สรปุ รายงานการเรยี น
วิชาการออกแบบเชงิ สร้างสรรค์ทางคหกรรมศาสตร์
วรารตั น ทิมหงมิ
รายงานนี้เปน็ ส่วนหน่ึงของการศกึ ษาตามหลักสูตรคหกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร
2565
วนั อาทิตยท์ ่ี 9 มกราคม พ.ศ. 2565 เรียนกบั ทา่ นอาจารยส์ ุธีรา
อาจารย์อธิบายกำหนดการสอน อธิบายถึงผู้เชี่ยวชาญที่จะมาให้ความรู้ในด้านต่างๆ
การให้คะแนนในการเรยี นทฤษฎแี ละปฏิบัติ
ผ้เู ชี่ยวชาญและอาจารย์ท่มี าใหค้ วามรู้
1.อาจารย์กิตติ ยอดออ่ น เครอ่ื งหอมและการทำเทียนหอม
2.พญ.บุษยา เตชะเสน การเดินธุรกจิ การใชไ้ อเดียในการทำธรุ กจิ
3.อาจารย์เจีย๊ บ (สถาปตั ย์) การออกแบบโลโก้ การตกรูปภาพ
4.อาจารย์เบญจพร ดขี นุ ทด ความหลากหลายทางคหกรรมศาสตร์
5.อาจารยอ์ ภญิ ญา มานะโรจน์ การสร้างไอเดยี การถา่ ยภาพ
6.ผ้กู ำกบั ภาพยนตร์ โฆษณา การสร้างไอเดยี
7.อาจารย์ฉลาด ละออเหลา่ การถ่ายภาพอาหาร
งานออกแบบมีวตั ถุประสงค์ มีกลุ่มเปา้ หมาย งานออกแบบมีความหมาย หรือต้องการบอกอะไร
และต้องการนำเสนอข่าวสาร เมื่อหลักการออกแบบมีความชัดเจนและมั่งคงแล้ว จึงค่อยๆ เริ่มสร้างงาน
ขึ้นโดยยึดเอาหลักการออกแบบ
การออกแบบงานกราฟฟิกหรือศิลปะต่างๆ ถือว่าเป็นรูปแบบความคิดสร้างสรรค์ที่จะต้องมี
หลักการควบคุมเสมอ เนื่องจากหลักการในการออกแบบนั้น คือ กระบวนการที่จะช่วยทำให้ทักษะ
ออกแบบ สามารถสสรา้ งสรรค์คไดอ้ ยา่ งราบรื่น โดยหลกั ในการออกแบบจะ 4 ข้อ
1. จุดประสงค์ของงาน ทำเพ่ือใคร วัตถปุ ระสงค์อะไร
2. กลมุ่ เปา้ หมาย เช่น เพศ ช่วงอายุเท่าไร ชนชาติใด ภาษาใด ประกอบอาชีพใด
3. ความหมายของการออกแบบ
4. สอื่ ทใี่ ช้เพ่ือการออกแบบ
สนุ ทรยี ศาสตร์
1. ความเปน็ มาของสนุ ทรียศาสตร์
2. ความหมายของสุนทรียศาสตร์
รูไ้ ดด้ ว้ ยสมั ผัสสุนทรยี ธาตุ
1. ความงาม Beauty
2. ความนา่ ทง่ึ Sublimity
3. ความแปลกหู แปลกตา Picturesqueness
เรยี นสัปดาห์ที่ 2 วัน อาทติ ย์ ท่ี 16 มกราคม 2565
ท่านอาจารย์กิตติ ยอดอ่อน เรื่องเคร่ืองหอมและปฏบิ ตั ิการทำเทยี นอบ
ความหอมเป็นความสุนทรยี ทเี่ กิดจาก
การสัมผสั กลน่ิ ในสงิ่ ทีค่ นชืน่ ชอบให้ความนิยมพยายามหาสง่ิ ท่เี ปน็ เครอ่ื งหอมท่หี าได้จากวัตถุดิบ
รอบตัวมาใช้กับร่างกาย ในรูปแบบลักษณะต่าง ๆ ที่แตกต่างกันไปเช่น น้ำดอกไม้หอมมาแซมผม น
าเครื่องหอมาบำรุงผิวพรรณทำความสะอาดร่างกาย อบร่ำเสื้อผ้า ตลอดไปจนถึงการปรุงอาหารจาก
เครื่องเทศหอม หรืออบควันเทียนหอมให้ขนมไทยเกิดกลิ่นหอมเฉพาะตัว หรือ เป็นส่วนประกอบในการ
บำรงุ สขุ ภาพความรทู้ วั่ ไปเกี่ยวกบั เครือ่ งหอม
เคร่ืองหอม พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน 2542 ให้คำจำกัดความคำว่า
“เครอื่ ง” หมายถึง สิ่งของ ส่ิงท่ีใชป้ ระกอบกนั หรอื เป็นพวกเดียวกนั
“หอม” หมายถึง ไดร้ ับกลิ่นดี หรือกลน่ิ หอม
สมาคมคหเศรษฐศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ (2547) ให้นยิ ามความหมาย ของ เครื่อง
หอม ไว้ว่า เป็นการผสมของหอม บรรดาสิ่งที่ให้กลิ่นดีหลายสิ่ง ทำให้กลิ่นกลิ่นหอมสดชื่น พึงพอใจ ทำ
จากพืช สตั ว์ และสารสังเคราะห์ นำมาปรุงแต่งดว้ ยวธิ ีตา่ ง ๆ จนอยูใ่ นลักษณะใช้งานได้
สะดวก เช่น น้ำหอม น้ำมันหอม น าอบไทย น้ำปรุง โลชั่น น าดอกไม้สด แป้งร่ำ แป้งพวง ยา
ดม ยาหม่อง หมากหอม เทยี นอบ บุหงาร าไป เป็นต้น
วตั ถุดบิ ในการผลติ เครื่องหอมไทย มี 2 ชนิด ไดจ้ าก ธรรมชาติ และ การสงั เคราะห์
เครื่องหอมจากธรรมชาติ ไดจ้ าก พืช และสตั ว์
การสกัดนำ้ มันหอม
การสกัดน้ำมันหอมได้มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับต้ังแต่การเผาไม้หอม นำน้ำมันที่ไหลซึมออกมา
ใช้ไปผสมเป็นเครื่องหอมได้การสกัดแบบดงั กล่าวไม่สามารถสกัดได้กับพืชหอมทุกชนิด จึงมีการคิดคน้ วิธี
ใหม่โดยการหุงด้วยความร้อน คือ ใช้น้ำมันจากเมล็ดพืช เช่น น้ำมันมะกอกใส่ภาชนะแล้วขึ้นต้ังไฟ
จากนน้ั เอาดอกไม้ใสล่ งไปเค่ียวแต่วธิ ีน้ี ไม่สามารถใช้ได้กบั ดอกไม้ทุกชนดิ ดอกไม้ที่ไมส่ ู้ความร้อนมาเคี่ยว
กับน้ำมันจะทำให้กลิ่นหอมของดอกไม้นั้นเปลี่ยนไป ในเวลาต่อมามีการคิดค้นการหีบเพื่อเอาน้ำมันหอม
แบบบบี น้ำอ้อยเพอื่ ให้ได้น้ำมนั หอมวิธกี ารสกัดน้ำมนั หอมดังกล่าวข้างต้น ได้ใชม้ าเปน็ พัน ๆ ปี
วธิ ที ำการเครอื่ งหอมของไทย
การอบ การปรุงกลิ่นด้วยควัน หรือปรุงกลิ่นด้วยดอกไม้หอม การอบให้มีกลิ่นหอมชั่วขณะหน่ึง
กลิ่นหอมนั นจะซึมซาบเข้าไปในของที่นำไปอบ โดยวัตถุที่ต้องการให้มีกลิ่นนั้นอยู่ในภาชนะที่มีฝาปิด
สนทิ
การร่ำ การอบกลิ่นหอมซับซ้อนหลายอย่าง และกระทำโดยใช้ภาชนะเผาไฟแล้วใส่เครื่องหอม
เพ่อื ใหเ้ กดิ ควนั ที่มกี ลิน่ หอม
การปรุง, การผสมการรวมของหลายๆ สิ่ง หลาย ๆ อย่างเข้าดว้ ยกนั
ประเภทเครื่องหอมของไทย คนไทยมีการใช้การใช้เครื่องหอมที่มีลักษณะเป็นน้ำในรูปแบบต่าง
ๆ เชน่ น้ำดอกไม้สด น้ำอบ น้ำปรงุ เครอ่ื งหอมไทยประเภทน้ำ
เครื่องหอมไทยประเภทแป้ง เคร่ืองหอมที่มีลักษณะเป็นผงแป้ง จากการนำแป้งหิน หรือดินสอ
พองมาสะตุให้สะอาดแลว้ ใช้กระบวนการอบร่ำเคร่ืองกำยาน ควนั เทียนอบ หรอื กลน่ิ ของดอกไม้หอมต่าง
ๆ
เครื่องหอมไทยประเภทเครื่องอบไทย เป็นเครื่องหอมชนิดแรก ๆ และมีความเป็นมายาวนาน
ด้วยเป็นการใช้ควันในการอบ เช่น การอบขนมต่าง ๆ หรือการทำให้ผ้า สถานที่หอม หมดกลิ่นสาบ จาก
การอบร่ำด้วยเครื่องกำยาน หรือนำผงไม้หอมต่าง ๆ มาฟั่นเป็นธูปหอม ธูปกำยาน เพื่อจุดใช้ควันในการ
ประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ หรือบุหงารำไปที่มีกลิ่นหอม เป็นต้นกลิ่นจากน้ำมันหอมระเหยที่อยู่ในเครื่อง
หอมไทยเมื่อสูดดมจะเกิดความผ่อนคลายส่งผลตอ่ อารมณ์ จิตใจหรือน ามาทาถูเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนอ้ื
บรรเทาแมลงสัตวก์ ัดต่อย เช่น ยาหม่อง ยาดมพิมเสนน้ำ ยาดมสมุนไพร ยาดมส้มโอมือ ลูกประคบ หรือ
ใชบ้ ำรุงผวิ พรรณ เชน่ สีผ้งึ สำหรับทาปาก
ประโยชนข์ องเครอ่ื งหอม
เครือ่ งหอมไทยมีหลายชนิด แต่ละชนดิ จะใช้วตั ถดุ บิ ทแ่ี ตกตา่ งกันรวมถึงปริมาณในการสัดส่วนใน
การตวง จงึ ทำให้เกดิ กล่นิ หอมท่แี ตกตา่ งกันน การใชป้ ระโยชนใ์ นประเด็นต่าง ๆ ดังน้ี
๑) ประทินผิว เช่น การใช้ดินสอพอง แป้งร่ำ ในการผัดหน้า ทาตัว จะทำให้มีกลิ่นหอม เสริม
ความงามกับร่างกาย
๒) ใช้ในเทศกาลและงานพิธีสำคัญต่าง ๆ เช่น การน าแป้งร่ำผสมกับน้ำอบไทยทำเป็นแป้ง
กระแจะใช้ในการเจิม น้ำอบไทยนิยมใช้ในการสรงน้ำพระ รดน้ำผู้ใหญ่ในเทศกาลสงกรานต์ หรือการจุด
ธปู กำยานหอม เพอ่ื บชู าสิ่งศักดิ์สทิ ธ์ิ เปน็ ต้น
๓) ใชเ้ ป็นของชำร่วยเชน่ การหยอดแป้งร่ำบนเส้นด้ายแลว้ รวบเปน็ แป้งพวงชำรว่ ย การทำบุหงา
สด บุหงาแห้ง บรรจุในถุงผ้า กล่องใบลาน ตกแต่งเป็นของที่ระลึก หรือการพับผ้าเช็ดหน้าเป็นรูปต่าง ๆ
แล้วนำมาอบร่ำให้หอมใชม้ อบในโอกาสพเิ ศษ
๔) ใช้ในการบำบัด กลิ่นของเครื่องหอมไทย เช่น แป้งร่ำ น้ำอบ น้ำปรุง มีส่วนช่วยกระตุ้นการท
างานของระบบประสาททำให้ร้สู ึกผอ่ นคลายอารมณ์ สดชื่น และสรา้ งบรรยากาศท่ีดใี ห้กบั บริเวณนั้น ๆ
๕) ด้านอื่น ๆ เช่น ใช้เทียนอบขนมให้เกิดความหอมชวนรับประทาน น้ำดอกไม้สดใช้ดืม่ หรือใช้
ผสมสำหรบั ทำขนม
การทำเทียนอบ ได้เรียนรู้ถึงที่มา การทำส่วนผสม ขั้นตอนในการทำ และวิธีการใช้ สามารถอบ
ขนม อบผ้า และอบห้องได้อีกด้วย ในการเรียนครั้งนี้สามารถนำไปถ่ายทอดให้ความรู้ต่อกับผู้เรยี นอื่นได้
เพ่อื เปน็ การอนรุ กั ษ์ไปอกี ทางหนงึ่ ดว้ ย และยังเปน็ อาชีพใหก้ ับผ้เู รยี นได้
เรยี นวันอาทิตย์ ท่ี 23 มกราคม 2565
อาจารย์ พญ.บุษยา เตชะเสน
ศนู ย์รวมจักรเย็บผา้ จกั รปักคอมและวสั ดอุ ปกรณ์ตดั เยบ็ ครบวงจร
การออกแบบเชิงสร้างสรรค์อาจารย์ได้พูดถึงเรื่องการสร้างผลิตภัณฑ์ให้ตรงการวัย และศึกษาความหมด
สมชว่ งเวลาและการวางแผนงาน
Create Communicat Deliver
e
VALUE
Target Audience
การขายผ่านสื่อต่างให้ครบวงจร Delier Offine e-commerce socal commerce live
streaming commerce NFT และชีวิตที่เกี่ยวข้องกับงานวิทยาศาสตร์ในอนาคตต่อไป ชมคลิปของโจน
จันใด ชวี ติ ง่ายๆ
และในการเรียนในครั้งนี้สามารถนำองค์ความรู้ไปต่อยอดในการทำงานวิจัยได้ โดยนำเรื่องของ
การเสริมโปรตนี จากแมลง ต่อยอดทำผลติ ภัณฑ์อาหารท่เี สรมิ โปรตีนจากแมลง
วันอาทิตย์ ท่ี 30 มกราคม 2565
อาจารย์สุธรี า
เรื่อง แนวคิดและทฤษฎเี กี่ยวกับกระบวนการออกแบบ
- แนวคดิ และทฤษฎีทางศลิ ปะ (Theoris of Art)
- กระบวนการออกแบบทางศิลปะ
- กระบวนการออกแบบทางคหกรรมศาสตร์
- การรบั รู้
- การออกแบบผลติ ภณั ฑ์
- การออกแบบศิลปะประดษิ ฐ์
- การออกแบบตกแต่ง
- การออกแบบสัญญาลกั ษณ์และเคร่อื งหมาย
ในการเรียนในวันนี้นั้นได้รับความรู้ด้านการออกแบบ หลักศิลปะ องค์ประกอบของหลักศิลปะ
สามารถนำไปใช้ประกอบในอาชีพได้โดยการถ่ายทอดต่อให้กับผู้เรียนได้เป็นอย่างดี ในเนื้อหาที่เรียน
เกี่ยวข้องกับอาชีพที่หลากหลายสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานที่ทำได้ เช่น การทำงานวิจัย การ
ประกอบอาชีพ และการใช้ชวี ิพประจำวัน
เรยี นวนั อาทิตย์ ที่ 6 กมุ ภาพันธ์ 2565
อาจารย์เจี้ยบ
เรอื่ ง การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ การออกแบบโลโก้ และการตัดตกแต่งรปู ถ่าย
แนวคิดเกี่ยวกับบรรจภุ ณั ฑ์ต่างๆ การออกแบบให้เข้ากับสิ่งแวด การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อ
ลดการใชท้ รัพยากร และลดขยะลง ได้การตดั แต่งรปู ภาพมีความสวยงาม โดยใชโ้ ปรแกรมโฟโตช้ อป
เรียนวนั อาทิตย์ ที่ 13 กมุ ภาพันธ์ 2565
อาจารยอ์ ภญิ ญา มานะโรจน์ และผ้กู ำกับภาพยนตร์ โฆษณา
สอนการคิดไอเดียแปลกใหมแ่ ละน่าสนใจจากคำ เชน่ คำว่า ไข่ จะคิดเป็นความน่าสนใจเป็น
อะไรได้บ้าง เชน่ ชือ่ เมนูอาหาร รา้ นอาหาร ผลติ อาหาร ทกุ อย่างมาจากการสร้างจุดขายและความคดิ ท่ี
สร้างสรรค์เพอื่ ให้สนิ คา้ มีความแปลกและได้รบั ความนิยมจากลกู คา้ การสรา้ งสรรคง์ านจากไอเดียจาก
เรอ่ื งราว
เรยี นวันอาทิตย์ ที่ 20 กมุ ภาพนั ธ์ 2565
อาจารยเ์ บญจพร ดขี ุนทด
เรื่อง ความหลากหลายทางวัฒนธรรมกับงานคหกรรมศาสตร์ และวิธีการศึกษาทาง
มานุษยวิทยาอาจารย์สอนถึงแนวทางการทำงานวิจัยในแต่ละด้าน การศึกษาค้นว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องใน
งานวิจัยนั้น ๆ และได้ยกตัวอย่างงานวิจัยในแต่ละสาขาวิชา เช่น อาหาร ผ้า ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม
เป็นยการถ่ายทอดกันมาเป็นรุ่น ๆ อาจารย์ยังแนะนำในการทำงานวิจัย ต้องขยันและทำอย่างต่อเนื่อง
แนะนำวิธีการเก็บข้อมลูจะคน วิธีการต้องคำถามแบบมุมกว้าง เพื่อได้สักถามอย่างต่อเนื่องจะได้ขอ้ มูลท่ี
ลึกและไดร้ บั รู้ถึงอารมของผู้ให้ข้อมลูอีกดว้ ย จากการเรียนในวนั น้ีได้รับความรู้จากประสบการณ์ของท่าน
อาจารย์และนำแนวทางในการทำวิทยานิพนธ์ของตัวเราเองได้ตามระบบการศึกษาจบตรงระยะตาม
หลักสูตรทไี่ ดก้ ำหนดเอาไว้
เรียนวนั อาทิตย์ ที่ 27 กมุ ภาพันธ์ 2565
อาจารย์อภิญญา มานะโรจน์ และอาจารย์ฉลาด ละออเหล่า
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ และการจัดองค์ประกอบศลิ ป์
จุด เปน็ ทศั นธาตุที่เล็กท่สี ุดปรากฏบนพ้ืนระนาบเป็นสว่ นประกอบพืน้ ฐานทส่ี ำคัญของศิลปะมี
มิติเป็น 0 ไม่มีความกว้าง ความยาวและความลึก สามารถบอกต่ำแหนง่ ทศิ ทางหรือระยะได้เมื่อมีบริเวณ
ว่างรองรับหากมีจุดตั้งแต่ 2 จุดขึ้นไปและจุดยังเป็นต้นกำเนิดขององค์ประกอบศิลป์อื่น ๆ ได้แก่ เส้น
รูปรา่ ง พื้นผวิ วงเลบ็ ภาวนา 2556
เส้น เป็นองคป์ ระกอบทเี่ กิดจากการเคล่อื นทขี่ องจดุ อยา่ งเป็นแนวไปในทิศทางใดทศิ ทาง
เดินในทางยาวด้วยการเขียนขูด ลากให้เป็นรอยสามารถมองเห็นได้ชัดเจนที่ให้ความรู้สึกต่างๆ ตาม
ลักษณะของเส้น เช่น ความอ่อนโยน สง่างาม ความตื่นเต้น และเชื่อมโยงความรู้สึกมีหน้าที่ในการแบ่ง
พ้นื ทีอ่ อก
เป็นสว่ นๆ กำหนดขอบเขตพ้นื ที่ทำใหเ้ กดิ รูปร่างเป็นรปู ประกอบเป็นองคป์ ระกอบขั้นพนื้ ฐานของศิลปะท่ี
นำไป สกู่ ารสรา้ งสรรคง์ านศิลป์ เส้นพื้นฐานแบง่ ได้เปน็ 2 ลักษณะคือเส้นตรงและเสน้ โค้ง
รปู รา่ ง คอื รูปท่ีเกิดจากเสน้ และทิศทางเดนิ ทางจนมาบรรจบกันเป็นจุดเริ่มตน้ บนพน้ื ระนาบ มี
ลกั ษณะเป็น 2 มิตคิ ือความกว้าง ความยาว อาจมีความหนาแต่ความหนานั้นไมไ่ ด้ทำใหร้ ูปร่างนน้ั สามารถ
มีความคงตัวได้ รูปร่างพื้นฐานมี 3ลักษณะคือรูปร่างธรรมชาติ รูปร่างเรขาคณิต รูปร่างนามธรรม หรือ
รูปร่างอสิ ระภาวนา 2556
รูปทรง คือรูปที่เกิดจากการบรรจบกันของเส้นลักษณะเดียวกับการเกิดรูปร่างแต่มีความ
แตกต่างเพิ่มขึ้นคือมี ความลึก รูปร่างจะมีเพียง 2 มิติคือความกว้างและความยาว ในขณะที่รูปทรงจะมี
ความกว้าง ความยาว ความลึกหรือความหนามี 3 มิติทำให้มีปริมาตรมีมวลสามารถจับต้องได้ รูปทรงจะ
มี 3 ประเภทคือรูปทรงธรรมชาติ รูปทรงเรขาคณติ รูปทรงอิสระ
สี ที่มนุษย์มองเห็นเกิดจากแสงสีขาวที่ตกกระทบวัตถุและวัตถุนั้นดูดกลืนแสงไว้และสะท้อน
แสงสีท่ไี มไ่ ดด้ ดู กลืนออกมาทำให้วัตถนุ น้ั มีการมองเห็นเป็นสีต่างๆ เมื่อมีแสงนัน้ มาตกกระทบวัตถุ หากไม่
มีแสง ตาของมนุษย์ก็จะไม่สามารถเห็นได้ โดยแสงสีที่มนษุ ย์มองเห็นอยู่ ในช่วงความยาวคล่ืน 400-700
นาโนเมตร
สีเอกรงค์ หมายถงึ การใช้สีสีเดยี วหรือใช้สีใดสหี น่งึ ในวงจรสี โดยสีทใ่ี ช้นั้นมีท้ังนำ้ หนกั อ่อน แก่
สีสด สีหม่น การใชส้ ีวธิ ีน้ีจะมีความกลมกลนื เปน็ สีใดสหี นง่ึ อย่างชดั เจน
สีใกล้เคียง หมายถึงสีที่อยู่ใกล้เคียงกันในวงจรสีสามารถกำหนดสีใกล้เคียง โดยใช้สีใดสีหน่ึง
เปน็ หลักก่อน แล้วนับไปทางซา้ ยหรือทางขวาทางใดทางหน่งึ หรอื ท้งั สองทางนบั รวมกนั นบั รวมกับสีหลกั
แล้วไม่เกิน 4 สีถือว่าเป็นกลุ่มสีที่กลมกลืน และหากต้องการใช้สีกลมกลืนกันควรเลือกเพียง 3 สีเท่าน้ัน
จำนวนสีท่ีเลือก 4 สี หรือ 3 สีที่อยูใ่ นโทนเดยี วกนั
สีค่ตู รงขา้ ม หมายถึงสีทตี่ ัดกับสีตรงกนั ข้ามในวงจรสหี รอื คูส่ ที ี่เป็นปฏปิ กั ษต์ ่อกนั เช่น สี
เหลืองตรงข้ามสีม่วง สีเขียวตรงข้ามสีแดง ซึ่งมีค่าความเข้มของสีที่ต่างกันอย่างรุนแรง สร้างความเด่น
เร้าใจ และหากใช้ไม่เหมาะสม หรือใช้สีมากเกินไปจะทำให้รู้สึกลายตา ขัดแย้งกันในทางปฏิบัติไม่นิยม
นำมาใช้
สดั ส่วน หมายถึงความสัมพนั ธ์ระหว่างสง่ิ 2 สง่ิ ท่มี ีขนาดตา่ งกันสำหรบั งานด้านอาหารการจัด
อาหารในจานต้องคำนึงถึงความพอดี ส่วนที่ถือว่าพอเหมาะพอดีจะต้องประมาณด้วยสายตาและ
ความรูส้ ึกซง่ึ ส่วนใหญ่จะไม่ให้เกินขอบจานด้านในพ้ืนที่ของการจัดอาหารจะต้องมีระยะห่างจากขอบจาน
โดยประมาณ 1.5 ถงึ 2 นวิ้ เพ่ือใหก้ ารจดั อาหารนั้นมองดไู ม่หยดุ อัด
ศลิ ปะการจัดตกแตง่ อาหารไทย
การจัดตกแต่งอาหารเป็นศลิ ปะอย่างหนึ่งที่ทำให้ผู้บรโิ ภคหรือผ้รู ับบริการเกิดความพึงพอใจและ
เกิดความประทับใจกับอาหารทำให้เกิดขึ้นความอยากที่จะรับประทานในอาหารจานนั้นๆ เรื่องของการ
จัดอาหาร
ต้องใช้ศิลปะเข้ามาช่วยเพื่อให้เกิดความสวยงามทางสายตา ให้ความรู้สึกที่ดีทางจิตใจ
นอกเหนือจากรสชาติของอาหาร การจัดตกแต่งอาหารให้สวยงามนั้นมิใช่เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งของชีวิต
เรา แตเ่ ป็นส่งิ ที่จะช่วยใหช้ วี ิตเรามีความนา่ รน่ื รมยข์ ึน้
ความหมายของศิลปะการจัดตกแตง่ อาหาร
คำว่า ศิลปะ ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน หมายถงึ การประดับฝมี ือทางการชา่ ง การ
แสดงออกใหเ้ ห็นถึงอารมณ์ ความรสู้ กึ ความสะเทือนใจ ซงึ่ พอจะสรุปความหมายของคำวา่ ศลิ ปะกว้างๆ
องค์ประกอบของศลิ ป์
ประกอบด้วยเอกภาพ ดุลภาพ การเน้นหรือจุดเด่นในการจัดและตกแต่งอาหารต้องอาศัย
องคป์ ระกอบศิลป์ เพ่ือช่วยใหผ้ ลงานออกมาสวยงาม เหมาะสม เช่น
ก. เส้น (Line) จัดเป็นองค์ประกอบขั้นพื้นฐาน ให้ความรู้สึกต่างๆ เช่นความอ่อนโยน สง่างาม
ความต่ืนเต้น
ข. รูปร่าง (Shape) จะมีลักษณะเป็น 2 มิติ คือ ความกว้างกับความยาวเท่านั้นเช่น รูป
สามเหลีย่ ม รปู สเี่ หลี่ยม รปู วงกลม ฯลฯ
ค. รูปทรง (From) มีความกว้าง ความลึกหรือความหนาเป็น 3 มิติ เช่นรูปทรงกลม รูปทรงรี
ฯลฯ
ง. สี (Color) เป็นองค์ประกอบท่สี ำคญั ยิ่งในงานศิลปะ ให้ความสดชื่น มีชีวติ ชีวา ตืน่ เตน้ แต่รจู้ ัก
ใชใ้ หเ้ หมาะสม
จ. พื้นผิว (Texture) จะอยู่บริเวณผวิ นอกเท่านัน้ ลักษณะของพื้นผิว เช่นความมัน ความขรุขระ
การสรา้ งพ้ืนผวิ ทำใหเ้ หน็ จริงไดท้ ัง้ ทางสายตาและสมั ผสั ด้วยมือ
หลักการจัด (Principles of Arrangement)คือ การนำเอาสิ่งสำคัญต่างๆ ในเรื่ององค์ประกอบ
ศิลป์มาจัดวางให้ถูกต้องและดูสวยงาม ทำให้เกิดความสมดุล (Balance) มีสัดส่วนที่ดี (Proportion) มี
จงั หวะ (Rhythm) เอกภาพ (Unity) มคี วามกลมกลนื (Harmony) มีการเน้นหรอื จดุ เด่น (Emphasis)
หลักการตกแตง่ อาหาร การตกแต่งอาหารมีหลายแบบ การประดิษฐ์ ตัดแต่งรูปรา่ งของอาหารก็
ถือเป็นการตกแต่ง รูปทรงแบบหนึง่ การจัดรูปทรงของอาหารให้ได้ขนาดพอเหมาะ การวางอาหารลงบน
จาน ตำแหน่งการจัดวาง ตลอดจนการตกแต่งด้วยผัก หรือผลไม้ในจานล้วนถือเป็นการจัดตกแต่งทั้งสิ้น
ในการตกแตง่ อาหารทวั่ ๆ ไป ควรยึดหลกั ดังน้ี
1. ตกแตง่ แตพ่ อควร อยา่ ตกแต่งมากเกินไปจนมองไม่เห็นอาหาร
2. สง่ิ ทีน่ ำมาตกแต่ง ควรเป็นสงิ่ ที่กนิ ได้
3. สิ่งที่นำมาตกแต่ง ชว่ ยบอกประเภทของอาหาร
4. อาหารกับสิ่งที่ตกแต่งควรจะเก็บไว้ในอุณหภูมิเดียวกันได้ ไม่ตกแต่งอาหารร้อนด้วยผักหรือ
ผลไม้ที่สด
5. การตกแต่งไมค่ วรวางเครื่องตกแตง่ จนสุดขอบจาน ทำให้ยากตอ่ การยกอาหาร
6. ดูแลผกั ผลไม้ ที่ใชต้ กแตง่ ให้สดและไม่จมลงในจานที่เสิร์ฟการตกแต่งอาหารทั้งคาวและหวาน
ต้องจัดให้สวยงามและกลมกลืน หรือดูเด่นแตกต่างกันทั้งสีสัน และเนื้อของอาหาร เบอริล ไชลด์ ได้
เสนอแนะวา่ สงิ่ ท่นี ำมาตกแต่งไม่ควรจะปดิ คลุมอาหารมดิ หมด แต่ควรจะดูสอดคล้องไปได้กบั อาหารและ
ควรจะต้องเก็บไวใ้ นอุณหภมู ิระดับเดียวกนั ได้
การจัดตกแตง่ อาหารไทย
อาหารไทยมีเอกลักษณป์ ระจำชาติ มีความประณีตสวยงาม และมกี ารจดั ทไี่ ม่เหมอื นใคร การจัด
ตกแต่งอาหารไทยส่วยใหญ่จะใช้ผักผลไม้นำมาแกะสลักเป็นรูปใบไม้ ดอกไม้ ตัวสัตว์ ฯลฯ นำมาตกแต่ง
บนจานอาหารให้มีความสวยงามสำหรับผกั และผลไมท้ ี่นำมาแกะสลักนั้นส่วนใหญ่เป็นผักประเภทหวั ผล
ซึง่ เปน็
เนื้อสัมผัสที่แน่นแข็ง ไม่เน่าเสียง่าย แต่อย่างไรก็ตามการแกะสลักผักและผลไม้ที่แกะสลักไปใช้ในการ
ตกแต่งอาหารนน้ั ควรคำนงึ ถึงประเภทอาหารและสว่ นประกอบในอาหารสามารถใชด้ ว้ ยกันได้ การนำงาน
แกะสลักมาจัดอาหารนั้นสามารถสร้างความน่าสนใจมีจุดเด่น ให้กับจานอาหารนั้น ๆ การจัดตกแต่ง
อาหารด้วยจานแกะสลักนัน้ นยิ มจัดในอาหารประเภท ยำ ทอด และ ผัด
การจัดอาหารลงจาน ก็เป็นสิ่งที่สำคัญ ควรจะต้องให้ดูสวยงาม จานที่ไม่มีลวดลายหรือเพียง
เล็กน้อยจะจัดได้สวยกว่า ถ้าใช้จานที่มีรูปร่างต่างๆกันจะทำให้การจัดบุฟเฟต์น่าดูยิ่งขึ้น การตกแต่ง
อาหารไม่ควรวางเคร่อื งตกแต่งจนสุดขอบจาน ดแู ลผักผลไม้ทใ่ี ช้ตกแต่งใหด้ ูสดกอ่ นนำมาใช้
ส่ิงทสี่ ำคัญอ่ืนๆ ทค่ี วรคำนึงถึงในการจดั ตกแต่งอาหาร มีดงั น้ี
1. ประกอบอาหารใหน้ า่ ดูน่ากนิ ให้มีกล่ินหอมตามลักษณะของอาหาร
2. ในอาหารจานหน่งึ ให้มีต่างๆ สี ทำให้ดูเปน็ สปี ระกอบกนั ทนี่ า่ ดู
3. จัดรูปรา่ งของอาหารตา่ งๆ กนั เปน็ ลวดลายท่นี า่ สนใจ
4. มีอาหารทปี่ ระกอบมาดว้ ยวิธีตา่ งๆ กนั เพอื่ ให้เกดิ ลักษณะสมั ผสั ตา่ งๆ กัน
5. เลือกขนาดของภาชนะให้เหมาะสมกับจำนวนอาหาร และการจัดอาหารให้อยู่ภายในขอบใน
ของภาชนะ จดั อาหารลงในภาชนะใหพ้ อดี อย่าใหม้ ากหรือน้อยเกินไป
6. ถา้ มีอาหารหลายอย่างในจานหนึง่ ควรระวงั ไม่ใหร้ วมปนกัน
7. อาหารทเี่ ป็นน้ำ เช่น แกง ควรมีจานรองหรือถาดรอง
8. รักษาพนื้ ที่ของจาน ชามใหส้ ะอาด และเป็นระเบียบ 3
9. ตกแต่งเล็กน้อยๆ เช่น อาหารเนื้อก็ใช้ผักชี หรือผักสีสดตกแต่งถ้าเป็นยำหรือสลัด ใช้ใบ
ผักกาดหอมรอง โรยหน้าด้วยพริกไทยสด พริกป่นหรือผักชี ต้นหอม ไข่ต้มแข็งหั่นเป็นแว่น หรือขูดฝอย
ถ้าเป็นชิ้นเน้ือ หมู หรอื เปด็ ไก่ มกี ระดกู เล็กยื่นออกมาก็ตกแตง่ ดว้ ยกระดาษสี ถ้าเป็นขนมตกแต่งด้วยลูก
เกด เชอร์ร่ี ข้าวตอก ทองหยบิ ฝอยทอง เปน็ ตน้ ของที่นำมาตกแตง่ ควรเป็นของท่ีกนิ ได้
10. วิธีจัดอาหารและผักลงจาน เพื่อสะดวกในการรับประทาน ขวัญแก้ววัชโรทัย ได้เสนอว่า
“ประเภทเนื้ออบ ทอด วางชิ้นเนื้อ ปลา หรือไก่ ลงริมจานตอนกลาง มันฝรั่งทางซ้าย และผักทางขวา
(วางชน้ิ เนื้อลงจานใกลต้ วั ผรู้ ับประทาน เพอื่ สะดวกในการหัน่ วางผกั และมันฝรงั่ ดา้ นนอกรอบจาน)”
11. การใช้ปฏิกิริยาทางเคมีทำให้อาหารน่ากิน เป็นการรวมวิทยาศาสตร์และศิลปะเข้าด้วยกัน
เช่น การที่อาหารสุกไหม้ เป็นปฏิกิริยาทางเคมี ผลไม้ต่างๆถ้าปอกไว้จะดำ หรือถ้าถูกความร้อนนานเกิน
ควร จะไหม้เป็นลักษณะที่ไม่ดีแต่ขนมหวานและขนมปังต่างๆ ถ้าเป็นสีน้ำตาลไหม้จะน่ากินและหอม
อร่อย จะตอ้ งใช้วิธีทางวทิ ยาศาสตรจ์ ึงจะทำให้เกดิ สีนีข้ ้นึ ได้
ลักษณะที่เห็นได้ด้วยตาของอาหาร เป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้คนอยากกิน อาหารหรือไม่ ดังน้ัน
แม่บ้านและเจา้ ของรา้ นอาหารทั้งหลาย จำเป็นต้องใชว้ ทิ ยาศาสตร์ และศลิ ปะในการประกอบอาหารและ
จดั อาหาร
อาจารย์ฉลาด ละออเหลา่ คณะเทคโนโลยี ส่ือสารมวลชน ราชมงคลพระนคร เรียนการถ่ายภาพ
อาหาร
การถ่ายภาพอาหารด้วยกลอ้ งถา่ ยภาพและถา่ ยกับโทรศัพทม์ ือถือ
การใช้องค์ 90 องศา 45 องศา 10-20 องศา และ D horizontal
อาจารยไ์ ดจ้ ดั และสาธติ ในการถ่ายภาพในมุมต่าง ๆ หลังจากนน้ั ใหน้ ักศึกษาได้ถา่ ยรูปด้วยตัวเอง
อาจารยแ์ นะนำใหใ้ ช้แอบตัดตกแต่งรูปภาพ คอื Snapseed