The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by stabundamrong KM, 2021-10-11 21:30:06

สมุดภาพตรวจราชการหัวเมือง ช่วงกึ่งทศวรรษก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

Part เดียวจบ

สมุดภาพตรวจราชการหวั เมือง

ช่วงกง่ึ ทศวรรษกอ่ นการเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕

A Photographic Record of the Provincial Inspection Tours during the Years Prior to the 1932 Revolution

จดั พมิ พโดย สํานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย

Published by Office of Permanent Secretary for Interior

สมุดภาพตรวจราชการหวั เมอื ง

ช่วงกง่ึ ทศวรรษกอ่ นการเปลย่ี นแปลงการปกครอง
พ.ศ. ๒๔๗๕

A Photographic Record of the Provincial Inspection Tours
during the Years Prior to the 1932 Revolution

จดั พมิ พโดย สาํ นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

Published by Office of Permanent Secretary for Interior

ชอ่ื หนังสอื สมุดภาพตรวจราชการหวั เมือง ช่วงกึ่งทศวรรษ
กอ่ นการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕

A Photographic Record of the Provincial Inspection Tours

during the Years Prior to the 1932 Revolution

จัดพิมพโ ดย สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

พิมพค ร้ังท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๕๙
ที่ปรกึ ษา
กฤษฎา บุ- ราช
สทุ ธิพงษ์ จลุ เจรญิ
ประยรู รตั นเสนยี ์
ณฐั พงศ ์ ศริ ชิ นะ
ชยพล ธิตศิ ักดิ์
สมคิด จนั ทมฤก
กองบรรณาธิการ
ชัชวาลย ์ ฉายะบุตร
อภิชยั ชัยชมภู
วันเพ็ญ ทรงวิวัฒน ์
ระวีพรรณ แก้วเพียงเพ็ญ
วรดา สงอักษร
กาญจนา แจ่มมนิ ทร์
วิบูลพรรณ ์ เปาอินทร์
บัญชา ดวงดแี ก้ว
สุพตั รา บุ- ถงึ
ภัทรภร ปอ้ มมะลัง
บรรณาธิการสา� นกั พมิ พ์
ธงชัย ลขิ ติ พรสวรรค์
สปุ รีด ์ิ ณ นคร

ส�าเนาภาพ พชิ ญ์ เยาวภริ มย์
ศลิ ปกรรม ดวงตา พุม่ เจรญิ

ผู้ดา� เนนิ การจัดพมิ พ์ บรษิ ทั สา� นักพมิ พต์ ้นฉบับ จา� กดั
๖/๑๔ ซอยวัดบวั ขวัญ ๑๘
ถนนงามวงศว์ าน ๒๓ ตา� บลบางกระสอ
อ�าเภอเมือง จงั หวัดนนทบรุ ี ๑๑๐๐๐
โทรศัพท ์ ๐-๒๙๕๒-๙๒๐๓

พมิ พ์ที ่ บริษัทพิมพด์ ี จ�ากัด
จ�านวนหนา้ ๒๐๘ หนา้
จ�านวนพมิ พ์ ๒,๐๐๐ เล่ม

© สงวนลิขสิทธ์ิตามพระราชบญั ญัติลขิ สทิ ธิ ์ พ.ศ. ๒๕๓๗

Copyright © 2016 by Original Press Publishing Limited.

All right reserved.

2 • 2

สารปลดั กระทรวง

เม่ือแรกสถาปนากระทรวงมหาดไทยในปพี ุทธศกั ราช ๒๔๓๕ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ารงราชา
นุภาพองค์ปฐมเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยได้เสด็จไปตรวจราชการหัวเมืองแถบภาคกลางจนถึงเมืองสุโขทัย
เมอื งตากเปน็ เวลานานถงึ ๗๙ วนั เพ่อื ทราบถงึ ความเปน็ อยู่ของราษฎรตลอดจนอปุ นสิ ัยและบุคลกิ ภาพของเจา้ เมอื ง
นบั เป็นจุดเริ่มต้นของการตรวจราชการแบบสมัยใหม่ของไทยที่ได้รับการพัฒนาสืบต่อมาจนเป็นระบบ โดยเฉพาะ
อย่างยงิ่ ที่กระทรวงมหาดไทย ระบบตรวจราชการไดล้ งหลักปักฐานอย่างเขม้ แข็งและม่ันคง

ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ผทู้ รงมพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ ใหญห่ ลวงตอ่ พสกนกิ ร
ของพระองค์นานัปการ พระราชกรณียกิจที่ประทับอยู่ในความทรงจ�าของพสกนิกรมิรู้ลืมเลือนประการหนงึ่ คอื
การเสดจ็ พระราชดา� เนนิ เย่ียมราษฎรทั้ง ๔ ภาค ระหวา่ งปพี ทุ ธศักราช ๒๔๙๘ - ๒๕๐๒ และการเสด็จพระราชดา� เนิน
เยอื นราษฎรเฉพาะพืน้ ทีท่ ีท่ รงมีพระราชวินจิ ฉัยว่าจ�าเป็นทีจ่ ะต้องได้รับความช่วยเหลือดูแลเป็นพิเศษในกาลตอ่ มาอีก
นบั คร้ั งไม่ถ้วน ซึ่งเป็นกระบวนแบบการตรวจราชการตามอุดมคติสูงสุด สมควรที่ข้าราชการกระทรวงมหาดไทย
จะนอ้ มนา� มาเปน็ แนวปฏบิ ัตเิ พอื่ ความวัฒนาสถาวรของประเทศชาติ

“สมดุ ภาพตรวจราชการหวั เมอื ง ช่วงกึ่งทศวรรษกอ่ นการเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕” ทีก่ ระทรวง
มหาดไทยจัดพิมพ์ขึน้ นเี้ ป็นหนงั สือที่ไม่เพียงน�าภาพถ่ายเก่าแก่หายากของกิจการที่เกี่ยวกับกระทรวงมหาดไทยมา
เผยแพร่ให้สาธารณชนได้รับทราบเท่านั้น แต่ยงั เป็นการยืนยันให้เห็นได้อย่างชัดเจนอีกด้วยว่าข้าราชการมหาดไทย
ได้ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ในการบ�าบัดทุกขบ์ �ารุงสขุ แกร่ าษฎรอยา่ งต่อเน่อื งตลอดมา

กระทรวงมหาดไทยหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าหนังสือนีจ้ ะมีส่วนช่วยเพิ่มพูนความตระหนกั ถงึ ภารกิจอันยิง่ ใหญ่ที่
ข้าราชการกระทรวงมหาดไทยมีต่อบ้านเมือง เกิดความภาคภมู ิใจและแรงบนั ดาลใจในการดูแลสุขทุกข์ของราษฎร
ตลอดจนมุ่งมั่นทีจ่ ะดา� เนินงานตามอุดมการณ์ขององค์กรและตามรอยพระยคุ ลบาทพระมหากษัตริย์ไทยผู้ไม่เคย
ทอดทงิ้ ประชาชนยิ่งๆ ข้ึนไป

นายกฤษฎา บญุ ราช
ปลดั กระทรวงหมาดไทย

3 • 3

Messagefrom thePermanentSecretary

Ater establishing Ministry of Interior in 1892, H.R.H. Prince Damrong Rachanubhab, the
irst minister, spent 79 days on the irst inspection tour of Siam’s Central Region, going as far north
as Sukhothai and Tak, in order to obtain irst-hand information on the livelihood of the people,
as well as the characteristics and performance of provincial governors. he journey thus began
hailand’s modern practice of provincial inspection tours that has since become the norm, especially
at Ministry of Interior.

During the reign of H.M. King Bhumibol Adulyadej, one of the most benevolent monarch’s
gracious activities was his journeys to visit the people of all four regions of the Kingdom, from 1955
to 1959, followed by countless royal visits to the places that the king decided to give special attention
and assistance, for the betterment of the livelihood of his subjects. Like the provincial inspection
tours of a century past, the royal journeys have since become precedents and standards for the staf of
Ministry of Interior to follow, for the prosperity and progress of the nation.

Ministry of Interior is proud to present “A Photographic Record of the Provincial Inspection
Tours during the Years Prior to the 1932 Revolution,” a compilation of historic photographs that
succinctly show the ways the staf of Ministry of Interior attend to the betterment of the people’s
livelihood.

We hope that this book will help further the appreciation of the Ministry’s responsibility for
the nation, strengthening our determination to follow the Ministry’s mission as well as the footsteps
of H.M. King Bhumibol Adulyadej, the monarch who had never deserted his people.

Grisada Boonrach
Permanent Secretary for Interior

4 • 4

คํานาํ

การปฏิรูปการบริหารราชการแผน่ ดิน เม่ือพ.ศ. ๒๔๓๕ เปน็ ผลให้มกี ารจดั ระเบยี บรปู แบบการปกครองของไทย
แบบใหม่ ภายใตร้ ฐั ประศาสนใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และพระกรณยี กจิ ในสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์
เธอ กรมพระยาดา� รงราชานุภาพ องคป์ ฐมเสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย จงึ มกี ารจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาลเพ่อื จัดการ
ปกครองหัวเมืองทัว่ ราชอาณาจักรให้เป็นระเบยี บแบบแผน ด้วยความมุ่งหมายที่จะผนึกดินแดนในพระราชอาณาเขต
ใหเ้ ปน็ อันหน่ึงอนั เดียวกลมเกลียวกัน

การจัดการปกครองแบบมณฑลเทศาภบิ าลนั้น คอื การผนวกเอาหัวเมืองต่างๆ ที่อยู่ใกล้เคียงกันมารวมกันไว้
เป็นมณฑลเทศาภบิ าลหนงึ่ ๆ แล้วจัดให้มีข้าหลวงสมุหเทศาภบิ าลมณฑลเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบในการปกครอง การ
ปฏบิ ตั ิงานของสมุหเทศาภิบาลเหล่านั้น มิใช่จะมีเพียงหน้าที่ในการบริหารปกครองแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่ต้อง
รบั ผดิ ชอบในการตรวจตราดแู ลสารทกุ ขส์ ขุ ดบิ ของอาณาประชาราษฎรใ์ หถ้ ว้ นท่วั คอื หนา้ ทก่ี ารตรวจราชการในขอบเขต
การปกครองนัน่ เอง ดังปรากฏในรายงานของพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงด�ารงราชานภุ าพ (พระยศในขณะนั้น)
เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย ในคราวเสดจ็ ตรวจราชการเมอื งสพุ รรณบรุ ี ร.ศ. ๑๒๒ (พ.ศ. ๒๔๔๖) กลา่ วถึงหนา้ ท่ีในการ
ปกครองตามหัวเมืองว่า “…พนกั งานปกครองราษฎรตามหวั เมือง มีการท่จี ะตอŒ งท�าเปนš ๒ แผนก คอื ท�าการตา่ งๆ
อันตŒองท�าในทีว่ ่าการใหŒไดŒดังระเบยี บแบบแผนการปกครองแผนก ๑ ตŒองเทีย่ วตรวจตราการตามทŒองที่แผนก ๑
การท้ัง ๒ แผนกนเ้ี ปšนการส�าคัญท่ตี Œองท�าใหŒดดี วŒ ยกัน…”

หนา้ ท่ีในการตรวจราชการของขา้ ราชการกระทรวงมหาดไทยมกี ารปฏบิ ตั ลิ ดหล่นั กนั มาตามแตท่ อ้ งท่ี นับต้ังแต่
สมหุ เทศาภบิ าล ผ้วู ่าราชการเมือง (จงั หวดั ) นายอ�าเภอ ก�านนั และผู้ใหญ่บา้ น ด้วยภารกิจในการจัดระเบยี บหัวเมอื ง
ทน่ี อกเหนือจากการปกครองแลว้ ยงั ตอ้ งมหี นา้ ท่ีในการสรา้ งเสรมิ ความรู้ ความชา� นาญในระบบราชการใหแ้ กข่ า้ ราชการ
ในทอ้ งท่ี การรายงานเหตบุ ้านการเมอื ง การทะเบยี นราษฎร์ การท�าส�ามะโนครวั การจดั การศึกษาเบอ้ื งต้น การดา� เนนิ
กิจการพระศาสนา และงานอื่นๆ ทีย่ งั หาผู้รับผิดชอบไม่ได้ การเหล่านยี้ ่อมตกอยู่ในความรับผิดชอบของข้าราชการ
กระทรวงมหาดไทยในทอ้ งท่นี ้ันๆ ระบบตรวจราชการของกระทรวงมหาดไทยนบั เปน็ นวตั กรรมแบบใหมข่ องสงั คมไทย
ในยุคน้ัน ไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ ผลสะเทอื นแกร่ ะบบราชการไทยอยา่ งใหญห่ ลวง ทา� ใหก้ ารปฎริ ปู ระบบราชการของประเทศไทย
ไดข้ บั เคลื่อนไปสูจ่ ุดม่งุ หมายสมดงั พระบรมราโชบายในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ดงั ประจักษ์ไดจ้ าก
รายงานการตรวจราชการตา่ งๆ ท่ีมีข้อความกราบบังคมทลู เขา้ มาอย่เู นืองนิตย์

การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ในแบบมณฑลเทศาภบิ าลประสบผลสา� เรจ็ อยา่ งดยี ่ิง พรอ้ มไปกบั วธิ กี ารตรวจราชการ
ของขา้ ราชการกระทรวงมหาดไทยในมณฑลเทศาภิบาลตา่ งๆ ยงั คงถอื ดา� เนนิ การเปน็ แบบแผนอนั ดีในการปฏิบตั หิ นา้ ท่ี
มาอย่างต่อเนือ่ ง รวมตลอดถงึ กระทรวงอืน่ ๆ ที่มีราชการในต่างจังหวัด ก็ใช้วิธีการตรวจราชการแบบนีด้ ้วยเช่นกัน
เชน่ กระทรวงธรรมการ วธิ กี ารตรวจราชการน้ัน ขา้ หลวงท่ีไปปฎิบตั หิ นา้ ทจ่ี ะมรี ายงานมายงั เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย
เสมอ แต่ไมป่ รากฏว่ามขี ้าหลวงทา่ นใดถา่ ยภาพการตรวจราชการของตนไว้ อลั บั้มภาพการตรวจราชการของพระยา
เพชรดา (สะอาด ณ ป้อมเพชร์) สมุหเทศาภิบาลมณฑลนครราชสมี า (ต�าแหน่งในขณะนั้น) จงึ นับเปน็ หลกั ฐานช้ันตน้

5 • 5

คาํ นํา

ที่ส�าคญั อย่างยงิ่ ทางประวัติศาสตร์ ทีส่ ามารถชี้แสดงถึงขั้นตอนการปฎิบตั ิราชการต่างๆ ขณะตรวจราชการได้อย่าง
ชัดเจน การตรวจราชการของพระยาเพชรดา (สะอาด ณ ป้อมเพชร์) เป็นการเดินทางไปตรวจราชการ ๒ ครั้ง คอื
พ.ศ. ๒๔๗๐ และ พ.ศ. ๒๔๗๔ จา� นวน ๒๔๐ ภาพ มรี ายละเอยี ดต่อไปน้ี

๑. ภาพตรวจราชการมณฑลเทศาภบิ าล พ.ศ. ๒๔๗๐ จา� นวน ๑๐๓ ภาพ เปน็ ภาพการเดนิ ทางตรวจราชการของ
พระยาเพชรดา (สะอาด ณ ปอ้ มเพชร)์ สมหุ เทศาภบิ าลมณฑลนครราชสมี า (ขณะน้ันมณฑลนครราชสมี าไดผ้ นวกรวม
กับมณฑลร้อยเอ็ดและมณฑลอุบลราชธานีแล้ว) โดยเริ่มต้นการเดินทางจากนครราชสีมา ศรีสะเกษ อุบลราชธานี
โขงเจยี ม ปากเซ (เมอื งในปกครองของอนิ โดจนี ฝรง่ั เศส) เขมราฐ ตระการพชื ผล กาฬสนิ ธ์ุ สรุ นิ ทร์ และสน้ิ สดุ ทพ่ี มิ าย
มกี ารใชย้ านพาหนะแตกตา่ งกนั ทั้งรถไฟ เรอื กลไฟ เรือแพ รถยนต์ และเกวยี น ตามความเหมาะสมแต่ละพน้ื ท่ี

๒. ภาพตรวจราชการมณฑลเทศาภบิ าล พ.ศ. ๒๔๗๔ จ�านวน ๑๓๗ ภาพ เป็นภาพการเดนิ ทางจากนครราชสีมา
ขอนแกน่ เวียงจันทน์ นครพนม สกลนคร พิบลู มังสาหาร อุบลราชธานี และสิ้นสดุ ที่สรุ ินทร์ มกี ารใชย้ านพาหนะตาม
ความเหมาะสมแตล่ ะพน้ื ทเี่ ชน่ เดียวกบั การตรวจราชการครั้งแรก แตม่ คี วามนา่ สนใจคอื การเดนิ ทางในแมน่ �้าโขง โดย
เรมิ่ ตน้ ท่ีนครหลวงเวยี งจนั ทน์และไปสน้ิ สุดที่อุบลราชธานโี ดยเรือกลไฟของอนิ โดจนี ฝร่งั เศส

คณะบรรณาธิการไดเ้ ชิญผทู้ รงคุณวฒุ ทิ างประวัติศาสตรเ์ พอ่ื ช�าระภาพชุดน้ี ประกอบดว้ ย นายเอนก นาวกิ มูล
ผศ. ดร. ประภสั สร์ ชูวิเชยี ร ผศ. ดร.พีรศรี โพวาทอง และนายศรัณย์ ทองปาน จึงสามารถอา่ นภาพไดส้ า� เร็จสมบรู ณ์
เปน็ ทเ่ี รยี บรอ้ ย มศี าสตราจารยพ์ เิ ศษธงทอง จนั ทรางศุ และนายทรงเพชร สรุ ยิ กลุ ณ อยธุ ยา ซง่ึ เกย่ี วเน่อื งดว้ ยเปน็ ญาติ
ช่วยอ่านบางภาพ ในการจัดพิมพ์นั้น คณะบรรณาธิการก�าหนดให้แสดงค�าบรรยายภาพทีม่ ีมาแต่เดิมด้วยตัวอักษร
สีด�าหนา และคงอักขระวิธีสะกดตามต้นฉบบั ส่วนค�าอธิบายภาพเพิม่ เติมของคณะบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิ
จะเป็นตวั อกั ษรสแี ดง

ส�านกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทยหวงั เปน็ อยา่ งย่ิงว่า หนังสือ สมุดภาพตรวจราชการหัวเมือง ช่วงกงึ่ ทศวรรษ
กอ่ นการเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ จะเปน็ ประโยชนแ์ กข่ า้ ราชการมหาดไทยท้ังในสว่ นกลางและสว่ นภูมภิ าค
ในการตระหนกั ถึงความมานะบากบนั่ ของบรรพชนคนมหาดไทยในอดีต ซึง่ อุทิศตนในการปฏิบตั ิหน้าที่ราชการเพือ่
บา� บัดทุกข์ บา� รุงสุขให้เกิดโภคผลส�าเร็จแก่ประเทศชาติและประชาชน และหวังว่าจะเกิดประโยชน์ต่อสาธารณชน
ในมมุ ของประวัติศาสตร์ รฐั ศาสตร์ สถาปตั ยกรรม สังคมวิทยา และมานุษยวิทยาอีกดว้ ย

คณะบรรณาธกิ าร
๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙

6 • 6

Introduction

he 1872 re-organization of the administration of the Kingdom of Siam led to new modes
of ruling the country, under the public administration policy closely supervised by H.M. King
Chulalongkorn and H.R.H. Prince Damrong Rachanubhap, the irst Minister of Interior. he
monthon thesaphiban (administrative circles) system was introduced, in order to ensure integrity and
prosperity nationwide.

Central to the monthon thesaphiban system is the grouping of adjacent cities and towns into
an administrative circle that was administered by a governor. In charge of the general well-being of the
populace under their rule, governors needed to do inspection tours of the territory under their charge.
In a report of his 1903 inspection tour of Suphanburi Province, Prince Damrong stated that “. . . there
are two major tasks for provincial officials: to do necessary administrative jobs; and to do inspection tours
of various localities. Both tasks are equally important, and should be properly undertaken . . .”

Accordingly, most of the Ministry of the Interior’s provincial staf – governors, provincial
governors, sherif, kamnan, or village headman – had to perform their inspecting duties in addition to
the regular administrative jobs. Inspection tours helped enhance knowledge in administrative system
for oicials, who were also responsible for various other tasks: transmitting intelligence, civil registry,
census, basic education, religious matters, as well as a plethora of other public tasks that needed to be
undertaken by Ministry of Interior’s oicials. he Ministry’s inspection tours had a great impact on the
national bureaucratic system, and constituted a major drive towards the success of the re-organization
of the administration of the Kingdom of Siam according to King Chulalongkorn’s policy.

Inspection tours thus became the norm in the monthon thesaphiban system. Ministry of
Interior’s inspection tours were duplicated by other ministries with responsibilities in the provinces,
such as the Ministry of Public Instruction. Normally, written reports of inspection tours would be
submitted to the Minister ater the completion of the tours.

Accordingly, the photographic albums that were compiled by Phraya Phetchada (Sa-at na
Pombejra), then Governor of monthon Nakhon Ratchasima, were extremely unique as a photographic
record of such tours that he took in 1927 and 1931, respectively.

he irst album contains 103 photographs that were taken during the 1927 inspection tour.
Starting from Nakhon Ratchasima, the governor and his entourage went to Surin, Sisaket, Ubon
Ratchathani, Khong Chiam, Pakse (in French Indochina), Khemarat, Trakan Phuet Phon, Kalasin,
and Phimai. Various means of transportation were used: trains, steamboats, rats, motorized vehicles,
and bullock carts.

7 • 7

he second album contains 137 photographs that were taken during the 1931 inspection
tour. Starting, again, from Nakhon Ratchasima, the governor and his entourage went to Khon Kaen,
Vientiane, Nakhon Phanom, Sakon Nakhon, Phibun Mangsahan, Ubon Ratchathani, and Surin.
Interestingly, the journey included a French steamboat ride, from Vientiane to Ubon Ratchathani.

he editors had invited a number of historians – Anake Navikamune, Assoc. Prof. Dr. Praphat
Chuvichean, Assoc. Prof. Dr. Pirasri Povatong, and Sran hongpan – to help read these sets of
photographs. Professor hongthong Chandrangsu and Mr Songphet Suriyakul Na Ayudhya, both of
whom are descendants of Phraya Phetchada, helped with additional readings of the photographs.
In this publication, the original captions are in bold, black letters, with original spelling. Additional
texts provided by the editors and the photograph readers are in red.

Oice of Permanent Secretary for Interior hopes that this book will provide the Ministry
of Interior’s staf with a better understanding of their forebears’ dedication and diligence, towards
national integrity and prosperity. It is also hoped that the book will be useful for the general public,
as a source of historical information in terms of history, political science, architecture, sociology,
as well as ethnography.

he Editors.
November 6th, 2016.

8 • 8

ประวตั สิ งั เขป มหาอา� มาตยโ์ ท พระยาเพชรดา (สะอาด ณ ปอ้ มเพชร)์ สารบญั

ภาพตรวจราชการมณฑลเทศาภบิ าล พ.ศ. ๒๔๗๐ ๑๐
นครราชสีมา ๑๒
สุรนิ ทร์ ๑๓
ศรสี ะเกษ ๑๘
อุบลราชธานี ๒๒
พบิ ลู มังสาหาร ๒๙
โขงเจียม ๓๗
ปากเซ ๔๑
เขมราฐ ๔๒
ตระการพืชผล ๕๐
สถานที่ราชการ ๕๑
รอ้ ยเอ็ด ๕๒
กาฬสนิ ธ์ุ ๖๐
คณะนกั เรยี นและลกู เสือ ๖๔
พิธีบายศรสี ่ขู วญั ๗๐
ภาพหมขู่ ้าราชการ ๗๖
พมิ าย ๗๘
๙๒
ภาพตรวจราชการมณฑลเทศาภบิ าล พ.ศ. ๒๔๗๔ ๙๗
นครราชสีมา ๙๘
ขอนแก่น ๑๐๔
เวียงจนั ทน์ ๑๒๐
นครพนม ๑๔๐
ธาตพุ นม ๑๕๖
สกลนคร ๑๗๒
กุสมุ าลย์ ๑๘๒
ดา่ นช่องเมก็ ๑๙๐
พิบลู มังสาหาร ๑๙๓
อุบลราชธานี ๑๙๖
สุรนิ ทร์ ๑๙๙

9 • 9

ประวตั สิ ังเขป

มหาอาํ มาตยโ ท พระยาเพชรดา (สะอาด ณ ปอ‡ มเพชร)

มหาอา� มาตย์โท พระยาเพชรดา (สะอาด ณ ป้อมเพชร)์ เป็นบตุ รพระยาวิเศษไชยชาญ กับคณุ หญงิ ทองคา�
เกดิ เมื่อวันท่ี ๘ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๒๑ สา� เรจ็ การศึกษาจากโรงเรยี นอัสสัมชญั เม่ือ พ.ศ. ๒๔๔๔

พ.ศ.๒๔๓๘ บิดาได้ถวายตัวเปน็ มหาดเลก็ วิเศษในรชั กาลที่ ๕ และเมือ่ จบการศกึ ษาแล้ว ท่านไดเ้ ขา้ รับราชการ
ในสงั กัดกระทรวงมหาดไทย ในตา� แหน่งผู้ตรวจการมณฑลอยธุ ยา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๕ จนถงึ เดือนตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๔๖
จึงได้เปน็ ผ้รู ้ังต�าแหน่งนายอา� เภอผักไห่ ถึงเดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๔๗ เป็นผู้ร้ังตา� แหน่งขา้ หลวงมหาดไทย มณฑล
อยธุ ยา คร้ันเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๔๘ จงึ ไดร้ บั พระราชทานโปรดเกล้าฯ ให้รั้งต�าแหนง่ ผ้วู ่าราชการจงั หวัดปราจนี บรุ ี
ในขณะมีอายเุ พียง ๒๗ ปี

พระยาเพชรดา เมือ่ ยงั เป็นหลวงพัฒนกิจวิจารณ์ ในฐานะผู้รั้งต�าแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบรุ ีอยู่นั้น
มีราชการพิเศษให้ไปจัดการท�าปะร�าที่พักระหว่างทางเพื่อคอยรับครัวอพยพของเจ้าพระยาอภยั ภูเบศร์ (ชุ่ม อภยั วงศ์)
ที่เดินทางมาจากเมืองพระตะบอง อันเป็นผลมาจากกรณีเสียดินแดนเขมรส่วนในให้กับฝรัง่ เศสเมือ่ พ.ศ. ๒๔๔๘
ผลจากการปฏิบัตริ าชการในคราวน้ีจนเป็นทีเ่ รียบร้อย จึงไดร้ บั พระราชทานโปรดเกลา้ ฯ ให้ขึ้นเป็นผ้วู ่าราชการจงั หวดั
ปราจีนบุรี เมื่อเดอื นเมษายน พ.ศ. ๒๔๔๙ ตอ่ มาภายหลงั ท่านไดด้ �ารงต�าแหนง่ ต่างๆ ดงั น้ี

พ.ศ. ๒๔๔๙ - ๒๔๕๗ ผู้ว่าราชการจงั หวัดปราจีนบุรี
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๗ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ชลบรุ ี
วันท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๓ องคมนตรี
วันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๒ สมุหเทศาภิบาลมณฑลนครราชสีมา
วนั ที่ ๑๕ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๖๗ สมุหพระนครบาล
วนั ท่ี ๑๒ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๖๙ สมหุ เทศาภิบาลมณฑลนครราชสีมาอีกวาระหนึ่ง
พ.ศ. ๒๔๗๐ กรรมการองคมนตรี

ตลอดระยะเวลาท่ีได้ปฏิบัติราชการ พระยาเพชรดาไดป้ ฏบิ ตั ิหน้าท่ดี ้วยความซอ่ื สตั ย์สจุ รติ และมคี วามจงรัก
ภกั ดีเสมอมา ท�าให้มีความเจริญในหน้าทีก่ ารงานมาโดยตลอด และได้รับพระราชทานยศและบรรดาศักดิ์หลายครั้ง
ดังน้ี

วันที่ ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๔๘ หลวงพัฒนกิจจารกั ษ์
เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๕๐ พระประชาไศรยสรเดช
วันที่ ๒๒ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๕๔ พระยาประชาไศรยสรเดช
วันท่ี ๓๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๖๒ พระยาก�าแหงสงคราม
วันท่ี ๒๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๗ พระยาเพชรดา เทพมหานคราภริ กั ษ์
มหาสวามภิ กั ดิพ์ ริ ยิ ะพาหะ

พระยาเพชรดา ได้แต่งงานกับหม่อมหลวงจิตรจุล กุญชร ณ อยธุ ยา บุตรีของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์
(หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๗ มีบตุ รและธิดาด้วยกันหลายคน ในคราวเปลีย่ นแปลงการปกครอง
พ.ศ. ๒๔๗๕ ของคณะราษฎร จงึ ไดข้ อลาออกจากราชการเพ่อื รบั พระราชทานเบ้ยี บา� นาญ ทา่ นถงึ แกอ่ นจิ กรรม ณ บา้ น
คลองเตย เมื่อวันที่ ๒ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๔๙๒ สริ อิ ายรุ วม ๗๑ ปี

10 • 10

Biography

Maha Ammat ho Phraya Phetchada (Sa-at na Pombejra)

Born on February 8th, 1879, Maha Ammat ho Phraya Phetchada
(Sa-at na Pombejra) was a son of Phraya Wisetchaichan and Khunying
hongkham. In 1895 his father presented him to King Chulalongkorn
as a royal page. Ater graduation from Assumption College in 1901,
he became a civil servant at the Ministry of the Interior, taking up the
position of provincial inspector of Ayutthaya Administrative Circle in
1902. In October 1903 he became acting sherif of Phak Hai District.
In June of the following year, he took the position of acting governor
of Ayutthaya Administrative Circle. In January 1906, at the age of 27,
he became the acting governor of Prachinburi Province. During his
tenure at Prachinburi, with his oicial title of Luang Phatthanakitwichan,
he was given a special task of building resting houses to accommodate
the repatriation of Chaophraya Abhaibhubet (Chum Abhaiwongse)
from Battambong ater the loss of territories to French Indochina in 1905.
In April 1906 he became the governor of Prachinburi. Subsequently
he rose through the ranks:

1906 – 1914 Governor of Prachinburi
July 1914 Governor of Chonburi
October 1st, 1919 Governor of Nakhon Ratchasima Administrative Circle
April 5th, 1920 Privy Councillor
June 12th, 1922 Governor of Nakhon Ratchasima Administrative Circle (2nd round)
1927 Member of the Privy Council

During his long civil service, Phraya Phetchada had performed his duty with honesty and
loyalty to the monarchy. Accordingly, he received the following court titles:

April 10th, 1905 Luang Phatthanakitcharak

April 1907 Phra Prachasaisoradet

November 22nd, 1912 Phraya Prachasaisoradet

December 30th, 1919 Phraya Kamhaengsongkhram

August 25th, 1924 Phraya Phetchada hepmahanakharaphirak Mahasawamiphak

Phiriyaphaha

In 1904 Phraya Phetchada got married with ML Chitchul Gunjara na Ayudhya, a daughter
of Chaophraya Devesr Wongwiwat (MR Lan Gunjara). hey had several sons and daughters. Ater
the 1932 revolution, Phraya Phetchada resigned from the civil service and became a pensioner till his
death at his Khlong Toey residence on June 2nd, 1949, at the age of 71.

11 • 11

ภาพตรวจราชการมณฑลเทศาภบิ าล
พ.ศ. ๒๔๗๐

The 1927
Monthon Thesaphiban Inspection Tour

12 • 12

นครราชสมี า

สถานรี ถไฟทา่ ชา้ ง นครราชสีมา ha Chang Station, Nakhon Ratchasima.
คอื บ้านท่าช้าง อา� เภอเฉลมิ พระเกียรติ จงั หวัดนครราชสมี า ha Chang, a town in present-day Chaloem Phrakiat
บา้ นท่าช้างเป็นจุดท่ีลา� น�า้ สา� คญั ๒ สาย District, Nakhon Ratchasima Province, lies at the
มารวมกันคอื ลา� น้�ามูลและลา� น้�าล�าตะคอง ก่อนทจ่ี ะไหลผ่าน junction of Mun and Lam Takhong Rivers.
จงั หวัดตา่ งๆ ในอีสานใต้จนไปบรรจบกบั แมน่ ้า� โขง
13 • 13

ไม่มีคา� บรรยายภาพมาแตเ่ ดมิ No original caption.
โรงเรอื นคลา้ ยโรงเก็บสินคา้ และเกวยี นส�าหรับบรรทกุ สินคา้ Shed-like structures probably used to store goods
สนั นิษฐานวา่ เปน็ พืน้ ที่ใกล้กบั เส้นทางรถไฟและ and bullock carts, perhaps located near the railway
ตั้งอยู่ไมห่ ่างจากสถานีรถไฟมากนัก station.

14 • 14

ไม่มีค�าบรรยายภาพมาแตเ่ ดิม No original caption.
โรงเรอื นคล้ายโรงเก็บสนิ ค้าที่ตั้งอยู่ใกลก้ บั สถานรี ถไฟ Shed-like structures near the train station, probably
ปรากฏรถโดยสาร เลขทะเบียนอกั ษรยอ่ นม. คือ นครราชสมี า storage facilities. he carriage carries the initial NM,
which stands for Nakhon Ratchasima.

15 • 15

ไม่มคี า� บรรยายภาพมาแตเ่ ดิม No original caption.

รถโดยสารมีตัวหนงั สอื ท้ั งภาษาไทยและภาษาจีน อ่านว่า เชยี งเฮง An omnibus, with hai and Chinese scripts that read

“Chiang Heng.”

16 • 16

ไม่มีค�าบรรยายภาพมาแตเ่ ดมิ จงั หวัดสรุ ินทร์
สันนิษฐานวา่ คอื สถานรี ถไฟแห่งใดแห่งหน่งึ ระหว่างนครราชสีมา ดา้ นซา้ ยของภาพแลเหน็ ขบวนรถไฟ และมีโรงเรอื นเก็บสินคา้
กบั สุรนิ ทร์ (เส้นทางรถไฟสายอสี านเปดิ เดินรถถงึ สถานีสรุ นิ ทร์ อย่เู บือ้ งหนา้
เป็นครั้งแรกเมือ่ วนั ท่ี ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๙)
Surin Province.
No original caption. Rail carriages to the left, with
Probably a train station somewhere between storage facilities nearby.
Nakhon Ratchasima and Surin. he northeastern
line reached Surin for the irst time on May 1, 1926.

17 • 17

สรุ นิ ทร์

จังหวัดสรุ ินทร์ Surin Province.
ชุมชนสถานรี ถไฟสรุ นิ ทร์ แลเห็นเรือนร้านรมิ ถนน he neighborhood around Surin Station.
หนา้ สถานรี ถไฟสรุ ินทร์

18 • 18

จงั หวัดสุรินทร์ Surin Province.
ชุมชนหนา้ สถานรี ถไฟสรุ นิ ทร์ he neighborhood around Surin Station.

19 • 19

ไม่มีคา� บรรยายภาพมาแต่เดมิ No original caption.
สนั นษิ ฐานว่าคอื สถานีรถไฟแหง่ ใดแห่งหน่งึ ในเขตจงั หวัดสุรนิ ทร์
แลเหน็ บงึ นา้� และโรงเรือนสา� หรับเก็บสนิ ค้าขนาดใหญ่และ Probably a train station in Surin, with large storage
คอ่ นขา้ งหนาแนน่ มาก facilities and a pond.

จงั หวัดสรุ นิ ทร์ Surin Province.
สนั นิษฐานว่าคือสถานรี ถไฟแหง่ ใดแหง่ หนง่ึ ในเขตจังหวดั สุรนิ ทร์
แลเห็นโรงเรือนส�าหรับเกบ็ สินค้าและขบวนเกวียนขนาดใหญ่ Probably a train station in Surin,
ท่มี าขนถ่ายสนิ คา้ with storage facilities for goods and bullock carts.

20 • 20

ไม่มีคา� บรรยายภาพมาแต่เดิม No original caption.
สนั นษิ ฐานวา่ คือสถานีรถไฟแหง่ ใดแหง่ หนึง่ ในระหวา่ งนครราชสมี า
กบั สรุ นิ ทรแ์ ลเหน็ ลอ้ และรางรถไฟอะไหลว่ างอยดู่ ว้ ยกนั Probably a train station somewhere between Nakhon
Ratchasima and Surin. Rail wheels and tracks are
lying about.

ไม่มคี �าบรรยายภาพมาแตเ่ ดิม No original caption.
สนั นิษฐานวา่ คือสถานีรถไฟแหง่ ใดแหง่ หนึง่ ในระหวา่ งนครราชสมี า Probably a train station somewhere between Nakhon
กบั สรุ นิ ทรแ์ ลเหน็ โรงเรอื นสา� หรบั เกบ็ สนิ คา้ ขนาดใหญ่ Ratchasima and Surin, with large storage facilities.

21 • 21

ศรสี ะเกษ

22 • 22

ปราสาทหนิ วดั สระกา� แพง นครราชสมี า
คือปราสาทสระกา� แพงใหญ่ อ�าเภออุทุมพรพสิ ยั จงั หวดั ศรีสะเกษ,
นครราชสมี า ในที่นี้หมายถงึ มณฑลนครราชสมี า ซึง่ ประกอบดว้ ย
เมอื งนครราชสีมา เมอื งชยั ภมู ิ เมืองบุรีรัมย์ เมอื งสุรินทร์ และ
เมอื งศรสี ะเกษ
คนนั่งกลางด้านหนา้ (มอื ถือกล้อง) คือ พระยาเพชรดา
(สะอาด ณ ปอ้ มเพชร)์ เทศาภบิ าลมณฑลนครราชสีมาในขณะนั้น
สว่ นหญิงน่ังด้านซา้ ย (ไขวข้ า) คอื หมอ่ มหลวงจิตรจลุ ณ ปอ้ มเพชร์
(สกลุ เดมิ กญุ ชร) ภรรยา

Prasat Hin Wat Sakamphaeng, Nakhon Ratchasima.
Prasat Wat Sakamphaeng Yai, Uthumphon
Phisai District, present-day Sisaket Province.
he term Nakhon Ratchasima in the original caption
denotes the Monthon (Administrative Circle) of
Nakhon Ratchasima, which included Sisaket, among
other provinces. Seated at front-center – with a camera
– is Phraya Phetchada (Sa-at na Pombejra), governor of
Monthon Nakhon Ratchasima. To his right was ML
Chitchul na Pombejra, née Gunjara, his wife.

23 • 23

ปราสาทหินวดั สระกา� แพง Prasat Hin Wat Sakamphaeng.
บริเวณดา้ นทศิ ตะวนั ออกของปราสาทประธาน
จุดทีม่ ีคนนงั่ หันหลังแลเหน็ ปราสาทจ�าลองขนาดเลก็ Eastern side of the main tower. A miniature stupa
ซงึ่ เดมิ ใช้ประดบั อยูบ่ นยอดของหลงั คาปราสาท which used to adorn the top of the tower is placed
บุรุษสวมหมวกทยี่ นื อยดู่ ้านซ้ายคือ near the seated man. Phraya Phetchada,
พระยาเพชรดา (สะอาด ณ ปอ้ มเพชร)์ wearing a hat, stands to the left of the stupa.

24 • 24

ปราสาทหนิ วัดสระกา� แพง Prasat Hin Wat Sakamphaeng.
ปราสาทเขมรโดยทวั่ ไปจะหันหน้าไปทางทศิ ตะวันออก he main tower and the southern tower (close to the
แลเห็นปราสาทประธานและปราสาทหลงั ทศิ ใต้ (ใกล้ต้นไม)้ tree). A Baphuon-style lintel lies on the ground.
และปรากฏเหน็ ทบั หลังศิลปะเขมรแบบบาปวนหลน่ อยู่
25 • 25

บรเิ วณปราสาทหินวัดสระก�าแพง In the vicinity of Prasat Hin Wat Sakamphaeng.
บรเิ วณดา้ นหลงั ของปราสาทประธาน ถ่ายจากระเบยี งคด
ดา้ นทิศตะวันตก he back side of the main tower, viewed from the
western gallery.
26 • 26

ปราสาทหนิ วดั สระกา� แพง Prasat Hin Wat Sakamphaeng.
มขุ ของปราสาทหลังกลาง ทิศตะวันออก Porch of the main tower, viewed from the east.
ปราสาทหินวดั สระก�าแพง
บรเิ วณระเบียงคดของปราสาทสระก�าแพงใหญ่ Prasat Hin Wat Sakamphaeng.
he gallery, Prasat Wat Sakamphaeng.

27 • 27

ปราสาทหนิ วดั สระก�าแพง Prasat Hin Wat Sakamphaeng.
ราษฎรในบริเวณชุมชนรอบๆ ปราสาทสระกา� แพงใหญ่
แลเห็นครกกระเดื่องขนาดใหญ่ People from the community near Prasat Wat
Sakamphaeng. A large wooden mortar is visible.
28 • 28

อบุ ลราชธานี

แมน่ า้� มลู อบุ ลราชธานี Mun River, Ubon Ratchathani.

สนั นิษฐานว่าเปน็ แม่น�้ามูลบริเวณชุมชนหนา้ ตวั เมืองอบุ ลราชธานี Probably Mun River in front of the city of Ubon

Ratchathani.

แมน่ า�้ มลู จังหวดั อุบลราชธานี Mun River, Ubon Ratchathani Province.

สนั นิษฐานวา่ เป็นแมน่ า้� มูลบรเิ วณชมุ ชนหนา้ ตัวเมืองอุบลราชธานี Probably Mun River in front of the city of Ubon
Ratchathani.

29 • 29

แม่น�า้ มูล จังหวดั อุบลราชธานี
สันนิษฐานวา่ เปน็ แม่น้า� มูลบริเวณชมุ ชนหน้าตัวเมืองอบุ ลราชธานี

Mun River, Ubon Ratchathani Province.
Probably Mun River in front of the city of Ubon
Ratchathani.

30 • 30

31 • 31

ถนนในจงั หวดั อบุ ลราชธานี Road in Ubon Ratchathani.
บรรยากาศบริเวณตลาดเมอื งอุบลราชธานี
แลเห็นอาคารตกึ ๒ ชั้น Market street in Ubon Ratchathani,
with 2-storey buildings.
32 • 32

ไม่มีค�าบรรยายภาพมาแต่เดิม No original caption.
แลเหน็ สะพานไมข้ า้ มลา� น้�าแห่งหนง่ึ A wooden bridge over a river.
ไมม่ คี �าบรรยายภาพมาแต่เดมิ
สะพานไมข้ นาดใหญส่ �าหรบั รถยนตแ์ ลน่ ได้ No original caption.
A large wooden bridge for motorized vehicles.

33 • 33

ถนนในจังหวัดอบุ ลราชธานี Road in Ubon Ratchathani.
บรรยากาศร้านโรงเรอื นค้าขายในตวั เมืองอบุ ลราชธานี Commercial area in Ubon Ratchathani city.

34 • 34

ไมม่ ีคา� บรรยายภาพมาแตเ่ ดิม No original caption.
ไม่ทราบรายละเอยี ด Details unknown.

ไมม่ ีคา� บรรยายภาพมาแต่เดมิ No original caption.
ไม่ทราบรายละเอยี ด Details unknown.

35 • 35

ไม่มีค�าบรรยายภาพมาแตเ่ ดิม No original caption.
สันนิษฐานว่าเปน็ แม่นา�้ มูล บรเิ วณจงั หวดั อุบลราชธานี
Probably Mun River,
Ubon Ratchathani Province area.

ไมม่ ีคา� บรรยายภาพมาแตเ่ ดิม No original caption.
แลเหน็ แพกา� ลงั บรรทกุ เกวยี นลอ่ งขา้ มล�าน�้าขนาดใหญ่
มีลกั ษณะคล้ายแม่น�้ามลู บรเิ วณใกล้กบั ตวั เมอื งอุบลราชธานี A raft transferring bullock carts across a major river,
probably Mun River near the city of
36 • 36 Ubon Ratchathani.

พิบูลมงั สาหาร

ไมม่ คี �าบรรยายภาพมาแต่เดมิ No original caption.
สันนษิ ฐานว่าเปน็ แมน่ �้ามูล บรเิ วณแกง่ สะพือ Probably Mun River near Kaeng Saphue rapids,
อา� เภอพิบลู มังสาหาร จงั หวัดอบุ ลราชธานี present-day Phibun Mangsahan District,
Ubon Ratchathani Province.

37 • 37

ไม่มคี า� บรรยายภาพมาแตเ่ ดิม No original caption.
สนั นษิ ฐานวา่ เป็นแม่นา�้ มูล บริเวณใกลก้ ันกบั แกง่ สะพอื
อา� เภอพิบลู มังสาหาร จงั หวัดอบุ ลราชธานี Probably Mun River near Kaeng Saphue rapids,
present-day Phibun Mangsahan District,
Ubon Ratchathani Province.

ภาพหน้าขวา-ลา่ ง
ไมม่ คี า� บรรยายภาพมาแต่เดิม
แลเห็นขบวนเรอื กา� ลงั ลอ่ งผา่ นแก่งกลางแมน่ า�้ สันนษิ ฐานว่าเปน็
แมน่ �า้ มูล ในระหวา่ งเส้นทางจากอ�าเภอพบิ ูลมังสาหารกบั อา� เภอ
โขงเจยี ม จังหวดั อบุ ลราชธานี

No original caption.
A group of vessels passing through a rapids in
Mun River, en route between Phibun Mangsahan
and Khong Chiam Districts, Ubon Ratchathani
Province.

38 • 38

ไม่มคี า� บรรยายภาพมาแต่เดิม No original caption.
แลเหน็ ขบวนเรอื กา� ลงั ลอ่ งผา่ นแกง่ กลางแมน่ �า้ สันนิษฐาน
วา่ เปน็ แม่น้า� มลู ในระหว่างเสน้ ทางจากอ�าเภอพิบลู มงั สาหาร A group of vessels passing through a rapids in
กบั อา� เภอโขงเจียม จังหวัดอบุ ลราชธานี Mun River, en route between Phibun Mangsahan
and Khong Chiam Districts, Ubon Ratchathani
Province.

39 • 39

โขงเจียม

แมน่ ้�าโขง อา� เภอสุวรรณวารี Mekong River at Suwannawari District.
บริเวณ ใกล้กบั จุดบรรจบของแม่น�า้ โขงกับแม่น�้ามลู
อ�าเภอสวุ รรณวารี ต่อมาไดเ้ ปลย่ี นช่อื เปน็ อ�าเภอโขงเจยี ม he junction of Mun and Mekong Rivers at the
เมือ่ วันท่ี ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๒ present-day Khong Chiam District.

แม่นา�้ มลู ตอ่ ปากแมน่ �า้ โขง อา� เภอสวุ รรณวารี he junction of Mun and Mekong Rivers
ปากมลู บริเวณจดุ บรรจบของแมน่ ้�าโขงกบั แมน่ ้า� มูล at Suwannawari District.

Pak Mun area, at the junction of the two rivers.

40 • 40

แม่น�า้ โขง อา� เภอสุวรรณวารี Mekong River at Suwannawari District.
คือแม่นา้� โขงบรเิ วณตอนเหนือของที่ตง้ั อ�าเภอโขงเจียม
แลเหน็ เรอื กลไฟโดยสารของฝรง่ั เศสแล่นอยู่ในแมน่ �า้ he river north of Khong Chiam District, with a
French passenger steamboat.

แม่นา้� โขง อา� เภอสุวรรณวารี Mekong River at Suwannawari District.
คอื แมน่ �า้ โขงบรเิ วณตอนเหนือของท่ีตง้ั อ�าเภอโขงเจียม he river north of Khong Chiam District.

41 • 41

ปากเซ

ไมม่ คี �าบรรยายภาพมาแต่เดิม No original caption.
แมน่ ้�าโขง ถ่ายจากบริเวณหนา้ เมืองปากเซ he Mekong River in front of Pakse city.

42 • 42

ไม่มีคา� บรรยายภาพมาแตเ่ ดมิ No original caption.
แมน่ �า้ โขงใกลเ้ มืองปากเซ ภูเขายอดแหลมในภาพคอื ภูเกา้
he Mekong River near Pakse,
with Phu Kao mountain.

43 • 43

ถนนเมอื งปากเซ Road in Pakse.
เมืองปากเซ ในขณะนั้นขึ้นอย่อู นิ โดจีนฝรงั่ เศส
ปจั จุบนั ข้ึนอยกู่ บั แขวงจา� ปาสกั สปป.ลาว hen under French Indochina, Pakse is now the
capital of Champasak Province, Laos.
44 • 44

น้�าตกปากเซ A waterfall in Pakse.
ไม่ทราบชอ่ื น้�าตก สนั นิษฐานว่าอยู่ในเขตเมืองปากเซ Anonymous waterfall in Pakse, French Indochina.
อินโดจีนฝร่งั เศส
45 • 45

นา้� ตกปากเซ A waterfall in Pakse.

ภาพหน้าขวา-ลา่ ง
ไม่มคี า� บรรยายภาพมาแต่เดมิ
ไม่ทราบรายละเอียด

No original caption.
Details unknown.

46 • 46

น้า� ตกปากเซ A waterfall in Pakse.

47 • 47

ไมม่ คี �าบรรยายภาพมาแต่เดมิ No original caption.
สนั นษิ ฐานวา่ เป็นจดุ พกั ผ่อนของคณะตรวจการ Probably a resting place for the inspection tour group.
ไม่ทราบรายละเอยี ดสถานที่

ภาพหน้าขวา-ลา่ ง
ไมม่ คี �าบรรยายภาพมาแต่เดมิ
แพบรรทุกรถยนตส์ า� หรบั ข้ามล�าน�า้ ท่ตี อ่ ข้นึ
จากเรอื ขนาดเล็กหลายๆ ล�า

No original caption.
Ferryboat for motorized vehicles,
made up of small boats.

48 • 48

ปากเซ เขตร์แดนฝรัง่ เศส French border, Pakse.
เรือกลไฟโดยสารของฝรั่งเศส ๒ ลา� ส�าหรับแลน่ ในแมน่ �้าโขง
เรือกลไฟโดยสาร ๒ ช้ัน ลา� ขวามอื มีชือ่ ว่าอารก์ สุ Two French passenger steamboats plying
the Mekong River.

49 • 49


Click to View FlipBook Version