The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประเภทหมู่บ้านที่มีความมั่นคงทางอาหาร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wuttichaicdd, 2021-04-28 05:11:47

เอกสารคัดเลือกบุคคลต้นแบบและเชิดชูเกียรติ

ประเภทหมู่บ้านที่มีความมั่นคงทางอาหาร

Keywords: ปลูกผักปลอดภัย

เอกสารคดั เลอื กบคุ คลตน้ แบบและเชดิ ชเู กียรติ
เพ่อื เข้ารบั การคัดสรรกจิ กรรมประเภท หม่บู า้ นที่มีความม่ันคงทางดา้ นอาหาร

บ้านป่ายาง หมทู่ ่ี 11 ตำบลลานสะแก
อำเภอพยัคฆภูมิพสิ ยั จงั หวดั มหาสารคาม

คำนำ

เอกสารเล่มนี้ จัดทำขน้ึ เพอ่ื มอบให้คณะกรรมการพจิ ารณาคัดเลือกการคัดสรรกิจกรรม
คดั เลอื กบุคคลตน้ แบบและเชิดชูเกยี รติประเภท หมู่บ้านทม่ี ีความม่ันคงทางดา้ นอาหาร ใช้เป็นเอกสาร
ประกอบการพิจารณาการคัดเลอื ก ตามโครงการ การน้อมนำแนวพระราชดำริสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้
กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร สู่ปฏิบตั ิการ 90 วัน
ปลกู ผักสวนครัวเพ่ือสร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร รอบ 2 ประจำปงี บประมาณ 2564 ซึง่ คณะกรรมการ
หม่บู ้านและผูม้ ีสว่ นเกยี่ วข้อง อาทิ พฒั นาชุมชนอำเภอ และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลลานสะแก ไดร้ ่วมกันทำ
เนอื้ หาประกอบด้วย ขอ้ มูลท่ัวไปของหมู่บ้าน กจิ กรรมทด่ี ำเนินการในหมบู่ ้าน การดำเนินงานตามแนวของ
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง การบรหิ ารงานจัดการชุมชน ปัจจยั ความสำเรจ็ การพัฒนาหมู่บ้านหากมีข้อผิดพลาด
ประการใดขออภัย ณ โอกาสนี้ และยินดีน้อมรับคำแนะนำจากคณะกรรมการ ฯ เพอ่ื นำไปปรบั ปรงุ การดำเนนิ
กจิ กรรมในหมูบ่ ้านเพ่อื พัฒนาต่อไป

คณะกรรมการหมู่บา้ น

ความเป็นมา

บา้ นปา่ ยาง เดิมแยกจากบ้านหนองแก เม่ือปี พ.ศ. 2542 โดยไดแ้ ยกหมูบ่ ้านออกเป็น 3
หมูบ่ ้าน ได้แก่ บ้านหนองแก บา้ นดอนยงู และบา้ นปา่ ยาง เอกลักษณ์ของบ้านป่ายาง คือมีต้นยางเยอะ
มาก เพราะต้นยางจะมีความแขง็ แรงทนทานรม่ เย็น เพอ่ื ใหห้ มู่บา้ นมีความแขง็ แรงและทนทานร่มเย็น
เหมือนกบั ต้นยาง คนเฒ่าคนแก่จงึ ตง้ั ชื่อหมู่บ้านว่าบา้ นปา่ ยาง การดำรงชวี ิตของประชาชนส่วนใหญ่ทำ
การเกษตรและอยแู่ บบพึง่ พาอาศัยกนั และกัน โดยพ่งึ ตนเองเปน็ หลกั เปน็ วถิ ีชิวติ เดมิ อยู่แล้ว ดว้ ยความที่มีผ้นู ำ
ชมุ ชน ท่ีเหน็ ถงึ ความสำคัญของการดำรงชีวิตตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง ว่าสามารถสร้างรายได้ลดรายจา่ ย
ขยายโอกาสและเกิดประโยชน์สูงสดุ ต่อหมบู่ ้านได้ โดยการดำเนินโครงการพัฒนาหมู่บา้ นตน้ แบบจะเน้นใน
เรอื่ งการส่งเสริมการใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการพฒั นาหมู่บ้านใหม้ รี ะบบการบรหิ ารจัดการ
ชุมชน โดยใชข้ อ้ มูลของชมุ ชนเปน็ แนวทางในการจดั กิจกรรมเพื่อปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมไปสคู่ วามพอเพียงเปน็
ชมุ ชนทีเ่ ขม้ แข็ง เป็นหมู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพียงระดับ พออยพู่ อกนิ ทีย่ ัง่ ยืน

สภาพท่ัวไป

พืน้ ท่ี 1,845 ไร่ ลกั ษณะภูมิประเทศเปน็ ท่ีราบลุ่มประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา
ทิศเหนอื ติดตอ่ บ้านหนองแกหมู่ที่ 5 ตำบลลานสะแก อำเภอพยคั ฆภมู ิพสิ ัย
ทศิ ใตต้ ดิ ตอ่ กบั บ้านพยอมหมู่ท่ี 6 ตำบลเมก็ ดำ อำเภอพยัคฆภูมิพสิ ยั
ทิศตะวันออกตดิ ต่อกบั บ้านหนองบ่ัว หมทู่ ี่ 4 ตำบลลานสะแก อำเภอพยัคฆภมู ิพิสัย
ทิศตะวันตกติดกับบ้านหนองกระทุ่ม หมู่ท่ี 4 ตำบลหนองบวั อำเภอพยคั ฆภมู พิ ิสยั

แผนทีห่ มู่บา้ น

โรงเรียน

ทิศเหนอื

หนองสาธารณะ

บ้านหวั ชา้ ง รา้ นคา้ ชมุ ชน ศาลาประชาคม
ฉางข้าว หนองประปา

บ้านพยอม

ครวั เรอื น/ประชากร

ดา้ นการปกครอง

นายปญั ญา ศรสี ุวรรณ ผู้ใหญบ่ า้ น
นายศกั ด์ิ ทองมีคา่ ผู้ช่วยผู้ใหญบ่ า้ น
นายบญุ ยง จันทนนั ต์ ผูช้ ่วยผู้ใหญบ่ ้าน

คณะกรรมการหม่บู ้าน นายปญั ญา ศรสี ุวรรณ

1. นายปัญญา ศรีสวุ รรณ ประธาน ผใู้ หญบ่ า้ น
2. นายศักด์ิ ทองมีค่า รองประธาน
3. นางบญุ ยง จนั ทนนั ต์
4. นายวิรัตน์ สเี ขียว รองประธาน
5. นางปิยะดา ทองมีคา่
6. นายอุทยั ลดั ไธสง เลขานกุ าร
7. นายทองพลู อินไธสง
8. นางทองลา อนั ทรินทร์ เหรญั ญกิ
9. นายคมกริช พลแสน
10.นายลังกา อรรถโยโค กรรมการ
11.นายสมศรี อันทรินทร์
12.นางไสว อรรถโยโค กรรมการ
13.นายสงา่ อบภิรมย์
14.นายศกั ด์ิ ทองมีคา่ กรรมการ
15.นางคนงึ นิจ มณจี ันทา
กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

มีการกระจายอำนาจการปกครองโดยแบ่งการปกครองหม่บู ้านเปน็ 4 คุ้มบ้าน มีหัวหน้าคุ้มเปน็ ผ้ดู ูแล
ในคุ้ม ทำให้ทุกหลงั คาเรือนไดร้ ับการดแู ลอย่างท่วั ถึง ได้แก่

1 คุ้มป่ายางพฒั นา หวั หน้าคุ้ม นายทรงศิลป์ อนั ทรนิ ทร์ สมาชกิ ในคมุ้ 19 ครัวเรือน
2 คมุ้ สันตสิ ขุ พฒั นา หัวหน้าคุม้ นายสมศรี อันทรนิ ทร์ สมาชกิ ในคุ้ม 27 ครัวเรือน
3 ค้มุ หนองสระใน หวั หนา้ คุ้ม นายลัก ทองมีค่า สมาชิกในคุ้ม 19 ครวั เรือน
4 ค้มุ ประชารว่ มใจ หวั หน้าคมุ้ นายวริ ัตน์ สเี ขยี ว สมาชิกในค้มุ 20 ครัวเรอื น

กฎระเบยี บของหมบู่ า้ น

1. ครวั เรอื นในหมู่บา้ นมีส่วนร่วมในโครงการ/กจิ กรรมต่างๆของหมบู่ า้ น
2. ช่วยกนั ดูแลและบำรุงรกั ษาถนนใหส้ ะอาดนา่ มอง
3. ไม่ทิง้ สิง่ ปฏกิ ูลต่างๆลงถนน แม่น้ำ ลำคลอง และชว่ ยกันดแู ลรักษาลำคลองสวยนำ้ ใส
4. ไมย่ ุง่ เกย่ี วกับยาเสพตดิ
5. การปฏบิ ตั ิตนเพื่อลดละเลิกอบายมุข
6. รู้จกั สทิ ธิ รักษาสิทธเิ สรภี าพทางการเมือง เปน็ พลเมืองที่ดี
7. การนอ้ มนำหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง นำพาปฏิบตั ิเป็นแนวทางในการประกอบอาชพี
และการดำรงชีวติ

หมู่บา้ นค่านิยม 12 ประการ

1. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
2. ซ่ือสตั ย์ เสยี สละ อดทน มีอุดมการณใ์ นส่งิ ที่ดีงามเพื่อสว่ นรวม
3. กตัญญตู ่อพ่อแม่ ผ้ปู กครอง ครูบาอาจารย์
4. ใฝ่หาความรู้ หม่ันศึกษาเล่าเรียนทง้ั ทางตรง และทางอ้อม
5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม
6. มศี ลี ธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดีตอ่ ผอู้ นื่ เผอ่ื แผ่และแบ่งปนั
7. เขา้ ใจเรียนรูก้ ารเปน็ ประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ ที่ถูกต้อง
8. มรี ะเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผูน้ ้อยรูจ้ กั การเคารพผู้ใหญ่
9. มสี ติรู้ตวั รู้คิด ร้ทู ำ ร้ปู ฏิบตั ิตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว
10. รจู้ กั ดำรงตนอยโู่ ดยใช้หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดำรัสของ พระบาทสมเดจ็ พระ
เจา้ อยูห่ ัว รู้จกั อดออมไว้ใช้เมื่อยามจำเปน็ มีไวพ้ อกนิ พอใช้ ถา้ เหลือกแ็ จกจ่ายจำหนา่ ย และพร้อมที่จะขยาย
กิจการเม่ือมีความพร้อม เมอ่ื มีภูมคิ ้มุ กันท่ีดี
11. มีความเขม้ แข็งท้ังรา่ งกาย และจิตใจ ไมย่ อมแพต้ ่ออำนาจฝ่ายต่าง หรือกเิ ลส มีความละอาย
เกรงกลวั ต่อบาปตามหลกั ของศาสนา
12. คำนงึ ถึงผลประโยชน์ของสว่ นรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง

วสิ ยั ทศั น์ของหม่บู ้าน

ปา่ ยางเขม้ แขง็ เป็นแหลง่ อาหาร
ต่อต้านยาเสพตดิ ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง

นอกจากนี้ยังมีคณะกรรมการหมบู่ ้าน ทำหนา้ ท่ใี นการบริหารจัดการพฒั นาหมูบ่ า้ นดา้ นต่าง ๆและ

ผูน้ ำชมุ ชน และอาสาสมัครดังนี้

๑. นายวิรัตน์ สีเขยี ว สมาชกิ อบต.

๒. นางปิยะดา ทองมีค่า สมาชกิ อบต.

๓. นายลังกา อรรถโยโค เกษตรอาสาบ้านป่ายาง

๔. นายศกั ด์ิ ทองมีคา่ อาสาพฒั นาชุมชน

๕. นางไสว อรรถโยโค อาสาพัฒนาชมุ ชน

๖. นายคมกรชิ พลแสน หมอดินอาสา

๗. นางสำราญ ศรสี วุ รรณ ประธาน กพสม.

๘. นางเพญ็ ศรี ลอมไธสง ประธาน อสม.

ที่มาและความสำคญั

บา้ นป่ายาง หมู่ที่ 11 ตำบลลานสะแก จังหวัดมหาสารคาม เปน็ หมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง มีการจัดสรร
พ้นื ทีส่ าธารณะใหป้ ระชาชนปลกู ผักสวนครวั และได้ดำเนนิ กิจกรรมการเล้ยี งไก่พืน้ เมืองตามโครงการสัมมาชีพ
ชมุ ชน ซึ่งเดิมแล้วประชาชนเน้นการทำเพื่อกินให้มกี นิ มีใชใ้ นครัวเรือนเป็นหลัก นอกจากนี้ยังมศี ูนยเ์ รียนรู้
เศรษฐกิจพอเพียงในหมู่บ้าน ในช่วงทผ่ี า่ นโรคระบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ได้มกี ารสง่ เสริม
ปฏบิ ัติการ 90 วันปลูกผกั สวนครวั โดยกรมการพัฒนาชุมชน มีการน้อมนำแนวพระราชดำริสมเดจ็ พระกนิษฐาธิ
ราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ด้วยการสร้างวัฒนธรรมปลูกพืชผกั สวนครัว
เนน้ การสร้างภมู ิคุม้ กนั ในครอบครัวโดยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนใหพ้ ร้อมอยเู่ สมอเพ่ือรับกับ
ปัญหาและการเปล่ียนแปลงตา่ งๆ อย่างยั่งยืนต่อไป เพ่ือสรา้ งความมั่นคงทางอาหาร ต่อยอดการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนระดับฐานราก สรา้ งความรกั ความสามัคคีในครอบครัว มีอาหารปลอดภัยไว้บรโิ ภค มงุ่ มั่น
ลดค่าใช้จา่ ยในครวั เรอื นตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ข้ันตอนการดำเนนิ กิจกรรม
ดำเนินการต่อยอดผู้นำต้องทำก่อนในระยะแรก ดำเนินการโดยพัฒนากรประจำตำบลขับคลื่อน

สง่ เสรมิ ใหผ้ นู้ ำชุมชนทำเป็นตวั อย่างในชุมชน ซึ่งต้องลงมือทำเพ่ือสร้างกระบวนการเรียนรู้ระดับบุคคลก่อนลง
ไปส่งเสรมิ ประชาชน

สง่ เสรมิ การปลูกผักสวนครัวแบบเขา้ ถงึ ทุกครวั เรือน
ส่งเสริมการปลูกพืชผักอย่างต่อเนื่อง และปลูกเพิ่มเติมรวม 10 ชนิด “ทำเป็นบ้าน สานเป็น

กลมุ่ ” ส่งเสริมให้เกิดการรวมกล่มุ ปลูกพชื ผักประจำครวั เรือน เพื่อบรหิ ารจัดการผลผลิตสว่ นเกินใหม้ ีมูลค่าเพิ่ม
ในอนาคต “ชุมชนสีเขียว เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม” สร้างจิตวิญญาณรักสิ่งแวดล้อมและสร้างชุมชนสีเขียว
“จากวัฒนธรรม ส่นู วตั กรรม” ส่งเสริมใหเ้ กดิ นวตั กรรมทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับอาหารและของใชต้ ่างๆ ในชีวิตประจำวัน
จากพืชผักอาหารรกั ษ์สุขภาพ และ “ชุมชนเกื้อกูล เพ่ิมพนู สามคั คี วิถีพอเพียง” เกิดชุมชนเก้อื กูล สามารถดูแล
ช่วยเหลอื และแบ่งปนั จดั ตัง้ ศนู ยข์ ยายเมลด็ พันธ์หุ รือต่อยอดในรปู แบบอื่นๆ

ผลการดำเนนิ กจิ กรรม

1. ครัวเรือนในหมู่บา้ น ปลกู พืชผักสวนครวั อย่างนอ้ ย 10 ชนิด
จากข้อมูลทส่ี ำรวจหลงั การดำเนินกิจกรรม

ท่ี ชอื่ คุม้ จำนวน ตะไคร้ กระ พรกิ หอม มะเขือ ผกั ไชย ผกั บงุ้ จีน ชะอม ข่ำ สะระ ชะพลู กยุ๊ ช่ำย ผกั ชี อน่ื ๆ

1 คุ้มป่ายางพัฒนา ครวั เรือน เพรำ เทศ ยำ แหน่
2 คุ้มสันติสขุ พัฒนา
3 คุ้มหนองสระใน 19 19 19 19 19 19 19 16 5 8 19 15 12 14 19
4 คุ้มประชาร่วมใจ
27 25 20 27 27 24 27 25 12 19 23 26 18 24 27

19 15 10 12 12 9 15 13 8 10 12 13 11 10 19

20 16 15 16 15 12 15 13 12 8 16 16 14 15 20

2. มกี ารบริหารจดั การขยะ (3Rs ได้แก่ การคดั แยกขยะ/การทำถังขยะเปียก ลดโลก
รอ้ น/การทำปุย๋ ชีวภาพ)

บา้ นปา่ ยาง หมทู่ ี่ 11 ตำบลลานสะแก อำเภอพยคั ฆภมู พิ สิ ัย จังหวดั มหาสารคาม มกี ารสง่ เสรมิ การ
แยกขยะดังน้ี
1. ขยะย่อยสลายได้ เช่น เศษอาหาร พชื ผกั ขยะทีส่ ามารถนำไปผ่านกระบวนการใหก้ ลายเปน็ ปุ๋ยได้
2. ขยะรีไซเคลิ เชน่ กระดาษ ขวดพลาสตกิ แก้ว เศษเหล็ก
3. ขยะท่ัวไป คือบรรดาขยะที่ย่อยสลายยาก และไมค่ ุ้มต่อการรีไซเคลิ เชน่ ถุงพลาสตกิ หลอด และ
4. ขยะพิษหรือขยะอนั ตราย เช่น หลอดไฟ กระปอ๋ งสี กระปอ๋ งยาฆา่
การคัดแยกขยะ ชมุ ชนุ ได้มีแนวทางในการขับเคลื่อนของชมุ ชนมีกลไกขบั เคลือ่ นชมุ ชนจัดการขยะโดยชุมชน
คนมีความรู้และตระหนกั ถึงความสำคญั ของปญั หาและการจัดการขยะโดยชุมชน มีปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมการ
จัดการขยะในครอบครวั แยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ เพอื่ ให้ขยะในชุมชนลดลงอย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 50

ประชาชนบา้ นปา่ ยาง ไดร้ ับการอบรมถ่ายทอดการใชเ้ ทคโนโลยแี ละการศึกษาดูงานการถ่ายทอด
วทิ ยาการใหม่ๆ จากสว่ นราชการท่ีเข้ามาสนับสนุนอยา่ งตอ่ เนอื่ งโดยที่ประชาชนในหมู่บา้ นมคี วามกระตือรอื ร้น
ทจ่ี ะเรยี นรู้และหลักจากอบรมแลว้ มีการนำมาใชจ้ รงิ ในการดำเนินชีวติ โดยการขบั เคล่อื นในรูปของการร่วมมือ
กันระหวา่ งภาครัฐสว่ นราชการเข้ามาสนับสนุน ขับเคลื่อนนโยบายโดยใช้ประชาชนในหมูบ่ ้านเป็นศูนยก์ ลาง
การขับเคล่ือน ตัวอย่างเชน่ การนำขยะไปรีไซเคลิ การลดการใชส้ ารเคมีในการเกษตร มีการณรงค์ใน
หมบู่ า้ นใหใ้ ชป้ ุย๋ หมกั จากใบไม้ มูลสัตว์ ทำจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์แสงในการปลกู ตน้ ไม้

3. หมู่บ้านมีกิจกรรมศนู ย์แบ่งปนั

บา้ นปา่ ยาง หม่ทู ี่ 11 ตำบลลานสะแก อำเภอพยคั ฆภูมิพสิ ัย จงั หวดั มหาสารคาม มยี ุ้งฉางเปน็
ธนาคารข้าวเพื่อใชใ้ นการช่วยเหลือประชาชนในหมู่บา้ นได้ยืมไปบริโภคและคดิ ดอกเบ้ียหลงั จากทำนาเสร็จ
โดยดำเนินการมาตงั้ แตป่ ี 2551 ด้วยหลักการบรหิ ารจัดการธนาคารขา้ ว จงึ ได้มกี ารต่อยอดสู่ธนาคารเมลด็
พันธ์ุผักในชมุ ชน ซึ่งไดร้ เิ ริ่มรับบรจิ าคเมลด็ พันธ์ผุ ักตา่ งๆ ในชมุ ชน เพ่อื ใช้แจกจ่ายประชาชนในชุมชนในการ
ปลูกไว้บริโภคในครวั เรือน โดยสว่ นมากจะแจกจา่ ยและเร่ิมตอ่ ยอดโดยการแลกเปล่ยี นแทนที่จะมาขอฟรีๆ ก็
ต้องนำเมลด็ พนั ธมุ์ าแลกเปลย่ี น เพือ่ เพิ่มความหลากหลายของชนดิ เม็ดพนั ธทุ์ ป่ี ลูกในชุมชน

4. คนในหมบู่ ้านมีรายไดจ้ ากการจำหนา่ ยผลผลติ

ประชาชน บา้ นปา่ ยาง หมทู่ ี่ 11 ตำบลลานสะแก อำเภอพยคั ฆภมู พิ สิ ัย จงั หวดั มหาสารคาม การน้อม
นำแนวพระราชดำรสิ มเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สร้าง
ความม่ันคงทางดา้ นอาหาร สู่ปฏบิ ตั กิ าร 90 วนั ปลกู ผักสวนครัวเพื่อสร้างความม่ันคงทางด้านอาหาร รอบ 2ลด
รายจา่ ย สรา้ งงานและสรา้ งรายไดใ้ หก้ ับครอบครัว บางครัวเรือนหากมผี ลผลติ เหลือจากกนิ เองแลว้ ก็สามารถ
แบง่ ขาย สร้างรายไดเ้ สริมได้ นอกจากนย้ี งั อาจนำไปสู่การสร้างอาชีพทเี่ ก่ียวข้อง เชน่ การแปรรูปอาหาร หรือ
ทำปุย๋ หมกั ชวี ภาพจำหนา่ ย เป็นต้น โดยข้อมลู 30 ครวั เรือนต้นแบบมีรายไดเ้ พิ่มขน้ึ และรายจ่ายลดลง

สงิ่ ทีท่ ำให้ประสบความสำเรจ็

1.การน้อมนำแนวพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราช
กมุ ารี พร้อมทั้งแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน
2.ผ้นู ำชมุ ชนเข้มแขง็ มที ักษะและเป็นแบบอยา่ งท่ีดีในการดำรงชวี ิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมทัง้ มีความ
จรงิ จงั และจรงิ ใจในการดำเนินกิจกรรมพัฒนาหมู่บา้ น
3.ประชาชนตระหนักในปัญหาทีเ่ กิดขึ้น และมีส่วนรว่ มทุกข้ันตอนในการดำเนินกจิ กรรมเพ่ือสร้างความมน่ั คง
ทางดา้ นอาหาร

ผลสำเรจ็ ที่เกิดข้ึน

1.ทำให้ประชาชนในหมบู่ ้านดำรงชวี ิตตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สามรถดำรงตนอยู่ไดเ้ ม่ือเกิด
วิกฤตโรคระบาดหรือภันธรรมชาติ
2.มีการลดรายจ่าย เพิม่ รายได้ มีอาชีพเสริม คนในชุมชนรู้จกั การชว่ ยเหลอื เก้ือกูลกนั นำภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ มา
ประยุกตใ์ ช้กับชุมชนได้อย่างเหมาะสม
3.ชุมชนเกดิ การเรยี นรู้ มกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ความคิด ประสบการณ์ในการดำรงชวี ิต
4.มกี ารนำทรพั ยากรชุมชนมาใช้อยา่ งประหยัด และมีการดูแลอยา่ งต่อเนอ่ื ง
5.มีการชว่ ยเหลือเกอื้ กลู ของคนในชุมชนอยา่ งต่อเนื่อง ทำให้เกิดความอยเู่ ย็นเปน็ สขุ
6.เป็นการสร้างภูมคิ มุ้ กันให้กับครอบครัวและชุมชนมีความเขม้ แข็ง
7.ชมุ ชนเกดิ ความรรู้ กั สามคั คีอยา่ งย่งั ยืน

ภาคผนวก

ภาพกิจกรรม



สรปุ ขอ้ มูลรายได้จากอาชพี เสรมิ แตล่ ะครัวเรือน จากการจัดทำบัญชคี รัวเ

ระหวา่ งเดอื น มกราคม 25

ช่อื -สกุล หวั หนา้ บา้ น เลย้ี งไกไ่ ข่ เล้ยี งไก่เนอื้ ปลกู ผกั

ท่ี ครวั เรือน เลขท่ี

1 นายปัญญา ศรีสุวรรณ 41 3,450 1,452

2 นายถาวร จนั ทนันต์ 58 1,200 850 96

3 นายวริ ัตน์ สีเขยี ว 42 520 75

4 นายศักด์ิ ทองมีคา่ 22 450 84

5 นางสงิ โห ทองมีคา่ 28 820 42

6 นางสำลี สดไธสง 45 460 64

7 นางสกณุ า ก่งิ สกลุ 83 13

8 นายอำพร ชดิ ชอบ 70 22

9 นายสรุ ศักดิ์ อรรถโยโค 12 3,280 26

10 นางบุญ ศรสี วุ รรณ 15 480 32

11 นายสฤษดิ์ อันทรินทร์ 73 360 20

12 นายสนุ ัน ทพั ชัย 93 56

13 นายสมาน พงจุมพล 69 1,400 52

14 นายสมปรอด อันทรนิ ทร์ 25 560 1,860 45

15 นางรุง่ อรณุ ตั้งสมบัติ 104 28

16 นายสง่า อบภิรมย์ 9 420 15

17 นายสมศรี อนั ทรินทร์ 44 980 36

18 นางวรรณภา อรรถโยโค 82 1,240 1,350

19 นางตนั มณีจนั ทา 24 48

20 นางนารี สอนชมภู 20 22

เรือนของครัวเรือนต้นแบบ บ้านปา่ ยาง หมู่ท่ี 11 ตำบลลานสะแก

564-มีนาคม 2563 เลยี้ งกบ เพาะ ทอ คดั แยกขยะ ราม
เหด็ ผา้
เล้ยี งปลา 168 5,070
1,680 135 3,148
2 115 3,030
63 184 2,034
50 1,645 125 1,365
40 560 220 1,320
20 130
40 320 2,220
30 1,200 4,740
20 885
60 85 710
20 150 702
00 142 2,240
60 320 3,006
20 136 366
50 86 617
80 45 1,558
52 218 2,709
60 119 738
0 258 356
80 136
20

สรุปขอ้ มลู รายไดจ้ ากอาชีพเสรมิ แต่ละครัวเรอื น จากการจดั ทำบัญชคี รวั เ

ชื่อ-สกุล หวั หนา้ บา้ น เล้ยี งไกไ่ ข่ เลยี้ งไก่เน้ือ ปลูกผกั

ท่ี ครวั เรอื น เลขท่ี

21 นายอนนั ต์ พรหล่อ 13 1,860 310

22 นางละมุล มะโนวนั 79 460 240

23 นายทองสขุ ดวงตา 40 430 400

24 นายไมตรี อนั ทะบาล 105 620

25 นางเสาวนยี ์ สำราญดี 30 800 320

26 นายนิคม เวชไทยสง 32 1,350 226

27 นางสงกา อรรถโยโค 7 135

28 นายคมกรชิ พลแสน 1 460

29 นางสภุ าพ ทองมีค่า 75 860 560

30 นางบงั อร เสยี มแหลม 88 920

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

เรอื นของครัวเรือนต้นแบบ บ้านปา่ ยาง หม่ทู ี่ 11 ตำบลลานสะแก

เลย้ี งปลา เล้ยี ง เพาะ ทอผ้า คดั แยกขยะ รวม
กบ เหด็
2,315
0 145 820
0 120 1,578
0 680 68 736
0 116 1,260
0 140 1,644
6 68 2,715
5 2,500 80 625
0 165 1,555
0 135 4,525
0 3,500 105




Click to View FlipBook Version