The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบฝึกทักษะ ชุด 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 6211116055, 2022-09-07 10:13:21

แบบฝึกทักษะ ชุด 1

แบบฝึกทักษะ ชุด 1

1



คำนำ

เอกสารแบบฝึกทักษะหลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนา กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม สำหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 เปน็ เอกสารทจี่ ัดทำขึน้ ประกอบการสอน หน่วยการเรยี นรู้ที่
ที่ 1 ศาสนาของเรา เรื่องหลักธรรมทางพุทธศาสนา เพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ฝึกทักษะและ
กระตุ้นใหผ้ ู้เรียน มีทัศนคติที่ดีต่อการเรยี นสังคมศึกษา ผ้เู รียนสามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองนำความรู้
ไปใช้ในการดำเนินชีวิตซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรบั ปรงุ 2561) หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านทวดทอง ฉบับปรบั ปรงุ 2563

แบบฝึกทักษะเล่มนี้ ข้าพเจ้าได้คิดรูปแบบที่ง่าย เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และสะดวกต่อการสอน
ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งวา่ แบบฝึกทักษะเล่มนี้คงเป็นประโยชนต์ ่อผู้สนใจ และนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการ
เรยี นการสอนต่อไป

สุมาลณิ ี รกั ดำ



สารบัญ

หน้า

คาํ นํา............................................................................................................................. ....................................ก
สารบญั ..............................................................................................................................................................ข
โอวาท 3 ............................................................................................................................................ ..............๑
แบบทดสอบก่อนเรียน.......................................................................................................... ............................๒
หลักธรรมท่ีละเว้นจากการทำความชั่ว............................................................................................................. ๓

- เบญจศลี ............................................................................................................................. ..............๔
กิจกรรมท่ี ๑............................................................................................................................ ๖
กจิ กรรมที่ ๒.................................................................................................................... ........๗

- อกุศลมลู ๓............................................................................................................................ ..........๘
กจิ กรรมท่ี ๓............................................................................................................................๙
กจิ กรรมที่ ๔.........................................................................................................................๑ ๐

- อบายมุข ๖....................................................................................................................................๑๑
กจิ กรรมท่ี ๕.........................................................................................................................๑๓

แบบทดสอบหลงั เรยี น........................................................................................................................ ............๑๔



โอวาท ๓.

เป็นหลกั ธรรมซง่ึ เปน็ หัวใจหลักของพระพุทธศาสนา

ไม่ทำ
ความชั่ว

ทำความดี

ทำจติ ใจ
ใหบ้ รสิ ุทธ์ิ



แบบทดสอบก่อนเรยี น

เรอ่ื ง หลกั ธรรมที่ละเวน้ จากการทำความช่ัว

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------

คำชแี้ จง ๑. แบบทดสอบฉบับน้ีมีจำนวนท้ังหมด ๑๐ ข้อ
๒. ให้นักเรียนกาเคร่ืองหมาย X ทับอักษร ก ข ค หรอื ง ที่ถกู ท่ีสดุ ลงในกระดาษคำตอบ
๓. ห้ามขีดเขยี นหรือทำเครื่องหมายใด ๆ ลงในแบบทดสอบ

๑. ศลี ในทางพระพทุ ธศาสนา หมายถงึ ๖. กเิ ลสประกอบด้วยส่ิงใด
อะไร ก. ความโกรธ ความโลภ ความหลง
ก. ขอ้ ควรปฏบิ ตั ใิ นการอย่รู ว่ มกัน ข. พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์
ข. ขอ้ ควรงดเว้นจากการกระทำชั่ว ค. ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
ค. การละเวน้ จากการโลภ โกรธ หลง ง. เบญจศีล เบญจธรรม
ง. การใชป้ ัญญาในการแก้ปญั หา
๗. ช่องทางแห่งความเสื่อมหมายถงึ ข้อใด
๒. ในเบญจศลี ขอ้ ๕ ส่งิ ใดสำคญั ทีส่ ุด ก. เบญจธรรม
ก. เกิดโรค ข. เบญจศีล
ข. เสียทรพั ย์ ค. อบายมุข ๖
ค. ขาดความน่าเชือ่ ถอื ง. อกุศลมูล ๓
ง. ขาดสตสิ มั ปชญั ญะ
๘. สมชายอยากได้ปากกาของทินกรที่ซื้อมาใหม่
๓. เบญจศีลหมายถงึ ข้อใด จงึ หยิบมาเปน็ ของตนเองสมชายปฏบิ ตั ิตาม
ก. ขอ้ ห้าม ๕ ประการซ่งึ ควรละเวน้ หลกั อกศุ ลมลู ใด
ข. ข้อทีค่ วรปฏบิ ตั ิ ๕ประการ ก. โทสะ
ค. การเสียสละ ข. โลภะ
ง. การช่วยเหลือซ่ึงกนั และกัน ค. โมหะ
ง. พละ ๔
๔. นดิ หนอ่ ยทำการบ้านไม่เสรจ็ แลว้ แกต้ วั
บอกว่าทำสมดุ หาย นิดหน่อยประพฤติตน ๙. ข้อใดไม่เป็นแนวทางการควบคมุ ตนเอง
ผิดเบญจศีลขอ้ ใด ตามหลักอกศุ ลมลู ๓
ก. ข้อที่ ๑ ก. การมีสตอิ ยู่เสมอ
ข. ข้อท่ี ๒ ข. การเสยี สละ
ค. ขอ้ ท่ี ๓ ค. การศึกษาหาความรู้
ง. ข้อท่ี ๔ ง. เลน่ เกมทุกวัน

๕. ลักษณะใดต่อไปนี้แสดงถึงการมโี มหะ ๑๐. ขอ้ ใดเปน็ การปฏิบัติตนที่หลกี เลี่ยง
ก. การอจิ ฉาผอู้ ่ืน อบายมขุ ๖
ข. การติดการพนนั
ค. การลักขโมยของผ้อู น่ื ก. ดาราชอบเที่ยวในเวลากลางคนื
ง. การทำรา้ ยร่างกายผู้อ่ืน ข. ลุงอำนวยด่มื สุราตอนเย็นทกุ วัน
ค. ชฎาคบเพอ่ื นดชี ่วยกันทำงานส่งครู
ง. วิชัยเปดิ บอ่ นเลน่ การพนนั



หลกั ธรรมที่ละเวน้ จากการทำความช่ัว.

คือ การปฏบิ ัตลิ ะเว้นจากส่ิงไม่ดที ้งั หลาย

เบญจศีล อบายมุข ๖

อกุศลมูล ๓



เบญจศีล

หรอื ศีล ๕ เป็นธรรมลำดบั แรกสุดในการครองตนเพราะเป็นการปอ้ งกัน
ตนเองไมใ่ ห้ทำชั่ว และเป็นการสรา้ งพน้ื ฐานในการบรหิ ารจติ
และเจรญิ ปัญญาต่อไป

เบญจศลี ข้อ ๑

ปาณาตปิ าตา เวรมณี
เว้นจากทก่ี ารปลงชีวติ เว้นจากการฆา่

การประทุษร้าย

เบญจศลี ขอ้ ๒

๒. อทินฺนาทานา เวรมณี
เว้นจากการถือเอาของทเ่ี ขามิได้ให้,เวน้ จากการลัก

โกง ละเมิดกรรมสทิ ธิ์ ทำลายทรัพย์สิน

เบญจศีล ข้อ ๓ ๕

๓. กาเมสมุ จิ ฺฉาจาร เวรมณี
เว้นจากการละเมดิ สง่ิ ท่ผี ้อู น่ื รักใครห่ วงแหน

เบญจศลี ขอ้ ๔

๔. มุสาวาทา เวรมณี
เว้นจากการพูดเทจ็ โกหกหลอกลวง

เบญจศีล ขอ้ ๕

๕. สรุ าเมรยมชชฺ ปมาทฏฺฐานา เวรมณี
เวน้ จากน้ำเมา คอื สุราและเมรยั อนั เป็นท่ตี ั้งแหง่ ความ

ประมาท, เวน้ จากสงิ่ เสพติดใหโ้ ทษ



คำชี้แจง ให้นักเรยี นศึกษาหลักธรรมเบญจศีลแล้วโยงข้อความที่มีความสัมพันธก์ นั



คำชี้แจง ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔ คน ร่วมกันคิดวิเคราะห์ผลดีของการปฏิบัติตามหลักธรรมเบญจ
ศลี และบอกผลเสยี ของการไมป่ ฏิบัตติ ามหลกั ธรรม

................................................................................................
................................................................................................
................................................................................................
................................................................................................
................................................................................................
................................................................................................

................................................................................................
................................................................................................
................................................................................................
................................................................................................
................................................................................................
................................................................................................



อกุศลมลู ๓

รากเหง้าของความช่วั ต้นเหตุท่ีจะนำไปสกู่ ารทำความชว่ั

ความอยากได้ของคนอนื่ มาเป็น
ของตนโดยมชิ อบ

จติ ทคี่ ดิ ร้ายผูอ้ น่ื คือ คดิ ใหผ้ อู้ นื่
เปน็ อันตรายหรือเสียหาย

ความหลง ความไม่รู้ไม่เขา้ ใจ
ความมวั เมา ความประมาท



คำชแ้ี จง ให้นกั เรียนศึกษากรณีตัวอย่าง แล้ววเิ คราะห์ตามประเดน็ ที่กำหนดไว้

๑. พฤติกรรมใดของดวิ ท่ีแสดงออกถงึ การมโี ลภะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. พฤติกรรมใดของดิวทแี่ สดงออกถงึ การมโี ทสะ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
๓. พฤตกิ รรมใดของดวิ ทแี่ สดงออกถึงการมโี มหะ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

๑๐

คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ ๔ คน รวบรวมข่าวการกระทำของบุคคลทงั้ ดี
และไม่ดี จากสื่อต่าง ๆ จากนั้นร่วมกันวิเคราะห์ว่า เป็นการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติตามหลักธรรม
ใด ในหลกั ธรรมทลี่ ะเว้นจากการทำช่ัว

ภาพขา่ ว

เปน็ การปฏบิ ตั ิตามหลักธรรมใด
.......................................................................................................................................................
ผลดขี องการปฏิบัติตามหลกั ธรรม
......................................................................................................................................
...............................................................................................................

ภาพข่าว

เป็นการไม่ปฏิบตั ติ ามหลักธรรมใด
.........................................................................................................................................................
ผลเสียของการไมป่ ฏิบัติตามหลักธรรม
.........................................................................................................................................................
...............................................................................................................

๑๑

อบายมขุ ๖

อบาย แปลวา่ ความเสอื่ ม
มุข แปลว่า ปาก ด้านหน้า
อบายมุข แปลวา่ ปากทางแหง่ ความเสอื่ ม

การดมื่ น้ำเมา

การดื่มน้ำเมาทหี่ มักโดยยงั ไมก่ ลัน่ ไดแ้ ก่
เบยี ร์ ไวน์ เปน็ ตน้ และการด่มื น้ำเมาทีก่ ลั่นแล้ว
ไดแ้ ก่ สรุ า และยงั หมายรวมถึงการเสพสารเสพติด
อืน่ ๆเช่น ยาบา้ กญั ชา เฮโรอนี

การเทยี่ วกลางคืน

การออกนอกบ้านในยามวกิ าลใน
แหลง่ บนั เทิง เพ่ือสนองต่อความสุขทางกาย
และทางใจ อาทิ รา้ นคาราโอเกะ รา้ นเหลา้
รา้ นเบยี ร์ เป็นต้น

๑๒

การเทีย่ วดูการละเล่น

การเทีย่ วออกดกู ารแสดงและยามวิกาล
อบายมุขในข้อนี้ มิได้ หา้ มมใิ ห้เท่ยี วดเู ลย แตพ่ งึ ให้
เที่ยวดูตามกิจทีเ่ หมาะสม

การพนนั

การชอบเล่นการพนนั ขันตอ่ มไี ดเ้ สยี เช่น เลน่
ไพ่ เล่นหวย จนถึงขน้ั ท่ีเรยี กว่า ผพี นันเขา้ สิง

การเกยี จครา้ นทำการงาน

การไม่ขยันทำงานตามเวลาและหน้าท่ี
รับผดิ ชอบ ปลอ่ ยการงานให้คั่งคา้ ง เหมอื นดนิ
พอกหางหมู คนเกยี จครา้ นการงาน ไดช้ ื่อว่า
เป็นคนไมเ่ อาไหน

การคบคนช่วั เปน็ มติ ร

คนช่ัวหรือคนพาลในท่นี ้ี ได้แก่ คนพาลการ
พนนั คนพาลนักเลง ต่อยตี คนพาลฉ้อโกง
หลอกลวง คนพาลเจา้ ชู้ และคนพาลขเี้ มา เป็นต้น

๑๓

คำช้ีแจง ใหน้ ักเรียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ ๔ คน รว่ มกนั ศกึ ษากรณีตวั อยา่ งแลว้ แสดงความคดิ เห็นในประเด็น
ท่ีกำหนด

กรณีตวั อยา่ ง

ณรงค์เป็นเด็กเกเร ชอบหนโี รงเรยี นไปเทีย่ วตามศนู ย์การค้า เลน่
เกม สบู บุหรี่ แอบด่มื ของมนึ เมา บางครง้ั เล่นพนนั ฟตุ บอลกม็ ี วนั หน่ึง
ณรงค์ ไดพ้ บกบั นิกร เขาไดช้ กั ชวนนิกรหนีโรงเรียน นิกรเปน็ เด็กนักเรยี น
ใหม่ ยังไม่มเี พอื่ น จงึ ไดห้ นโี รงเรยี นตามณรงค์ไป เพราะต้องการมเี พื่อน
แรก ๆ นกิ รเพียงแคห่ นีโรงเรยี นอย่างเดยี ว ตอ่ มาเขาเรม่ิ เล่นเกม สูบบุหรี่
ด่ืมของมึนเมา และเลน่ การพนนั ตามณรงค์

๑. กรณตี ัวอย่างมใี จความกล่าวถึงอะไร
............................................................................................................................. ..................
๒. กรณตี ัวอยา่ งกล่าวถึงอบายมขุ อะไรบ้าง
...............................................................................................................................................
๓. นิกรหนีโรงเรยี นไปเลน่ เกม สบู บุหรี่ ดมื่ ของมนึ เมาหรือเล่นการพนันเพราะสาเหตใุ ด
...............................................................................................................................................
๔. ถา้ นักเรียนเป็นนกิ ร จะประพฤติตนให้พ้นจากอบายมุข ๖ อยา่ งไร
................................................................................................................... ............................
๕. ถ้านักเรยี นเป็นณรงค์ จะประพฤตติ นใหพ้ น้ จากอบายมขุ ๖ อย่างไร
...............................................................................................................................................

๑๔

แบบทดสอบหลงั เรียน

เรอื่ ง หลกั ธรรมท่ลี ะเวน้ จากการทำความช่วั

คำชี้แจง ๑. แบบทดสอบฉบับน้มี ีจำนวนท้ังหมด ๑๐ ข้อ
๒. ให้นกั เรียนกาเครือ่ งหมาย X ทบั อักษร ก ข ค หรอื ง ที่ถกู ท่ีสดุ ลงในกระดาษคำตอบ
๓. หา้ มขีดเขียนหรอื ทาเครื่องหมายใด ๆ ลงในแบบทดสอบ

๑. ลกั ษณะใดต่อไปนีแ้ สดงถึงการมีโมหะ ๖. กเิ ลสประกอบดว้ ยส่ิงใด
ก. การอจิ ฉาผู้อืน่
ข. การติดการพนนั ก. ความโกรธ ความโลภ ความหลง
ค. การลกั ขโมยของผอู้ น่ื
ง. การทำรา้ ยร่างกายผู้อ่ืน ข. พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์

๒. สมชายอยากได้ปากกาของทินกรท่ซี ื้อมาใหม่ ค. ทกุ ข์ สมทุ ยั นิโรธ มรรค
จงึ หยบิ มาเปน็ ของตนเองสมชายปฏิบตั ิตามหลกั
อกศุ ลมลู ใด ง. เบญจศีล เบญจธรรม

ก. โทสะ ๗. นิดหน่อยทำการบา้ นไม่เสร็จแล้วแก้ตวั บอกว่าทำ
ข. โลภะ สมุดหายนิดหนอ่ ยประพฤตติ นผดิ เบญจศลี ขอ้ ใด
ค. โมหะ
ง. พละ ๔ ก. ข้อท่ี ๑
๓. เบญจศลี หมายถงึ ข้อใด ข. ขอ้ ท่ี ๒
ก. ขอ้ หา้ ม ๕ ประการซงึ่ ควรละเว้น ค. ขอ้ ท่ี ๓
ข. ขอ้ ท่คี วรปฏบิ ตั ิ ๕ ประการ ง. ข้อที่ ๔
ค. การเสียสละ ๘. ในเบญจศีลขอ้ ๕ ส่ิงใดสำคัญทสี่ ดุ
ง. การช่วยเหลือซ่งึ กันและกัน ก. เกิดโรค
๔. ช่องทางแห่งความเสื่อมหมายถงึ ข้อใด ข. เสยี ทรพั ย์
ก. เบญจธรรม ค. ขาดความนา่ เชื่อถือ
ข. เบญจศีล ง. ขาดสตสิ ัมปชญั ญะ
ค. อบายมุข ๖ ๙. ขอ้ ใดเปน็ การปฏิบตั ิตนท่ีหลกี เล่ียงอบายมุข ๖
ง. อกศุ ลมูล ๓ ก. ดาราชอบเทีย่ วในเวลากลางคนื
๕. ศลี ในทางพระพทุ ธศาสนาหมายถงึ อะไร ข. ลุงอำนวยดม่ื สุราตอนเย็นทุกวนั
ก. ข้อควรปฏิบตั ใิ นการอยรู่ ว่ มกัน ค. ชฎาคบเพ่ือนดีช่วยกันทำงานสง่ ครู
ข. ขอ้ ควรงดเว้นจากการกระทำชวั่ ง. วชิ ัยเปิดบ่อนเลน่ การพนัน
ค. การละเว้นจากการโลภ โกรธ หลง ๑๐. ข้อใดไม่เปน็ แนวทางการควบคมุ ตนเองตาม
ง. การใช้ปญั ญาในการแกป้ ญั หา หลกั อกุศลมลู ๓
ก. การมีสติอยู่เสมอ
ข. การเสียสละ
ค. การศกึ ษาหาความรู้
ง. เล่นเกมทกุ วนั

๑๕

ชวี ติ เรากก็เหมือนกบั ตุ่มนำ้
สามารถจะเติมนำ้ ใหม่ ๆ ลงไปได้

ถา้ นำ้ เกา่ มันสกปรก ไมด่ ี
กเ็ ทออกเสยี น หรือไขออกเสยี
แล้วเติมน้ำใหม่ ๆ ที่ดลี งไป

กเ็ ป็นตุม่ นำ้ ท่ีมีนำ้ ดี ๆ
-พุทธทาสภิกขุ-


Click to View FlipBook Version