายโุ ซนร้อน พายดุ ีเปรสช่ัน

ประเทศไทยต้ังอยู่ในคาบสมุทรอินโดจีน ซึ่งยื่นล้าลงไปในทะเลจีนใต้ ซึ่งติดต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิก
และเป็นท่ีเกิดของพายุหมุนชนิดต่าง ๆ พายุขนาดต่าง ๆ จะเกิดทางทะเลจีนใต้แล้วพัดเข้าหาฝ่ังทางตะวันตก
ฉะน้ันประเทศที่อยู่ริมฝั่งทะเลจีนและทะเลจีนใต้ และหมู่เกาะต่าง ๆ ในเขตนี้จึงได้รับลมพายุน้ี และทาความ
เสยี หายให้ในบางครัง้ สาหรับประเทศไทยอยู่ลึกเขา้ มามากฉะน้นั ลมนพี้ ดั มาจะปะทะภูเขา ต้นไม้ และอ่อนกาลัง
ก่อนจะมาถึง นอกจากว่ามันจะมีกาลังพัดสูง ก็จะเข้ามาถงึ ประเทศไทยและอ่อนกาลังลง ปลายของพายุท่ีมาถงึ
ประเทศไทยจะนาฝนตกลงมาด้วย ฝนที่เกิดจากพายุหมุนหรือดีเปรสชั่นหรือพายุโซนร้อนนี้ ได้มีการกาหนด
ความเรว็ ไว้ดงั น้ี

ถ้าพายุหมุนท่ีมคี วามเร็วของลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางไม่เกนิ 33 น๊อตหรือ 61 กิโลเมตรตอ่ ชัว่ โมง เรียกว่า
พายุดีเปรสชั่น (Depression) ถ้าความเร็วของลมที่ศูนย์กลางสูงขึ้นระหว่าง 34 – 64 น๊อต หรือ 62 – 117
กิโลเมตรต่อช่ัวโมง เรียกว่า พายุโซนร้อน (Tropical Storm) ถ้ามีความเร็วลมใกล้ ศูนย์กลางสูงเกิน 64 น๊อต
หรือ 118 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง เรียกว่า พายุไต้ฝุ่น (Typhoon) พายุเหล่านี้จะเกิดปลายฤดูมรสุมตะวันตกเฉียง
ใต้ โดยเฉพาะในเดือนสิงหาคม กันยายน และตุลาคม ซ่ึงเป็นหัวต่อกับฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
ดีเปรสชั่นผ่านไปท่ีไหนจะนาฝนไปตก ที่น่ันด้วย ฝนที่ตกทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยส่วนมากได้มา
จากพายดุ เี ปรสชน่ั ท้งั นั้น ภาคใตจ้ ะมีพายุดเี ปรสช่นั (Depression) ตั้งแตเ่ ดอื นตลุ าคมถึงพฤศจิกายน และอาจมี
กาลังมากข้นึ เปน็ พายุโซนร้อน เม่อื มาปะทะกับแผ่นดินของคาบสมุทร ทาความเสยี หายใหแ้ กบ่ า้ นเรอื น และชีวติ
มนุษย์ดังที่เกิดข้ึนท่ีจังหวัดชุมพรจากพายุเก เม่ือปี พ.ศ. 2541 ก่อนเกิดพายุประมาณ 1 – 2 วัน ท้องฟ้าจะมี
อากาศแจ่มใส มีเมฆชั้นสูงเป็นอันมาก คือ พวกซีรัส และซีโรสเตรตัส เม่ือพายุมาถึงแล้ว ฝนจะตกหนักต่อกัน
หลายวนั ทาให้มนี ้าท่วม

CRPAO 7
School
Chiangrai Provincial Administrative Organization School

ภูมิอากาศของประเทศไทย

เขตภมู ิอากาศแบบเคปเปนในประเทศไทย ภมู อิ ากาศสว่ นมากในประเทศไทยจะเป็นประเภท A คือ
อากาศร้อนช้ืน (Tropical rainy climates) คือ เฉล่ียแล้วในประเทศไทยไม่มีอากาศหนาวหรือเย็น
ของเดือนใดต่ากว่า 180 เซลเซียล เพราะฉะนั้นอากาศจึงจัดอยู่ ในประเภท A แต่ในประเทศไทยมี
อากาศ ประเภท C ดว้ ย คอื อากาศประเภทอบอุน่ ซึ่งจะพบทางภาคเหนอื และตามภเู ขาสูง หุบเขา
ถา้ มอี ากาศแบบ C ทไ่ี หนก็สามารถปลกู พืชเมอื งหนาวได้ เช่น ทีเ่ ชียงใหม่ บนดอยสุเทพ หรือทอ่ี าเภอ
หลม่ สัก จงั หวดั เพชรบูรณ์ เปน็ ต้น

ภูมอิ ากาศประเภทร้อนช้ืน (Tropical rainy climates) แบ่งยอ่ ยออกได้อีกเป็น 3 ชนดิ คือ
1. อากาศแบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดู หรือแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อน (Savana Climate) ได้แก่ บริเวณ

ต้งั แตห่ วั หินขึน้ ไปทางเหนือและตะวันออกเฉยี งเหนือ ในบริเวณเหล่าน้จี ะมีฝนตกเฉพาะในฤดฝู น และแลง้ ในฤดู
หนาวและฤดูร้อน ฉะน้ันเขตน้ีส่วนมากเป็นทุ่งหญ้า และป่าโปร่งแบบป่าผลัดใบ เช่น ทุ่งหญ้าและป่าแดง ทาง
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และทีร่ าบภาคกลาง ซ่งึ เดีย๋ วนี้ไดด้ ัดแปลงเป็นทีท่ านา และปลูกบ้านไปเกอื บหมดแล้ว

2. อากาศแบบฝนเมืองร้อนตลอดปี หรืออากาศแบบป่าดงดิบ (Tropical rainy forest) ได้แก่ ชายฝั่ง
ตะวนั ออกของคาบสมุทรภาคใต้ ตงั้ แต่ชมุ พรลงไป จะมีฝนตกหนักตลอดปี ประมาณ 2,000 – 2,500 มลิ ลเิ มตร
ตอ่ ปี จะมปี า่ ไมเ้ ขียวชะอมุ่ อยทู่ ้งั ปี ซึ่งเราเรยี กวา่ ปา่ ดงดิบ

3. อากาศแบบฝนเมืองร้อนเกือบตลอดปีหรืออากาศแบบมรสุมเมืองร้อน (Tropical Monsoon
climates) ได้แก่ บริเวณทางตะวันตกของคาบสมุทรภาคใต้ และทางตะวันออกเฉียงใต้ของอ่าวไทยได้รับฝน
มากตอนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดผา่ น และมีช่วงท่ีฝนน้อยอยู่เดือนหรือสองเดอื น ฉะนั้นจึงไม่จัดเป็นฝนตก
ตลอดปี สว่ นพืชพนั ธก์ุ ค็ ล้ายเขตอากาศฝ่ังตะวนั ออก

CRPAO 8
School
Chiangrai Provincial Administrative Organization School


Click to View FlipBook Version