The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by stabundamrong KM, 2021-10-14 00:30:06

120 ปี กระทรวงมหาดไทย

part เดียวจบ

งานราชการทกุ อย่าง ไม่ว่าเล็กหรอื ใหญ่ ง่ายหรือยาก ยอ่ มมีความส�ำ คัญอยใู่ นงานของแผน่ ดินดว้ ยกัน
ทั้งสน้ิ อกี ทงั้ งานทกุ ด้านทกุ สาขา ย่อมสมั พันธ์เกี่ยวเนื่องกนั เปน็ ปัจจัยเก้อื กลู สง่ เสริมกนั และกันอยู่. ข้าราชการ
ทุกคน ทุกฝ่าย ทุกระดับ จึงต้องไม่ถือตัวแบ่งแยกกัน หากต้องพิจารณาให้เห็นความสำ�คัญของกันและกัน
แลว้ รว่ มงานประสานสมั พนั ธก์ นั ดว้ ยความเปน็ มติ ร ดว้ ยความเขา้ ใจเหน็ ใจกนั และดว้ ยความเมตตาปรองดองกนั .
งานของแผ่นดินทุกส่วน จักได้ดำ�เนินก้าวหน้าไปพร้อมเสมอกัน และยังประโยชน์ท่ีพึงประสงค์คือความเจริญ
มัน่ คง ใหเ้ กดิ แก่บคุ คล แกง่ าน และแก่สว่ นรวมได้แท้จรงิ

พระบรมราโชวาท
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว
อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิรริ าช
เม่อื วันท ี่ ๓๑ มนี าคม พุทธศกั ราช ๒๕๕๕

“เจา้ คณุ อ�ำ นาจอยทู่ ร่ี าษฎรเชอ่ื ถอื
ไมใ่ ชอ่ ยทู่ พ่ี ระแสงราชศสั ตรา จะไปอยทู่ ไ่ี หนกต็ าม
ถา้ เจา้ คุณทำ�ให้ราษฎรเชื่อถือดว้ ยความศรทั ธาแลว้ ไม่มีใครถอดเจ้าคุณได้ แม้ในหลวง เพราะทา่ น
ก็ทรงปรารถนาใหร้ าษฎรอย่เู ยน็ เป็นสุขเชน่ เดียวกัน”
สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำ รงราชานภุ าพ

องค์ปฐมเสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย

ผู้บรหิ ารกระทรวงมหาดไทย

นายจารพุ งศ์ เรอื งสวุ รรณ
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

นายประชา ประสพดี นายวสิ าร เตชะธีราวัฒน์
รัฐมนตรชี ่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงมหาดไทย

นายวิบูลย์ สงวนพงศ์
ปลดั กระทรวงมหาดไทย

นายประภาศ บุญยินดี หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกลุ
รองปลัดกระทรวงมหาดไทย รองปลดั กระทรวงมหาดไทย
หวั หน้ากลมุ่ ภารกิจด้านกิจการความม่ันคงภายใน หวั หน้ากลมุ่ ภารกจิ ดา้ นสาธารณภัยและพฒั นาเมอื ง

นายภาณุ อุทัยรัตน์ นายจรินทร์ จกั กะพาก นายแกน่ เพชร ชว่ งรังษี
รองปลัดกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย
หัวหน้ากลมุ่ ภารกิจด้านกิจการพิเศษ หวั หน้ากลมุ่ ภารกจิ ด้านพฒั นาชมุ ชน หวั หน้ากลุ่มภารกิจดา้ นบรหิ าร
และส่งเสริมการปกครองท้องถ่นิ

ค�ำนยิ ม

ในฐานะท่ีเคยรับราชการกระทรวงมหาดไทย ต้ังแต่ต�ำแหน่งปลัดอ�ำเภอ นายอ�ำเภอ จนได้รับพระกรุณา
โปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตงั้ ใหม้ าดำ� รงตำ� แหนง่ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยในครงั้ น้ี ไดร้ บั รถู้ งึ ความลำ� บาก ความทมุ่ เท
เสยี สละในการท�ำงานของฝา่ ยปกครอง และร้สู ึกถงึ คุณคา่ ความภมู ิใจในศกั ดศ์ิ รขี องความเป็นราชสีห์ทเ่ี ป็นเสาหลกั
ในการดูแลทุกข์สุขของประชาชนมาโดยตลอด คนมหาดไทยถือว่าเป็นบุคคลท่ีมีจิตใจที่แข็งแกร่งเป็นอย่างมาก
เพราะคนมหาดไทยจะตอ้ งมคี วามอดทนจากแรงกดดนั ในทกุ ๆ ด้านไมว่ ่าจะเปน็ การแกป้ ญั หาอปุ สรรคในทุกรูปแบบ
เฉกเช่นเดียวกับกระทรวงมหาดไทยที่ได้รับการสถาปนาต้ังแต่วันท่ี ๑ เมษายน ๒๔๓๕ จนถึงปัจจุบันมีอายุครบ
๑๒๐ ปี ย่อมต้องผ่านร้อนผ่านหนาวจากแรงกดดันด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และต้องปรับตัวให้ทันกับ
ยคุ สมัยปจั จบุ นั ทีม่ กี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็วตามกระแสโลกาภิวัฒนอ์ ยูต่ ลอดเวลา
ในโอกาสครบรอบการสถาปนากระทรวงมหาดไทย ๑๒๐ ปี และเปน็ การเทิดพระเกียรติในวาระครบรอบ
๑๕๐ ปี วันประสูติของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ผู้เป็นองค์ปฐมเสนาบดีกระทรวง
มหาดไทย กระทรวงมหาดไทยได้มีการจัดพิมพ์หนังสือ ๑๒๐ ปี กระทรวงมหาดไทย เพ่ือแสดงให้เห็นถึงประวัติ
ความเป็นมาของการปกครองไทยในมุมมองทางประวัติศาสตร์ บุคคล สถานท่ี และนานาทัศนะของคนมหาดไทย
รวมถงึ การสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ภาพทมี่ กี ระทรวงมหาดไทยเปน็ เสาหลกั ของบา้ นเมอื ง ในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ตงั้ แต่
อดีตจนถึงปจั จุบัน

กระทรวงมหาดไทย ขอแสดงความชื่นชมยินดีกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานจัดท�ำหนังสือเล่มน้ี
ให้ส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดีโดยหวังเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือ ๑๒๐ ปี กระทรวงมหาดไทย จะเป็นแหล่งข้อมูลส�ำคัญทาง
การบรหิ ารราชการไวใ้ หอ้ นชุ นรนุ่ หลงั ไดศ้ กึ ษาเรยี นรตู้ อ่ ไป พรอ้ มทงั้ ขอเปน็ กำ� ลงั ใจใหค้ นมหาดไทยรว่ มแรงรว่ มใจกนั
สานต่อภารกิจของกระทรวงมหาดไทยในการบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข ประชาชนอย่างเข็มแข็ง และช่วยกันเป็นพลัง
ขับเคล่ือนให้ประเทศชาติอันเป็นท่ีรักของเราทุกคน มีความม่ันคง เจริญก้าวหน้าวัฒนาสถาพรสืบต่อไปอีกนาน
เท่านาน





นายจารพุ งศ์ เรอื งสวุ รรณ
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย

๑๒๐ ปี 5

กระทรวงมหาดไทย

ค�ำน�ำ

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระบรมราชโองการ ต้ังกระทรวงมหาดไทย เม่ือวันท่ี
๑ เมษายน ๒๔๓๕ และได้ทรงมอบหมายให้สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ ดำ� รงตำ� แหน่ง
เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทยเป็นพระองค์แรก
กระทรวงมหาดไทย เปน็ กระทรวงใหญม่ อี �ำนาจหนา้ ทบี่ �ำบดั ทกุ ข์ บำ� รงุ สขุ แกป่ ระชาชน และความมนั่ คงของ
ประเทศ การใดท่ีจะเป็นความสุขแก่ประชาชน คนมหาดไทยก็ต้องท�ำนุบ�ำรุงส่งเสริมให้มีความสุขย่ิงขึ้น การใด
ทจ่ี ะเปน็ ความทกุ ขก์ จ็ ะขจดั ปดั เปา่ ใหพ้ ลนั สญู หายไป หากยอ้ นประวตั คิ วามเปน็ มาแลว้ พบวา่ การทก่ี ระทรวงมหาดไทย
ได้ยืดหยัดอย่างม่ันคง มีวิวัฒนาการเป็นกระทรวงท่ีเข้มแข็งสถิตสถาพรมายาวนานเป็นเวลา ๑๒๐ ปี ในทุกวันนี้
ก็เพราะข้าราชการกระทรวงมหาดไทยทัง้ ในอดตี ปัจจุบัน ไดเ้ สยี สละทง้ั แรงใจ แรงกาย ทุม่ เทความรู้ ความสามารถ
ปฏิบตั ิงานตามภารกจิ ในด้านต่างๆ อยา่ งต่อเนื่อง จึงได้เหน็ ความก้าวหนา้ ของกระทรวงมหาดไทยมาจนถึงปัจจบุ นั น้ี
โดยเฉพาะสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ องค์ปฐมเสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย พระองคไ์ ด้
ทรงวางรากฐานการปกครองทเี่ ปน็ แบบอย่างในการทำ� งานและการดำ� เนนิ ชวี ิตให้แก่คนมหาดไทยไว้แล้วเปน็ อยา่ งดี
ในโอกาสท่ีกระทรวงมหาดไทย ครบรอบการสถาปนา ๑๒๐ ปี ในวันท่ี ๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๕
กระทรวงมหาดไทย ได้จัดกิจกรรมต่างๆ ตลอดปี ๒๕๕๕ เพื่อน้อมร�ำลึกถึงพระคุณแห่งองค์ปฐมเสนาบดี
กระทรวงมหาดไทย ในโอกาสครบ ๑๕๐ ปี วนั ประสูติ รวมถงึ การศึกษาพิจารณาทบทวนบทบาทหน้าทใ่ี นอดตี จนถึง
ปัจจุบันของกระทรวงมหาดไทย เพ่ือน�ำมาปรับปรุงการปฏิบัติงาน ให้เกิดผลดีต่อประชาชนและประเทศชาติ
และจดั ทำ� หนังสอื ๑๒๐ ปี กระทรวงมหาดไทย เพ่ือเป็นเอกสารประวตั ิศาสตร์สำ� คัญใหอ้ นชุ นรุ่นหลงั ไดศ้ กึ ษา เข้าใจ
เรอ่ื งราวในอดตี ของกระทรวงมหาดไทย บริบทการเปล่ยี นแปลงจากยุค สู่ยุค โดยจะเป็นการรอ้ ยเรยี งประวัตศิ าสตร์
กระทรวงมหาดไทยตั้งแต่เร่ิมสถาปนา วิวัฒนาการในแต่ละช่วงสมัยต้ังแต่เร่ิมก่อตั้งจนถึงปัจจุบัน ข้อคิดส�ำคัญของ
ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ ไ่ี ดร้ ว่ มกนั ถา่ ยทอดประสบการณแ์ นวคดิ ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นางานมหาดไทยและสนบั สนนุ การ
พฒั นาประเทศชาตใิ หก้ า้ วหนา้ ตอ่ ไปตามยคุ สมยั และบรบิ ทของสงั คมไทย รวมถงึ การสะทอ้ นภาพภารกจิ ของกระทรวง
มหาดไทยในการบำ� บดั ทุกข์ บำ� รงุ สขุ แกป่ ระชาชน
ในนามกระทรวงมหาดไทย ขอขอบคณุ ผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นกระทรวงมหาดไทยทกุ ทา่ นและหนว่ ยงานราชการตา่ งๆ
รวมถึงรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ท่ีได้มีส่วนร่วมในการจัดท�ำหนังสือเล่มนี้จนส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
และขอเป็นก�ำลังใจให้คนมหาดไทยทุกท่านได้มุ่งม่ันสานต่อภารกิจตามพระปณิธานขององค์ปฐมเสนาบดีกระทรวง
มหาดไทย เพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชนไดอ้ ย่างยงั่ ยนื ตลอดไป


นายวิบูลย์ สงวนพงศ์
ปลดั กระทรวงมหาดไทย

6 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

สารบัญ

ค�ำนยิ ม ๙

ค�ำน�ำ ๑๐
๑๕
ร�ำลกึ ประวตั ิศาสตร์กระทรวงมหาดไทย ๓๙
๔๓
• การปกครองไทยสมยั โบราณ ๕๗
• สภาพเม่ือแรกสถาปนากระทรวงมหาดไทย
• ความยากเม่อื แรกต้งั กระทรวงมหาดไทย ๖๔
• วินิจฉยั เรอ่ื ง ค�ำว่า “มหาดไทย” ๖๕
• ตราประจำ� กระทรวงมหาดไทย ๗๑
๘๗
องค์ปฐมเสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย สมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ ๙๗
• พระประวตั ิ
• เสนาบดี และรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย ตัง้ แต่อดตี จนถึงปจั จบุ นั ๑๑๕
• ทูลฉลองและปลัดกระทรวงมหาดไทย ตง้ั แตอ่ ดีตจนถงึ ปจั จุบัน ๑๑๖
• ววิ ัฒนาการของกระทรวงมหาดไทย ๑๑๘
๑๒๒
หนว่ ยงานของกระทรวงมหาดไทย ๑๓๒
• ส�ำนกั งานรฐั มนตรี ๑๓๘
• สำ�นกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย ๑๔๒
• กรมการปกครอง ๑๔๙
• กรมการพฒั นาชมุ ชน ๑๕๒
• กรมท่ดี นิ ๑๕๖
• กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง ๑๖๑
• กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น ๑๖๗
• กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ๑๗๑
• การไฟฟ้านครหลวง ๑๘๑
• การไฟฟา้ ส่วนภูมภิ าค
• การประปาสว่ นภมู ภิ าค
• การประปานครหลวง
• องค์การตลาด

๑๒๐ ปี 7

กระทรวงมหาดไทย

ววิ ัฒนาการศาลากลางจงั หวดั ๑๘๖
เสน้ ทางสกู่ ารเปล่ียนแปลง...๑๒๐ ปี กระทรวงมหาดไทย ๒๐๘
• ๑๒๐ ปี กระทรวงมหาดไทย โดย ม.ล. ปนดั ดา ดิศกลุ ๒๑๒
• จากอดีต...สปู่ จั จุบนั ของมหาดไทย โดย นายประยูร พรหมพนั ธ ์ุ ๒๑๕
• ถอดรหัสมหาดไทย : ทศวรรษแหง่ การเปลีย่ นแปลง ๒๒๙
๒๓๗
๑๑ องค์ความรู้ : คนมหาดไทยกับการบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข ๒๓๘
• โอกาสและผลกระทบของประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนต่อกระทรวงมหาดไทย ๒๕๓
• กรมการปกครอง พัฒนาระบบงาน นำ� รอยยมิ้ สปู่ ระชาชน
โดย กรมการปกครอง ๒๖๐
• กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ กบั การบำ� บัดทกุ ข์ บ�ำรุงสุข
โดย กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่นิ ๒๖๕
• มหาดไทยกบั การ “บำ� บัดทกุ ข์ บ�ำรงุ สขุ ” โดย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ๒๖๙
• กรมการพัฒนาชุมชน : ๕๐ ปี ของการบ�ำบดั ทุกข์ บ�ำรงุ สุข
โดย กรมการพฒั นาชุมชน ๒๘๐
• กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง กับการพฒั นาประเทศ
โดย กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง ๒๘๕
• กรมท่ดี นิ สู่การบรกิ ารที่เป็นเลศิ
โดย กรมท่ีดิน ๒๙๙
• ๑ ทศวรรษ ปภ. จากอดตี ถงึ ปัจจุบนั ...สูก่ ารจัดการภัยพิบัติเชิงรกุ
โดย กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ๓๐๖
• การประปานครหลวงกบั การบำ� บดั ทกุ ข์ บำ� รงุ สขุ
โดย การประปานครหลวง ๓๑๑
• ทศิ ทางมงุ่ สอู่ งคก์ รทเี่ ปน็ เลศิ ของการประปาสว่ นภมู ภิ าค
โดย การประปาส่วนภูมภิ าค ๓๑๙
• องค์กรแห่งปัญญาดา้ นการคา้ ชมุ ชน
โดย องคก์ ารตลาด ๓๒๓

คตธิ รรมและแนวคิดส�ำคัญบางประการของสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ

ภาคผนวก
• ค�ำสัง่ แตง่ ตง้ั ทีป่ รกึ ษาและคณะท�ำงานจดั กจิ กรรม
เน่อื งในโอกาสวันสถาปนากระทรวงมหาดไทย ครบ ๑๒๐ ปี
• คณะทำ� งาน

8 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

ร�ำลกึ ประวัตศิ าสตร์
กระทรวงมหาดไทย

๑๒๐ ปี 9

กระทรวงมหาดไทย

การปกครองไทยสมัยโบราณ*

เป็นท่ีรับรองกันท่ัวไปแล้วว่าชนชาวไทยต้ังแต่โบราณกาลเมื่ออพยพจากประเทศจีนมาทาง
ใต้นน้ั ชนั้ แรกคงจะได้มาต้งั ภูมิล�ำเนาอยใู่ นท้องถ่ินลมุ่ แม่น้�ำโขง และข้างเหนอื ปลายแม่นำ้� เจา้ พระยา
เป็นส่วนมาก และมีดินแดนของชนชาติอ่ืนอยู่สองข้าง คือข้างฝ่ายตะวันตกเป็นบ้านเมืองของพวก
มอญ ฝ่ายตะวันออกเป็นเมืองของพวกขอมหรือเขมร การปกครองช้ันสมัยดึกด�ำบรรพ์เม่ือพวกท่ี
อพยพมานั้นเป็นใหญ่อยู่โดยล�ำพังก็ดี หรือในสมัยมอญมีอ�ำนาจเข้ามาครอบง�ำน้ัน แม้จะมีหนังสือ
ตา่ งๆ พรรณนาไวบ้ ้างกด็ ี แตย่ ากทจี่ ะยดึ ถอื วา่ มกี ารปกครองฝา่ ยพลเรือนอยา่ งไรใหเ้ ปน็ หลักฐานที่
จะสอบสวนยนื ยนั ไดแ้ นน่ อน เพราะเปน็ เวลาชา้ นานหลายรอ้ ยปมี าแลว้ และยงั ไมม่ หี นงั สอื ไทย เพราะฉะนนั้
ลักษณะการปกครองประเทศไทยชั้นสมัยโบราณเมื่อลาวยังเป็นใหญ่อยู่โดยล�ำพังก็ดี หรือใน
ช้ันเมื่อมอญเข้ามามีอ�ำนาจครอบง�ำก็ดี จะเป็นอย่างไรเป็นการเหลือวิสัยท่ีจะค้นคว้าให้ได้หลักฐาน
แน่นอน คงไดค้ วามตามทพ่ี งึ จะสนั นิษฐานไดแ้ ต่เพยี งวา่ แรกมาตง้ั ภูมิลำ� เนาเป็นบา้ นเมืองข้ึนใหมใ่ น
แว่นแคว้น ๑๒ เจ้าไทย แล้วพากันหาท่ีตั้งภูมิล�ำเนาต่อลงมาทางใต้จนถึงแขวง ๑๒ ปันนาและ
ลานช้างทางเชยี งราย เชียงใหม่ และมีบางพวกเลยลงมาจนถงึ แดนเมืองสโุ ขทัย ลพบรุ ี ตลอดจนถงึ
เมืองอู่ทองตั้งแตส่ มยั เม่อื พวกมอญยังปกครองทางฝ่ายเหนือและพวกขอมยังปกครองอยู่ทางฝา่ ยใต้
มจี ำ� นวนไทยทง้ั ทอี่ พยพมาและมาเกดิ ขนึ้ ใหมม่ ากขนึ้ เปน็ ลำ� ดบั ครงั้ ถงึ สมยั เมอื่ อำ� นาจมอญและขอม
เสอ่ื มลงดว้ ยกนั พวกไทยทลี่ งมาตง้ั บา้ นเมอื งแขวงเชยี งราย เชยี งใหมพ่ ากนั ตงั้ เปน็ อสิ ระขนึ้ กอ่ น แลว้
พวกทลี่ งมาตงั้ อยใู่ นแขวงสโุ ขทยั กต็ ง้ั เปน็ อสิ ระขนึ้ ตาม แลว้ สรา้ งเมอื งเชยี งราย เชยี งใหม่ เมอื งสโุ ขทยั
เปน็ ราชธานี ปราบปรามพวกขอมขยายอาณาเขตลงมาเมอื งลพบรุ ี ไทยท่มี าตัง้ อยเู่ ปน็ อสิ ระอยู่เมือง

*คัดจากหนังสือ ๑๐๐ ปี กระทรวงมหาดไทย กรงุ เทพฯ : โรงพิมพว์ ัฒนาการพมิ พ,์ ๒๕๓๕

10 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

สุโขทัยสามารถแผ่อาณาเขตได้กว้างใหญ่ไพศาล จนได้ ถงึ หากวา่ ประเทศไทยในสมยั แตโ่ บราณมาจนถงึ
เป็นเจ้าของประเทศไทยสืบมา จึงได้เค้าว่าเมืองสุโขทัย สมยั กรุงศรีอยุธยา เป็นสมยั ท่ีบา้ นเมืองยงั ตั้งเปน็ หมเู่ ปน็
เป็นปฐมราชธานีแห่งประเทศไทยในราว เม่ือ พ.ศ. เหลา่ ยงั รวบรวมกนั ไมไ่ ด้เป็นปกึ แผน่ เพราะเปน็ สมัยทีม่ ี
๑๘๐๐ เป็นต้นมา ส่วนหลักการปกครองท่ัวไปน้ัน การรบพงุ่ ฆา่ ฟนั กนั เพอ่ื ชงิ อำ� นาจชงิ บา้ นเมอื งในระหวา่ ง
แมจ้ ะไมม่ หี ลกั ฐานอยา่ งไร แตส่ งั เกตดเู ทา่ ทไ่ี ดค้ วามจาก พวกไทยกันเองบ้าง มีการศึกสงครามกับต่างประเทศ
หลกั ศลิ าจารกึ ครงั้ พระเจา้ ขนุ รามคำ� แหงและหนงั สอื บา้ ง ดังเชน่ เขมร มอญ พมา่ บา้ ง และฐานะการของประเทศ
ปรากฏวา่ อปุ นสิ ยั ชนชาตไิ ทยรกั อสิ ระของชาตติ ง้ั แตต่ น้ มา ทง้ั หลายในโลกนกี้ ำ� ลงั เปลยี่ นแปลงตามยคุ ตามสมยั ทวั่ ไป
ไม่อยากอยู่ในอ�ำนาจชนชาติอื่น เม่ือได้มาครอบครอง พระมหากษัตริย์ของชาติโดยผู้เป็นประมุขของชาติ
ประเทศไทยแล้ว แม้ในสมัยต่อมาต้องตกทุกข์ได้ยาก ก็คงจะได้จัดการปกครองและมีการเปล่ียนแปลงแก้ไข
โดยพวกเดียวกันแย่งชิงอ�ำนาจกันเองก็ดี หรือโดยมี มาแลว้ บ้างตามสมควรแก่กาลสมัย แต่เพราะว่าสมัยนน้ั
ชนชาติอื่นมีก�ำลังมากกว่าเข้ามาย�่ำยีบางคราว จนถึง ยังไม่มีหนังสือไทย ถึงเม่ือมีแล้วก็ไม่มีทางพิมพ์ออกให้
บา้ นแตกเสยี บา้ นเมอื งยบั เยนิ กย็ งั พยายามแมจ้ นเอาชวี ติ แพร่หลาย จึงยากท่ีเราท่านจะทราบความจริงได้ชัดเจน
แลกกอบกอู้ สิ ระของชาตกิ ลบั คนื อกี ทกุ ครงั้ ปรากฏมาใน แนน่ อนเปน็ หลกั ฐาน แต่ถึงเช่นนน้ั กด็ ี ยงั พอมเี คา้ พอเชอ่ื
เรอ่ื งนเี้ ป็นหลกั ฐานมัน่ คง ได้ว่า ลักษณะการพลเรือนแต่โบราณจัดเป็น ๔ แผนก
วิธีการปกครองของประเทศไทยแต่เดิมมา เรยี กวา่ เวยี ง วงั คลงั นา หรือรวมกันว่า “จตุสดมภ์”
มีเค้าเง่ือนปรากฏแต่เพียงว่ามีต่างกันเป็น ๒ ลัทธิ คือ แปลวา่ หลักทัง้ ๔ ลักษณะทจ่ี ัดระเบยี บการฝ่ายพลเรอื น
การปกครองของพวกลาวท่ีอพยพลงมา ถือว่าพระเจ้า เปน็ ๔ แผนกนนั้ สนั นษิ ฐานวา่ จะเปน็ ตำ� รามาแตอ่ นิ เดยี
แผ่นดินเป็นบิดาของประชาชน จึงปรากฏค�ำว่า ด้วยประเทศอื่นที่ใกล้เคียงกัน พม่าก็ดี เขมรก็ดี
“พอ่ ครวั ” หมายความวา่ ผปู้ กครองครวั เรอื นหลายๆ พวก ตลอดจนชวามลายู แบ่งเป็น ๔ แผนก ทำ� นองเดยี วกัน
รวมกันเป็นบ้าน อยู่ในปกครองของพ่อบ้านหลายบ้าน ทง้ั นัน้ ไทยเราคงไดแ้ บบมาจากพวกขอม เขตที่แบง่ เป็น
รวมเปน็ เมอื งอยใู่ นปกครองของ “พอ่ เมอื ง” ถา้ เปน็ เมอื ง ๔ แผนกนัน้ บางทีจะเอาหลกั ทางทหารมาใช้นัน่ เอง คอื
ประเทศราช เจ้าเมืองเป็น “ขุน” ดังน้ี จึงเป็นว่าวิธี ให้เสนาบดีผู้เป็นหัวหน้าจตุรงคเสนาท�ำการพลเรือน
ปกครองอย่างบิดาปกครองบุตร และการปกครองตาม คนละแผนก คอื
ประเพณีขอมน้ันเป็นลัทธิถือตามชาวอินเดีย สมมติว่า เสนาบดีกรมเวียง เป็นพนักงานปกครองท้องที่
พระเจา้ แผน่ ดนิ เปน็ พระโพธสิ ตั ว์ พระอศิ วร พระนารายณ์ รักษาสันติสุข บังคับบัญชาบรรดาไพร่บ้านพลเรือนเม่ือ
แบ่งภาคลงมาครองโลก แม้ลัทธิการปกครองของลาว อยูใ่ นทอ้ งที่ถ่ินฐานภมู ลิ �ำเนาของตนท่ัวไป
และไทยจะตา่ งกนั เชน่ วา่ มานแ้ี ลว้ กด็ ี แตไ่ ทยฉลาดในการ เสนาบดกี รมวงั เปน็ หวั หนา้ ในพระราชสำ� นกั และ
ประสานประโยชน์ จงึ ปรบั ปรงุ ใชว้ ธิ ปี กครองประเทศไทย เป็นเจา้ กระทรวงยุตธิ รรมดว้ ย จึงมนี ามวา่ “ธรรมาธกิ รณ”์
ประสานกนั้ ทั้ง ๒ วธิ ีต่อมา และถึงหากว่าภายหลังจะมี อนั เหตทุ ก่ี ระทรวงวงั จะไดว้ า่ การยตุ ธิ รรมดว้ ยนน้ั เพราะ
จีน และชนต่างชาติอื่นๆ เข้ามาอาศัยท�ำมาหากินอยู่ใน ประเพณีโบราณถือเป็นคติเหมือนกันหมดทุกประเทศ
ประเทศไทยมากขน้ึ กด็ ี ไทยใชค้ ณุ วฒุ ปิ ระสานใหร้ ว่ มเปน็ พระเจ้าแผ่นดินเป็นผู้ที่ประทานยุติธรรมแก่ไพร่ฟ้า
คนไทยไดต้ อ่ มาจนกาลบดั นี้ ข้าแผ่นดิน เป็นผู้ทรงบัญญัติความประพฤติของราษฎร

๑๒๐ ปี 11

กระทรวงมหาดไทย

เม่อื ราษฎรมคี ดดี ว้ ยเบียดเบยี นแกง่ แย่งกัน ใครนำ� ความ หน้าท่ี เป็นพนักงานส�ำหรับบรรดาการท่ีเกี่ยวข้องกับ
มากราบทูลพระเจ้าแผ่นดินๆ เป็นผู้ซ่ึงจะช้ีว่าผู้ใดผิด ชาวตา่ งประเทศอกี แผนกหนง่ึ เรยี กวา่ “กรมทา่ ” เพราะ
และบังคับให้ต้องรับโทษตามสมควรแก่ความผิดน้ัน บงั คบั การทา่ ทเ่ี รอื ตา่ งประเทศเขา้ มาคา้ ขาย การพระคลงั
พระเจ้าแผ่นดินซึ่งทรงปกครองพระราชอาณาเขตกว้าง กับการต่างประเทศรวมอยู่ในเสนาบดีคนเดียวกันมาจน
ขวางก็พ้นวิสัยซ่ึงทรงปฏิบัติได้ แม้เช่นน้ันบางพระองค์ กรุงรัตนโกสินทร์ พึ่งแยกเป็นต่างแผนกกันเม่ือปลาย
ดังเช่นพระเจ้ารามค�ำแหงมหาราชก็พอพระราชหฤทัย รชั กาลท่ี ๔ และมากำ� หนดเป็นกระทรวงเสนาบดตี า่ งกัน
จะประพฤติ จึงผูกกระดึงท่ีประตูพระราชวัง เพ่ือให้ เรียกว่ากระทรวงการต่างประเทศกระทรวง ๑ กระทรวง
ราษฎรมาส่ันกระดึงถวายฎีกาได้ แต่ก็ได้ประโยชน์แก่ พระคลังกระทรวง ๑ เม่อื ต้นรัชกาลที่ ๕
ราษฎรท่ีอยู่ในเมืองสุโขทัย หาเป็นประโยชน์แก่ผู้ซึ่งอยู่ พ.ศ. ๒๔๑๘ โปรดให้แยกการพระคลังจาก
หา่ งไกลไม่ ดว้ ยเหตนุ พ้ี ระเจา้ แผน่ ดนิ จงึ ตอ้ งแบง่ พระราช กรมท่ามาจัดเหมือนเป็นกระทรวงหน่ึงต่างหาก
อำ� นาจ ใหม้ ีผ้อู ื่นชว่ ยในการรักษาความยุตธิ รรม แตเ่ พ่อื ตั้งส�ำนักงาน ณ หอรัษฎากรพิพัฒน์ จัดระเบียบใน
จะเอาการนั้นไว้ให้ใกล้พระเนตรพระกรรณ จึงโปรดให้ สำ� นกั งานตามแบบออฟฟศิ อยา่ งฝรงั่ ขน้ึ เปน็ กระทรวงแรก
เสนาบดีกระทรวงวังซึ่งเป็นผู้อยู่ใกล้ชิดพระองค์เป็น คื อ ใ ห ้ บ ร ร ด า ผู ้ มี ต� ำ แ ห น ่ ง ใ น ห อ รั ษ ฎ า ก ร พิ พั ฒ น ์
เจา้ หนา้ ทก่ี ระทรวงยุตธิ รรม และมอี ำ� นาจต้งั ยกกระบัตร รับเงินเดือนแทนค่าธรรมเนียมอย่างแต่ก่อน ต้องมา
ออกไปอยู่ตามหัวเมืองท่ีใกล้ๆ พอไปมาได้เมืองละคน ทำ� งานฯ สำ� นกั งานตามเวลาเสมอ ทกุ วนั ทงั้ ผใู้ หญผ่ นู้ อ้ ย
สำ� หรบั บอกรายงานการรกั ษาความยตุ ธิ รรมในเมอื งนนั้ ๆ ยกเว้นแต่สมเด็จเจ้าฟ้า กรมสมเด็จพระบ�ำราบปรปักษ์
เขา้ มาใหพ้ ระเจา้ แผ่นดินทรงทราบด้วย เวลานั้นยังด�ำรงพระยศเป็นกรมพระ ซึ่งเป็นอธิบดี
เสนาบดกี ระทรวงพระคลงั เปน็ พนกั งานรบั จา่ ย พระองค์เดียว เห็นจะเป็นเพราะทรงพระราชด�ำริว่า
และเก็บรักษาพระราชทรัพย์ อันได้มาแต่ส่วยสาอากร ท่านทรงบัญชาการอยู่ทั้งกระทรวงวังและกระทรวง
หรือท่ีเราเรียกกันทุกวันนี้ว่า ภาษีอากร เม่ือสมัย พระคลงั โปรดอนญุ าตใหท้ รงบญั ชาการทว่ี งั อยา่ งแตก่ อ่ น
กรงุ ศรีอยุธยาปรากฏวา่ กำ� หนดเป็น ๔ ประเภท เรยี กว่า เพราะฉะนั้น ระเบียบส�ำนักงานท่ีใช้ในหอรัษฎาฯ
จงั กอบประเภท ๑ อากรประเภท ๑ สว่ ยประเภท ๑ ฤชา ยังเป็นอย่างเก่าเจืออยู่บ้าง จนถึง พ.ศ. ๒๔๒๘ ทรง
ประเภท ๑ พระกรุณาโปรดให้สมเด็จกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ
ท่ีกรมพระคลังได้ว่าการต่างประเทศด้วยน้ัน เม่ือยังด�ำรงพระยศเป็นกรมหมื่น เป็นเสนาบดีกรมท่า
มีมูลมาแต่ตอนกลางสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ท่านกราบทูลขอให้มีส�ำนักงานกระทรวง อย่าให้ต้องว่า
เหตุด้วยเม่ือมีชาวต่างประเทศแล่นเรือเข้ามาค้าขาย ราชการท่ีวัง จึงขอพระราชทานวังสราญรมย์ให้เป็น
เปน็ หนา้ ทขี่ องกรมพระคลงั จะตอ้ งซอื้ สง่ิ ของซง่ึ ตอ้ งใชใ้ น สำ� นกั งานกระทรวง ใหเ้ รยี กวา่ กระทรวงวา่ การตา่ งประเทศ
ราชการและขายของสว่ ยซงึ่ มเี หลอื ใชส้ อยอยใู่ นพระคลงั แตน่ ้ันมา สมเดจ็ กรมพระยาเทววงศ์ฯ เปน็ เสนาบดแี รก
ความเกย่ี วขอ้ งในระหวา่ งชาวตา่ งประเทศกบั กรมพระคลงั ทีม่ าประจำ� ท�ำงาน ณ สำ� นกั งานทกุ วนั เหมือนกับผนู้ ้อย
เกดิ แตด่ ว้ ยเรอ่ื งการคา้ ขายเปน็ มลู แลว้ เลยมาถงึ การธรุ ะ ทงั้ เปน็ เสนาบดแี รกทไ่ี ดร้ บั แตเ่ งนิ เดอื น เหมอื นกบั คนอน่ื
อยา่ งอ่ืนซง่ึ เกี่ยวกับชาวต่างประเทศ เหตดุ ้วยกรมพระคลงั อนั มีหน้าทใี่ นสำ� นกั งานกระทรวง
คุ้นเคยกับชาวต่างประเทศย่ิงกว่ากรมอื่น จึงเลยมี

12 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

เสนาบดีกรมนาน้ัน แต่โบราณมีหน้าที่เป็น พงศาวดารและทอี่ น่ื ๆ ปรากฏวา่ การปกครองเปน็ ดงั เชน่
พนักงานตรวจตราการท�ำไร่นาและออกสิทธิ์ที่นา ซ่ึง ที่ได้พรรณนามาแล้ว จนถึงสมัยในรัชกาลสมเด็จ
ถอื วา่ เปน็ การสำ� คญั อยา่ งยงิ่ ดว้ ยการทำ� นาเปน็ อาชพี ของ พระบรมไตรโลกนาถ และพระราชโอรส ราว พ.ศ. ๒๐๐๖
ราษฎรในประเทศนี้ย่ิงกว่าการอย่างอื่น หน้าที่เก็บ ได้ทรงต้ังหน่วยราชการเป็นกลาโหม (ทหาร) และ
หางข้าวขึน้ ฉางหลวง ซง่ึ นบั วา่ เปน็ การสำ� คัญดว้ ยเสบยี ง มหาดไทย (พลเรือน) กลาโหมและมหาดไทยทั้งสองน้ี
อาหารเป็นก�ำลังของร้ีพลส�ำหรับป้องกันบ้านเมืองแต่ เป็นกรมใหญ่กว่า เวยี ง วัง คลัง นา ดง่ั ทวี่ ่ามาแล้ว เพราะ
โบราณมไิ ด้เรียกเป็นเงนิ ค่านา ใครท�ำนาได้ขา้ วต้องแบ่ง หวั หนา้ ของกลาโหมและมหาดไทยเปน็ ขา้ ราชการชนั้ อคั ร
เอาส่งข้ึนฉางหลวงไว้ส�ำหรับใช้ราชการ จึงเรียกว่า มหาเสนาบดีท่ีสมุหนายกมีหน้าที่และอ�ำนาจกว้างขวาง
หางข้าว หรือเก็บตัวเงินแทนข้าวเปลือก เพื่อจะมิให้ ออกไปถงึ เมอื ง ดงั นน้ั การปกครองจงึ มเี ปน็ ๖ กรม ตลอด
ราษฎรไดค้ วามลำ� บากดว้ ยตอ้ งขนขา้ วมาสง่ ถงึ ฉางหลวง มาในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา กรงุ ธนบรุ ี และสมยั รตั นโกสนิ ทร์
ภายหลังจงึ ได้เรียกว่าค่านา จนถงึ ตน้ รชั กาลท่ี ๕ กว็ า่ ได้ จะมเี ปลย่ี นแปลงบา้ งในเรอ่ื ง
ลกั ษณะการทแ่ี บง่ เปน็ ๔ กระทรวง ดงั กลา่ วแลว้ อ�ำนาจหน้าที่ และการงานส่วนย่อยท่ีจ�ำเป็นต้องแก้ไข
มีมาแต่แรกตั้งกรุงศรีอยุธยาหรือบางทีอาจจะมีมาก่อน เปล่ียนแปลงไปบ้างตามยุคตามสมัย แต่หลักการน้ันยัง
นั้นข้ึนไปอีกก็เป็นได้ ตามหลักฐานท่ีค้นได้จากพระราช คงเปน็ อยู่ตามเดิม

๑๒๐ ปี 13

กระทรวงมหาดไทย

14 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

สภาพเมือ่ แรกสถาปนากระทรวงมหาดไทย

บันทึกนีเ้ ป็นเร่อื งหนึง่ ที่รวมอย่ใู นพระนพิ นธ์ “นิทานโบราณคด”ี
เรือ่ งเทศาภบิ าลของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ

ท่ีทรงเลา่ ถึงเหตกุ ารณ์ เมือ่ แรกทีม่ ีการต้งั กระทรวงมหาดไทย

นทิ านเร่อื งนอี้ ยู่ขา้ งจะยาวจึงแบ่งเป็น ๒ ภาค ภาคตน้ ว่าดว้ ยเหตุทจ่ี ัดการปกครองหัวเมือง
อยา่ งเทศาภบิ าล ภาคท่ี ๒ วา่ ดว้ ยกระบวนการจดั การปกครองหวั เมอื งอยา่ งเทศาภบิ าลอนั ตวั ขา้ พเจา้
ได้เกีย่ วขอ้ งมามาก
ข้าพเจ้าเป็นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยเม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๕ เหตุท่ีข้าพเจ้าได้เป็นเสนาบดี
กระทรวงมหาดไทย มเี ร่ืองชอบกลควรเล่าเขา้ ในโบราณคดีได้เพราะเวลาก็ลว่ งมาถงึ ๕๐ ปีแลว้
อันต�ำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยนั้นแต่ก่อนมาเป็นอัครมหาเสนาบดีที่สมุหนายก
หัวหน้าราชการฝ่ายพลเรือน และบังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือทั้งปวง คู่กับเสนาบดีกระทรวง
กลาโหม อนั เป็นสมุหพระกลาโหมหัวหนา้ ข้าราชการฝ่ายทหารและไดบ้ งั คบั บัญชาหวั เมอื งฝา่ ยใตท้ งั้ ปวง
เช่นเดียวกัน ผู้ที่เป็นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยมาแต่ก่อนล้วนเคยรับราชการพลเรือนมาช้านาน
จนไดเ้ ปน็ เสนาบดชี น้ั จตุสดมภ์ เวียง วงั คลัง นา ต�ำแหน่งใดตำ� แหนง่ หน่งึ ก่อน แลว้ จึงไดเ้ ลือ่ นข้ึน
เป็นอัครมหาเสนาบดีเมืองสูงอายุ ยกตัวอย่างดังเช่นพระยารัตนบดินทร์ ซึ่งเป็นเสนาบดีกระทรวง
มหาดไทยอยู่ก่อนตัวข้าพเจ้าท่านเคยเป็นพระยาราชวรานุกูล ปลัดทูลฉลองกระทรวงมหาดไทยแต่

๑๒๐ ปี 15

กระทรวงมหาดไทย

ในรชั กาลที่ ๔ จนถงึ รชั กาลท่ี ๕ ไดเ้ ปน็ เจา้ พระยาพลเทพ กุหลาบก�ำลังเจริญ พระเจ้าอยู่หัวเสด็จไปพระราชทาน
เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ แล้วจึงได้เป็นท่ี รางวัลนักเรียน แล้วทรงพระราชด�ำเนินเที่ยวทอด
สมุหนายกเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย แต่ส่วนตัว พระเนตรทว่ั บรเิ วณโรงเรยี น โปรดการทจ่ี ดั ในโรงเรยี นนนั้
ข้าพเจ้าเอง ต้ังแต่ออกจากโรงเรียนเข้ารับราชการก็เป็น มาก ต่อมาไม่ช้า วนั หน่ึงตรัสแก่ข้าพเจ้าว่า การศกึ ษาจะ
ทหาร อยู่ในกรมมหาดเล็ก ได้เคยเป็นต้ังแต่ เป็นการส�ำคัญของบ้านเมืองในภายหน้า ข้าพเจ้าจัด
นักเรียนนายร้อย แล้วเลื่อนยศข้ึนไปโดยล�ำดับจนถึง โรงเรียนพระต�ำหนักสวนกุหลาบได้ส�ำเร็จก็ดีแล้ว ให้
เป็นนายพันโท ราชองครักษ์ บังคับการกรมทหาร ข้าพเจ้าคิดตั้งโรงเรียนให้มีแพร่หลายต่อออกไปจนถึง
มหาดเล็กอยู่หลายปี ไม่เคยเป็นนายพันเอก เพราะ ฝกึ สอนราษฎรใหเ้ ปน็ ประโยชนแ์ กบ่ า้ นเมอื งดว้ ย ขา้ พเจา้
ในสมยั นนั้ นายพนั เอกทหารมหาดเลก็ มแี ตพ่ ระเจา้ อยหู่ วั จงึ มหี นา้ ทจี่ ดั โรงเรยี นอนั เปน็ การฝา่ ยพลเรอื นเพม่ิ ขนึ้ แต่
พระองคเ์ ดยี วคนอน่ื เปน็ ไมไ่ ด้ ในเวลาเมือ่ ยงั เปน็ ผบู้ งั คับการกรมทหารมหาดเล็ก
เหตุท่ีข้าพเจ้าจะเริ่มรับราชการฝ่ายพลเรือน คร้ันถงึ พ.ศ. ๒๔๓๐ เมอ่ื โปรดใหร้ วมการบังคบั
เกดิ แตเ่ มอ่ื ขา้ พเจา้ เปน็ ผบู้ งั คบั การทหารมหาดเลก็ ทลู ขอ บัญชาทหารบกทหารเรือ ตั้งเป็น “กรมยุทธนาธิการ”
พระต�ำหนักเดิมท่ีสวนกุหลาบ ตั้งโรงเรียนฝึกหัดลูกผู้ดี ทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้ข้าพเจ้าเล่ือนยศทหารขึ้นเป็น
ที่เป็นนักเรียนนายร้อยทหารมหาดเล็ก ต้ัง “โรงเรียน นายพลตรี และเปน็ ต�ำแหนง่ ผู้ชว่ ยผ้บู ญั ชาการทหารบก
พระตำ� หนกั สวนกหุ ลาบ” เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๒๕ ครน้ั โรงเรยี น ในกรมยุทธนาธิการ ข้าพเจ้าจะต้องย้ายขาดไปจากกรม
เจริญข้ึนมีเจ้านายและลูกผู้ดีสมัครเป็นนักเรียนมากเกิน ทหารมหาดเลก็ จงึ โปรดใหร้ วมงานทจี่ ดั โรงเรียนตงั้ เปน็ กรม
อัตรานักเรียนนายร้อย จะต้องจ�ำกัดจ�ำนวนนักเรียน อิสระเรียกวา่ “กรมศกึ ษาธกิ าร” ต้ังสำ� นักงานท่ตี กึ แถว
รับฝึกสอนถึงผู้ที่จะไม่เป็นทหารด้วย ข้าพเจ้ากราบทูล ต่อประตูพิมานชัยศรีทางข้างตะวันออก และโปรดให้
ถามพระเจ้าอยู่หัว โปรดให้จดั เป็นโรงเรยี นส�ำหรบั ลูกผู้ดี ข้าพเจ้าเป็นต�ำแหน่งอธิบดีกรมศึกษาธิการ ตอนนี้
ท่ัวไปไม่เฉพาะแต่ท่ีจะเป็นนักเรียนนายร้อยทหาร ข้าพเจ้าจึงมีต�ำแหน่งรับราชการทั้งฝ่ายทหาร และฝ่าย
มหาดเลก็ ตรสั วา่ ลกู ผดู้ ที เ่ี รยี นส�ำเรจ็ แลว้ ถงึ ไมเ่ ปน็ ทหาร พลเรือนด้วยกันอยู่ ๒ ปี ครนั้ ถงึ พ.ศ. ๒๔๓๒ โปรดให้รวม
ก็คงไปรับราชการอย่างอื่นให้เป็นประโยชน์เหมือนกัน กรมธรรมการและกรมสงั ฆการี กับทัง้ กรมพยาบาลและ
จึงขยายการฝึกสอนในโรงเรียนพระต�ำหนักสวนกุหลาบ กรมพิพิธภัณฑ์สถานซ่ึงเป็นกรมอิสระอยู่ก่อน เข้ากับ
ให้มีท้ังชั้นประถมที่เป็นวิชาสามัญ เวลาน้ันเรียกว่า กรมศึกษาธิการยกข้ึนเป็น “กระทรวงธรรมการ” และ
“ประโยค ๑” และชน้ั มธั ยมเรยี กวา่ “ประโยค ๒” สำ� หรบั ทรงพระกรุณาโปรดให้ข้าพเจ้าย้ายขาดจากต�ำแหน่ง
ไปรับราชการ ขอกล่าวแทรกตรงนี้สักหน่อยว่านักเรียน ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบกในกรมยุทธนาธิการมาเป็น
ส�ำเร็จประโยค ๒ ในโรงเรียนพระต�ำหนักสวนกุหลาบ อธิบดีกระทรวงธรรมการแต่ต�ำแหน่งเดียว เม่ือต้น
คร้ังน้ัน ต่อมาถึงรัชกาลหลังท่ีได้เล่ือนยศในราชสกุล พ.ศ. ๒๔๓๓ ข้าพเจ้าจึงได้รับราชการแต่ฝ่ายพลเรือน
ถงึ เปน็ กรมกม็ ี ทเ่ี ปน็ ขนุ นางไดเ้ ปน็ ถงึ เจา้ พระยาเสนาบดี ทางเดยี วแตน่ ้นั มา
ก็มีหลายคน ท่ีได้เป็นขุนนางช้ันรองลงมาน้ันแม้แต่ เหตุท่ีพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดให้
ในรชั กาลที่ ๕ ก็มมี าก ข้าพเจ้าย้ายขาดจากราชการทหาร มาเป็นอธิบดี
ปีหน่ึงในเวลาเมื่อโรงเรียนพระต�ำหนักสวน กระทรวงธรรมการรับราชการพลเรือนแต่ฝ่ายเดียวนั้น

16 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

เนื่องด้วยการเมือง เพราะจะทรงจัดคณะเสนาบดีทรง ปราสาท ใหเ้ สนาบดีเก่ากับทัง้ ทผ่ี ซู้ ึง่ จะเปน็ เสนาบดีใหม่
เปล่ียนแปลงเป็นอย่างใหม่ ตามที่ทรงพระราชปรารภ เข้าไปประชุมกัน และเสด็จลงประทับเป็นประธานใน
มาแต่ก่อน ว่าถึงเวลาที่เมืองไทยจ�ำจะต้องเร่งรัดการ ทีป่ ระชุม ทรงปรึกษาราชการตา่ งๆ ซ่ึงทรงเคยบญั ชาแต่
ปกครองบ้านเมืองให้เรยี บร้อยท่ัวพระราชอาณาเขต จะ โดยลำ� พงั พระองคม์ าแตก่ อ่ น ดเู หมอื นสปั ดาหล์ ะครง้ั หนง่ึ
ร้ังรอต่อไปไม่ได้ แต่คณะเสนาบดีเจ้ากระทรวงซึ่ง ถ้ามรี าชการมากกป็ ระชมุ ตดิ ต่อกันไป คราวละหลายคืน
บัญชาการตามแบบเก่ามีแต่ ๖ คน น้อยตัวนักทั้งท่ี ก็มี ตัวข้าพเจ้าซึ่งทรงเลือกจะให้เป็นเสนาบดีกระทรวง
เสนาบดซี งึ่ จดั เป็นอัครมหาเสนาบดี ๒ คน เปน็ จตสุ ดมภ์ ธรรมการคนแรกก็ให้เข้าไปนั่งในที่ประชุมเสนาบดีมา
๔ คน กพ็ ้นสมยั ไม่เหมาะกับการงานในปัจจุบนั เสียแลว้ ตั้งแตย่ ังเปน็ อธบิ ดีกรมศกึ ษาธิการ เพราะฉะน้นั ทีโ่ ปรด
ทรงพระราชปรารภจะแก้ไขคณะเสนาบดีให้มีเจ้า ให้รวมกรมต่างๆ ตั้งเป็นกระทรวงธรรมการ และให้ตัว
กระทรวงพอทำ� การเสยี กอ่ น เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๓๐ โปรดให้ ข้าพเจ้าแยกมาจากราชการทหารก็เพื่อจะยกกระทรวง
สมเด็จกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ แตย่ งั เป็นกรมหลวง ธรรมการขนึ้ เปน็ กระทรวงเสนาบดนี นั้ เอง ถงึ กรมอน่ื ทจี่ ะ
เสด็จไปช่วยงานฉลองรัชกาลสมเด็จพระบรมราชินี ยกข้ึนเป็นกระทรวงก็โปรดให้ขยายออกไปโดยล�ำดับ
วคิ ตอเรยี ครบ ๕๐ ปี ณ ประเทศองั กฤษแทนพระองค์ เช่นเดยี วกัน
ตรัสสั่งไปให้พิจารณาแบบคณะเสนาบดีในยุโรป ว่าเขา เมื่อพระเจ้าอยู่หัวทรงทดลองระเบียบการที่จะ
เอาอะไรเป็นหลักก�ำหนดต�ำแหน่งเสนาบดี สมเด็จกรม จัดใหม่อยู่ถึง ๓ ปี ในระหว่างน้ันเม่ือต้น พ.ศ. ๒๔๓๔
พระยาเทววงศฯ์ เสดจ็ กลบั มาทลู รายงาน จงึ ทรงกำ� หนด เจา้ ซาเรวชิ รชั ทายาทประเทศรสุ เซยี (ซงึ่ ภายหลงั ไดเ้ สวย
คณะเสนาบดที ีจ่ ะจัดให้เป็น ๑๒ กระทรวง คงตำ� แหนง่ ราชสมบัติเป็นพระเจ้านิโคลัสท่ี ๒) เข้ามาเฝ้าถึงเดือน
เสนาบดเี ดิมไว้ทงั้ ๖ กระทรวง กระทรวงทีต่ ั้งข้ึนใหม่นั้น กรกฎาคมในปนี นั้ พระเจา้ อยหู่ วั กโ็ ปรดใหต้ วั ขา้ พเจา้ เปน็
คอื กระทรวงพระคลัง กระทรวงยทุ ธนาธกิ าร กระทรวง ราชทูตพิเศษไปเยี่ยมตอบเจ้าซาเรวิชแทนพระองค์ดังได้
ยุติธรรม กระทรวงธรรมการ กระทรวงโยธาธิการ เลา่ มาแลว้ ในนทิ านที่ ๕ เรอื่ งของประหลาดทีเ่ มืองชยั ปุระ
กระทรวงมุรธาธร แต่ให้เป็นเสนาบดีมีศักดิ์เสมอกันท้ัง ข้าพเจ้าไปยุโรปครั้งนั้นได้รับพระราชทานอนุญาตให้ไป
๑๒ กระทรวง เลกิ ตำ� แหนง่ อัครมหาเสนาบดีทั้ง ๒ มใิ ห้ ยังประเทศอียิปต์และอินเดียเม่ือขากลับ เพ่ือจะได้
มตี อ่ ไปดงั แตก่ อ่ น เมอ่ื กำ� หนดกระทรวงเสนาบดซี งึ่ จะตงั้ หาความรู้ประกอบกับที่ได้ไปเห็นในยุโรปมาท�ำการงาน
ขนึ้ ใหมแ่ ละทรงเลอื กหาตวั ผซู้ ง่ึ จะเปน็ เสนาบดกี ระทรวง ให้เป็นประโยชน์ด้วย ข้าพเจ้าก็ต้ังหน้าหาความรู้เรื่องที่
น้ันๆ แล้ว เห็นจะทรงพระวิตกเกรงว่าถ้าประกาศตั้ง จะเป็นประโยชน์แก่กระทรวงธรรมการตลอดทางที่ไป
เสนาบดี ๑๒ ตำ� แหนง่ ตามกำ� หนดใหมท่ นั ทจี ะไมเ่ ปน็ การ คร้ังน้ัน ข้าพเจ้ากลับมาถึงกรุงเทพฯ เมื่อปลายเดือน
เรียบร้อย ด้วยกรมต่างๆ อันจะรวมเข้าในกระทรวง มนี าคมมาถงึ ได้ ๗ วนั กอ็ อกประกาศพระบรมราชโองการ
เสนาบดที ีต่ งั้ ใหมย่ ังเปน็ กรมอสิ ระอยู่โดยมาก ท้งั ตัวผ้ซู ง่ึ ต้ังเสนาบดีเป็น ๑๒ ต�ำแหน่ง ดังได้ทรงพระราชด�ำริไว้
จะเปน็ เจา้ กระทรวงใหม่ กย็ งั ไมค่ นุ้ เคยกบั หนา้ ทเ่ี สนาบดี แตต่ อนทา้ ยประกาศมวี า่ โปรดใหเ้ ปลยี่ นตวั เสนาบดบี างคน
จึงทรงทดลองระเบยี บการทจ่ี ะจดั ใหมแ่ ละฝกึ หดั ผซู้ ง่ึ จะ เป็นต้น แต่เจ้าพระยารัตนบดินทร์เสนาบดีกระทรวง
เป็นเสนาบดีข้ึนใหม่มาแต่ พ.ศ. ๒๔๓๑ โปรดให้จัดท่ี มหาดไทยซ่ึงแก่ชรามากแล้ว โปรดให้ปลดออกรับ
ประชุมเสนาบดีข้ึนที่มุขกระสันพระที่น่ังดุสิตมหา พระราชทานเบี้ยบ�ำนาญ และทรงพระกรุณาโปรดให้

๑๒๐ ปี 17

กระทรวงมหาดไทย

สมเดจ็ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ และชาวฝรั่งเศส ติดไปด้วยคนเดียว แต่ต่อมาในเดือนเมษายนนั้นเอง
ถ่ายทีเ่ มอื งนครพนม วันหนึ่งมีรับสั่งให้หาข้าพเจ้าเข้าไปเฝ้าในที่รโหฐาน
ข้าพเจ้าได้โอกาสจึงกราบบังคมทูลปรับทุกข์ว่าตั้งแต่
เสดจ็ ตรวจราชการมลฑลพายพั ทรงพระกรุณาโปรดให้ข้าพเจ้าก่อสร้างธรรมการมา
ใจขา้ พเจา้ ฝงั อยแู่ ตใ่ นราชการกระทรวงนน้ั นกึ วา่ ถา้ โปรด
ตวั ขา้ พเจา้ เปน็ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย ตงั้ แตว่ นั ที่ ๑ ใหอ้ ยใู่ นกระทรวงธรรมการตอ่ ไปคงจะสามารถจดั ใหด้ ไี ด้
เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๕ ต่อไป แตร่ าชการกระทรวงมหาดไทย ขา้ พเจา้ ไมไ่ ดเ้ คยเอาใจใส่
การที่ข้าพเจ้าต้องย้ายจากกระทรวงธรรมการ ศึกษามาแต่ก่อนทราบแต่ว่าเป็นกระทรวงใหญ่การงาน
ไปเป็นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย พระเจ้าอยู่หัวมิได้ ยากกว่ากระทรวงธรรมการมาก ตัวข้าพเจ้าไม่รู้ราชการ
ตรัสถามความสมัครของข้าพเจา้ หรอื แม้แต่ตรัสบอกให้ กระทรวงมหาดไทยไปบังคับบัญชาการเกรงจะไม่ได้ดี
เตรียมตัวก่อนบางทีจะเป็นด้วยทรงสังเกตเห็นข้าพเจ้า ดังพระราชประสงค์ ถ้าไปพลาดพล้ังลงอย่างไรก็จะ
รักกระทรวงธรรมการอยู่มาก ถ้าตรัสถามก็จะทูลขอตัว เสียพระเกียรติยศ ซึ่งทรงเลือกสรรเอาตัวข้าพเจ้า
หรอื ขอใหผ้ อ่ นผนั ไปตา่ งๆ จงึ ตรสั สงั่ โดยไมไ่ ตถ่ ามทเี ดยี ว ไปวา่ ราชการกระทรวงมหาดไทยจงึ วติ กนกั พระเจา้ อยหู่ วั
แตเ่ มอ่ื มพี ระบรมราชโองการประกาศเปน็ เดด็ ขาดเชน่ นนั้ ตรสั ตอบวา่ ในส่วนพระองคก์ ็ทรงเชือ่ แน่ว่าขา้ พเจ้าคงจะ
แล้ว ข้าพเจ้าก็ต้องย้ายไปตามรับส่ังทั้งไม่ได้เตรียมตัว สามารถจัดกระทรวงธรรมการให้ดีได้ แต่การบ้านเมือง
มแี ตเ่ จา้ พระยาพระเสดจ็ ฯ (ม.ร.ว.เปยี มาลากลุ ) เวลานน้ั ซึง่ สำ� คัญกวา่ นั้นยงั มีอยู่ บางทีข้าพเจ้าจะยงั มิได้คดิ ไปถึง
เปน็ หลวงไพศาลศลิ ปะศาสตร์ ซงึ่ เปน็ เลขานกุ ารประจำ� ตวั ดว้ ยตา่ งประเทศกำ� ลงั ตง้ั ทา่ จะรกุ เมอื งไทยอยแู่ ลว้ ถา้ เรา
ประมาทไม่จัดการปกครองบ้านเมืองเสียให้เรียบร้อย
ปล่อยให้หละหลวมอย่างเช่นเป็นอยู่ช้าไปเห็นจะมีภัย
แก่บ้านเมืองบางทีอาจจะถึงเสียอิสรภาพของเมืองไทย
ก็เป็นได้ ถ้าบ้านเมืองเสียอิสระแล้วกระทรวงธรรมการ
จะดีอยู่ได้หรือ การรักษาพระราชอาณาเขตด้วยจัดการ
ปกครองหัวเมืองให้เป็นระเบียบเรียบร้อย จึงเป็น
การส�ำคัญกว่ามาก การน้ันตกอยู่ในหน้าที่กระทรวง
มหาดไทยยิ่งกว่ากระทรวงอ่ืน เพราะหัวเมืองท้ังปวงข้ึน
อยใู่ นกระทรวงมหาดไทยโดยมาก ได้ทรงพิจารณาหาตัว
ผู้ซ่ึงจะเป็นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยให้จัดการได้
ดังพระราชประสงค์มานานแล้วยังหาไม่ได้จนทรงสังเกต
เห็นว่าความสามารถของข้าพเจ้าเหมาะแก่ต�ำแหน่งน้ัน
จงึ ได้โปรดใหย้ ้ายจากกระทรวงธรรมการไปเป็นเสนาบดี
กระทรวงมหาดไทย ซึ่งข้าพเจ้ามีความวิตกเพราะยังไม่
คุ้นเคยกับราชการกระทรวงมหาดไทยน้ันก็เป็นธรรมดา

18 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

แต่พอจะทรงช่วยได้ ตัวข้าพเจ้าก็เคยน่ังในที่ประชุม เมอื่ แรกตัง้ กระทรวงมหาดไทย เม่ือวนั ที่ ๑ เมษายน ๒๔๓๕
เสนาบดี คงไดส้ งั เกตเหน็ วา่ พระองคต์ อ้ งทรงเปน็ ภาระใน กระทรวงได้อาศยั ทำ�งานที่ตึกแถวยาว ๒ ชั้น
ราชการกระทรวงมหาดไทยยิง่ กว่ากระทรวงอน่ื อยู่เสมอ
จนทรงคนุ้ เคยมานานแลว้ ถา้ ขา้ พเจา้ มคี วามลำ� บากอยา่ งไร ปกครองของเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ด้วยเป็น
กใ็ หท้ ลู ปรกึ ษาหารอื เปน็ สว่ นตวั นอกจากขอเรยี นพระราช สมุหนายกหัวหน้าข้าราชการพลเรือน อีกหลังหนึ่งซึ่ง
ปฏบิ ตั ติ ามทางราชการจะทรงพระกรณุ าโปรดชว่ ยแนะนำ� อยู่ข้างขวาส�ำหรับประชุมข้าราชการทหารที่อยู่ใน
และอุดหนุนทุกอย่างอย่าวิตกเลย เม่ือข้าพเจ้าได้ฟัง ปกครองของเสนาบดีกระทรวงกลาโหมด้วยเป็นหัวหน้า
พระบรมราชาธบิ าย และพระเจ้าอยหู่ วั ทรงรับเป็นครเู ช่นนัน้ สว่ นราชการทหารเชน่ เดียวกนั
ก็อุ่นใจคลายความวิตกจึงกราบทูลรับว่าจะพยายาม ตัวศาลาลูกขุนเป็นศาลาใหญ่ช้ันเดียว ได้ยินว่า
สนองพระเดชพระคณุ ตามพระราชประสงคโ์ ดยเตม็ กำ� ลงั เมอ่ื แรกสรา้ งในรัชกาลที่ ๑ เปน็ เครื่องไมม้ าเปลย่ี นเปน็
และสติปัญญา ขอพระราชทานพรไว้อยา่ งหนึ่ง แต่ว่าถ้า กอ่ อฐิ ถอื ปนู ในรชั กาลท่ี ๓ ทง้ั ๒ หลงั ในศาลาลกู ขนุ ตอน
ทรงพระราชด�ำริเห็นว่าข้าพเจ้าจะท�ำการไปไม่ส�ำเร็จ ข้างหน้าทางฝ่ายเหนือเปิดโถง เป็นที่ประชุมข้าราชการ
ขอให้ได้กลับไปรับราชการกระทรวงธรรมการตามเดิม และใช้เป็นท่ีแขกเมืองประเทศราช หรือแขกเมือง
กท็ รงสญั ญาตามประสงค์ เรอ่ื งทขี่ า้ พเจา้ จะเป็นเสนาบดี ตา่ งประเทศพกั เมือ่ ก่อนเขา้ เฝา้ และเลยี้ งแขกเมืองที่น้นั
กระทรวงมหาดไทยมดี งั เลา่ มาน้ี ดว้ ย แตม่ ฝี าไมป้ ระจนั หอ้ งกนั้ สกดั กลางเอาตอนขา้ งหลงั
กระทรวงมหาดไทยเป็นอย่างไรในเวลาเมื่อ ศาลาทางฝ่ายใต้เป็นห้องส�ำนักงานกระทรวงมหาดไทย
ข้าพเจ้าไปเป็นเสนาบดี ก็น่าเล่าเข้าในเรื่องโบราณคดี หลัง ๑ กระทรวงกลาโหมหลัง ๑ อยา่ งเดียวกนั แต่ไม่ได้
จะเล่าเรื่องศาลาลูกขุนอันเป็นส�ำนักงานของกระทรวง เป็นส�ำนักงานทุกอย่างของกระทรวงมหาดไทยและ
มหาดไทยกอ่ น แลว้ จะเลา่ ถงึ พนกั งานประจำ� การในศาลา กระทรวงกลาโหมเพราะหน้าท่ีสองกระทรวงนั้นมีเป็น
ลกู ขุน และกระบวนท่ีท�ำการงานในกระทรวงมหาดไทย ๓ แผนก แผนกท่ี ๑ คือหน้าที่อัครมหาเสนาบดีท่ีต้อง
ตามแบบเก่าตอ่ ไปโดยลำ� ดบั ส่ังการงานต่างๆ แก่กรมอื่นให้ทันราชการ อันน้ีเป็นมูล
สถานทเี่ รยี ก “ศาลาลกู ขนุ ” นนั้ แตเ่ ดมิ มี ๓ หลงั ทต่ี อ้ งมสี ำ� นกั งานและมพี นกั งานประจำ� อยใู่ นพระราชวงั
ตามแบบอย่างคร้ังกรุงศรีอยุธยา หลังหนึ่งอยู่นอก เสมอทั้งกลางวันกลางคืน แผนกที่ ๒ การบังคับบัญชา
พระราชวัง (ว่าอยู่ใกล้ ๆ กับหลักเมือง) เป็นสถานท่ี
ส�ำหรับประชุมข้าราชการฝ่ายตุลาการช้ันสูง ซ่ึงเรียก
รวมกันว่า “ลูกขุน ณ ศาลหลวง” นั่งพิพากษาคดีเป็น
ท�ำนองอย่างศาลสถิตยุติธรรม ศาลาลูกขุนอีก ๒ หลัง
อยู่ในพระราชวัง จึงเป็นเหตุให้เรียกต่างกันว่า “ศาลา
ลูกขุนนอก” และ “ศาลาลูกขนุ ใน” ศาลาลูกขุนในเปน็
สถานท่ีส�ำหรับประชุมข้าราชการชั้นสูงฝ่ายธุรการ
ซ่ึงเรียกรวมกันว่า “ลูกขุน ณ ศาลา” หลังหน่ึงซ่ึงอยู่
ข้างซ้ายส�ำหรับประชุมข้าราชการพลเรือน ซึ่งอยู่ใน

๑๒๐ ปี 19

กระทรวงมหาดไทย

หวั เมอื ง ทจ่ี รงิ โดยลำ� พงั งานไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งทำ� ทศี่ าลาลกู ขนุ แรก คือให้บรรดาผู้มีต�ำแหน่งในหอรัษฎากรพิพัฒน์
แต่หากการบังคับบัญชาหัวเมืองต้องใช้ผู้ช�ำนาญหนังสือ รับเงินเดอื นแทนค่าธรรมเนยี มอยา่ งแตก่ ่อน และต้องมา
ส�ำหรับพิจารณาใบบอกและเขียนท้องตราสั่งราชการ ทำ� งาน ณ สำ� นกั งานตามเวลาเสมอทกุ วนั ทงั้ ผใู้ หญผ่ นู้ อ้ ย
หวั เมอื ง กระทรวงมหาดไทยและกลาโหมมหี วั พนั นายเวร ยกเว้นแต่สมเด็จเจ้าฟ้ากรมสมเด็จพระบ�ำราบปรปักษ์
และเสมียนซ่ึงช�ำนาญหนังสือส�ำหรับเขียนบัตรหมาย เวลานั้นยังด�ำรงพระยศเป็นกรมพระ ซ่ึงเป็นอธิบดี
ประจ�ำอยู่ท่ีศาลาลูกขุน จึงให้พวกที่ช�ำนาญหนังสือนั้น พระองค์เดียว เห็นจะเปน็ เพราะทรงพระราชดำ� ริว่าทา่ น
ท�ำการงานในแผนกบังคับบัญชาการหัวเมืองด้วย ทรงบัญชาการอยู่ทั้งกระทรวงวังและกระทรวงพระคลัง
แผนกที่ ๓ เปน็ ฝา่ ยตลุ าการดว้ ยกระทรวงมหาดไทยและ โปรดอนุญาตให้ทรงบัญชาการที่วังอย่างแต่ก่อน
กลาโหมเปน็ ศาลอทุ ธรณค์ วามหวั เมอื งซง่ึ อยใู่ นบงั คบั บญั ชา เพราะฉะน้ัน ระเบยี บสำ� นกั งานทใี่ ชใ้ นหอรัษฎาฯ จึงยังเป็น
มีขุนศาลตุลาการ ตลอดจนเรอื นจำ� ส�ำหรับการแผนกน้นั อยา่ งเกา่ เจอื อยู่บ้าง จนถึง พ.ศ. ๒๔๒๘ ทรงกรุณาโปรด
ตา่ งหาก จงึ ตอ้ งตง้ั ศาลทบ่ี า้ นเสนาบดแี ละหาทตี่ ง้ั เรอื นจำ� ให้สมเด็จกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เม่ือยังด�ำรง
แห่งใดแห่งหน่ึง เม่ือข้าพเจ้าไปเป็นเสนาบดีกระทรวง พระยศเป็นกรมหมื่น เป็นเสนาบดกี รมทา่ ท่านกราบทลู
มหาดไทย เรือนจ�ำของกระทรวงตั้งอยู่ริมก�ำแพง ขอให้มีส�ำนักงานกระทรวงอย่าให้ต้องว่าราชการที่วัง
หนา้ พระราชวงั ตรงหลงั หอรษั ฎากรพพิ ฒั นอ์ อกไป แตจ่ ะ จงึ ขอพระราชทานวงั สราญรมยใ์ หเ้ ปน็ สำ� นกั งานกระทรวง
ตง้ั ทตี่ รงนน้ั มาแตเ่ มอ่ื ใดหาทราบไม่ ถงึ กระทรวงอนื่ ๆ แต่ ใหเ้ รยี กวา่ กระทรวงวา่ การตา่ งประเทศแตน่ นั้ มา สมเดจ็
ก่อนก็มีหน้าที่ทางตุลาการต้องช�ำระคดีอันเน่ืองต่อ
กระทรวงน้ันๆ แต่ตั้งทั้งศาลและส�ำนักงานกระทรวง สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ�รงราชานภุ าพเสดจ็ ตรวจราชการ
ที่บ้านเสนาบดีดว้ ยกนั เพราะฉะน้ัน แตก่ อ่ นมาเสนาบดี
จงึ บญั ชาการกระทรวงทบ่ี า้ น แมม้ สี ำ� นกั งานอยทู่ อ่ี นื่ เชน่
กระทรวงมหาดไทยและกลาโหมก็ไม่ไปน่ังบัญชาการ
ที่ส�ำนักงาน เจ้าหน้าท่ีในกระทรวงต้องไปเสนอราชการ
และรบั ค�ำส่งั เสนาบดที ่ีบา้ นเปน็ นิจ แต่ตามประเพณเี ดิม
ขา้ ราชการกระทรวงต่างๆ ตง้ั แต่เสนาบดีลงมา ไดร้ บั แต่
เบีย้ หวัดประจำ� ปกี บั คา่ ธรรมเนยี มตา่ งๆ ในการท่ีท�ำเปน็
ประโยชน์ในตำ� แหน่งหาไดร้ ับเงินเดือนไม่
อนงึ่ แตก่ อ่ นมาการพระคลงั กบั การทเ่ี กยี่ วกบั การ
ต่างประเทศ (อันเรียกว่ากรมท่า) รวมอยู่ในกระทรวง
เดียวกัน เจ้าพระยาพระคลังเสนาบดีจตุสดมภ์เป็น
หวั หนา้ ครงั้ ถงึ รชั กาลท่ี ๕ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๑๘ โปรดใหแ้ ยก
การพระคลังจากกรมท่ามาจัดเหมือนเป็นกระทรวงหน่ึง
ตา่ งหาก ตงั้ ส�ำนกั งาน ณ หอรษั ฎากรพพิ ฒั น์ จดั ระเบยี บ
ในสำ� นกั งานตามแบบออฟฟศิ อยา่ งฝรงั่ ขน้ึ เปน็ กระทรวง

20 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

กรมพระยาเทววงศฯ์ เปน็ เสนาบดแี รกทม่ี าประจำ� ทำ� งาน อยู่อย่างเดิม แม้ตัวเสนาบดีท้ัง ๒ กระทรวงก็คงได้
ณ สำ� นกั งานทกุ วนั เหมอื นกบั ผู้นอ้ ย ท้งั เป็นเสนาบดแี รก คา่ ธรรมเนยี มเป็นผลประโยชน์อย่อู ยา่ งเดมิ เพราะไมไ่ ด้
ที่ได้รับแต่เงินเดือนเหมือนกับคนอื่นอันมีหน้าที่ใน เข้ามานั่งประจ�ำท�ำงานในศาลาลูกขุน ตัวข้าพเจ้าเป็น
ส�ำนักงานกระทรวง ต่อน้ันมาอีกสักก่ีปีข้าพเจ้าจ�ำไม่ได้ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยคนแรกท่ีได้รับเงินเดือน
และไม่มีอะไรจะสอบ เมื่อเขียนนิทานน้ี พระเจ้าอยู่หัว ไม่ไดค้ ่าธรรมเนยี มเหมอื นท่านแต่กอ่ น แต่เมอ่ื กระทรวง
มีพระราชประสงค์จะให้จัดกระทรวงมหาดไทยกับ มหาดไทยและกระทรวงกลาโหมขึ้นท�ำงานบนศาลา
กระทรวงกลาโหมเป็นแบบใหม่ เหมือนเช่นได้จัด ลูกขุนใหม่แล้วไม่มีใครในกระทรวงท้ัง ๒ นั้นคิดหรือ
กระทรวงพระคลังกับกระทรวงต่างประเทศมาแล้ว จึง สามารถจะแก้ไขระเบียบการให้เจริญทันสมัยได้ ก็คง
โปรดใหร้ อ้ื ศาลาลกู ขนุ ในทง้ั ๒ หลงั ลงสร้างใหม่ ท�ำเปน็ ท�ำการงานอยู่ตามแบบเดิมเหมือนเช่นเคยท�ำที่ศาลา
ตกึ ๒ ชน้ั ๓ หลงั เรยี งกนั มมี ขุ กระสนั ทงั้ ขา้ งหนา้ ขา้ งหลงั ลูกขุนเก่าสืบมา จนข้าพเจ้าเป็นเสนาบดีกระทรวง
เช่ือมตึก ๓ หลงั นั้นใหเ้ ปน็ หมเู่ ดยี วกันดังปรากฏอยบู่ ัดนี้ มหาดไทย ข้าพเจ้าจึงไดเ้ ห็นแบบเก่าว่าท�ำกนั มาอยา่ งไร
ตึกหลังข้างซ้ายที่ริมประตูสุวรรณบริบาลสร้างตรงศาลา ขา้ ราชการทเ่ี ปน็ พนกั งานประจำ� ทำ� การในศาลา
ลกู ขนุ เดมิ ของกระทรวงมหาดไทย ตกึ หลงั ขา้ งขวากส็ รา้ ง ลูกขุนน้ันปลัดทูลฉลองหรือข้าราชการผู้ใหญ่ท่ีได้ท�ำการ
ตรงศาลาลกู ขนุ เดมิ ของกระทรวงกลาโหม มปี ระตเู ขา้ ทาง ในหน้าท่ีปลัดทูลฉลอง เป็นตัวหัวหน้า รองลงมามี
ด้านหน้าร่วมกันตรงตึกหลังกลางซึ่งสร้างขึ้นใหม่สำ� หรับ ข้าราชการชั้นสัญญาบัตรเป็นพระเป็นหลวงเป็นผู้ช่วย
เปน็ ทป่ี ระชมุ และมปี ระตเู ขา้ แยกกนั ทางดา้ นหลงั อกี ทาง สกั สามสค่ี น ตอ่ นนั้ ลงมาถงึ ชน้ั เสมยี นพนกั งาน ในชน้ั เสมยี น
หน่ึงเม่ือสร้างตึกส�ำเร็จแล้วกระทรวงมหาดไทยก็ข้ึนอยู่ พนกั งานมีนายเวร ๔ คน รบั ประทวนเสนาบดีตัง้ เปน็ ที่
ติดกับมุขกระสันทางฝ่ายซ้ายเป็นส�ำนักงาน กระทรวง “นายแกว่นคชสาร” คนหน่ึง “นายช�ำนาญกระบวน”
กลาโหมก็ขึ้นอยู่ทางฝ่ายขวาเป็นส�ำนักงานเช่นเดียวกัน คนหน่ึง “นายควรรู้อัศว” คนหน่ึง “นายรัดตรวจพล”
แต่ข้ึนอยู่ที่ตึกหลังกลางซึ่งเกิดข้ึนใหม่นั้น มหาดไทยกับ คนหนง่ึ ไดว้ า่ กลา่ วเสมยี นทงั้ ปวง นายเวร ๔ คนนนั้ กลางวนั
กลาโหมมิรู้ที่จะแบ่งกันอย่างไร กระทรวงวังเลยขอเอา มาท�ำงานในศาลาลูกขุนด้วยกันทั้งหมด เวลากลางคืน
เป็นคลังกรมราชอาสน์ที่เก็บโต๊ะเก้าอ้ีส�ำหรับใช้ราชการ ตอ้ งผลัดเปล่ยี นกนั นอนค้างอย่ทู ศี่ าลาลูกขุน สำ� หรบั ทำ�
ลน่ั กุญแจเสียท้ัง ๒ ชั้น ราชการท่ีจะมมี าในเวลาค่ำ� คราวละ ๑๕ วัน เวียนกนั ไป
เม่ือกระทรวงมหาดไทยกับกระทรวงกลาโหม เรยี กวา่ “อยเู่ วร” ตำ� แหนง่ หวั หนา้ จงึ ไดช้ อื่ วา่ “นายเวร”
ขน้ึ อยศู่ าลาลกู ขนุ ใหมแ่ ลว้ ขา้ ราชการทมี่ ตี ำ� แหนง่ ประจำ� แตห่ นา้ ทนี่ ายเวรไมแ่ ตส่ ำ� หรบั ทำ� ราชการทม่ี มี าในเวลาคำ�่
ท�ำงานในศาลาลูกขุนทั้ง ๒ กระทรวงได้รับเงินเดือน เทา่ น้ัน บรรดาราชการทม่ี าถงึ กระทรวงมหาดไทย จะมี
เหมือนอย่างกระทรวงพระคลังและกระทรวงการ มาในเวลากลางวนั หรอื กลางคนื กต็ าม ถา้ มาถงึ กระทรวง
ตา่ งประเทศ ขา้ ราชการกระทรวงมหาดไทยและกลาโหม ในเวร ๑๕ ของใคร นายเวรนนั้ กต็ อ้ งเปน็ เจา้ หนา้ ทท่ี ำ� การ
จงึ ได้ผลประโยชนต์ ่างกนั เปน็ ๒ พวกๆ ทีป่ ระจ�ำท�ำงาน เรื่องน้ันต้ังแต่ต้นไปจนส�ำเร็จดังจะพรรณนาให้เห็น เม่ือ
อยู่ในศาลาลูกขุนได้เงินเดือน แต่พวกที่ท�ำงานอยู่ท่ีอ่ืน กล่าวถงึ กระบวนทำ� งานต่อไปขา้ งหน้า ยังมีพนักงานอีก
เช่นขุนศาลตุลาการศาลอุทธรณ์ความหัวเมืองซ่ึงต้ังศาล กรมหนง่ึ ซงึ่ ทำ� งานอยใู่ นศาลาลกู ขนุ เรยี กวา่ “กรมเงนิ สว่ ย”
อยู่ที่บ้านเสนาบดี คงได้ค่าธรรมเนียมเป็นผลประโยชน์ (หรืออะไรข้าพเจ้าจ�ำไม่ได้แน่) แต่เป็นกรมตั้งขึ้นใหม่

๑๒๐ ปี 21

กระทรวงมหาดไทย

เมอื่ กอ่ นขา้ พเจา้ เปน็ เสนาบดไี มน่ านนกั เดมิ ในกระทรวง จึงช�ำนิช�ำนาญกระบวนการในกระทรวงย่ิงกว่าพวกผู้ดี
มหาดไทยและกลาโหมมีต�ำแหน่งหัวพันกระทรวงละ ท่ีได้เป็นขุนนางโดยสกุล แต่จ�ำพวกน้ีน้อยตัวที่จะได้รับ
๔ คน หวั พันมหาดไทยเปน็ “พันพุฒอนรุ าช” คนหนง่ึ สัญญาบัตรเป็นขุนนาง ถึงกระน้ันนายเวรบางคนได้เป็น
“พันจันทนุมาศ” คนหนึ่ง “พันภานุราช” คนหนึ่ง ข้าราชการผู้ใหญ่ในกระทรวงมหาดไทยถึงชั้นพระยา
“พนั เภาอศั วราช” คนหนงึ่ เปน็ เจา้ หนา้ ทใ่ี นการกะเกณฑ์ พานทองก็มี จะยกตัวอย่างท่ีฉันรู้จักตัว เช่น พระยา
คนเม่ือมรี าชการเกดิ ขึ้น และเป็นผู้ตรวจการทม่ี หาดไทย จา่ แสนยบดี (ขลบิ ) และพระยาราชวรนกุ ลู (อว่ ม) เปน็ ตน้
สง่ั ใหก้ รมอนื่ ๆ ทำ� ตามหมายกระทรวงวงั ดงั กลา่ วมาแลว้ พระยาจ่าแสนยบดี (ไทย) ก็ขึ้นจากจ�ำพวกเสมียน
พันพุฒอนุราชเป็นเจ้าหน้าที่เกณฑ์คนหรือเรียกเงิน เคยเปน็ นายเวรมากอ่ นเหมอื นกนั พเิ คราะหด์ เู หน็ จะเปน็
ข้าราชการมาจ้างคนไปท�ำการ ทางกระทรวงกลาโหม วิธีมีมาแต่โบราณที่กระทรวงต่างๆ ต้องหัดใช้คนใน
ก็มี “พันเทพราช” เป็นเจ้าหน้าท่ีอย่างเดียวกัน กระทรวงเอง แมก้ ระทรวงอนื่ กค็ งเป็นเช่นเดียวกนั การ
เพราะฉะนน้ั เงนิ จงึ ผา่ นมอื พันพุฒฯ และพันเทพราชมาก ท่ีรับคนแปลกหน้าเรียนมาจากท่ีอ่ืนเพ่ิงเกิดขึ้นเม่ือมี
เมอื่ กรมพระนราธปิ ประพนั ธพงศ์ แตย่ งั ไมไ่ ดร้ บั กรมเปน็ กระทรวงเสนาบดเี ปน็ ๑๒ กระทรวงแลว้ ดงั ไดพ้ รรณนา
รองอธิบดีกระทรวงพระคลังทูลขอให้ต้ังกรมเงินส่วยข้ึน มาในนิทานท่ี ๑๔ เรื่องโรงเรยี นมหาดเล็กหลวง
ทั้งในกระทรวงมหาดไทย และกลาโหม พันพุฒอนุราช กระบวนการท�ำงานในกระทรวงมหาดไทยตาม
ได้เลื่อนข้ึนเป็นพระวรพุฒิโภคัย ต�ำแหน่งเจ้ากรมใน แบบเก่านั้นถ้าหนังสือราชการจะเป็นจดหมายในกรุงฯ
กระทรวงมหาดไทย พนั เทพราชไดเ้ ลอ่ื นขนึ้ เปน็ พระอทุ ยั ก็ดี หรอื ใบบอกหัวเมืองก็ดี มาถึงศาลาลูกขนุ ในเวลาเวร
เทพธน ต�ำแหน่งเจ้ากรมในกระทรวงกลาโหม ส�ำหรับ ของใคร เปรยี บวา่ เปน็ เวลาเวรนายแกวน่ นายแกวน่ กเ็ ปน็
เร่งเงินค่าส่วยตามหัวเมืองส่งพระคลังได้รับเงินเดือน ผู้รับหนังสือนั้น แม้เป็นหนังสือของตัวบุคคล เช่น
ทัง้ ๒ กรม สลักหลังซองถึงปลัดทูลฉลองเป็นต้น ก็ส่งไปให้ผู้น้ัน
บรรดาขา้ ราชการทม่ี หี นา้ ทที่ ำ� งานในศาลาลกู ขนุ ทงั้ ผนึก ถา้ เปน็ ใบบอกถงึ กระทรวงอันเรยี กวา่ “วางเวร
ลว้ นอยใู่ นบคุ คล ๒ จำ� พวก จำ� พวกหนงึ่ เกดิ ในตระกลู ของ กระทรวงมหาดไทย” นายแกวน่ ก็เปิดผนกึ ออกอ่านแลว้
ข้าราชการผู้ใหญ่ในกระทรวงมหาดไทยถวายตัวเป็น นำ� ขน้ึ เสนอตอ่ ปลดั ทลู ฉลองใหพ้ จิ ารณากอ่ น ถงึ วนั ตอ่ มา
มหาดเลก็ ไดใ้ นทอ้ งพระโรงจนรรู้ าชการงานเมอื งบา้ งแลว้ เวลาเชา้ ปลดั ทลู ฉลองกบั นายแกวน่ เอาใบบอกนน้ั กบั ทง้ั
ได้รับสัญญาบัตรเป็นขุนนางอยู่กรมอื่นก่อนบ้าง ตรงมา หนังสือซ่ึงปลัดทูลฉลองเห็นว่าเสนาบดีจะต้องสอบ
เป็นขุนนางในกระทรวงมหาดไทยบ้าง ต่อไปได้เป็น ประกอบกนั ไปยงั บา้ นเสนาบดเี มอื่ นายแกวน่ คชสารอา่ น
เจา้ บา้ นพานเมอื งกม็ รี บั ราชการอยใู่ นกระทรวงมหาดไทย ใบบอกเสนอแล้ว เสนาบดีก็มีบัญชาส่ังให้ท�ำอย่างไรๆ
จนแก่เฒ่าก็มี อีกจ�ำพวกหน่ึงเป็นแต่ลูกคฤหบดี ซ่ึง ถา้ เปน็ เรอื่ งเพยี งจะตอ้ งมที อ้ งตราตอบหรอื สง่ั ราชการอนั
สมัครเข้าฝึกหัดรับราชการในกระทรวงมหาดไทยตั้งแต่ อยู่ในอ�ำนาจเสนาบดี ก็ให้ปลัดทูลฉลองรับบัญชามาให้
ยังเป็นหนุ่มฝากตัวเป็นศิษย์ให้นายเวรใช้สอยและฝึกหัด ขา้ ราชการชนั้ สญั ญาบตั รซง่ึ เปน็ พนกั งานรา่ งหนงั สอื รา่ ง
เป็นเสมียนมาแต่ก่อน จนมีความรู้ได้เลื่อนต�ำแหน่งขึ้น ตราน้ัน แล้วให้นายแกว่นเอาไปเสนอเสนาบดีให้ตรวจ
โดยล�ำดับด้วยความสามารถจนได้เป็นรองนายเวรและ แกไ้ ขกอ่ น ถา้ เป็นแต่ทอ้ งตราสามัญมีแบบแผนอย่แู ลว้ ก็
นายเวร นายเวรล้วนขึ้นจากคนจ�ำพวกเสมียนทั้งนั้น ให้นายแกว่นร่างให้เสร็จไปไม่ต้องเอาร่างไปอ่านเสนอ

22 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

แล้วให้เสมียนเวรนายแกว่นเขียนลงกระดาษมอบให้ ต่างกัน คือราชการอันควรเปิดเผยประเภท ๑ ราชการ
เสมียนตราเอาไปประทับตราท่ีบ้านเสนาบดีและส่งไป อนั ไมค่ วรเปดิ เผยประเภท ๑ อา่ นใบบอกกราบทลู ในเวลา
ต้นหนังสือทั้งปวงในเรื่องน้ัน นายแกว่นอันเป็นนายเวร เสด็จออกขุนนางแต่ราชการประเภทเปิดเผย ถ้าเป็น
ที่ท�ำการเปน็ พนกั งานรกั ษาไว้ในกระทรวงต่อไป มกั เก็บ ราชการประเภทท่ีไม่เปิดเผยให้ท�ำเป็นจดหมายบันทึก
ไว้บนเพดานศาลาลูกขุนเป็นมัดๆ ไม่ได้เรียบเรียงเรื่อง ทลู เกลา้ ฯ ถวาย ถ้าจะทรงปรกึ ษาหารือเสนาบดีคนไหน
เป็นล�ำดับ ถึงกระนั้นเมื่อข้าพเจ้าเป็นเสนาบดีตรวจพบ กม็ ีรบั ส่งั ให้หาเขา้ ไปเฝ้าในทีร่ โหฐาน เม่ือข้าพเจ้ายังเปน็
ใบบอกเก่าแตใ่ นรัชกาลที่ ๔ ยังอยูเ่ ปน็ อันมาก เดก็ เคยเหน็ สมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศเ์ มือ่ ยงั
ถ้าใบบอกฉบับใดท่ีจะต้องกราบบังคมทูล เป็นสมุหพระกลาโหมเข้าเฝ้าอย่างนั้นเนืองๆ จดหมาย
เสนาบดีก็ส่ังให้ปลัดทูลฉลองคัดความขึ้นกราบบังคมทูล บันทึกที่คัดน้ันก็เขียนในสมุดด�ำเหมือนอย่างใบบอกท่ี
ลกั ษณะคดั ความอยา่ งนนั้ เรยี กวา่ “คดั ทลู ฉลอง” คอื เกบ็ อา่ นในทอ้ งพระโรง แตม่ ดี นิ สอขาวเหนบ็ ไปกบั ใบปกสมดุ
แต่เน้ือความใบบอก แต่ต้องระวังมิให้ผิดเพ้ียนบกพร่อง สำ� หรบั ทรงเขยี นลายพระราชหตั ถต์ รสั สงั่ แลว้ สง่ กลบั ออก
ขึ้นกราบบังคมทูล วิธีกราบบังคมทูลนั้น ตามประเพณี มาวิธีกราบทูลราชการหัวเมืองจึงเกิดเป็น ๒ อย่าง คือ
โบราณซ่ึงยังใช้มาจนในรัชกาลท่ี ๓ อันพึงเห็นได้ใน อา่ นกราบทูลในเวลาเสด็จออกขุนนางอยา่ ง ๑ กบั เขยี น
หนงั สอื “จดหมายเหตหุ ลวงอดุ มสมบตั ”ิ ซงึ่ หอพระสมดุ เป็นจดหมายบันทึกทูลเกล้าฯ ถวายอย่าง ๑ ต่อมา
พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๘ โดยปรกติพระเจ้าแผ่นดินเสด็จ ขนบธรรมเนียมในราชส�ำนักเปล่ียนมาโดยล�ำดับ
ออกขนุ นางในทอ้ งพระโรงวนั ละ ๒ ครงั้ เปน็ นจิ เสดจ็ ออก ด้วยพระเจ้าอยู่หัวมีราชกิจอย่างอ่ืนมากข้ึนไม่มีเวลาจะ
เวลาเชา้ ทรงวา่ ราชการฝา่ ยตลุ าการ คอื พพิ ากษาฎกี าของ เสดจ็ ออกขนุ นางในทอ้ งพระโรงไดว้ นั ละ ๒ ครง้ั เหมอื นอยา่ ง
ราษฎร เปน็ ตน้ เสดจ็ ออกเวลาคำ�่ ทรงวา่ ราชการบา้ นเมอื ง โบราณ ราชการต่างๆ ท่ีเจ้ากระทรวงกราบบังคมทูลจึง
เสนาบดีต้องไปเฝ้าพร้อมกันหมด มีใบบอกราชการ ใช้เป็นจดหมายและด�ำรัสส่ังด้วยลายพระราชหัตถเลขา
อย่างไรมาแต่หัวเมือง เมื่อเสนาบดีเจ้ากระทรวงทูลเบิก มากขึ้นถงึ รัชกาลที่ ๕ ประเพณที เ่ี สด็จออกขนุ นางเสดจ็
แล้วปลัดทูลฉลองอ่านใบบอกที่คัดนั้นถวายทรงฟัง เมื่อ ออกแต่เวลาบ่ายวันละครั้งเดียว และไม่มีการปรึกษา
ทรงฟังตลอดแล้วตรัสปรึกษาหารือกับเสนาบดีเป็นยุติ หารือราชการในเวลาออกขุนนางเหมือนอย่างแต่ก่อน
แล้วตรัสสั่งให้ท�ำอย่างไรปลัดทูลฉลองก็เป็นผู้จดจ�ำ เสนาบดีก็เลยไม่เข้าไปเฝ้าในเวลาเสด็จออกขุนนาง
กระแสรับสั่งมาจัดการถ้าเป็นราชการส�ำคัญโปรดให้น�ำ การอ่านใบบอกหัวเมืองกราบทูลก็กลายเป็นแต่อย่างพิธี
ร่างตราข้ึนถวายทรงตรวจแก้ก่อน ก็เป็นหน้าท่ีปลัด เพอ่ื รกั ษาขนบธรรมเนยี มเดมิ ไว้ อา่ นกราบทลู แตใ่ บบอก
ทูลฉลองท่ีจะน�ำร่างตราเข้าไปอ่านถวายและแก้ไขตาม ราชการอย่างจืดๆ เช่น ขา่ วโจรผรู้ ้าย หรอื รายงานน้ำ� ฝน
รับสั่งในเวลาเสด็จออกขุนนางเหมือนเมื่ออ่านใบบอก ต้นข้าว เป็นต้น เหมือนกันทั้งกระทรวงมหาดไทยและ
ราชการแผน่ ดนิ ท�ำเปน็ การเปดิ เผยดงั พรรณนามา จงึ ถอื กลาโหม กรมท่า ส่วนราชการท่ีเคยท�ำจดหมายบันทึก
กันว่าท้องพระโรงเป็นที่ศึกษาราชการของข้าราชการ ทูลเกล้าฯ ถวาย ถึงตอนน้ีกระทรวงกลาโหม กรมท่า
ทงั้ ปวงอนั มตี ำ� แหนง่ เฝา้ ในทอ้ งพระโรง แตต่ อ่ มาขา้ พเจา้ เปลี่ยนเป็นกราบทูลด้วยจดหมายเขียนกระดาษฝร่ัง แต่
เขา้ ใจว่าในรชั กาลท่ี ๔ เมอื่ มีกิจเกีย่ วขอ้ งกับรฐั บาลฝรง่ั กระทรวงมหาดไทยคงเขียนในสมุดด�ำอยู่ตามประเพณี
ตา่ งประเทศมากขน้ึ จงึ เรม่ิ กำ� หนดราชการเปน็ ๒ ประเภท เดิมจึงแปลกกับกระทรวงอ่ืนมีอยู่แต่กระทรวงเดียวจน

๑๒๐ ปี 23

กระทรวงมหาดไทย

ในกรมราชเลขาธิการเรียกว่า “หีบขนมปัง” ของ กระทรวงมหาดไทย ข้าพเจ้าจึงอาศัยไต่ถามแบบแผน
กระทรวงมหาดไทย เพราะห่อสมุดซึ่งส่งเข้าไปถวายได้ กระบวนราชการกระทรวงมหาดไทยมาตั้งแต่แรก
ขนาดกบั หบี ขนมปงั ทข่ี ายในทอ้ งตลาด ใชแ่ ตเ่ ทา่ นนั้ ความ ตรงนอี้ ยากจะพรรณนาคณุ ของพระยาราชวรานกุ ลู (อว่ ม)
ที่เขียนในบันทึกก็คงเป็นอยู่เหมือนใบบอกเช่นอ่าน ซึ่งได้มีต่อตัวข้าพเจ้าลงไว้ให้ปรากฏ ตัวท่านกับข้าพเจ้า
กราบทูลในท้องพระโรงแต่โบราณ ก็กลายเป็นขอเรียน ได้คุ้นเคยจนชอบกันอยู่แล้วต้ังแต่ก่อนข้าพเจ้าเป็น
พระราชปฏิบัติ เหมือนอย่างทูลถามว่า “จะโปรดให้ท�ำ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย แต่จะเป็นเพราะความอารี
อยา่ งไร” ไปทกุ เรอื่ ง จนพระเจา้ อยหู่ วั ตรสั บน่ วา่ กระทรวง โดยเคยมไี มตรจี ติ ในสว่ นตวั กต็ าม หรอื เพราะทา่ นมคี วาม
มหาดไทยกลายเป็นกรมไปรษณีย์ไปเสียแล้ว มีราชการ ภักดีต่อราชการบ้านเมืองก็ตาม สังเกตเห็นได้ว่าท่าน
อะไรกเ็ กณฑใ์ หท้ รงพระราชดำ� รวิ นิ จิ ฉยั เสยี ทงั้ นน้ั ไมช่ ว่ ย เต็มใจช่วยจริงๆ เหมือนอย่างว่าต้ังใจประคับประคอง
คิดอ่านบ้างเลย แต่ก็ไม่ตรัสส่ังให้แก้ไขอย่างไร คงเป็น ข้าพเจ้ามาตั้งแต่แรก เป็นต้นว่าในเวลาข้าพเจ้าปรึกษา
เพราะทรงพระราชด�ำรเิ ปน็ ยตุ ิ แล้ววา่ จะหาคนสมัยใหม่ หารอื การงาน ถา้ ทา่ นไมเ่ หน็ ชอบดว้ ยกท็ กั ทว้ งและชแี้ จง
เปน็ เสนาบดใี หฟ้ น้ื ราชการมหาดไทยทงั้ กระทรวงทเี ดยี ว ใหเ้ หน็ ขอ้ ขดั ขอ้ งตามความคดิ ของทา่ น ไมค่ ลอ้ ยตามดว้ ย
เมอ่ื แรกขา้ พเจา้ เปน็ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย เกรงใจข้าพเจ้า เวลาข้าพเจ้าถามแบบแผนหรือราชการ
ดูเหมือนคนทั้งหลายท้ังท่ีอยู่ในกระทรวงมหาดไทยและ ซึ่งเคยมีมาแต่ก่อน ทา่ นก็พยายามช้ีแจงใหข้ า้ พเจ้าเข้าใจ
อยนู่ อกกระทรวงมหาดไทย จะคอยดกู นั มากกวา่ ขา้ พเจา้ ไมป่ กปดิ ความรคู้ วามเหน็ ของทา่ น เพราะฉะนนั้ จงึ ไดร้ บั
จะไปทำ� อยา่ งไร บางทจี ะมมี ากทคี่ าดกนั วา่ พอขา้ พเจา้ ไป ความนบั ถอื ของขา้ พเจา้ และทำ� การงานดว้ ยกนั สนทิ สนม
ถึงก็คงจัดการเปล่ียนแปลงต่างๆ ในทันทีตามประสา ยงิ่ ขน้ึ ดว้ ยโดยลำ� ดบั มา เมอื่ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ า
คนหนุ่มและได้เคยจัดการอย่างใหม่มาหลายแห่งแล้ว โปรดใหพ้ ระยาราชวรานกุ ลู (เวก บญุ ยรตั พนั ธ)์ุ เลอ่ื นขน้ึ
แต่ตัวข้าพเจ้าเองมีความวิตกมากด้วยยังไม่รู้ราชการ เป็นเจ้าพระยาศรีธรรมาธิราชในกระทรวงวัง ท่านก็ได้
กระทรวงมหาดไทย และยังไม่รู้จักข้าราชการกระทรวง เลอ่ื นจากทพี่ ระยาศรสี งิ หเทพขนึ้ เปน็ พระยาราชวรานกุ ลู
มหาดไทยทั้งที่ในกรุงฯ และตามหัวเมืองอยู่โดยมาก ปลัดทูลฉลองเต็มต�ำแหน่ง ท�ำราชการอยู่ด้วยกันกับ
เหน็ วา่ จะตอ้ งศกึ ษาหาความรรู้ าชการกระทรวงมหาดไทย ข้าพเจ้าและเป็นผู้รักษาราชการแทนในเวลาข้าพเจ้า
เสียกอ่ นเมอื่ รแู้ ลว้ จงึ คอ่ ยคดิ อา่ นจดั การงานตอ่ ไป กแ็ ละ ไปตามเสด็จ หรือไปตรวจราชการหัวเมือง ต่อมา
การศกึ ษาหาความรนู้ น้ั จำ� จะตอ้ งอาศยั ไตถ่ ามขา้ ราชการ อกี หลายปี จนทา่ นแกช่ ราจงึ กราบถวายบงั คมลาออกจาก
ผู้ใหญ่ในกระทรวงท่ีเคยท�ำการงานช�ำนิช�ำนาญมาแต่ ต�ำแหน่งปลัดทูลฉลองไปรับบ�ำนาญ ถึงเมื่อออกไปแล้ว
ก่อน ในเวลาน้ันข้าราชการผู้ใหญ่กระทรวงมหาดไทย เวลามกี ารงานอนั ใดซงึ่ จะชว่ ยขา้ พเจา้ ได้ ทา่ นกย็ งั อตุ สา่ ห์
รองเสนาบดลี งมา มพี ระยามหาอำ� มาตย์ (หร่นุ ศรีเพ็ญ) เข้ามาช่วยอยู่เสมอจนตลอดอายุข้าพเจ้ายังคิดถึงคุณ
สมุหมหาดไทยฝ่ายเหนือกับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช ของพระยาราชวรานกุ ลู (อว่ ม) อย่ไู ม่ลืม
(เวก บญุ ยรตั นพนั ธ)์ุ เมอื่ ยงั เปน็ พระยาราชวรานกุ ลู ปลดั แต่ก็ที่ข้าพเจ้าคิดว่ายังไม่จัดการงานอย่างใดจน
ทูลฉลองแต่ปลดออกรับบ�ำนาญแล้วท้ัง ๒ คน คงแต่ เรยี นรู้ราชการกระทรวงมหาดไทยเสียก่อนนนั้ ไม่เป็นได้
พระยาราชวรานกุ ลู (อว่ ม) เมอ่ื ยงั เปน็ พระยาศรสี งิ หเทพ ดังคิด เพราะมีการบางอย่างซ่ึงจ�ำเป็นต้องจัดต้ังแต่แรก
ปลัดบัญชี ว่าที่ปลัดทูลฉลองเป็นหัวหน้าข้าราชการ ตามระเบียบกระทรวงเสนาบดที ี่ทรงจัดใหม่ ตวั ข้าพเจา้

24 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

เป็นแต่เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยไม่ได้เป็นสมุหนายก ยงั มอี กี เรอ่ื งหนงึ่ ซง่ึ เกดิ ขน้ึ เมอื่ แรกขา้ พเจา้ ไปเปน็
จงึ ตอ้ งปลดการในหนา้ ทส่ี มหุ นายกสง่ ไปกระทรวงอน่ื คอื เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยด้วยในวันแรกข้าพเจ้าไปน่ัง
สง่ การหมายสงั่ ราชการฝา่ ยพลเรอื นโอนไปยงั กระทรวงวงั ว่าการ เจ้าพระยารัตนบดินทร์ท่านให้เสมียนตราเชิญ
ซ่ึงจะเป็นเจ้าหน้าที่หมายส่ังราชการทั้งฝ่ายทหารและ ตราจักรกับตราพระราชสีห์ส�ำหรับต�ำแหน่งเสนาบดี
พลเรอื นตอ่ ไปอยา่ งหนง่ึ สง่ ศาลอทุ ธรณค์ วามหวั เมอื งกบั กระทรวงมหาดไทยมาสง่ ใหข้ า้ พเจา้ ทศี่ าลาลกู ขนุ ดวงตรา
ทง้ั เรอื นจ�ำ โอนไปยงั กระทรวงยตุ ธิ รรมทตี่ ง้ั ขนึ้ ใหมอ่ ยา่ ง รวมกันอยู่ในกล่องเงินใบหนึ่ง ดูเป็นของท�ำที่เชียงใหม่
หน่ึง ระเบียบการในกระทรวงมหาดไทยเองก็ต้องแก้ ไมว่ เิ ศษอันใด แต่เสมียนตราบอกวา่ กลอ่ งใสด่ วงตรานัน้
ตงั้ แตแ่ รกอยา่ งหนง่ึ คอื สงั่ ใหเ้ ลกิ ประเพณที เี่ จา้ หนา้ ทตี่ อ้ ง เป็นของเสนาบดีต้องหามาเม่ือแรกรับดวงตรา และคร้ัง
ไปเสนอราชการที่บ้านเสนาบดี เพราะตัวข้าพเจ้าจะ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมสมเด็จพระบ�ำราบปรปักษ์เป็นเสนาบดี
เขา้ ไปประจำ� ทำ� งานทศี่ าลาลกู ขนุ ทกุ วนั เหมอื นกบั คนอนื่ กระทรวงมหาดไทยทรงใช้กล่องกระ (หรือกล่องถม
และใหจ้ ัดห้องประชุมขึ้นที่ในศาลาลกู ขุนหอ้ ง ๑ ถงึ เวลา ข้าพเจ้าจ�ำไม่ได้แน่) คร้ันเจ้าพระยารัตนบดินทร์เป็น
กลางวันให้เจ้าหน้าท่ีน�ำหนังสือราชการไปเสนอต่อ ต�ำแหน่งเอากล่องเงินใบนี้มารับตราไปแต่แรก ขอให้
ข้าพเจ้าในที่ประชุมพร้อมกันวันละคร้ังทุกวัน ในเวลา ข้าพเจ้าหาอะไรมาใส่ดวงตราจะได้คืนกล่องเงินให้
ประชุมน้ันข้าพเจ้าเชิญพระยาราชวรานุกูล ให้มาน่ังอยู่ เจ้าพระยารัตนบดินทร์ ข้าพเจ้าตอบว่าข้าพเจ้าไม่รู้ว่า
ขา้ งตวั ขา้ พเจา้ เมอ่ื ฟงั ขอ้ ราชการทจี่ ะตอ้ งมคี ำ� สง่ั ขา้ พเจา้ เสนาบดีจะต้องหาอะไรมาใส่ตรา ไม่ได้เตรียมไว้จะท�ำ
ถามท่านก่อนว่าการเช่นนี้เคยส่ังกันมาอย่างไร หรือถ้า อย่างไรดีก็ขอยืมกล่องเงินของเจ้าพระยารัตนบดินทร์ไว้
ข้าพเจ้าสงสัยไม่รู้เค้ามูลของการนั้น ก็ถามให้ท่านชี้แจง ก่อนไม่ได้หรือ เสมียนตราจึงบอกว่ามีเตียบประดับมุก
จนเข้าใจก่อน ถ้าเป็นการสามัญ ข้าพเจ้าเห็นว่าท�ำตาม ของเก่าอยู่บนเพดานใบ ๑ ดูเหมือนจะเป็นของเดิม
เดิมได้ไม่มีโทษก็ส่ังให้ท�ำไปอย่างเดิม ถ้าเห็นว่าอาจจะ ส�ำหรับใส่ตรา ข้าพเจ้าให้ไปหยิบลงมาดู เห็นลวดลาย
มีได้มีเสียซึ่งจะต้องเลือกหาทางท่ีถูก ข้าพเจ้าปรึกษา ประดับมุกเป็นแบบเก่า ถึงชั้นรัชกาลที่ ๑ หรือที่ ๒ ก็
พระยาราชฯ ก่อน ถ้าเห็นพ้องกันก็สั่งตามนั้น ถ้าเห็น ตระหนักใจว่าจริงดังว่า จึงส่ังให้กลับใช้เตียบใบนั้น
ต่างกันก็ปรึกษาชี้แจงกันต่อไปจนตกลง ถ้าไม่ตกลงกัน ใส่ตราตามเดิมแล้วส่ังให้เสมียนตราหาก�ำปั่นเหล็กสา
หรอื เหน็ วา่ เปน็ การสำ� คญั ไมค่ วรจะสง่ั โดยพลการ กใ็ หน้ ำ� เกบ็ ตราไวใ้ นศาลาลกู ขนุ จงึ เปน็ อนั เลกิ ประเพณที เี่ สนาบดี
ความขน้ึ กราบบงั คมทลู ฯ “ขอเรยี นพระราชปฏบิ ตั ”ิ หรอื เอาตราต�ำแหน่งไปไวท้ บี่ า้ นอกี อยา่ งหนงึ่
กราบทูลหารือเปน็ ส่วนตัวตามทเ่ี หน็ สมควร แตล่ ักษณะ นอกจากการบางอย่างที่ได้กล่าวมาข้าพเจ้า
ขอเรยี นพระราชปฏบิ ตั นิ นั้ ขา้ พเจา้ สงั่ ใหเ้ ลกิ วธิ เี ขยี นบนั ทกึ ไมเ่ ปลยี่ นแปลงอนั ใด ขา้ ราชการคนใดเคยมหี นา้ ทท่ี ำ� การ
ในสมุดด�ำอย่างแต่ก่อน เปล่ียนเป็นจดหมายซ่ึงข้าพเจ้า อนั ใดกใ็ หค้ งท�ำอยอู่ ยา่ งเดมิ ระเบยี บการงานทเ่ี คยท�ำมา
รา่ งเองเปน็ นจิ กราบทลู อยา่ งเลา่ เรอ่ื งคดที ม่ี ขี น้ึ แลว้ กราบ อย่างใด เชน่ ทำ� การผลัดกนั เป็นเวร เปน็ ตน้ กใ็ ห้คงทำ� อยู่
ทลู วนิ จิ ฉยั ตามความคดิ ของขา้ พเจา้ และทส่ี ดุ กราบทลู วา่ ตามเดิม เป็นแต่ข้าพเจ้าไปเที่ยวตรวจดูการและไต่ถาม
เหน็ ควรจะทำ� อยา่ งไรในจดหมายนำ� ถา้ ในใบบอกมถี อ้ ยคำ� เจ้าหน้าท่ีตามห้องที่ท�ำงานเนืองๆ ในไม่ช้าก็คุ้นกับ
ควรพิจารณาก็ให้คัดส�ำเนาใบบอกถวายด้วยไม่ให้ ข้าราชการในกระทรวงหมดทั้งผู้ใหญ่ตลอดจนผู้น้อย
ทรงลำ� บากเหมือนแต่ก่อน กช็ อบพระราชอธั ยาศยั ข้าพเจ้าศึกษาหาความรู้กับท้ังบัญชาการมาด้วยกันราว

๑๒๐ ปี 25

กระทรวงมหาดไทย

สัก ๖ เดือน จนเห็นว่ามีความรู้ราชการมหาดไทย วินิจฉัยอันเป็นความรู้ซ่ึงข้าพเจ้าได้ต่อเมื่อภายหลังด้วย
ในกรุงเทพฯ สันทัดพอจะบญั ชาการได้โดยล�ำพังตัวแล้ว จึงจะเขา้ ใจชดั เจน
จึงเร่มิ คิดศกึ ษาหาความรกู้ ารปกครองหัวเมอื งต่อไป แต่ การปกครองตามหัวเมืองในสมัยนั้น ยังใช้วิธีซึ่ง
เหน็ จำ� เปน็ จะตอ้ งออกไปเทย่ี วดตู ามหวั เมอื งเอง ขา้ พเจา้ เรียกในกฎหมายเก่าว่า “กินเมือง” อันเป็นแบบเดิม
กราบบังคมทูลพระเจ้าอยู่หัวก็ทรงพระราชด�ำริเห็นชอบ ดูเหมือนจะใช้เช่นเดียวกันทุกประเทศทางตะวันออกนี้
ดว้ ย ถงึ เดอื นตลุ าคมขา้ พเจา้ จงึ ขนึ้ ไปตรวจหวั เมอื งเหนอื ในเมอื งจนี กย็ งั เรยี กวา่ กนิ เมอื งตามภาษาจนี แตใ่ นเมอื งไทย
ในสมยั นน้ั ยงั ไมม่ รี ถไฟสายเหนอื ตอ้ งลงเรอื กง๋ พว่ งเรอื ไฟ มาถึงชั้นหลังเรียกเปล่ียนเป็น “ว่าราชการเมือง” ถึง
ไปตัง้ แต่ออกจากกรงุ เทพฯ ข้ึนไปทางเรือจนถงึ อุตรดติ ถ์ กระนน้ั คำ� วา่ “กินเมอื ง” กย็ ังใช้กนั ในคำ� พดู และยังมอี ยู่
แลว้ เดนิ บกไปเมอื งสวรรคโลกลงเรอื มาเมอื งสโุ ขทยั แลว้ ในหนงั สอื เก่า เช่น กฎมณเฑยี รบาล เปน็ ตน้ วิธีปกครอง
เดินบกไปเมืองตาก ลงเรือล่องจากเมืองตากกลับลงมา ที่เรียกว่ากินเมืองน้ัน หลักเดิมคงมาแต่ถือว่าผู้เป็น
จนถงึ เมอื งอา่ งทอง ขน้ึ เดนิ บกไปเมอื งสพุ รรณบรุ เี ปน็ ทสี่ ดุ เจ้าเมืองต้องทิ้งกิจธุระของตนมาประจ�ำท�ำการปกครอง
แล้วกลับทางเรือมาถึงกรุงเทพฯ ในเดือนธันวาคม บ้านเมืองให้ราษฎรอยู่เย็นเป็นสุขปราศจากภัยอันตราย
ขา้ พเจา้ ขนึ้ ไปเมอื งเหนอื ครงั้ นน้ั ไปไดค้ วามรปู้ ระหลาดใจ ราษฎรก็ต้องตอบแทนคุณเจ้าเมืองด้วยการออกแรงช่วย
ต้ังแต่ไปถึงเมืองนครสวรรค์ ว่าเป็นคร้ังแรกที่เสนาบดี ท�ำการงานให้บ้าง หรือแบ่งสิ่งของซึ่งท�ำมาหาได้ เช่น
กระทรวงมหาดไทยขึ้นไปตรวจราชการหัวเมืองด้วย ข้าวปลาอาหาร เป็นต้น อันมีเหลือใช้ให้เป็นของก�ำนัล
เจา้ เมอื งกรมการมกั มากระซบิ ถามพระยาวรพฒุ โิ ภคยั ซงึ่ ชว่ ยอปุ การะมิใหเ้ จา้ เมอื งต้องเป็นห่วงในการหาเล้ยี งชพี
เป็นผู้ใหญ่ในข้าราชการที่ไปกับข้าพเจ้าว่ามีเหตุการณ์ ราษฎรมากด้วยกัน ช่วยคนละเล็กละน้อย เจ้าเมืองก็
อะไรเกดิ ขึ้นหรือ ขา้ พเจา้ จึงขนึ้ ไปเมืองเหนือ แต่ก่อนมา เป็นสุขสบาย รัฐบาลในราชธานีไม่ต้องเลี้ยงดู จึงให้
ต่อมีราชการส�ำคัญเกิดข้ึน เช่น เกิดทัพศึก เป็นต้น คา่ ธรรมเนยี มในการตา่ งๆ ทที่ ำ� ในหนา้ ทเี่ ปน็ ตวั เงนิ สำ� หรบั
เสนาบดจี งึ ขนึ้ ไปเอง พระยาวรพฒุ ฯิ บอกวา่ ทขี่ า้ พเจา้ ไป ใชส้ อย กรมการซง่ึ เปน็ ผชู้ ว่ ยเจา้ เมอื งกไ็ ดร้ บั ผลประโยชน์
เป็นแต่จะไปตรวจราชการตามหัวเมืองไม่ได้มีเหตุการณ์ ทำ� นองเดยี วกัน เป็นแตล่ ดลงตามศกั ด์ิ คร้ันจำ� เนียรกาล
อันใดเกิดข้ึนดอก ก็มิใคร่มีใครเข้าใจ น่าจะพากันนึกว่า นานมาความเปลี่ยนแปลงในโลกวิสัยท�ำให้การเล้ียงชีพ
เพราะขา้ พเจา้ เปน็ เสนาบดแี ตย่ งั หนมุ่ ผดิ กบั ทา่ นแตก่ อ่ น ต้องอาศัยเงินตรามากขึ้นโดยล�ำดับ ผลประโยชน์ท่ี
กเ็ ทย่ี วซอกแซกไปตามคะนอง แตค่ วามจรงิ ปรากฏแกต่ วั เจา้ เมอื งกรมการไดร้ บั อยา่ งโบราณไมพ่ อเลยี้ งชพี จงึ ตอ้ ง
ข้าพเจ้าแต่ครั้งน้ันมาว่าที่เสนาบดีไปเท่ียวตรวจราชการ คดิ หาผลประโยชนเ์ พมิ่ พนู ขนึ้ ในทางอนื่ เชน่ ทำ� ไรน่ า คา้ ขาย
ตามหัวเมือง เป็นประโยชน์อย่างส�ำคัญมาก หรือว่าจะ เป็นต้น ให้มีเงินพอใช้สอยกินอยู่เป็นสุขสบาย เจ้าเมือง
เป็นการจ�ำเป็นทีเดียวก็ได้ ต่อมาข้าพเจ้าจึงเที่ยวตรวจ กรมการมีอ�ำนาจท่ีจะบังคับบัญชาการต่างๆ ตาม
หวั เมอื งเปน็ นจิ สบื มากวา่ ๒๐ ปี จนตลอดสมยั เมอื่ ขา้ พเจา้ ตำ� แหนง่ และเคยไดร้ บั อปุ การะของราษฎรเปน็ ประเพณี
เป็นเสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย มาแล้ว คร้ันท�ำมาหากินก็อาศัยต�ำแหน่งในราชการเป็น
ขา้ พเจา้ ไปตรวจหวั เมอื งครงั้ นนั้ ไดเ้ หน็ ประเพณี ปัจจัยให้ได้ผลประโยชน์สะดวกดีกว่าบุคคลภายนอก
การปกครองหัวเมืองอย่างโบราณท่ียังใช้อยู่หลายอย่าง เปรยี บดงั เช่น “ท�ำนา” กไ็ ด้อาศัย “บอกแขก” ขอแรง
ควรจะเล่าเข้าในโบราณคดีได้ แต่ต้องเล่าประกอบกับ ราษฎรมาช่วยหรือจะค้าขายเข้าหุ้นกับผู้ใดก็อาจ

26 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

สงเคราะหผ์ เู้ ปน็ หนุ้ ใหซ้ อ้ื งา่ ยขายคลอ่ งไดก้ ำ� ไรมากขน้ึ แม้ เวลามีการงาน เช่น รับท้องตราหรือปรึกษาราชการ
จนเจา้ ภาษนี ายอากรไดร้ บั ผกู ขาดไปจากกรงุ เทพฯ ถา้ ให้ เป็นต้น เวลาไม่มีการงานก็ใช้ศาลากลางเป็นศาลช�ำระ
เจ้าเมืองกรมการมีส่วนได้ด้วยก็ได้รับความสงเคราะห์ให้ ความเห็นได้ว่าศาลากลางก็เป็นเค้าเดียวกับศาลาลูกขุน
เกบ็ ภาษอี ากรสะดวกขน้ึ จงึ เกดิ ประเพณหี ากนิ ดว้ ยอาศยั ในราชธานีนั้นเอง เรือนจ�ำส�ำหรับขังนักโทษก็อยู่ใน
ต�ำแหน่งในราชการแทบท่ัวไป เจ้าเมืองกรมการที่เกรง บริเวณจวนอีกอย่างหน่ึงแต่คงเป็นเพราะคุมขังได้ม่ันคง
ความผดิ กร็ ะวงั ไมห่ ากจิ ดว้ ยเบยี ดเบยี นผอู้ นื่ ตอ่ เปน็ คนโลภ กวา่ ทอ่ี นื่ ไมจ่ ำ� เปน็ จะตอ้ งอยกู่ บั จวนเหมอื นกบั ศาลากลาง
จึงเอาทุกอย่างสุดแต่จะได้ ก็มักมีภัยแก่ตัว ดังเช่น มีเร่ืองปรากฏมาแต่ก่อนว่าครั้งพระบาทสมเด็จ
ผู้ว่าราชการเมืองสุพรรณบุรี ซ่ึงได้เล่าไว้ในนิทานที่ ๔ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ ขน้ึ ไปเมอื งเหนอื เมอื่ ปี พ.ศ.
เรอื่ งหา้ มเจา้ มใิ ห้ไปเมืองสพุ รรณ ๒๔๐๙ ทอดพระเนตรเหน็ ศาลากลางตามหวั เมอื งซอมซอ่
เมื่อข้าพเจ้าข้ึนไปเมืองเหนือคร้ังนั้น เจ้าเมืองที่ จนทรงสังเวชพระราชหฤทัยทรงพระกรุณาโปรด
ข้าพเจ้าไปพบโดยมากเป็น “ผู้ดีมีตระกูล” แต่มักเป็น พระราชทานเงนิ สว่ นพระองคใ์ หซ้ อ่ มแซมเมอื งละ ๑๐ ชง่ั
ชาวเมอื งนน้ั เอง ดว้ ยเปน็ เทอื กเถาเหลา่ กอเจา้ เมอื งคนกอ่ นๆ (๘๐๐ บาท) เมืองไหนท�ำส�ำเร็จแล้วพระราชทานป้าย
ซงึ่ ไดท้ ำ� ราชการประกอบกบั ทำ� มาหากนิ จนตง้ั ถน่ิ ฐานได้ จ�ำหลักปิดทองประดับกระจก ท�ำเป็นรูปเงินเหรียญ
ในเมอื งนน้ั มลี กู ถวายตวั เปน็ มหาดเลก็ กอ่ นขอออกไปรบั รชั กาลที่ ๔ ลายเปน็ รปู พระมหามงกุฎแผ่น ๑ รปู ช้างอยู่
ราชการบา้ ง หรือฝกึ หดั ให้ทำ� ราชการในเมืองนั้นเองบา้ ง ในวงจักรแผน่ ๑ พระราชทานให้ไปตดิ ไว้ ณ ศาลากลาง
จนได้รับสัญญาบัตรเป็นผู้ช่วยราชการเป็นยกกระบัตร ซึ่งได้ทรงปฏิสังขรณ์เมื่อข้าพเจ้าข้ึนไปยังมีอยู่บางแห่ง
เปน็ ปลดั ใครดกี ็ได้เป็นเจ้าเมอื งในทีส่ ุด เปน็ แลว้ ก็อยใู่ น ข้าพเจ้าได้ยืมมาจ�ำลองรักษาแบบไว้ เด๋ียวน้ีอยู่ใน
เมืองนั้นจนตลอดชีวิต ลูกหลานจึงมีก�ำลังพาหนะ พพิ ธิ ภณั ฑส์ ถานแหง่ ชาติ แตม่ าภายหลงั ศาลากลางกก็ ลบั
รบั ราชการสบื กนั มา ขา้ ราชการทถ่ี น่ิ ฐานอยใู่ นกรงุ เทพฯ ทรดุ โทรมนา่ ทเุ รศอยา่ งเกา่ หามแี หง่ ใดทเ่ี ปน็ สงา่ ผา่ เผยไม่
หาใคร่มีใครสมัครออกไปรับราชการหัวเมืองไม่ เพราะ เหตุที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะเจ้าเมืองต้องสร้างจวนและ
เกรงความล�ำบากในการหาเลี้ยงตัวดังกล่าวมาแล้ว ศาลากลางด้วยทุนของตนเอง แม้แต่แผ่นดินซ่ึงจะสร้าง
ถา้ เปน็ ผไู้ ปจากทอี่ น่ื กต็ อ้ งมที นุ รอนของตวั ไป หรอื มฉิ ะนน้ั จวนถ้ามิไดอ้ ยภู่ ายในเมืองมีปราการ เช่น เมืองพษิ ณุโลก
กต็ อ้ งไดเ้ ปน็ เขย สขู่ อผมู้ กี ำ� ลงั พาหนะในเมอื งนนั้ จงึ จะไป เป็นต้น เจ้าเมืองกต็ อ้ งหาซือ้ ทดี่ นิ เหมือนกับคนท้ังหลาย
อยู่ได้ ย่ิงถึงชั้นกรมการชั้นรองลงไปต้องเลือกหาแต่ใน จวนกบั ศาลากลางจงึ เปน็ ทรพั ยส์ ว่ นตวั ของเจา้ เมอื ง เมอ่ื
พวกคฤหบดใี นเมอื งนนั้ เองทง้ั นนั้ เพราะหาคนตา่ งถนิ่ ยาก สน้ิ ตวั เจา้ เมอื งกเ็ ปน็ มรดกแกล่ กู หลานใครไดเ้ ปน็ เจา้ เมอื ง
ตัวหัวเมืองในสมัยนั้นประหลาดอีกอย่างหน่ึงท่ี คนใหม่ ถา้ มไิ ดเ้ ปน็ ผรู้ บั มรดกของเจา้ เมอื งคนเกา่ กต็ อ้ งหา
ไม่มีศาลารัฐบาลตั้งประจ�ำ ส�ำหรับว่าราชการบ้านเมือง ท่ีสร้างจวนและศาลากลางขึ้นใหม่ตามก�ำลังที่จะสร้าง
เหมือนอย่างทุกวันน้ี เจ้าเมืองตั้งบา้ นเรือนอยู่ท่ไี หนก็วา่ ได้ บางทกี ย็ า้ ยไปสรา้ งหา่ งจวนเดมิ ตา่ งฟากแมน่ ำ้� หรอื แม้
ราชการบ้านเมืองท่ีบ้านของตน เหมือนอย่างเสนาบดี จนต่างต�ำบลก็มี จวนเจ้าเมืองไปตั้งอยู่ท่ีไหนก็ย้ายท่ีว่า
เจ้ากระทรวงในราชธานวี า่ ราชการที่บ้าน ตามประเพณเี ดิม ราชการไปอยู่ที่น่ันช่ัวสมัยของเจ้าเมืองคนน้ัน ตาม
บ้านเจ้าเมืองผิดกับบ้านของคนอ่ืนเพียงท่ีเรียกกันว่า หัวเมืองจึงไม่มีที่ว่าราชการเมืองต้ังประจ�ำอยู่แห่งใด
“จวน” เพราะมศี าลาโถงปลกู ไวน้ อกรวั้ ขา้ งหนา้ บา้ นหลงั แห่งหนึ่งเป็นนิจเหมือนอย่างทุกวันน้ี อันเพิ่งมีข้ึนเมื่อ
หนงึ่ เรยี กวา่ “ศาลากลาง” เปน็ ทส่ี ำ� หรบั ประชมุ กรมการ จัดมณฑลเทศาภิบาลแล้ว ส่วนพวกกรมการน้ันเพราะ

๑๒๐ ปี 27

กระทรวงมหาดไทย

มักเป็นคฤหบดีอยู่ในเมืองนั้นแล้ว จึงได้เป็นกรมการ ทดรองทนุ ตกข้าวจากราษฎร ตอ่ บางคนจงึ เลยหากนิ ไป
ตัง้ บา้ นเรือนอยู่ทไ่ี หนก็คงอยู่ที่นั้น เป็นแต่เวลามีการงาน ในทางทจุ รติ ถงึ เปน็ ใจใหพ้ รรคพวกไปเทย่ี วลกั ววั ควายหรอื
จะต้องท�ำตามหน้าที่จวนเจ้าเมืองอยู่ท่ีไหนก็ตามไปฟัง ปลน้ ทรพั ยเ์ พอื่ จะไดส้ ว่ นแบง่ เปน็ ผลประโยชน์ เมอื่ ขา้ พเจา้
ค�ำส่ังท่ีนั่น บางคนตั้งบ้านเรือนอยู่ห่างถึงต่างอ�ำเภอก็มี ขึ้นไปตรวจหวั เมอื งคร้งั แรกได้พบกรมการซึ่งสงสัยกันว่า
ด้วยเคยเป็นคฤหบดีอยู่ท่ีแห่งนั้นมาก่อน เจ้าเมือง หากนิ อยา่ งนน้ั ๒ คน เรยี กกนั ว่า “ขุนโลกจบั ” อยทู่ เี่ มือง
ประสงค์จะให้เป็นผู้รักษาสันติสุขในท้องที่นั้น เหมือน พยุหคีรีคน ๑ แต่เม่ือข้าพเจ้าพบน้ันแก่ชรามากแล้ว
อย่างนายอ�ำเภอซ่ึงมีข้ึนในสมัยเทศาภิบาล จึงขอให้ ตอ่ มาไดย้ นิ วา่ ออกบวชแลว้ กต็ าย อกี คนหนง่ึ เปน็ ทหี่ ลวง
คฤหบดีคนน้ันเป็นกรรมการ หรือว่าอีกอย่างหน่ึงคือต้ัง ศรีมงคลอยู่ท่ีเมืองอ่างทอง เจ้าเมืองใช้สอยอย่างว่าเป็น
นกั เลงโต ซงึ่ มพี รรคพวกมากใหเ้ ปน็ กรมการเพอ่ื จะใหโ้ จร “มือขวา” กล่าวกันว่าเพราะจับโจรผู้ร้ายเข้มแข็งนัก
ผ้รู ้ายย�ำเกรงไม่กล้าปล้นสะดมในถ่ินนนั้ แตบ่ างทกี ็กลับ เมอื่ ขา้ พเจา้ จะเดนิ บกจากเมอื งอา่ งทองไปเมอื งสพุ รรณบรุ ี
ใหผ้ ลรา้ ย ดงั เคยมเี รอ่ื งปรากฏเมอ่ื ตน้ รชั กาลท่ี ๕ ผรู้ กั ษา เจ้าเมืองให้หลวงศรีมงคลคนน้ันเป็นผู้จัดพาหนะ ในวัน
กรุงศรีอยุธยาตั้งคฤหบดีคนหนึ่งช่ือ ช้าง เป็นท่ีหลวง เดยี วหามา้ และผคู้ นสำ� หรบั หาบหามสงิ่ ของไดพ้ อตอ้ งการ
บรรเทาทุกข์ราษฎร์อยทู่ เี่ กาะใหญ่ ดว้ ยแมน่ �้ำตอนเกาะใหญ่ หมด แล้วตวั เองอาสาขม่ี า้ น�ำข้าพเจ้าแต่เมอื งอา่ งทองไป
ลานเทเป็นย่านเปล่ียวมักมีโจรตีเรือท่ีข้ึนล่อง หลวง จนถึงเมืองสุพรรณ ข้าพเจ้าจึงได้ชอบมาแต่น้ัน คร้ันถึง
บรรเทาฯ คนนน้ั ขน้ึ ชอื่ คนชมในการรบั รองผมู้ บี รรดาศกั ดิ์ สมัยเมือ่ ต้งั มณฑลเทศาภิบาลแลว้ ความปรากฏว่าหลวง
ซ่ึงผ่านไปมา แม้จนชาวเรือขึ้นล่องถ้าใครไปพึ่งพ�ำนัก ศรีมงคลปล่อยให้พรรคพวกไปเที่ยวปล้นในเมืองอื่น
หลวงบรรเทาฯ โจรผู้ร้ายก็ไม่กล้าย�่ำยี ดูเหมือนจะเป็น แลว้ รบั ของทโี่ จรไดม้ าเปน็ ประโยชน์ แตแ่ รกกรมขนุ มรพุ งศ์
เช่นน้นั มาแตป่ ลายรัชกาลที่ ๔ ครั้นถงึ รัชกาลท่ี ๕ ความ ศริ พิ ัฒนส์ มหุ เทศาภบิ าล กไ็ ม่ทรงเช่ือ เพราะทรงใช้สอย
ปรากฏข้ึนจากค�ำให้การของโจรผู้ร้ายที่นับได้หลายราย หลวงศรมี งคลจนโปรดเหมือนกนั แต่ไตส่ วนไดห้ ลักฐาน
ว่าเป็นพรรคพวกของหลวงบรรเทาฯ โปรดให้ข้าหลวง จึงต้องฟ้องศาลข้าหลวงพิเศษ ศาลพิพากษาให้จ�ำคุก
ช�ำระได้ความว่า หลวงบรรเทาฯ เป็นนายซ่องโจรผู้ร้าย หลวงศรมี งคลหลายปี กรมขนุ มรพุ งศฯ์ จงึ ออกพระโอษฐ์
เปน็ แตใ่ หไ้ ปทำ� การโจรกรรมเสยี ในเขตแขวงอน่ื ภายนอก วา่ “วิธเี ลย้ี งขโมยไวจ้ ับขโมยนนั้ ใช้ไมไ่ ด”้ แตเ่ ม่อื ถึงสมยั
ถน่ิ ทต่ี นปกครองหลวงบรรเทาฯ จงึ ถกู ประหารชวี ติ เปน็ เรอื่ ง เทศาภิบาลมีกรมการอ�ำเภอตั้งประจ�ำอยู่ตามบ้านนอก
เล่ืองลือกันอื้อฉาวอยู่คราวหนึ่งในเวลาข้าพเจ้าแรกรับ และมีต�ำรวจภูธรแล้วก็ไม่ต้องอาศัยกรมการบ้านนอก
ราชการ เมอื่ ข้าพเจ้าขน้ึ ไปเมืองเหนือยังมีกรมการท่ีเคย เหมอื นอย่างแต่กอ่ น
เป็นนักเลงโตอยู่หลายเมือง เพราะในสมัยนั้นยังไม่มี มีกรมการอีกพวกหน่ึงเรียกว่า “กรมการจีน”
โปลศิ หรอื ตำ� รวจภธู รทเ่ี ปน็ พนกั งานสำ� หรบั ตรวจจบั ผรู้ า้ ย เพราะเป็นจีนหรือลูกจีน ซ่ึงยังไว้ผมเปียทั้งนั้น พวกน้ี
เจา้ เมอื งตอ้ งปราบปรามตามปญั ญาของตนจงึ เกดิ ความคดิ ขึ้นจากจีนนอกที่ไปต้ังท�ำมาหากินตามหัวเมือง บางคน
ท่ีจะหานักเลงโตมีพรรคพวก ต้ังเป็นกรมการไว้ส�ำหรับ ไปตั้งตัวได้เป็นหลักฐานแล้วเข้ารับผูกภาษีอากร
ปราบโจรผรู้ า้ ย ทจี่ รงิ กรมการชนดิ นนั้ กไ็ มไ่ ดเ้ ปน็ ผรู้ า้ ยไป ก็ตามกฎหมายแต่ก่อนนั้นต่อบุคคลถือศักดินาแต่
ทุกคน โดยมากมักไปต้ังบ้านเรือนท�ำมาหากินอยู่ตาม ๔๐๐ ไร่ข้ึนไปเป็นความในโรงศาลจึงแต่งทนายว่าความ
บ้านนอกเมื่อได้เป็นกรมการก็มักหาผลประโยชน์ด้วย แทนตัวได้ การเก็บภาษีอากรมักต้องเป็นถ้อยความกับ

28 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

ราษฎรเนืองๆ ถ้าเจ้าภาษีนายอากรต้องไปติดว่าความ ด้วยเหตอุ น่ื จงึ ใหข้ ้าหลวงออกไประงับ หรอื มเี หตุการณ์
เสียในโรงศาลก็ไม่สามารถจะเก็บภาษีอากรได้ เพ่ือจะ ใหญ่โตเช่นเกิดทัพศึก เสนาบดีก็ออกไปเอง จึงไม่มีการ
แก้ไขความขัดข้องน้ี เม่ือรัฐบาลต้ังใครเป็นเจ้าภาษี ตรวจหัวเมืองในเวลาเม่ือเป็นปรกติ ความคิดท่ีว่าจะให้
นายอากรจึงนับว่าเป็นข้าราชการ ให้มียศเป็นขุนนาง บ้านเมือง อยู่เย็นเป็นสุข ต้องจัดการท�ำนุบ�ำรุงในเวลา
ชน้ั ขนุ ถอื ศกั ดนิ า ๔๐๐ ไร่ เมอ่ื ทำ� ราชการดตี อ่ มาไดเ้ ลอ่ื น บ้านเมืองเป็นปรกติเป็นคติเกิดข้ึนใหม่ ดูเหมือนจะเริ่ม
เป็นหลวงหรือเป็นพระก็มี พวกท่ีอยู่ในกรุงเทพฯ เกิดขึ้นแต่ในรัชกาลท่ี ๔ และมาถือเป็นข้อส�ำคัญ
เรียกกันว่า “ขุนนางเจ้าภาษีนายอากร” พวกที่อยู่ตาม ในรฎั ฐาภปิ าลโนบายต่อรชั กาลท่ี ๕ สบื มา
หัวเมืองเรียกกันว่า “กรมการจีน” เป็นถึงต�ำแหน่ง ข้าพเจ้ากลับจากหัวเมืองก็ตั้งต้นเปลี่ยนแปลง
ปลัดเมืองก็มีดังได้กล่าวมาในนิทานท่ี ๑๕ เร่ืองอ้ังย่ีน้ัน การงานในกระทรวงมหาดไทย เริ่มด้วยจัดระเบียบการ
พวกกรมการจีนโดยปรกติต้ังหน้าท�ำมาหากินแสวงหา รับสั่งร่างเขียนและเก็บจดหมายในส�ำนักงานก่อน การ
ทรัพย์สมบัติไม่แสวงหาอ�ำนาจ และมักบริจาคทรัพย์ ส่วนนี้เจ้าพระยาพระเสด็จฯ ซึ่งได้เล่ือนท่ีจากหลวง
ช่วยอุดหนุนกิจการต่างๆ ให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น จึง ไพศาลศิลปะศาสตร์ ขึ้นเป็นพระมนตรีพจนกิจ เป็น
เขา้ กบั ชาวเมอื งไดท้ กุ ชน้ั ตง้ั แตเ่ จา้ เมอื งกรมการตลอดจน ประโยชน์มากเพราะรู้วิธีจดหมายราชการแบบใหม่ของ
ราษฎร สมเด็จกรมพระยาเทววงศ์ฯ ซ่ึงข้าพเจ้าได้ถ่ายไปใช้ใน
ที่ข้าพเจ้าไปทางเรือคร้ังนั้น นอกจากได้เห็น กระทรวงธรรมการ ชำ� นาญมาแต่เม่อื อย่ใู นกระทรวงนัน้
หัวเมืองรายทางท้ังหมด ยังมีประโยชน์อีกอย่างหน่ึง แล้วตัวเจ้าพระยาพระเสด็จฯ ก็มีอัชฌาสัยสัมมาคารวะ
ด้วยในเวลาเดินทางต้องน่ังกับนอนไปในเรือวันละ เขา้ กบั พวกขา้ ราชการกระทรวงมหาดไทยไดเ้ รว็ สามารถ
หลายๆ ชว่ั โมง ได้มเี วลาอา่ นหนังสือต่างๆ เชน่ กฎหมาย ชแ้ี จงใหค้ นเกา่ ทงั้ ทเ่ี ปน็ ผใู้ หญแ่ ละผนู้ อ้ ยใหแ้ กไ้ ขการงาน
เป็นตน้ ศกึ ษาหาความรวู้ ธิ ปี กครองอยา่ งโบราณอันมีอยู่ เข้าระเบียบใหม่ได้โดยง่าย ตัวข้าพเจ้าไม่สู้ต้องเป็นธุระ
ในหนังสือเก่าไปด้วยตลอดทาง อาศัยความรู้ท่ีได้ใน มากนกั และในตอนนไี้ ดผ้ ซู้ ง่ึ มาเปน็ คนสำ� คญั ในกระทรวง
ครั้งน้ัน ท�ำให้ข้าพเจ้าคิดเห็นว่าความมุ่งหมายของ มหาดไทย เม่ือภายหลังเข้ามาอกี คนหนงึ่ คอื พระยามหา
การปกครองท้ังอย่างใหม่และอย่างเก่าก็อยู่ในจะให้ อำ� มาตย์ (เสง็ วริ ยิ ศิร)ิ เดมิ เป็นนักเรยี นในโรงเรียนนนั ท-
“บ้านเมืองอยู่เย็นเป็นสุข” ด้วยกัน แต่เข้าใจอธิบายค�ำ อุทยาน รภู้ าษาอังกฤษถงึ ช้นั สูงในโรงเรยี นนั้น เมื่อออก
“อยเู่ ยน็ เปน็ สขุ ” นนั้ ผดิ กนั อยา่ งเกา่ ถอื วา่ “ถา้ บา้ นเมอื ง จากโรงเรยี นมาอยกู่ บั ขา้ พเจา้ ประจวบเวลาพระเจา้ อยหู่ วั
ปราศจากภยั ต่างๆ” เช่น โจรผ้รู า้ ย เปน็ ตน้ “กเ็ ป็นสขุ ” โปรดให้ข้าพเจ้าจัดกรมแผนท่ีข้ึนในกรมทหารมหาดเล็ก
ข้อนสี้ งั เกตได้ในบางแผนกทแ่ี กก้ ฎหมายในการปกครอง ข้าพเจ้าจึงมอบให้เป็นศิษย์และเป็นล่ามของพระวิภาค
แต่โบราณ มักอ้างเหตุที่เกิดโจรผู้ร้ายชุกชุมแทบทั้งน้ัน ภูวดล (เจมส์ แมกคาที) ไปอยู่ในกรมท�ำแผนที่หลายปี
เพราะฉะนนั้ ตามหัวเมอื งเจ้าเมอื งกรมการก็มุ่งหมายจะ ได้เรียนรู้วิชาท�ำแผนท่ีและเคยไปเท่ียวท�ำแผนที่ตาม
รกั ษาความเรยี บรอ้ ยในพน้ื เมอื งไมใ่ หม้ โี จรผรู้ า้ ยเปน็ ทต่ี งั้ หวั เมอื งตา่ งๆ ทางชายพระราชอาณาเขต มคี วามสามารถ
ตลอดจนถงึ เจา้ กระทรวงในกรงุ เทพฯ เมอื่ เหน็ วา่ เมอื งใด จนได้เป็นที่หลวงเทศาจิตพิจารณ์ เวลาเมื่อข้าพเจ้าย้าย
สงบเงียบไม่มีเหตุร้ายก็ยกย่องว่าปกครองดี ต่อเมืองใด มาเปน็ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย หลวงเทศาจติ ฯ ไป
ไม่เรียบร้อย โจรผู้ร้ายชุกชุมหรือราษฎรเดือดร้อน ทำ� แผนทอ่ี ยทู่ างเมอื งหลวงพระบาง พอกลบั มากข็ อสมคั ร

๑๒๐ ปี 29

กระทรวงมหาดไทย

มาอยู่กระทรวงมหาดไทย ข้าพเจ้าเห็นว่าในกระทรวง เรียกกันว่า “กรมหมู่ใหญ่”) ปลัดทูลฉลองเป็นหัวหน้า
มหาดไทยยังไม่มีใครรู้ภาษาฝรั่งนอกจากตัวข้าพเจ้า กรม ๑ กรมมหาดไทยฝ่ายเหนอื พระยามหาอำ� มาตยฯ์
คนเดียว และหลวงเทศาจิตฯ เคยเที่ยวท�ำแผนที่ทาง เปน็ หวั หนา้ กรม ๑ กรมพลมั พงั พระยาจา่ แสนยบดฯี เปน็
ชายแดน รภู้ มู ลิ ำ� เนาบา้ นเมอื งชายพระราชอาณาเขตมาก หวั หนา้ กรม ๑ ทางกระทรวงกลาโหมมกี รมกลาโหมกลาง
จึงทูลขอมาเป็นที่พระสฤษพจนกรอีกคนหน่ึง เป็นคู่กับ กบั กรมกลาโหมฝา่ ยเหนอื และกรมพลมั พงั อยา่ งเดยี วกนั
เจา้ พระยาพระเสดจ็ ฯ เมอ่ื เปน็ พระมนตรพี จนกิจ สองคนนี้ พิจารณาดูเห็นว่าเดิมทีเดียวน่าจะมีแต่กรมกลาง ทั้ง
เป็นแรกท่ีข้าพเจ้าเอาบุคคลนอกเข้าไปรับราชการใน มหาดไทยและกลาโหมกรมฝา่ ยเหนอื จะมาสมทบเพมิ่ ขนึ้
กระทรวงมหาดไทย แตเ่ จา้ พระยาพระเสดจ็ ฯ อยไู่ มน่ าน ต่อภายหลัง ถงึ กรมพลัมพงั กเ็ กดิ ขน้ึ ต่อภายหลัง
สมเด็จพระศรีพัชรินทร์ฯ ตรัสขอไปเป็นพระครูหนังสือ ตรงนี้ จะแทรกวินิจฉัยของข้าพเจ้าลงสักหน่อย
ไทยของสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อเสด็จ ตามท่ีคิดเห็นว่ากรมมหาดไทยและกลาโหมฝ่ายเหนือ
ประทับอยู่ในยุโรปดังกล่าวในนิทานท่ี ๑๔ เร่ือง จะมีมาแต่เม่ือใดด้วยตรวจดูในเรื่องพงศาวดาร เห็นมี
โรงเรียนมหาดเล็กหลวง จึงไปได้ดีทางกระทรวงอ่ืน แต่ เค้ามูลว่าน่าจะเกิดข้ึนเม่ือคร้ังราชโอรสของสมเด็จ
หลวงเทศาจิตฯ อยู่ต่อมาจนได้เป็นพระยาศรีสหเทพ พระบรมไตรโลกนาถไดร้ บั รชั ทายาทครองกรงุ ศรอี ยธุ ยา
ปลดั ทลู ฉลอง แลว้ เลอ่ื นเปน็ พระยามหาอำ� มาตยต์ ำ� แหนง่ ทรงพระนามวา่ สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าช (ท่ี ๓) พระองค์
รองเสนาบดีอยู่จนข้าพเจ้าออกจากกระทรวงมหาดไทย ๑ ครองเมืองเหนืออยู่ท่ีเมืองพิษณุโลกทรงพระนามว่า
สว่ นพวกขา้ ราชการเกา่ ทอ่ี ยใู่ นกระทรวงมหาดไทยมาแต่ สมเด็จพระเชษฐาพระองค์ ๑ ครัง้ น้ันเมืองไทยมพี ระเจ้า
ก่อนน้ันข้าพเจ้าก็เลือกสรรเอาเข้าต�ำแหน่งในระเบียบ แผน่ ดนิ ๒ พระองค์อยู่ ๓ ปี ในระหวา่ ง พ.ศ. ๒๐๓๑ จน
ใหม่ตามเห็นความสามารถ บางคนให้ไปรับราชการ พ.ศ. ๒๐๓๔ คงต้ังท�ำเนยี บขา้ ราชการเมืองพษิ ณโุ ลกขน้ึ
ในตำ� แหนง่ สงู ขนึ้ ตามหวั เมอื งกม็ บี างคนกเ็ ลอ่ื นตำ� แหนง่ ขนึ้ อีกส�ำรับ ๑ ครั้นสมเด็จพระบรมราชาธิราชสวรรคต
คงท�ำการงานอยู่ในกระทรวง ปลดออกแต่ที่แก่ชราเกิน สมเด็จพระเชษฐาได้รับรัชทายาทครองเมืองไทยทั่ว
กับการไม่ก่ีคน ความท่ีหวาดหว่ันกันในพวกข้าราชการ ท้ังหมด เปลย่ี นพระนามเป็นสมเด็จพระรามาธบิ ดี (ท่ี ๒)
เก่า ด้วยเห็นข้าพเจ้าเป็นคนสมัยใหม่ เกรงว่าจะเอาคน เสดจ็ ลงมาประทบั ณ พระนครศรอี ยธุ ยา ขา้ ราชการเมอื ง
สมัยใหม่ด้วยกันเข้าไปเปล่ียนคนเก่าให้ต้องออกราชการ พษิ ณโุ ลกกล็ งมาสมทบกบั ขา้ ราชการในพระนครศรอี ยธุ ยา
กส็ งบไป แตน่ น้ั มา ขอ้ นพี้ งึ เหน็ หลกั ฐานไดใ้ นคำ� ทเี่ รยี กขา้ งทา้ ยชอ่ื
ส่วนระเบียบการในกระทรวงท่ีจัดแก้เป็น กรมวา่ “ฝ่ายเหนอื ” กับท่ีตำ� แหน่งตา่ ง ๆ ในกรมฝ่ายใต้
ระเบยี บใหมน่ นั้ แบบจดหมายราชการไดอ้ าศยั แบบอยา่ ง กับฝ่ายเหนือเหมือนกันต้ังแต่ปลัดทูลฉลอง ปลัดบัญชี
ซึ่งสมเดจ็ กรมพระยาเทววงศฯ์ ทรงตัง้ ขึ้น แต่ลกั ษณะที่ ตลอดจนหวั พันนายเวร แต่กรมพลมั พังนนั้ เห็นจะต้งั ขนึ้
จัดหน้าที่ต่างๆ ต้องเอาราชการในกระทรวงมหาดไทย เมอื่ ใดและหนา้ ทเี่ ดมิ เปน็ อยา่ งไร กลา่ วกนั แตว่ า่ เกย่ี วกบั
ขน้ึ ตง้ั เป็นหลกั ข้าพเจ้าตรวจดูท�ำเนียบเกา่ ซงึ่ ปรากฏอยู่ ปืนใหญ่ อาจจะเปน็ พนกั งานขนปนื ใหญ่ในกองทพั หลวง
ในกฎหมาย “ลักษณะศักดนิ าข้าราชการพลเรอื น” เห็น กเ็ ปน็ ไดแ้ ตข่ า้ ราชการในกรมฝา่ ยเหนอื กบั กรมพลมั พงั ทำ�
ฝ่ายธุรการในกระทรวงมหาดไทยแบ่งเป็นกรมใหญ่ ๓ ราชการคละกันกับกรมกลางมาต้ังแต่กรุงรัตนโกสินทร์
กรม คือ กรมมหาดไทยกลาง (แตใ่ นกระทรวงมหาดไทย หรือตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาแล้ว จึงไม่มีใครรู้ว่าหน้าท่ี
เดิมเปน็ อย่างไร

30 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

ข้าพเจ้าอยากจะรักษาชื่อเดิมของกรมต่างๆ ให้ มีหนา้ ที่ตรวจตระเวนด่านทาง เมืองกาญจนบรุ ี ความยุติ
คงอยู่ต่อไปเม่ือจัดแผนกหน้าที่ต่างๆ ในกระทรวง ตอ้ งกนั จงึ เหน็ วา่ ๒ กรมนน้ั หนา้ ทเ่ี ดมิ นา่ จะเปน็ พนกั งาน
มหาดไทยจัดเปน็ ๓ กรม และเรยี กชอื่ ตามท�ำเนียบเดมิ ตรวจดา่ นทางปลายแดนซง่ึ ภายหลงั เมอ่ื มมี อญอพยพเขา้
เป็นแต่ให้มีหน้าท่ีต่างกันคือกรมมหาดไทยกลางเป็น มาสามภิ กั ดอิ์ ยใู่ นเมอื งไทยมาก ใหพ้ วกมอญเปน็ พนกั งาน
พนักงานท�ำการทุกอย่าง ซ่ึงมิได้แยกออกไปเป็นหน้าที่ ตรวจตระเวนทางตอ่ แดนเขา้ ไปไดจ้ นถงึ ในเมอื งพมา่ จงึ โอน
กรมอ่ืนปลัดทูลฉลองเป็นหัวหน้า และว่าการได้ทั้ง การตรวจตระเวนชายแดนจากกรมต�ำรวจทั้ง ๒ นั้น
กระทรวงรองแต่เสนาบดีลงมา ในกรมกลางน้ันให้ปลัด ไปเปน็ หนา้ ทขี่ องพวกมอญ ซงึ่ ตง้ั ขน้ึ เปน็ กรมหนงึ่ เรยี กวา่
บัญชีเป็นหัวหน้าพนักงานการเงินมีศักดิ์เป็นช้ันเจ้ากรม “กรมอาทมาต” กรมตำ� รวจภธู รกับกรมต�ำรวจนครบาล
รองปลดั ทลู ฉลองลงมาอกี คน ๑ กรมมหาดไทยฝา่ ยเหนอื จึงเป็นแต่คุมไพร่ขึ้นอยู่ในกระทรวงมหาดไทย ที่เอา
ใหเ้ ปน็ เจ้าหนา้ ทแี่ ผนกการปราบปรามโจรผู้รา้ ย กบั การ หน้าที่เดิมของกรมต�ำรวจทั้ง ๒ มากล่าวในท่ีน้ี เพราะ
ท่ีเก่ียวข้องกับชาวต่างประเทศ แต่ภายหลังโอนการที่ ในสมัยเม่ือข้าพเจ้าเป็นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย
เกี่ยวกับต่างประเทศไปเป็นหน้าท่ีปลัดทูลฉลอง ให้กรม มกี รมตง้ั ขนึ้ ใหม่ ๒ กรม โอนมาจากกระทรวงอื่น ๒ กรม
มหาดไทยฝ่ายเหนือเป็นเจ้าหน้าที่แผนกอัยการ ส่วน รวมเป็น ๔ กรมด้วยกัน จะเล่าถึงเหตุที่ตั้งและที่โอน
กรมพลัมพังน้ันเป็นเจ้าหน้าที่แผนกปกครองท้องท่ี มาขน้ึ ของกรมเหลา่ นั้นไวด้ ้วย
คงเรียกว่า กรมกลาง กรมฝ่ายเหนือและกรมพลัมพัง ตามหัวเมืองแต่ก่อนมา นอกจากกรมอาทมาต
ตามท�ำเนียบเดิม กระทรวงมหาดไทยจัดเป็น ๓ กรม ทก่ี ลา่ วมาแลว้ ไมม่ พี นกั งานตรวจจบั โจรผรู้ า้ ย กรมอาทมาต
เช่นน้ันมาตลอดสมัยเมื่อข้าพเจ้าเป็นเสนาบดีกระทรวง กเ็ ปน็ แตส่ ำ� หรบั สบื ขา่ วทางเมอื งพมา่ เมอ่ื จดั การปกครอง
มหาดไทย หัวเมืองพระเจ้าอยู่หัวโปรดให้เอาแบบ “ยองดามส์”
ยังมีกรมขึ้นของกระทรวงมหาดไทยอยู่ตาม ของฝรง่ั ซง่ึ ควบคมุ และใชป้ นื เหมอื นอยา่ งทหารมาจดั ขน้ึ
ทำ� เนยี บเดมิ อกี ๒ กรม เรยี กวา่ “กรมต�ำรวจภธู ร เจา้ กรม เปน็ พนกั งานตรวจจบั โจรผรู้ า้ ยตามหวั เมอื ง เพราะเหมาะ
เป็นหลวงสุเทพ” กรม ๑ เรียกว่า “กรมต�ำรวจภูบาล แก่การตรวจตระเวนท้องที่กว้างใหญ่ด้วยไม่ต้องใช้คน
เจ้ากรมเป็นหลวงพิศณุเทพ” กรม ๑ แต่โบราณ ๒ มากนกั แตช่ ื่อทจ่ี ะเรียกยองดามส์ว่ากระไรในภาษาไทย
กรมน้ีจะมีหน้าท่ีท�ำราชการอย่างใดก็ไม่มีใครรู้ เมื่อ ยงั ไมม่ ี ขา้ พเจา้ จงึ เอาชอ่ื ตำ� รวจภธู รมาใหเ้ รยี กยองดามส์
ขา้ พเจา้ ไปอยกู่ ระทรวงมหาดไทยเปน็ แตค่ มุ เลกไพรห่ ลวง ที่จัดขึ้นใหม่ เพราะเห็นว่าหน้าที่เป็นท�ำนองเดียวกัน
เจา้ กรมปลดั กรมกร็ บั ราชการเหมอื นกบั ขนุ นางกระทรวง แต่โบราณ จงึ มกี รมต�ำรวจภูธรอยา่ งใหมต่ ัง้ ขน้ึ แตน่ น้ั มา
มหาดไทยพวกรบั เบี้ยหวดั เชน่ ให้เป็นข้าหลวงไปท�ำการ ต่อมาภายหลังข้าพเจ้าคิดจะจัดกรมต�ำรวจภูบาลเป็น
ชั่วคร้ังชั่วคราวแต่พิจารณาเห็นเค้าหน้าที่เดิมมีอยู่ กรมนกั สบื C.I.D. (ซี.ไอ.ด.ี ) ข้ึนอกี กรมหน่งึ แต่ไมส่ ำ� เรจ็
ดว้ ยชอื่ วา่ “ตำ� รวจ” นน้ั หมายความวา่ เปน็ พนกั งานตรวจ เพราะหาผู้เชี่ยวชาญเป็นครูไม่ได้ มาจนถึงรัชกาลท่ี ๗
อกี ประการหนง่ึ ช่ือปลดั กรมทง้ั ๒ นน้ั มสี มั ผัสคล้องกนั เมอ่ื สมเดจ็ เจา้ ฟา้ กรมพระนครสวรรคว์ รพนิ ติ เปน็ เสนาบดี
วา่ ขนุ เพชรอนิ ทรา ขุนมหาวิชยั ขุนพิษณุแสน ขนุ แผน กระทรวงมหาดไทยจงึ ทรงจัดขึน้ เม่ือกรมต�ำรวจภูธรกับ
สะท้าน ในเรื่องสภาท่ีว่าพลายแก้วได้เป็นท่ี “ขุนแผน กรมตำ� รวจภบู าลรวมเปน็ กรมเดยี วกนั เสยี แลว้ จงึ เรยี กวา่
สะทา้ น” กค็ อื เปน็ ปลดั กรมตำ� รวจภบู าลนน้ั เอง ปรากฏวา่ กรมตำ� รวจกลาง

๑๒๐ ปี 31

กระทรวงมหาดไทย

“กรมป่าไม้” เป็นกรมซ่ึงต้ังขึ้นใหม่อีกกรมหน่ึง ลงอาญา เช่นห้ามมิให้ตัดไม้เป็นต้น พม่าพวกท�ำป่านั้น
เหตุที่จะต้ังกรมป่าไม้นั้นมีเร่ืองมายืดยาวด้วยป่าไม้สักมี ไปได้ค�ำแนะน�ำของพวกเนติบัณฑิตในเมืองพม่าเข้ามา
ในเมืองพม่ากับเมืองไทยมากกว่าท่ีไหนๆ หมด เม่ือ ร้องทุกข์ต่อกงสุลอังกฤษ กรุงเทพฯ กงสุลก็อุดหนุน
อังกฤษได้หัวเมืองมอญไปจากพม่า พวกอังกฤษต้ังโรง รบั ธรุ ะใหร้ อ้ งขอตอ่ รฐั บาลใหเ้ รยี กคา่ สนิ ไหมจากพระเจา้
เล่ือยจักรขึ้นท่ีเมืองเมาะล�ำเลิง (มระแหม่ง) ตัดต้นสัก เชียงใหม่ให้แกต่ น
ทางลุ่มแม่น�้ำสาละวินในแดนมอญเอาลงไปเล่ือยท�ำเป็น ในช้ันแรกมีการฟ้องร้องน้อยเรื่อง โปรดให้
ไมเ้ หลยี่ มและไมก้ ระดาน สง่ ไปขายตา่ งประเทศเปน็ สนิ คา้ เจา้ พระยารตั นาธเิ บศ (พุ่ม) เมอื่ ยังเป็นพระยาเทพอรชุน
เกดิ ขน้ึ ทางนนั้ กอ่ น สว่ นปา่ ไมส้ กั ในเมอื งไทยมมี ากแตใ่ น เปน็ ขา้ หลวงขนึ้ ไปอยทู่ เ่ี มอื งเชยี งใหม่ กว็ า่ กลา่ วเปรยี บเทยี บ
มณฑลพายพั ลงมาจนถงึ แขวงเมอื งตาก เมอื งกำ� แพงเพชร ให้เสร็จไปได้แต่ทางเมืองเชียงใหม่ยังให้อนุญาตป่าไม้
และเมืองอทุ ยั ธานี เดิมชาวเมืองตดั แต่ไม้สกั ใน ๓ เมอื ง อยู่ไม่หยุด ถ้อยความเร่ืองป่าไม้ก็กลับมีมากข้ึน และ
นน้ั ลงมาขายในกรงุ เทพฯ แตม่ กั เปน็ ไมข้ นาดยอ่ ม มกั เอา เจอื ไปเปน็ การเมอื ง ดว้ ยกงสลุ เขา้ มาเกยี่ วขอ้ งอดุ หนนุ คน
มาใชป้ ักเปน็ หลักส�ำหรับผูกแพที่คนอยู่ในแมน่ ำ้� จึงเรียก ในบังคับอังกฤษ พวกนั้นก็เลยได้ใจจนรัฐบาลไทยกับ
กันว่า “เสาหลักแพ” เป็นพื้น ที่เป็นซุงขนาดใหญ่ยังมี อังกฤษต้องท�ำหนังสือสัญญากันให้ต้ังศาลต่างประเทศ
นอ้ ยถงึ กระนน้ั ในรชั กาลที่ ๔ เมอื่ ทำ� หนงั สอื สญั ญาคา้ ขาย และมีท้ังข้าหลวงและไวส์กงสุลอังกฤษประจ�ำอยู่ท่ีเมือง
กับต่างประเทศ ก็มีฝรั่งเข้ามาตั้งโรงเลื่อยจักรขึ้นใน เชียงใหม่ส่วนการต้ังท�ำป่าไม้สักในเมืองไทยถึงรัชกาล
กรุงเทพฯ หมายจะเอาไม้สักเมืองไทยเล่ือยส่งไปขาย ท่ี ๕ ก็มีบริษัทฝร่ังเข้ามาตั้งค้าไม้สักข้ึนหลายห้าง
ต่างประเทศ จึงเร่ิมเกิดสินค้าไม้สักเมืองไทยส่งไปขาย พวกบริษัทข้ึนไปขอท�ำป่าไม้ในมณฑลพายัพเอาลงมา
ต่างประเทศมาแต่รัชกาลท่ี ๔ การท�ำป่าไม้สักก็เจริญ เล่ือยขายในกรุงเทพฯ ก็มักเกิดถ้อยความที่รัฐบาล
ยิง่ ขนึ้ เป็นลำ� ดับมาทง้ั ในเมืองไทยและเมืองมอญ ต้องโต้เถียงกับกงสุล เกิดความร�ำคาญขึ้นอีกทางหนึ่ง
ถึงรัชกาลที่ ๕ พวกท�ำป่าไม้ในแดนมอญอยาก พระเจ้าอยู่หัวทรงปรึกษากับเจ้าพระยาอภัยราชา
จะตัดไม้สักต่อเข้ามาในแดนเมืองเชียงใหม่ทางลุ่มแม่น�้ำ (โรลังยัคมนิ ส)์ เหน็ ว่าถ้าต้งั กรมปา่ ไมใ้ ห้มีขึน้ ในเมืองไทย
สาละวนิ จงึ ขา้ มมาคดิ อา่ นกบั พวกพอ่ คา้ พมา่ ทฝี่ ากตวั อยู่ ส�ำหรับควบคุมการป่าไม้ตามแบบอย่างท่ีรัฐบาลอังกฤษ
กบั พระเจา้ เชยี งใหมข่ ออนญุ าตตดั ไมส้ กั โดยจะยอมใหเ้ งนิ จดั ในเมอื งพมา่ และชน้ั แรกขอยมื ผเู้ ชย่ี วชาญจากรฐั บาล
“ค่าตอ” ทุกต้นสักท่ีตัดลงในเวลานั้นพระเจ้าเชียงใหม่ อังกฤษที่เมืองพม่ามาเป็นครูฝึกไทยท่ีจะเป็นพนักงาน
ยังมีอ�ำนาจสิทธ์ิขาดในบ้านเมืองอย่างประเทศราชแต่ ปา่ ไมต้ อ่ ไปจะเปน็ ประโยชนห์ ลายอยา่ ง เพราะมกี รมปา่ ไม้
โบราณ เหน็ แกผ่ ลประโยชนท์ จี่ ะไดจ้ ากปา่ ไมก้ อ็ นญุ าตให้ ขึ้นแล้ว พวกท�ำป่าไม้ก็จะไปติดต่อขอความสงเคราะห์
พวกพม่าท�ำป่าไม้ทางแม่น้�ำสาละวินหลายแห่ง ด้วย ของกรมป่าไม้ได้เหมือนแบบอย่างอังกฤษ ที่เมืองพม่า
สำ� คัญว่าจะบงั คบั บญั ชาไดเ้ หมอื นอย่างเคยบังคบั บญั ชา ไมต่ อ้ งพงึ่ กงสลุ กจ็ ะพรากการอนั เนอ่ื งดว้ ยปา่ ไมอ้ อกจาก
พวกพม่าท่ีมาอยู่ในเมืองเชียงใหม่ แต่พวกท�ำป่าไม้ต้อง การเมืองได้ และจะเป็นคุณต่อไปถึงการสงวนป่าไม้สัก
กู้เงินเขามาท�ำเป็นทนุ การท�ำหมายแต่จะหาก�ำไรบางคน ในเมืองไทย ท้ังอาจจะได้ผลประโยชน์ของรัฐบาลจาก
ไม่ยอมท�ำตามบังคับบัญชาของพระเจ้าเชียงใหม่ในเมื่อ ป่าไม้มากขึ้นกว่าแต่ก่อนด้วย พระเจ้าอยู่หัวจึงด�ำรัสส่ัง
เหน็ วา่ จะเสอื่ มเสยี ประโยชนข์ องตน พระเจา้ เชยี งใหมใ่ ห้ ให้ข้าพเจ้าจัดต้ังกรมป่าไม้ขึ้นในกระทรวงมหาดไทย

32 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

เมื่อตั้งกรมป่าไม้ข้ึนแล้วก็ตัดความร�ำคาญได้สมพระราช โปรดให้หาฝร่ังซึ่งเช่ียวชาญการแร่มาเป็นครู ต้ังกรมแร่
ประสงค์ เพราะลักษณะการท่ีคนในบังคับต่างประเทศ ขน้ึ ในกระทรวงเกษตราธิการเม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๔ แต่พวก
รอ้ งทกุ ขห์ รอื จะขอร้องอันใดจากรัฐบาลไทย แต่ก่อนมา กรมแรไ่ มร่ ขู้ นบธรรมเนยี มในบา้ นเมอื งไปทำ� การงานตาม
เคยขอให้กงสุลว่ากล่าวกับรัฐบาล กงสุลมีจดหมาย หวั เมืองมักไม่ปรองดองกับเจ้าเมอื งกรมการ ถึงสมัยเมื่อ
สง่ คำ� รอ้ งขอมายงั กระทรวงการตา่ งประเทศ ถา้ แลการนนั้ ข้าพเจา้ เปน็ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย จึงโปรดใหโ้ อน
เกี่ยวด้วยกระทรวงใด กระทรวงการต่างประเทศก็มี กรมแร่จากกระทรวงเกษตราธิการมาเป็นกรมข้ึน
จดหมายถามไปยังกระทรวงนั้น เจ้ากระทรวงว่ากระไร กระทรวงมหาดไทย เพื่อให้ปรับกิจการที่เก่ียวข้องกับ
ก็เขียนจดหมายตอบไปยังกระทรวงการต่างประเทศๆ หวั เมอื งใหเ้ รยี บรอ้ ย ครนั้ ถงึ ปลายรชั กาลท่ี ๕ เมอื่ ทรงตงั้
จึงมีจดหมายตอบไปยังกงสุล จะพูดกันแต่ละคร้ัง เจา้ พระยาวงศานปุ ระพทั ธ์ เปน็ เสนาบดี กโ็ อนกลบั คนื ไป
ตั้งหลายวันจึงจะแล้ว เมื่อต้ังกรมป่าไม้ขึ้นแล้ว ถ้าพวก กระทรวงเกษตรฯ ตามเดิมกรมแร่จึงมาข้ึนกระทรวง
ทำ� ปา่ ไมเ้ ปน็ คนในบงั คบั ตา่ งประเทศขอรอ้ งมาทางกงสลุ มหาดไทยอยูเ่ พยี งชั่วคราว
ข้าพเจ้าก็ท�ำตามแบบเดิมซึ่งมีจดหมายถึงกันหลายทอด ตัวศาลาลูกขุนในฝ่ายซ้าย ซึ่งเป็นส�ำนักงาน
ดังว่ามาแล้ว ถ้าพวกท�ำป่าไม้มาร้องขอต่อพวกท�ำป่าไม้ กระทรวงมหาดไทย ก็มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง
เอง จะเป็นคนในบังคับต่างประเทศหรือในบังคับไทย เพราะเม่อื จดั ห้องทที่ ำ� งานเป็นระเบยี บเรยี บร้อยแล้วทีก่ ็
ข้าพเจ้าก็ให้กรมป่าไม้สงเคราะห์เสมอหน้ากัน ในไม่ช้า ไมพ่ อ เมอ่ื ขา้ พเจา้ กลบั จากตรวจหวั เมอื งพดู กบั กระทรวง
เท่าใดพวกชาวต่างประเทศก็เลิกร้องขอทางกงสุล กลาโหมตกลงกนั แลว้ จงึ ไปบอกกระทรวงวงั วา่ กระทรวง
สมคั รมาวา่ กลา่ วตรงตอ่ กรมปา่ ไมห้ มด กงสลุ จะวา่ กไ็ มไ่ ด้ กลาโหมยอมให้ห้องกลางในศาลาลูกขุนแก่กระทรวง
ด้วยพวกท�ำป่าไม้อ้างว่าเขาไม่ได้เก่ียวข้องกับการเมือง มหาดไทย เพราะฉะนนั้ ขอให้ย้ายคลงั วรอาสน์ไปเสียทอี่ ่นื
ท�ำแต่การค้าขายอย่างไรสะดวกแก่กิจธุระของเขา เขาก็ ก็ได้ห้องกลางมาใช้เป็นห้องที่ประชุม และส�ำหรับ
ท�ำอย่างนั้นการส่วนสงวนป่าไม้และเพ่ิมผลประโยชน์ ทำ� การพธิ แี ละโดยปรกตใิ ชเ้ ปน็ หอ้ งรบั แขกดว้ ย ตอ่ มาอกี
แก่แผ่นดินก็ได้ดังพระราชประสงค์ทั้ง ๒ อย่างจึงมี ปีหน่ึงเมื่อกระทรวงกลาโหมบัญชาแตร่ าชการทหารย้าย
กรมปา่ ไม้สืบมา สำ� นกั งานออกไปอยทู่ ตี่ กึ กระทรวงกลาโหมเดยี๋ วน้ี ศาลา
กรมแร่น้ัน ชื่อหลวงขนานว่า “กรมราชโลหกิจ ลูกขุนในทางฝ่ายขวาก็ตกมาเป็นส�ำนักงานกระทรวง
ภมู พิ ทิ ยา” แตเ่ รยี กกนั โดยยอ่ ตามสะดวกปากวา่ “กรมแร”่
เปน็ กรมตงั้ ขนึ้ ในกระทรวงเกษตราธกิ าร แตก่ อ่ นขา้ พเจา้ สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชานภุ าพ
เป็นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เหตุที่จะต้ังกรมแร่ เสด็จตรวจราชการมณฑลอุดร พ.ศ. ๒๔๔๙
เกดิ ด้วยฝร่ังชาวอติ าลีคนหน่ึงช่อื ลชุ าตี ได้รบั สมั ปทาน
บตั รทำ� บอ่ แรท่ องคำ� ทบ่ี างตะพาน ฝรงั่ คนนนั้ ไปหาคนเขา้
ทุนในยุโรป เท่ียวโฆษณาว่าในเมืองไทยมีบ่อแร่ทองค�ำ
เนอื้ ดมี าก ข่าวแพร่หลายกม็ ีฝรงั่ ตา่ งชาติพากันต่ืนมาขอ
สัมปทานจะท�ำบ่อทองที่แห่งอ่ืนๆ ในเมืองไทยยังไม่มี
กฎหมายและผชู้ ำ� นาญทีจ่ ะเปน็ พนักงานในการท�ำแร่ จึง

๑๒๐ ปี 33

กระทรวงมหาดไทย

มหาดไทย รวมอยใู่ นกระทรวงเดยี วหมดทงั้ หมู่ ถงึ กระนนั้ จมั ปาศกั ดมิ์ ณฑลหนง่ึ “มณฑลลาวกลาง” คอื เหลา่ หวั เมอื ง
ที่ก็ไม่พอกับกรมขึ้นจึงให้มาท�ำงานร่วมส�ำนักกับ ซงึ่ ยงั ถอื กนั มาจนสมยั นน้ั วา่ เปน็ เมอื งลาว อนั อยใู่ นระหวา่ ง
กระทรวงมหาดไทยแต่กรมสรรพากรนอกกรมเดียว เมืองนครราชสีมากับแดนมณฑลลาวพวน และลาวกาว
นอกจากนั้น กรมตำ� รวจภูธรกบั กรมป่าไม้ตอ้ งให้หาท่ตี ง้ั กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ เมื่อยังเป็นกรมหม่ืนเป็น
ส�ำนักงานข้ึนใหม่ ส่วนกรมแร่คงท�ำงานอยู่ท่ีส�ำนักงาน ข้าหลวงใหญอ่ ยู่ ณ เมอื งนครราชสีมามณฑลหน่ึง ขึ้นอยู่
เดมิ ในกระทรวงเกษตรฯ ในกระทรวงมหาดไทยท้ัง ๕ มณฑล หัวเมืองซ่ึงอยู่ใน
พระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชด�ำริต้ังแต่เริ่มทรง กระทรวงกลาโหมก็ได้รวมหัวเมืองฝ่ายทะเลตะวันตก
ปรารภจะจัดการปกครองพระราชอาณาเขตให้ม่ันคง เขา้ เปน็ อยา่ งมณฑล เพอ่ื การเกบ็ ผลประโยชนแ์ ผน่ ดนิ อกี
เหน็ วา่ ทหี่ วั เมอื งแยกกนั ขน้ึ อยใู่ นกระทรวงมหาดไทยบา้ ง มณฑลหนงึ่ เวลาเมอ่ื ขา้ พเจา้ เปน็ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย
ในกระทรวงกลาโหมบา้ ง และกรมทา่ (เมอื่ กอ่ นเปลย่ี นชอื่ พระยาทิพโกษา (โต โชตกิ เสถยี ร) เป็นขา้ หลวงใหญ่อยู่ที่
เปน็ กระทรวงการตา่ งประเทศ) บา้ ง บงั คบั บญั ชาหวั เมอื ง เมอื งภเู กต็ และขน้ึ อยใู่ นกระทรวงกลาโหม แตข่ า้ หลวงใหญ่
ถึง ๓ กระทรวง ยากทจ่ี ะจดั การปกครองให้เปน็ ระเบยี บ ท่ีประจ�ำมณฑลชั้นนั้นมีหน้าท่ีในการรักษาพระราช
แบบแผนเรยี บรอ้ ยเหมอื นกนั ไดท้ วั่ ทงั้ พระราชอาณาจกั ร อาณาเขตเป็นส�ำคัญ ไม่ได้โปรดให้จัดระเบียบแบบแผน
ทรงพระราชดำ� รเิ หน็ วา่ ควรจะรวมการบงั คบั บญั ชาหวั เมอื ง การปกครองภายในบ้านเมืองดว้ ย เพราะฉะน้ัน มพี ระราช
ทง้ั ปวง ใหข้ น้ึ อยแู่ ตใ่ นกระทรวงมหาดไทยกระทรวงเดยี ว ประสงค์จะเร่ิมจัดหัวเมืองช้ันในก่อน แล้วจึงขยาย
และรวมหวั เมอื งเขา้ เปน็ มณฑล มผี ปู้ กครองมณฑลขนึ้ ตอ่ แบบแผนใหเ้ ปน็ อยา่ งเดยี วกนั ใหแ้ พรห่ ลายออกไปจนถงึ
กระทรวงมหาดไทยอีกชั้นหน่ึงจึงจะจัดการปกครอง ตลอดชายพระราชอาณาเขต แม้เมอื่ ทรงต้ังข้าพเจ้าเป็น
ไดส้ ะดวก แตย่ งั ทรงหาตัวคนทจี่ ะเปน็ เสนาบดีกระทรวง เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทยแลว้ กย็ งั ไมโ่ ปรดใหโ้ อนหวั เมอื ง
มหาดไทยให้จัดการตามพระราชประสงคไ์ ม่ได้ จึงรอมา ที่ขึ้นกลาโหม กรมท่ามารวมอยู่ในกระทรวงมหาดไทย
ดงั เลา่ แลว้ ขา้ งตน้ นทิ านเรอ่ื งนี้ ถงึ กระนน้ั กไ็ ดโ้ ปรดใหเ้ รม่ิ แต่กระทรวงเดียวอยู่ถึง ๓ ปี คงเป็นเพราะจะรอให้แน่
รวมหัวเมืองเข้าเป็นมณฑล มีข้าหลวงใหญ่อยู่ประจ�ำ พระราชหฤทัยเสียก่อนว่า ข้าพเจ้าจะจัดการส�ำเร็จได้
หลายมณฑล เม่ือทรงแต่งต้ังข้าพเจ้าเป็นเสนาบดี ดังพระราชประสงค์ จึงจะให้บังคับบัญชาหัวเมือง
กระทรวงมหาดไทยหัวเมืองขึ้นกระทรวงมหาดไทย ทว่ั ท้ังพระราชอาณาเขต
มี “มณฑลลาวเฉียง” ซ่ึงภายหลังเปล่ยี นชอื่ เป็น “มณฑล- ส่วนตัวข้าพเจ้าเองเมื่อไปตรวจหัวเมืองครั้งแรก
พายัพ” เจ้าพระยารัตนาธิเบศ (พุ่ม ศรีไชยันต์) เม่ือยัง ดังเล่ามาแล้วในภาคต้น ไปเห็นความขัดข้องข้ึนก่อน
เปน็ เจา้ พระยาพลเทพ วา่ ทส่ี มหุ กลาโหมเปน็ ขา้ หลวงใหญ่ อย่างอ่ืนด้วยหัวเมืองมีมาก แม้แต่หัวเมืองช้ันใน
อยทู่ เ่ี มอื งเชยี งใหมม่ ณฑลหนง่ึ “มณฑลลาวพวน” ซงึ่ ภายหลงั กห็ ลายสบิ เมอื ง ทางคมนาคมกบั กรงุ เทพฯ จะไปมาถงึ กนั
เปลยี่ นชอื่ เปน็ “มณฑลอดุ ร” กรมหลวงประจกั ษศ์ ลิ ปาคม ก็ยังช้า ยกตัวอย่างดังจะไปเมืองพิษณุโลกต้องเดินทาง
เม่ือยังเป็นกรมหม่ืน และเป็นเสนาบดีกระทรวงวัง เป็น กว่า ๑๐ วัน จึงจะถึงหัวเมืองก็อยู่หลายทิศหลายทาง
ขา้ หลวงใหญ่อยู่ ณ เมืองหนองคายมณฑลหนง่ึ “มณฑล จะจดั การอนั ใดพน้ วสิ ยั ทเ่ี สนาบดจี ะออกไปจดั หรอื ตรวจ
ลาวกาว” ซ่ึงภายหลังเปลี่ยนช่ือเป็น “มณฑลอีสาน” การงานไดเ้ อง ไดแ้ ตม่ ที อ้ งตราสั่งขอ้ บังคบั และแบบแผน
กรมหลวงพชิ ติ ปรชี ากรเปน็ ขา้ หลวงใหญ่ อยู่ ณ เมอื งนคร สง่ ออกไปในแผน่ กระดาษใหเ้ จา้ เมอื งจดั การ กเ็ จา้ เมอื งมี

34 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

หลายสิบคนด้วยกัน จะเข้าใจค�ำส่ังต่างกันอย่างไร และ มีต่อออกไปจนถึงค่าสร้างศาลารัฐบาลและสถานที่
ใครจะทำ� การซง่ึ สง่ั ไปนน้ั อยา่ งไร เสนาบดอี ยใู่ นกรงุ เทพฯ ท�ำราชการอย่างอื่นข้ึนใหม่ ทั้งสร้างเรือนให้ข้าราชการ
กย็ ากทจี่ ะรเู้ หน็ วธิ สี งั่ รายเมอื งอยา่ งนน้ั การงานคงไมส่ ำ� เรจ็ ผู้ไปจากต่างถิ่นอยู่อาศัยให้พอกัน ถ้าจะว่าต้องสร้าง
ได้ดังประสงค์ จึงคิดจะแก้ความขัดข้องก่อน คิดไปก็ยัง เมืองใหม่หมดทุกเมืองก็ไม่ผิดกับความจริง ซ่ึงเพ่ิงเห็น
เห็นทางแก้ตรงกับโครงการซ่ึงพระเจ้าอยู่หัวได้ทรง ในปจั จบุ นั น้ี แตใ่ นสมยั นนั้ ปรารภเพยี งแตจ่ ำ� เปน็ ในชนั้ นนั้
พระราชด�ำริ คือที่รวมหัวเมืองเข้าเป็นแบบมณฑลนั้น ก็จะเป็นจ�ำนวนเงินมิใช่น้อย น่ากลัวการท่ีจัดจะติดขัด
เห็นว่าเป็นหัวเมืองช้ันในก็ควรรวมเข้าเป็นมณฑลละ ๕ เพราะไม่ได้เงนิ พอใชด้ ้วยอกี อยา่ งหนึ่ง
เมอื งหรือ ๖ เมอื ง เอาขนาดทอ้ งท่ีๆ ผู้บัญชาการมณฑล ขา้ พเจา้ กลบั ลงมาถงึ กรงุ เทพฯ ถวายรายงานและ
อาจจะจัดการและตรวจตราได้เองตลอดอาณาเขตเป็น กราบทลู ความคดิ เห็นดังกล่าวมาแล้ว พระเจา้ อยู่หวั ทรง
ประมาณ และให้มีเจ้านายหรือข้าราชการผู้ใหญ่อัน พระราชด�ำริเห็นชอบด้วย พระราชทานพระบรมราชา-
ชั้นยศอยู่ในระหว่างเสนาบดีกับเจ้าเมืองไปอยู่ประจ�ำ นุญาตให้รวมหัวเมืองเป็นมณฑลดังข้าพเจ้าคิดและให้
บัญชาการมณฑลละคนเป็นพนักงานจัดการต่างๆ ใน ขา้ พเจา้ พจิ ารณาดเู หน็ ใครควรจะเปน็ ผบู้ ญั ชาการมณฑล
อาณาเขตของตนตามค�ำสั่งของเสนาบดี ท้งั เป็นหูเป็นตา ไหนก็ให้กราบบังคมทูล ส่วนเร่ืองเงินที่จะต้องใช้น้ัน
และเป็นที่ปรึกษาหารือของเสนาบดีด้วย ถ้าว่าโดยย่อ จะทรงส่งั กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ เวลานนั้ ยงั ไม่ได้
กค็ อื แยกหนา้ ทจี่ ดั การตา่ งๆ ตามหวั เมอื งไปใหผ้ บู้ ญั ชาการ รับกรม แต่เป็นต�ำแหน่งรองอธิบดีบัญชาการกระทรวง
มณฑลเปน็ ผทู้ ำ� เสนาบดเี ปน็ ผคู้ ดิ แบบแผนและตรวจการ พระคลงั ฯ ใหป้ รกึ ษาหาทางทจ่ี ะแกไ้ ขความลำ� บากดว้ ยกนั
ทท่ี ำ� นนั้ ประกอบกนั จงึ จะจดั การปกครองหวั เมอื งใหด้ ไี ด้ กับข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้รับส่ังเช่นนั้นแล้วก็มาคิดการ
ดังพระราชประสงค์ ข้าพเจ้าคิดเห็นเร่ืองน้ีเป็นข้อแรก ที่จะจัดต้ังมณฑลก่อน เห็นว่าควรเอาล�ำน้�ำอันเป็นทาง
ในเวลาเม่อื ไปตรวจราชการหวั เมือง คมนาคมเป็นหลักอาณาเขตมณฑล จึงก�ำหนดหัวเมือง
ยงั มอี กี ขอ้ หนง่ึ ซง่ึ ขา้ พเจา้ คดิ เหน็ แตข่ อ้ แรกวา่ จะ ข้างตอนใต้คือ กรุงศรีอยุธยา ๑ เมืองลพบุรี ๑ เมือง
เปน็ ความลำ� บากอยา่ งใหญ่หลวง คอื ทีจ่ ะไมม่ ีเงินพอใช้ สระบุรี ๑ เมอื งอา่ งทอง ๑ เมอื งสิงหบ์ ุรี ๑ เมอื งอินทบรุ ี
ในการจัดหัวเมือง ข้อนี้ใครๆ ก็เห็นว่าจะต้องเลิกวิธี ๑ รวม ๗ เมือง เป็นมณฑลหน่ึงต้ังท่ีว่าการมณฑล ณ
ปกครองอย่าง “กินเมือง” ดงั เชน่ พรรณนาไวใ้ นภาคต้น พระนครศรีอยุธยา เรยี กวา่ “มณฑลกรงุ เกา่ ” (ตามช่อื ท่ี
จะต้องห้ามมิให้เจ้าเมืองกรมการหากินในหน้าท่ีราชการ เรียกกันในเวลาน้ัน จนรัชกาลท่ี ๖ จึงเปล่ียนช่ือเป็น
และตอ่ ไปจะตอ้ งใชแ้ ตผ่ ซู้ ง่ึ ทรงคณุ วฒุ สิ มกบั ตำ� แหนง่ เปน็ มณฑลอยุธยา)
เจา้ เมอื งกรมการ ซง่ึ โดยมากภมู ลิ ำ� เนาเดมิ อยตู่ า่ งถนิ่ เชน่ รวมหัวเมืองทางล�ำแม่น้�ำบางปะกง คือ เมือง
เปน็ ชาวกรงุ เทพฯ เปน็ ตน้ เพราะเหตทุ ง้ั ๒ อยา่ งน้ี รฐั บาล ปราจีนบรุ ี ๑ เมอื งนครนายก ๑ เมืองพนมสารคาม ๑
จ�ำจะต้องให้เงินเดือนข้าราชการหัวเมืองให้พอเล้ียงชีพ เมืองฉะเชิงเทรา ๑ รวม ๔ เมือง เป็นเมืองมณฑล ๑
มิฉะน้ันก็ไม่มีใครเป็นเจ้าเมืองกรมการใช่แต่เท่าน้ัน เรียกว่า “มณฑลปราจีน” ท่ีต้ังว่าการมณฑล ณ
ยงั สถานทวี่ า่ ราชการเมอื งกด็ ี บา้ นเรอื นทอ่ี ยขู่ องเจา้ เมอื ง เมืองปราจีน (ต่อเม่ือโอนหัวเมืองในกรมท่ามาข้ึน
กรมการกด็ ี ลว้ นเปน็ สมบตั สิ ว่ นตวั เจา้ เมอื งกรมการทง้ั นน้ั กระทรวงมหาดไทย จึงย้ายที่ว่าการมณฑลลงมาต้ังที่
ดงั กลา่ วมาแลว้ ความจำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งจา่ ยเงนิ หลวงเพมิ่ ขน้ึ เมืองฉะเชิงเทราเพราะขยายอาณาเขตมณฑลต่อลงไป

๑๒๐ ปี 35

กระทรวงมหาดไทย

สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ�รงราชานภุ าพ เสด็จตรวจราชการ เวลานน้ั ยงั เปน็ พระยาศรสี ุรยิ ราชวรานวุ ตั ร ผู้วา่ ราชการ
จงั หวัดพิชยั ซึง่ ข้าพเจา้ ได้วิสาสะเมอื่ ขึ้นไปตรวจหัวเมอื ง
ทางชายทะเลรวมเมืองพนัสนิคม เมืองชลบุรีและเมือง เห็นลาดเลาเป็นผู้มีสติปัญญาสามารถแต่คร้ังน้ันคนหน่ึง
บางละมงุ เพม่ิ ให้อกี ๑ เมือง รวมเป็น ๗ เมอื งดว้ ยกนั ) กับนายพลตรี พระยาฤทธิรงค์รณเฉท (สุข ชูโต) ซ่ึง
แตค่ งเรียกชือ่ ว่ามณฑลปราจนี อยู่ตามเดมิ ข้าพเจ้าได้เคยวิสาสะเห็นคุณวุฒิมาแต่เป็นนายทหาร
รวมหัวเมืองทางแม่น้�ำเจ้าพระยาตอนเหนือข้ึน มหาดเลก็ ดว้ ยกนั อกี คน ๑ ทลู เสนอพระเจา้ อยหู่ วั กโ็ ปรด
ไปจนถึงแม่น้�ำปิง คือเมืองชัยนาท ๑ เมืองสรรค์บุรี ๑ จึงทรงตั้งพระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร เป็นผู้บัญชาการ
เมืองมโนรมย์ ๑ เมอื งอุทัยธานี ๑ เมอื งพยุหคีรี ๑ เมือง มณฑลพิษณุโลก ให้พระยาฤทธิรงค์รณเฉท เป็นผู้
ก�ำแพงเพชร ๑ เมืองตาก ๑ รวม ๘ เมืองเปน็ มณฑล ๑ บัญชาการมณฑลปราจีน และขนานนามต�ำแหน่ง
ต้ังทว่ี า่ การมณฑล ณ เมอื งนครสวรรค์ เรยี กวา่ “มณฑล ผบู้ ญั ชาการมณฑล ใหเ้ รยี กวา่ “ขา้ หลวงเทศาภบิ าล” ให้
นครสวรรค”์ ผดิ กบั คำ� “ขา้ หลวง” ซงึ่ ทำ� การชว่ั คราวและใหเ้ รยี กไดท้ งั้
รวมหัวเมืองเหนือทางแม่น้�ำน่านและแม่น�้ำยม เจา้ นายและขนุ นางผเู้ ป็นต�ำแหน่งนน้ั (ถงึ รัชกาลท่ี ๖ จึง
คอื เมอื งพิจติ ร ๑ เมอื งพษิ ณโุ ลก ๑ เมอื งพิชัย ๑ เมอื ง เปลี่ยนเปน็ “สมุหเทศาภบิ าล”) พอตง้ั มณฑลได้ไมช่ ้าถงึ
สวรรคโลก ๑ เมอื งสุโขทยั ๑ รวม ๕ เมอื งเขา้ เป็นมณฑล ๑ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) ไทยก็เกิดวิวาทกับฝร่ังเศส
ตั้งทีว่ า่ การมณฑล ณ เมืองพิษณุโลก เรียกว่า “มณฑล เทศาภิบาลมณฑลปราจีนจัดส่งก�ำลังและเครื่อง
พษิ ณโุ ลก” รวมเป็น ๔ มณฑลดว้ ยกนั ยุทธภัณฑ์ไปยังมณฑลชายแดนทางตะวันออกแข็งแรง
แมเ้ พยี ง ๔ มณฑลเทา่ นนั้ กต็ ง้ั ไดใ้ น พ.ศ. ๒๔๓๕ รวดเร็วกว่าคนทั้งหลายคาด ดูเหมือนจะเป็นประโยชน์
แต่ ๒ มณฑล เพราะหาตัวคนซึ่งจะเป็นผู้บัญชาการ ของการตงั้ มณฑลถงึ ออกปากชมกนั เปน็ ครง้ั แรก แตใ่ นปนี น้ั
มณฑลใหเ้ หมาะแกต่ �ำแหนง่ ไดย้ าก ด้วยจะต้องเลือกหา ยงุ่ อยดู่ ้วยเรือ่ งฝรง่ั เศสไมส่ ามารถจดั การอนื่ ตามหวั เมือง
ในขา้ ราชการชน้ั บรรดาศกั ดสิ์ งู ทมี่ ปี ญั ญาสามารถอาจจะ จนถึงปลาย พ.ศ. ๒๔๓๖ จึงทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้
ท�ำการได้ดังประสงค์และเป็นผู้ซึ่งพระเจ้าอยู่หัวไม่ทรง พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนมรุพงศ์ศิริพัฒน์เมื่อยังไม่ได้
รังเกียจประกอบกันทุกสถานในชั้นแรกข้าพเจ้า เห็นแต่ รับกรม เป็นข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า และให้
๒ คน คอื เจา้ พระยาสรุ สีห์วสิ ษิ ฐศ์ ักด์ิ (เชย กลั ยาณมิตร) พระยาดัสกรปลาศ (อย)ู่ ซึ่งเคยเปน็ ข้าหลวงใหญ่อยู่ ณ
เมืองหลวงพระบาง เป็นข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑล
นครสวรรค์ แตพ่ ระยาดสั กรฯ อยใู่ นตำ� แหนง่ ไมช่ า้ รสู้ กึ ตวั
ว่าเคยแต่รับราชการทหารมาแต่ก่อน จะไม่สามารถ
รับราชการในต�ำแหน่งส�ำคัญฝ่ายพลเรือนให้ดีได้
กราบทูลขอเวนคืนต�ำแหน่งข้าหลวงเทศาภิบาลโดย
ความซื่อ จึงทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้เป็นราชองครักษ์
ประจำ� พระองค์ และทรงตงั้ พระยาไกรเพชรรตั นสงคราม
(แฉ่ บนุ นาค) เมอ่ื ยงั เปน็ พระยาราชพงศานรุ กั ษ์ ผวู้ า่ ราชการ
เมืองสมุทรสงคราม เป็นข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑล

36 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

นครสวรรค์ และตอ่ มาใน พ.ศ. ๒๔๓๖ นน้ั เมอ่ื กรมหลวง ตวั พวกลกู หนีม้ าบงั คับเรยี กเอาเงิน บางทกี ถ็ ึงตอ้ งกักขงั
สรรพสิทธิประสงค์เลื่อนเป็นข้าหลวงใหญ่มณฑลอีสาน ควบคมุ คงตอ้ งทำ� ใหค้ นเดอื ดรอ้ นมากบา้ งนอ้ ยบา้ ง ทกุ เมอื ง
แล้ว โปรดให้รวมเมืองนครราชสีมา เมืองบุรีรัมย์ ทีข่ า้ พเจา้ ไป คนท้งั หลายก็จะเลยเข้าใจว่า ขา้ พเจา้ ดรุ า้ ย
เมืองนางรอง เมืองชัยภูมิรวม ๔ เมืองเข้าเป็นมณฑล ไม่มีความเมตตากรุณาถึงจะได้เงินก็เสียความเล่ือมใส
เทศาภิบาลอีกมณฑลหนึ่ง ตั้งท่ีว่าการมณฑล ณ เมือง พาใหล้ ำ� บากแกก่ ารในภายหนา้ แตจ่ ะไมร่ บั ชว่ ยกระทรวง
นครราชสีมา เรียกช่ือว่า “มณฑลนครราชสีมา” และ พระคลงั ฯ ตามพระประสงคข์ องกรมพระนราฯ กไ็ มส่ มกบั
ทรงพระกรณุ าโปรดฯ ใหพ้ ระยาสงิ หเสนี (สะอาด สงิ หเสน)ี ทไี่ ดท้ ลู ทา่ นไวแ้ ตแ่ รก กระทรวงพระคลงั ฯ จะเลยไมเ่ ชอื่ ถอื
เมอื่ ยงั เปน็ พระยาประสทิ ธศิ ลั การ เปน็ ขา้ หลวงเทศาภบิ าล ข้าพเจ้าทูลให้ทรงทราบความล�ำบากใจ แต่จะตริตรอง
บญั ชาการมณฑลนนั้ ถงึ พ.ศ. ๒๔๓๖ จงึ มมี ณฑลหวั เมอื ง หาทางแกไ้ ขดกู อ่ น แลว้ จงึ จะมาปรึกษาพระวรพฒุ โิ ภคัย
ชนั้ ในขน้ึ เป็น ๕ มณฑลดว้ ยกัน เจ้ากรมเงินส่วยซ่ึงได้เล่ือนขึ้นเป็นพระยาเมื่อข้าพเจ้าไป
เร่ืองเงินซ่ึงโปรดให้ข้าพเจ้าปรึกษากับกรม อยกู่ ระทรวงมหาดไทยแลว้ เพราะเหน็ วา่ เปน็ คนเกา่ ไดร้ บั
พระนราฯ นน้ั ขา้ พเจา้ เคยทลู ทา่ นตงั้ แตแ่ รกเปน็ เสนาบดี สญั ญาบตั รเปน็ พนั พฒุ อนรุ าชแตใ่ นรชั กาลที่ ๔ รกู้ ารงานมาก
กระทรวงมหาดไทยว่า จดั หัวเมอื งจะต้องใชเ้ งนิ มาก ถา้ พระยาวรพุฒิฯว่า ข้าราชการที่เป็นหนี้เงินส่วย อยู่ตาม
กระทรวงพระคลังฯ ไม่ให้เงินพอแก่การก็จัดไม่ส�ำเร็จ หัวเมืองนั้นเป็นคนม่ังมีก็มี เป็นคนจนก็มี ประเพณีที่
ท่านตรัสว่าได้ทรงคิดคาดอยู่แล้วแต่เงินรายได้แผ่นดิน เรง่ เรยี กเงนิ สว่ ยบงั คบั เรยี กเหมอื นกนั หมด ถา้ ผอ่ นผนั ให้
ยังน้อยนัก ถ้ารายได้ไม่มีเพ่ิมข้ึนก็ยากท่ีจะจ่ายเงินให้ คนจนอย่างไรก็ต้องผ่อนผันให้คนม่ังมีอย่างเดียวกัน
พอแกก่ ารกระทรวงมหาดไทยได้ เพราะฉะนน้ั เมอื่ ขา้ พเจา้
จดั การปกครองหวั เมอื ง ขอใหค้ ดิ บำ� รงุ ผลประโยชนแ์ ผน่ ดนิ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ เสดจ็ ตรวจราชการ
ไปด้วยกัน ถ้าสามารถท�ำให้เงินรายได้เพิ่มขึ้นเท่าใด
จะจ่ายให้กระทรวงมหาดไทยใช้มากกว่ากระทรวงอ่ืนๆ
ข้าพเจ้าก็รับจะช่วยคิดหาผลประโยชน์แผ่นดินด้วยตาม
พระประสงค์ ครน้ั เมอื่ ขา้ พเจา้ จะขน้ึ ไปตรวจหวั เมอื งเหนอื
กรมพระนราฯ ตรัสแก่ขา้ พเจา้ ว่า ตามหัวเมอื งเหล่านัน้
เงินส่วยค้างอยู่มาก ถ้าข้าพเจ้าช่วยเร่งเอาเงินส่วยลงมา
ได้บ้างกจ็ ะดี ขา้ พเจ้าได้ฟงั ตรัสออกลำ� บากใจ ดว้ ยขึ้นไป
ครั้งน้ันข้าพเจ้าประสงค์แต่จะไปปรึกษาหาความรู้ไม่ได้
คดิ วา่ จะไปจดั การอนั ใด อกี ประการหนงึ่ ตวั ขา้ พเจา้ จะไป
ตรวจหวั เมอื งในตำ� แหนง่ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทยเปน็
คร้งั แรก เหมอื นอย่างว่า “ประเดมิ โรง” ชาวหวั เมืองยงั
ไม่รู้จักอยู่โดยมาก ต้ังแต่เจ้าเมืองกรมการตลอดจน
ราษฎร พลเรือนคงพากนั คอยดวู า่ นิสยั ใจคอของข้าพเจา้
จะเป็นอย่างไรกธ็ รรมดาของการเร่งเงินนน้ั ย่อมต้องเอา

๑๒๐ ปี 37

กระทรวงมหาดไทย

ท่ีจริงลูกหน้ีท่ีมีเงินพอจะส่งได้มีอยู่ไม่น้อย ถ้าข้าพเจ้า ล�ำหน่ึงบรรทกุ เงินลงมาถวาย กรมพระนราฯ ก็ทรงยินดี
อยากไดเ้ งนิ โดยไมต่ อ้ งเรง่ รดั ใหเ้ ดอื ดรอ้ นเหน็ ทางทจี่ ะได้ เพราะฉะนั้น พระเจ้าอยู่หัวมีรับส่ังให้ท่านมาปรึกษา
อยา่ งนนั้ แตเ่ อาสว่ นลดลอ่ คอื เปดิ โอกาสใหแ้ กพ่ วกเจา้ หมู่ กับข้าพเจ้าในเร่ืองเงินท่ีจะจ่ายให้พอจัดการหัวเมือง
นายกอง ว่าถ้าใครส่งเงินช�ำระหนี้หลวงได้สิ้นเชิง จงึ ไม่ลำ� บาก ทา่ นตรสั ขอแต่ใหข้ า้ พเจา้ ประหยดั เงินช่วย
จะลดจ�ำนวนเงินให้เท่านั้นส่วน กะส่วนให้เขาพอเป็น กระทรวงพระคลงั ฯ บ้าง เปน็ ตน้ ว่าต�ำแหนง่ ข้าราชการ
ประโยชน์ก็เห็นจะมีคนขอช�ำระหนี้หลวงด้วยใจสมัคร ที่รับเงินเดือนขอให้ต้ังขึ้นแต่น้อยก่อน อัตราเงินเดือนก็
มากด้วยกัน พวกท่ีไม่มีเงินจะส่งก็ไม่ต้องถูกเร่งรัดให้ได้ ขอให้ก�ำหนดเป็นอย่างต่�ำ แต่พอคนสมัครท�ำการได้อีก
ความเดือดร้อน ข้าพเจ้าเห็นชอบด้วยและไปทูลถาม ประการหนง่ึ อยา่ เพงิ่ คดิ กอ่ สรา้ งอะไรใหส้ น้ิ เปลอื งมากนกั
กรมพระนราฯ ว่ากระทรวงพระคลังฯ จะให้ส่วนลด สถานทที่ ำ� การหรอื ทพ่ี กั อนั จำ� เปน็ จะตอ้ งมี ถา้ ไมม่ ขี องเดมิ
แกล่ กู หน้สี ักเทา่ ใด ทา่ นตรัสวา่ เงนิ ส่วยที่คา้ งตวั หวั เมือง ขอใหท้ ำ� อยา่ งถกู ๆ หรอื เชา่ เขาแตพ่ อใชช้ วั่ คราวกอ่ น เมอ่ื
ทบั ถมกนั อยเู่ สมอ เรง่ รดั ไดเ้ งนิ ปเี กา่ เงนิ ปใี หมก่ ค็ า้ งตอ่ ไป จำ� นวนเงินแผ่นดนิ รายไดม้ ีมากขึ้น จึงค่อยขยายรายการ
จำ� นวนเงนิ คา้ งมแี ตเ่ พม่ิ ขนึ้ ทกุ ปี ถา้ เจา้ หมนู่ ายกองลม้ ตาย เหลา่ นน้ั ใหก้ วา้ งขวางออกไป ถา้ วงการเปน็ เชน่ ทที่ า่ นตรสั
เงินที่ติดค้างก็เลยสูญ เงินส่วยมีมากแต่ในบัญชีทิ้งไว้ แลว้ จะหาเงนิ ใหพ้ อการ ขา้ พเจา้ กร็ บั จะท�ำตามพระประสงค์
อยา่ งนน้ั ยง่ิ นานตวั เงนิ กย็ งิ่ สญู มากขนึ้ จงึ อยากไดเ้ ปน็ เงนิ สด และทูลว่าข้าพเจ้าคะเนดูว่า การท่ีจะจัดในชั้นแรกก็
ถ้าข้าพเจ้าคิดอ่านให้มีผู้ส่งเงินล้างหน้ีได้เช่นว่า ลดให้ เห็นจะไม่ต้องใช้เงินมากมายนัก ด้วยตั้งมณฑลขึ้นใหม่
ครงึ่ หนงึ่ กย็ อมจงึ ใหพ้ ระยาวรพฒุ ฯิ ขนึ้ ไปกบั ขา้ พเจา้ และ เพยี ง ๔ มณฑล (เวลานั้นยังไมไ่ ดต้ ัง้ มณฑลนครราชสีมา)
เอาบัญชีเงินส่วยค้างขึ้นไปด้วย ไปถึงเมืองไหนก็ให้ ในชนั้ แรกกม็ คี นรบั เงนิ เดอื นแตใ่ นกองขา้ หลวงเทศาภบิ าล
พระยาวรพฒุ ิฯ บอกแก่ลูกหน้ใี นเมอื งนัน้ ว่า เมอื่ ข้าพเจา้ ส�ำหรับบังคับการมณฑลซ่ึงจะต้องต้ังขึ้นก่อนต้ังแล้วยัง
จะไปตรวจหัวเมืองครั้งนั้นกระทรวงพระคลังฯ ขอให้ ตอ้ งใชเ้ วลาพอทข่ี า้ หลวงเทศาภบิ าลจะไปเทย่ี วตรวจใหร้ ู้
ชว่ ยเรง่ เรยี กเงินสว่ ยทค่ี ้างอยูต่ ามหัวเมอื ง ขา้ พเจา้ ขอให้ การงานตามหวั เมอื งในมณฑลของตนเสยี ก่อนด้วย ในปี
กระทรวงพระคลงั ฯ ผอ่ นผนั บา้ ง อยา่ ใหไ้ ดค้ วามเดอื ดรอ้ น แรกเหน็ จะตอ้ งจา่ ยเงนิ เดอื นเพยี งขา้ หลวงเทศาภบิ าล ๔
กนั นกั กระทรวงพระคลงั ฯ ใหอ้ นญุ าตวา่ ถา้ ลกู หนคี้ นใด มณฑลต่อข้ึนนั้นไปซึ่งจะถึงจัดการปกครองเมืองเพ่ิมคน
ช�ำระเงินหมดจ�ำนวนที่ค้างในเวลาข้าพเจ้าขึ้นไปนั้น รบั เงนิ เดอื นตอ่ ลงไปถงึ เจา้ เมอื งกรมการ ซง่ึ เปน็ พนกั งาน
ขา้ พเจา้ จะลดเงนิ ใหค้ รง่ึ หนง่ึ กไ็ ด้ เปน็ โอกาสพเิ ศษซงึ่ ยาก ปกครองเมอื งและอ�ำเภอ แต่จัดการปกครองก็คงต้องจดั
จะมีอีก ถ้าใครไม่อยากจะเป็นหนี้หลวง ก็ให้เอาเงิน ในเมืองหลวงของมณฑลที่ข้าหลวงเทศาภิบาล อยู่แต่
มาช�ำระเพื่อให้ส้ินเชิง ถ้าเช่นน้ันข้าพเจ้ายอมลดหนี้ให้ เมืองเดียวก่อนจะมีคนรับเงินเดือนเพ่ิมจ�ำนวนข้ึนแต่ ๔
ครง่ึ หนงึ่ ตามอนญุ าตของกระทรวงพระคลงั ฯ กม็ ผี ลอยา่ ง เมอื งกอ่ น แลว้ จงึ ขยายใหแ้ พรห่ ลายตอ่ ออกไป เพราะฉะนนั้
พระวรพุฒิฯ คาด ดว้ ยพวกลูกหนที้ ี่มเี งินพากันสนใจจะ โดยการที่ก�ำหนดว่าจะจัดก็จะต้องการเงินเพิ่มขึ้น
ชำ� ระหนห้ี ลวงใหส้ นิ้ เชงิ ดว้ ยเหน็ แกส่ ว่ นลด บางคนตวั เงนิ เป็นระยะไป พอจะเข้ากับความสามารถของกระทรวง
มไี มพ่ อถงึ ไปเทย่ี วกยู้ มื เงนิ ผอู้ นื่ มาเพม่ิ จำ� นวนพอชำ� ระหน้ี พระคลงั ฯ ได้ เมอ่ื ปรกึ ษาเขา้ ใจกนั กบั กระทรวงพระคลงั ฯ
ก็มี ได้เงินสดกว่า ๒๐๐,๐๐๐ บาท เวลานั้นยังไม่ใช้ แลว้ ขา้ พเจ้ากส็ นิ้ วิตก ต้ังหน้าคดิ จัดการหัวเมืองตอ่ ไป
ธนบัตร ได้เป็นเงินบาททั้งนั้น ข้าพเจ้าต้องให้หาเรือ

38 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

ความยากเมอื่ แรกตั้งกระทรวงมหาดไทย

เมื่อแรกตั้งกระทรวงมหาดไทยสมเด็จเสนาบดี ข้าพเจ้าและ
พระมนตรีพจนกิจเข้ารับราชการชั้นต้น คือ เจ้าพระยาพระเสด็จฯ เรายัง
ไม่ทันตั้งตัว ผู้ที่รู้ภาษาฝร่ังก็มีแต่สมเด็จเสนาบดีและข้าพเจ้า และมีแต่
ข้าพเจ้าเป็นผู้รู้จักหัวเมืองชายแดนด้วยไปยากล�ำบากท�ำแผนที่มาแล้ว
เม่ือตั้งกระทรวงขึ้น เราเป็นคนใหม่ไม่รู้จักคุ้นเคยใคร แม้จะมีข้าราชการ
เก่าๆ ที่โอนจากศาลาลูกขุนในฝ่ายซ้ายมาร่วมกันอยู่ก็จริง แต่โดยมาก
ท่านรู้จักแต่กรุงเทพฯ ไม่รู้จักเมืองท่ีไกลออกไป ย่ิงเป็นเมืองชายแดนแล้ว
เป็นแต่ทราบช่ือไม่รู้ว่าอยู่ทิศไหนแน่ แม้แต่จะชี้ในแผนท่ีก็ช้ีไม่ใคร่ถูก
อย่าไปนึกถึงเลยว่าท่านจะรู้ภาษาฝร่ังหรือเรื่องของฝรั่งท่ีมารบกวนเราอยู่
ชายแดนท้ังทางตะวันออกและตะวันตก ท่ีเราจะต้องพูดจาโต้เถียงกับเขา
ในเวลานั้น
พอเราน่ังท�ำงานได้ไม่ถึงปี ก็เกิดเร่ืองกับฝร่ังเศส ทางลุ่มแม่น้�ำโขง
ใน ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) เวลานน้ั เรามกี องขา้ หลวงไปตง้ั อยทู่ างลมุ่ แมน่ ำ้� โขง

คัดจากหนังสอื 100 ปี มหาดไทย. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ศริ วิ ฒั นาการพมิ พ์. 2535

๑๒๐ ปี 39

กระทรวงมหาดไทย

คือ พระเจ้านอ้ งยาเธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม ทรง กระแสมาอยา่ งไรเราก็จัดส่งไปและเม่อื มีส่ิงไรเกิดข้ึน กน็ ำ�
ด�ำรงต�ำแหน่งข้าหลวงต่างพระองค์ส�ำเร็จราชการอยู่ที่ ความกราบบังคมทูลเรียนพระราชปฏิบัติอีก ในระยะนี้
บ้านเดื่อ หมากแห้ง คือเมืองอุดรธานีเดี๋ยวน้ีเรียกว่า พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงเหนด็ เหนอ่ื ยมาก จนถงึ
ขา้ หลวงลาวพวน พระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหลวงพชิ ติ ปรชี ากร กบั ตอ้ งเสดจ็ มาประทบั ในกระทรวงมหาดไทย ทงั้ กลางวนั
ทรงด�ำรงต�ำแหน่งข้าหลวงต่างพระองค์ ส�ำเร็จราชการ และกลางคนื หลายวนั จนเหตกุ ารณค์ อ่ ยสงบ
ลาวกาว กบั กองข้าหลวงอยู่ทจ่ี งั หวัดอุบลราชธานี เรยี กว่า การคมนาคมที่กระทรวงจะพูดติดต่อกับ
ขา้ หลวงลาวกาว กองขา้ หลวงลาวกาวอกี กองหนง่ึ ประจำ� ขา้ ราชการหวั เมอื งทางดนิ แดนลมุ่ แมน่ ำ�้ โขงตอ้ งไปทางบก
เมืองนครจ�ำปาศักด์ิมีพระพิศณุเทพเป็นข้าหลวงอยู่แล้ว โดยม้า หรือเดินเท้าไม่มีเครื่องบิน รถไฟ ไปรษณีย์
ดั่งน้ีก็ดี แต่ล้วนเป็นข้าราชการที่เรียกได้ว่ายังไม่รู้จักกับ โทรเลขโทรศพั ทแ์ ตอ่ ยา่ งใด แตเ่ ดชะบญุ ทขี่ า้ พเจา้ ชำ� นาญ
มหาดไทยใหม่ในด้านความคิดและนโยบาย เราได้แต่มี การเดนิ ทางมามากแล้ว และรู้จักข้าราชการและผูค้ นใน
อะไรมาก็น�ำความกราบถวายบังคมทูลพระบาทสมเด็จ ดินแดนตอนนี้ช�่ำชองมาแต่เวลาไปท�ำแผนที่มาแล้ว จึง
พระเจา้ อยหู่ วั ขอพระราชทานพระราชดำ� ริ เมอื่ พระราชทาน สามารถวางการคมนาคมให้ได้ดีและเร็วท่ีสุดท่ีจะพึง
กระทำ� ได้ โดยจัดเกณฑค์ นบา้ ง ม้าเร็วบ้าง สง่ กนั ไปเปน็
ระยะทอดๆ ไป ดงั เช่นอาจไปถึงจงั หวดั หนองคาย และ
อบุ ลราชธานีได้ใน ๔ - ๕ วนั ซ่ึงไดผ้ ลในราชการดมี าก
พอพ้นเขตด้านเจรจากับฝรั่งเศสแล้วมาเกิดเรื่องฝร่ังเศส
ทางเมืองจันทบุรีย่ิงมีธุระหน้าที่มหาดไทยเพ่ิมและ
ยากขึ้นมาก เพราะพระยาวิชยาธิบดี (สวาสดิ บุนนาค)
นอ้ งสมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศ์ (ชว่ ง บญุ นาค)
และเป็นบิดาพระยาเดชานุชิต พระยาศรีธรรมโศกราช
ขา้ ราชการเกา่ กระทรวงมหาดไทยนนั้ ทา่ นกค็ อ่ นขา้ งชรา
และปว่ ยรบั ฝรง่ั เศสไมห่ ยดุ ขา้ พเจา้ กต็ อ้ งวงิ่ ไปจนั ทบรุ ฝี า่
กระสุนปืนจากค่ายทหารฝร่ังเศสไปหาแม่ทัพฝรั่งเศส
แลว้ จดั ระงบั เหตกุ ารณท์ เ่ี กย่ี วกบั ฝรงั่ เศส และการวนุ่ วาย
ภายในบ้านเมืองจนสงบ ย่ิงกว่าน้ันพอเสร็จการเจรจา
ตกลงกับฝรั่งเศสได้แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงพระประชวร แพทย์หลวงจงึ ทลู เชิญเสด็จไปประทบั
รักษาพระองค์อยู่ที่พระต�ำหนักในเกาะสีชัง เพราะเป็น
พระราชฐานท่ีได้ไปทรงให้แผ้วถางสร้างไว้พอประทับได้
หลายหลงั สมเดจ็ เสนาบดีตอ้ งตามเสด็จไปประทบั อย่ทู ี่
เกาะสีชังด้วยยังมีเราท่ีท�ำงานสมัยใหม่แต่ ๒ คน คือ
ขา้ พเจา้ และพระมนตรพี จนกจิ อยยู่ นื โรงประจำ� กระทรวง

40 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

ผลัดกันประจ�ำการ ว่ิงไปว่ิงมาระหว่างกรุงเทพฯ กับ เสด็จตรวจราชการมณฑลปราจีนบุรี
เกาะสชี งั เพอ่ื นำ� รายงานราชการและขา่ วทางชายแดนไป
ทูลเสนอเสนาบดี และรบั ค�ำสั่งมากระทรวงจัดการต่อไป ผพู้ ิพากษากระทรวงยุติธรรมอกี ๒ เปน็ ศาล มีทนายเปน็
ดังน้ันทุกๆ วัน การเดินทางข้ามทะเลไปเกาะสีชังมา ขา้ ราชการฝา่ ยไทย๒นายทรี่ ภู้ าษาฝรง่ั คอื หลวงสนุ ทรโกษา
ระยะยาว ๘ ชั่วโมง มีแต่เรือหลวงล�ำเล็กๆ และมักมี (คอยู่เหล ณ ระนอง) คือพระยาประดิพัทธภูบาล และ
คลนื่ ลมจดั เสมอบางวนั ไปถกู คลน่ื ลมแทบเอาชวี ติ ไมร่ อด นายหัสบ�ำเรอ หุ้มแพร คือ เจ้าพระยาสุธรรมไมตรี
ถึงจะมีข้าราชการเก่าอยู่ในกระทรวงอีก ๑๐ กว่าคน (ปล้ืม สุจริตกุล) บดิ าสมเด็จพระนางเจา้ อนิ ทรศักดศิ จี
เขาก็ไดแ้ ต่ช่วยคดั ช่วยเขยี น ได้อาศยั ความคิดความอา่ น ศาลผสมนเ้ี ปน็ ศาลผสมฝรงั่ เศสกบั ไทย เปน็ คณะ
แตน่ อ้ ยคน เพราะเขาไมช่ ำ� นาญการชายแดนและเรอ่ื งกบั ผู้พพิ ากษา ผพู้ พิ ากษาฝ่ายไทยมี ๖ ดังท่ีว่ามาแล้ว จ�ำได้
ฝรง่ั ดงั่ ทว่ี า่ มาแลว้ ฉะนน้ั จงึ ทำ� ใหข้ า้ พเจา้ กบั พระยาพระเสดจ็ ฯ ว่ามีผู้พิพากษาฝรั่งเศสนั่งพิจารณาในศาลมากกว่าฝ่าย
ผซู้ งึ่ มารดาขา้ พเจ้ารกั ใคร่มาก และเป็นเพ่อื นนกั เรยี นมา ไทยประมาณคร่ึงหน่ึง คดีรายนี้มีพระยอดเมืองขวาง
ด้วยกัน รักใคร่กันเช่นญาติ เลยชอบพอกันมาจนถึงชั้น ข้าราชการไทยท่ีได้ไปรับราชการในกองข้าหลวงประจ�ำ
บตุ รหลาน ที่แก่งลีผี เมืองสันธันดร ใต้เมืองจัมปาศักด์ิลงไป เป็น
ในเร่ืองข้าราชการกระทรวงมหาดไทยต้องรับ จ�ำเลยส�ำคัญคนหนึ่ง การที่ศาลได้พิจารณาพิพากษา
ราชการทย่ี ากและไม่มใี ครอยากท�ำอีกเรอ่ื งหนง่ึ ทค่ี นชนั้ ลงโทษพระยอดเมอื งขวางไปแลว้ อยา่ งใดยอ่ มทราบกนั ดี
เกา่ ยงั คงจะจ�ำไดด้ ีถงึ เหตุเกย่ี วกบั ฝรัง่ เศสเมอ่ื ร.ศ. ๑๑๒ อยแู่ ลว้ อยากจะเลา่ เรอื่ งทเ่ี กย่ี วกบั กระทรวงมหาดไทยใน
นน้ั มเี รอื่ งหนง่ึ ทไ่ี ดต้ กลงวา่ ไทยจะตอ้ งตง้ั ศาลพเิ ศษชำ� ระ เรื่องนี้คือพระยอดเมืองขวางเป็นข้าราชการไทยสังกัด
ผู้ต้องถูกกล่าวหาที่ชายแดนในเร่ืองนายทหารฝรั่งเศสได้ กระทรวงมหาดไทยในต�ำแหน่งข้าหลวงผู้ช่วยในกอง
ถูกท�ำร้ายถึงตายไปนั้นคือได้ออกพระราชบัญญัติต้ังศาล ขา้ หลวงเมอื งจมั ปาศกั ดทิ์ กี่ ระทรวงแตง่ ตงั้ ใหไ้ ปอยปู่ ระจำ�
รบั สง่ั เปน็ การพเิ ศษชวั่ คราว สำ� หรบั ชำ� ระคนในบงั คบั ไทย รักษาราชการ ซง่ึ ในสมยั น้นั เรยี กว่ากองข้าหลวงลาวกาว
ท่ีต้องหาว่ากระท�ำความร้ายผิดกฎหมายที่ทุ่งเชียงค�ำ ที่ เมอื่ ขา้ ราชการมหาดไทยตอ้ งถกู เปน็ จำ� เลยในโรงศาลเมอ่ื
แกง่ เจก๊ และเมอื งคำ� มว้ น ลงวนั ท่ี ๗ กมุ ภาพนั ธ์ ร.ศ. ๑๑๒ เวลาปฏิบัติราชการตามหน้าท่ีเช่นน้ีเป็นการจ�ำเป็นท่ี
(พ.ศ. ๒๔๓๖) ลงโฆษณาในหนังสือราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๐ แผน่ ท่ี ๔๖ ลงวันที่ ๑๑ กมุ ภาพนั ธ์ ร.ศ. ๑๑๒
หน้า ๔๙๙ ตั้งศาลพิเศษ ต้ังวิธีพิจารณาส�ำหรับใน
ประกาศฉบับน้ัน ทรงแต่งต้ังให้พระเจ้าน้องยาเธอ
กรมหลวงพชิ ัยปรชี ากร เป็นอธบิ ดผี ู้พิพากษา พรอ้ มกับ
ข้าราชการเป็นผู้พิพากษารอง มีบรรดาศักดิ์ช้ันพระยา
อกี ๖ นาย ในจ�ำนวนผพู้ พิ ากษา ๖ นาย มนี ามขา้ ราชการ
เป็นทหาร ๑ กรมพระต�ำรวจ ๑ กรมมหาดเล็ก คือ
เจ้าพระยาเทเวศร เมื่อยังเป็นพระยา ๑ มีข้าราชการ
กระทรวงมหาดไทย คือ พระยาฤทธิรงค์รณเฉท ๑

๑๒๐ ปี 41

กระทรวงมหาดไทย

กระทรวงมหาดไทยจะต้องแต่งต้ังข้าราชการกระทรวง แต่เม่ือเรามีพระเจ้าแผ่นดินและเสนาบดีมหาดไทย
มหาดไทยไปช่วยเหลือฟังการพิจารณาของศาลถามใคร ผู้ปกครองท้องที่ดีอยู่ก็พอจะด�ำเนินการบ้านเมืองรอด
ก็ไม่มีใครสมัครไป เพราะทราบกันดีอยู่แล้วว่าเป็นเรื่อง พน้ ภัยได้ นอกจากน้นั เรายงั มสี มเดจ็ กรมพระยาเทววงศ์
ขายหนา้ และศาลจะตดั สนิ อยา่ งไร สมเดจ็ ฯ กรมพระยา- วโรปการ (เทวญั อุทัยวงศ)์ ผทู้ รงพระปรชี าสามารถเป็น
ด�ำรงจึงรับส่ังแก่ข้าพเจ้าว่า “แกเป็นข้าราชการฝ่าย เอกอคั รบรุ ษุ เชยี่ วชาญในการบา้ นเมอื งโดยเฉพาะราชการ
มหาดไทยท่ีพูดและเข้าใจขนบธรรมเนียมฝร่ัง ขอให้แก ต่างประเทศ พระทัยเยือกเย็นสุขุมนุ่มนวลเป็นเจ้านาย
ช่วยไปเป็นผู้แทนมหาดไทยฟังการพิจารณาเร่ืองน้ี” ทค่ี วรรักนบั ถอื และไดท้ รงดำ� รงตำ� แหนง่ เสนาบดีวา่ การ
ขา้ พเจา้ ไมอ่ ยากไปเพราะเปน็ เรอื่ งขายหนา้ ดงั ทว่ี า่ มาแลว้ กระทรวงตา่ งประเทศนานกวา่ ผใู้ ดเปน็ ประวตั กิ ารณแ์ ละ
แตข่ ัดรับสง่ั เสนาบดไี ม่ได้กต็ อ้ งไปนั่งพจิ ารณาทกุ วนั จน เพราะเหตุว่าหน้าที่ราชการต่างประเทศน้ันแต่ไหนแต่ไร
ศาลพพิ ากษาตดั สนิ แลว้ ทำ� รายงานยน่ื ถวายตามระเบยี บ มาเป็นหน้าที่ต้องประจ�ำท�ำงานรับราชการอยู่แต่ในกรุง
ราชการ จึงไม่ค่อยมีพระโอกาสเสด็จไปทอดพระเนตรหัวเมือง
ขา้ พเจา้ จำ� ไดว้ า่ ศาลนนั้ ตงั้ ทห่ี อ้ งชน้ั ท่ี ๒ ดา้ นหนา้ เพราะฉะน้ัน ถึงฐานะการบ้านเมืองในสมัยนั้นจะคับขัน
ของสถานทูตฝรั่งเศสท่ีต้ังอยู่ริมแม่น้�ำเจ้าพระยาใต้ ปานใดก็ดี แต่เป็นเคราะห์ดีของประเทศไทยอย่างที่
ธนาคารอินโดจีนหรือแบงค์ฝร่ังเศสเด๋ียวนี้ อยู่ที่ศาลแล พวกฝร่ังชอบใช้ค�ำว่า “สวรรค์ช่วย” คือเรามีพระบาท
ไปในแม่น�้ำเห็นเรือรบฝรั่งเศส ๒ ล�ำท่ีแล่นบุกปากน้�ำ สมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั พระปิยมหาราช เปน็
เจ้าพระยาเข้ามายิงกราดป้อมพระจุลจอมเกล้าฯ และ พระประมุขของราชการบา้ นเมือง มสี มเดจ็ กรมพระยา-
สมุทรปราการ เม่ือวันท่ี ๑๓ กรกฎาคม ๑๘๙๓ (พ.ศ. เทววงศ์วโรปการ (เทวัญ อุทัยวงศ์) เป็นเสนาบดี
๒๔๓๖) เตรียมพร้อมอยู่ท้ัง ๒ ล�ำ และที่หน้าศาลา ต่างประเทศ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพเปน็
ริมท่าแม้น�้ำหน้าศาลพิเศษนั้นมีกองทหารเรือฝร่ังเศส เสนาบดีมหาดไทย ประดุจว่าเปน็ หลักหรอื เข่ือนเพชร ๓
๑ กองร้อย พรอ้ มสรรพด้วยอาวธุ อยู่ประจำ� รกั ษาการณ์ เส้า เชน่ นย้ี ่อมฝ่าฝนั อุปสรรคทง้ั ปวงใหล้ ลุ ว่ งได้ ยอ่ มจัด
ตลอดเวลาท่ีศาลพิจารณาคดีเรื่องนั้น นี่เป็นเรื่องหนึ่ง ทะนุบ�ำรุงบ้านเมืองไทยให้รุ่งเรืองรอดพ้นปราศจาก
ที่ข้าราชการมหาดไทยไม่อยากแต่จ�ำใจต้องท�ำเพราะ ภัยอันตรายให้ประเทศไทยได้รวบรวมกันเป็นอันหน่ึง
ขดั คำ� สั่งผ้บู งั คับบัญชาไมไ่ ด้ อนั เดยี ว เปน็ คนไทยทงั้ มวล มเี กยี รตแิ ผไ่ พศาลไปทวั่ พภิ พ
เพราะเหตุนี้ เมืองไทยในสมัยท่ีข้าพเจ้ารับ เปน็ ทเ่ี คารพนับถือของนานาประเทศ คนไทยผปู้ กครอง
ราชการแต่ พ.ศ. ๒๔๓๕ เป็นต้นมานั้น เป็นเคราะห์ดี ประเทศท่ไี ด้รับภาระต่อมาในเวลาน้ี ๓ พระองคไ์ ดเ้ สดจ็
ของประเทศไทย ที่เราได้สมเด็จพระเจ้าแผ่นดินท่ี สวรรคตและสิ้นพระชนม์ไปแล้ว ต่อมาก็ได้เจริญรอย
ทรงพระปรีชาสามารถ วิริยะอุตสาหะแรงกล้า จนได้ พระยคุ ลบาทรกั ษาจดั การปกครองบา้ นเมอื งใหเ้ หมาะสม
ทรงรับมติของปวงประชาชาวไทยมาจนสมัยนี้ว่าเป็น แก่กาลสมัยดีรุ่งเรืองมาถึง พ.ศ. ๒๔๙๕ ให้เป็นมรดก
“พระปยิ มหาราช” ถงึ หากวา่ ฐานะการบา้ นเมอื งขณะนน้ั ตกทอดต่อไปภายหน้าเช่นน้ี เราไทยควรยินดีพร้อม
ประเทศไทยจ�ำเป็นต้องเก่ียวข้องพัวพันกับต่างประเทศ สามัคคีช่วยกันรักษาท�ำการบ้านเมืองต่อไปให้ได้เช่น
มากในฐานะอยา่ งลกู แกะกบั สนุ ขั ปา่ ในเรอื่ งนยิ ายอสิ ปกด็ ี ทีบ่ รรพบรุ ษุ ของเราได้ท�ำไวใ้ ห้เปน็ มรดกน้ัน

42 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

วนิ ิจฉัยเร่ือง ค�ำวา่ “มหาดไทย”

ในการเรียบเรียง “ประวัติมหาดไทย” ปัญหาข้อแรกท่ีเข้ามากระทบความรู้สึกของเราและจะผ่านเลยไป
ได้ยาก ก็คือความหมายของค�ำวา่ “มหาดไทย”
อันช่อื หนว่ ยราชการในเมอื งไทยของเรานัน้ มีหลายชือ่ ทีค่ น้ หาความหมายทีแ่ ท้จริงไมไ่ ด้ เชน่ ช่ือ กระทรวง
“มหาดไทย” “กลาโหม” ฯลฯ ช่อื กรมกม็ ี “พลัมภงั ” กรมน้ขี ้นึ อยู่ในกระทรวงมหาดไทยเหมือนกนั แตเ่ ปลยี่ นชื่อเป็นอน่ื
ไปเสียแล้ว ความหมายเรือ่ งคำ� วา่ “มหาดไทย” และ “กลาโหม” น้ี แมจ้ ะขบคดิ กันมาก และมปี ราชญ์ใหญห่ ลายท่าน
เชน่ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ เปน็ ตน้ ได้ทรงอรรถาธิบายไว้ แต่ก็ยังไม่ลงความเหน็ ทเ่ี ชือ่ ได้แนน่ อนว่า
แปลวา่ กระไร ทง้ั ๆ ท่ีหนา้ ทง่ี านของทั้งสองกระทรวงนยี้ งั คงปฏบิ ตั ิอยู่ตามสภาพเดิมมไิ ดเ้ ปล่ยี นแปลง คอื กระทรวง
กลาโหมมีหน้าทปี่ ้องกนั ชาติ สว่ นกระทรวงมหาดไทยมีหน้าทปี่ กครองทะนุบำ� รงุ ชาติ คือ กระทรวงแรกนน้ั “รบ” แต่
กระทรวงหลงั นนั้ “รักษ”์ ซึง่ ในปจั จบุ ันก็กำ� ลงั ทำ� หน้าทอ่ี ยมู่ ิได้เปล่ียนแปลงไปจากเดิม

๑๒๐ ปี 43

กระทรวงมหาดไทย

ในราชการของชาติไทยในปัจจุบันน้ี ยังคงใช้ค�ำ กรงุ ศรอี ยธุ ยา (ไมท่ ราบวา่ พระองคไ์ หน) ไดโ้ ปรดใหพ้ ระสงฆ์
ทีม่ ี “มหาด” นำ� หน้าอยู่สองค�ำ คือ ซึ่งเป็นผู้ท่ีราษฎรเลื่อมใสออกไปตั้งเกลี้ยกล่อมผู้คน
๑) มหาดไทย ทแี่ ตกฉานซา่ นเซน็ อยนู่ น้ั ใหเ้ ขา้ มาอยรู่ วบรวมกนั เปน็ หมู่
๒) มหาดเลก็ เปน็ ตำ� บลและเพอ่ื ทจ่ี ะถนอมนำ�้ ใจของประชาชนซง่ึ กำ� ลงั
แต่ภาษาไทยโบราณในสมัยกรุงศรีอยุธยา มี หวาดหว่ันพร่ันพรึงอยู่น้ัน ให้เชื่อมั่นในความสุขท่ีจะ
ต�ำแหน่งราชการอีกต�ำแหน่งหนึ่ง ข้ึนต้นด้วย “มหาด” ได้รับ เม่ือกลับเข้าอยู่ในอ�ำนาจปกครองของบ้านเมือง
เหมอื นกัน คอื “มหาดอาษา” พระมหากษตั รยิ จ์ งึ ไดโ้ ปรดใหต้ ราพระราชกฤษฎกี ายกเวน้
เรอ่ื งมมี าวา่ เมอื่ เดอื นพฤษภาคม ๒๔๕๖ สมเดจ็ ราชการแก่บุคคลที่พระสงฆ์ไปเกล้ียกล่อมมาน้ัน โดยมี
พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพไดเ้ สดจ็ พระราชประสงค์จะให้คนเหล่าน้ันได้ช่วยพระสงฆ์บ�ำรุง
ไปราชการหัวเมืองฝ่ายใต้ ไปทรงได้ต้นฉบับพระราช พระพุทธศาสนาแต่ด้านเดียว และเพ่ือให้เป็นหลักฐาน
กฤษฎีกาในสมยั พระพทุ ธเจ้าเสอื กรงุ ศรีอยุธยา (๒๒๔๖ ประกนั มใิ หเ้ จา้ เมอื งและกรมการใดๆ ไปรบกวนกะเกณฑ์
- ๒๒๕๑) มาฉบับหน่งึ จากวัดเขยี น ที่บางแก้ว จังหวัด ให้คนเหล่าน้ีไปกระท�ำงานหรือไปราชการอ่ืนนอกเหนือ
พัทลุง เป็นสมุดข่อยไทยกระดาษสมุดเพลาเขียนด้วย ไปจากพระราชก�ำหนด จึงโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราช
ดินสอด�ำอักษรไทยย่อ มีตรารูปเทวดาและตราบัวแก้ว กฤษฎีกาข้ึนไว้ บุคคลท่ียกเว้นราชการเหล่าน้ีเรียกว่า
ของทางราชการเปน็ สำ� คญั ความในพระราชกฤษฎกี านนั้ “ข้าโปรดคนทาน” หรือพวก “ข้าพระ” ในชั้นหลังๆ
เป็นเร่ืองพระครูอินทรา ได้ถวายพระพรแด่สมเด็จ เรยี กกันว่า “เลกวัด” คอื คนส�ำหรบั ใช้งานวัด
พระพทุ ธเจ้าเสือ ขอใหท้ รงอุปถัมภว์ ดั ในเมอื งพทั ลงุ ตาม คนจำ� พวกนหี้ า้ มเจา้ เมอื งกรมการใด ๆ เกณฑเ์ ขา้
พระราชประเพณีที่พระมหากษัตริย์แต่โบราณทรงมี รับราชการไม่ว่าหน้าท่ีใด ห้ามเก็บภาษีอากรทุกชนิด
พระราชกำ� หนดไว้ สมเดจ็ พระพทุ ธเจา้ เสอื กพ็ ระราชทาน ไม่ว่าอากรเรือกสวนไร่นา ข้อความในพระราชกฤษฎีกา
ให้ตามประสงค์ในพระราชกฤษฎีกาได้ระบุบุคคลให้เป็น ตอนนีร้ ะบวุ ่า
ข้าพระส�ำหรับดูแลวัดวาอารามและพระภิกษุสงฆ์ในเขต “อน่ึง มีต�ำราพระราชโองการ (ระเบียบหรือ
เมืองพัทลุง กรมการบ้านเมือง หรือส่วนราชการใด ๆ กฎราชการ) ให้ห้ามสมรสและ “มหาดอาษา” และ
ในทอ้ งทน่ี น้ั จะเขา้ ไปกะเกณฑบ์ คุ คลทรี่ ะบวุ า่ เปน็ ขา้ พระ เบ้ยี ผลอากรนาพนัสทีภ่ มู ทิ านพระกลั ปนา...”
ใหไ้ ปทำ� ราชการหรืองานอนื่ ใดมิได้ ขา้ พระกัลปนา หรือ พวกขา้ โปรดคนทานเหล่าน้ี
ต้นเหตุที่เกิดพระราชกฤษฎีกานี้มีเร่ืองปรากฏ มีระเบียบแปลกอยู่อย่างหน่ึงก็คือ ห้ามสมรสและห้าม
ตามต�ำนานสะทังพระว่า ในคราวน้ีพวกแขกอุยังตนะ (เปน็ ) มหาดอาษา
(แปลว่า ผู้อยู่ปลายแหลม เห็นจะเป็นพวกยะโฮร์ หรือ ได้เกิดมีปัญหาขึ้นว่า “มหาดอาษา” น้ี คือ
พวกมะละกา) ไดเ้ ปลย่ี นลทั ธศิ าสนาพทุ ธมานบั ถอื ศาสนา คนประเภทใด
อิสลาม เมอื่ มผี ู้เลอื่ มใส ได้กำ� ลังผ้คู นมากขน้ึ จึงได้ยกทพั เปน็ อนั วา่ เรายงั ออกไปไม่พ้นจากความสนเท่ห์
เข้ามาตีชายแดนไทยเร่ือยขึ้นมาจนถึงเมืองพัทลุง ของค�ำว่า “มหาดไทย” และค�ำว่า “มหาด” ท้ังหลาย
ไพร่บ้านพลเมืองพากันหวาดกลัวอพยพหลบหนี ดังกล่าวมาแล้วด้วย จ�ำเป็นจะต้องหาความกระจ่างใน
กระจดั กระจายไปอยตู่ ามปา่ ตามเขาทวั่ ไป สมเดจ็ พระเจา้ ถอ้ ยค�ำเหลา่ นี้ ที่จริงค�ำเหล่าน้มี ผี ู้สงสัยและต้ังปัญหาข้ึน

44 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

ไตถ่ ามมาช้านานแลว้ แตม่ ิไดม้ ผี ใู้ ดไขความใหก้ ระจา่ งได้ คำ� ถามท่ี ๕ ว่า คำ� “กลาโหม” กบั ค�ำ “พลัมภัง”
มปี ราชญท์ างประวตั ศิ าสตรห์ ลายทา่ น เชน่ สมเดจ็ ฯ กรม ท่ีเรยี กเปน็ ชอ่ื กรมน้ัน มาแตอ่ ะไร
พระยาด�ำรงราชานุภาพและหลวงวิจิตรวาทการ ก็ได้ ตอบคำ� ถามที่ ๕ ตอ้ งเพมิ่ คำ� วา่ “มหาดไทย” เขา้
ทรงมแี ละมีอรรถาธิบายโดยนัยตา่ ง ๆ กนั จงึ เห็นสมควร อีกค�ำ ๑ เพราะใช้เป็นช่ือกรมคู่กับ กลาโหม อันค�ำ
จะประมวลความเหน็ น้ัน ๆ รวมไว้เสยี ในท่ีน้ี เพอ่ื ไดเ้ ป็น กลาโหม มหาดไทย และพลัมภัง ท้งั ๓ ค�ำน้ี มิใชภ่ าษา
ทรี่ วมแหง่ การคน้ ควา้ ความหมายของคำ� นแี้ มแ้ ตล่ ะทา่ นจะ ไทย คงเป็นค�ำมาแต่ภาษาสันสกฤตหรือภาษามคธ
แสดงอรรถาธบิ ายโดยอตั โนมตั ิ มไิ ดล้ งความเหน็ แนน่ อน (ฝรั่งเรียกว่าภาษา “บาลี”) ได้ลองค้นดูในหนังสือ
ประการใดกต็ ามที พจนานกุ รมภาษาบาลขี องอาจารยซ์ ลิ เดอรพ์ บคำ� “กลโห”
Kalaho มีอยใู่ นนั้นแปลความว่า “วิวาท” Quarrel อยา่ ง ๑
ความเหน็ ท่ี ๑ กระแสพระด�ำรขิ องสมเดจ็ ฯ วา่ “วุน่ วาย” Strife อย่าง ๑ วา่ “รบประจัญบาน” Battle
กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ อย่าง ๑ ดูสมกับท่ีเอามาใช้เป็นช่ือกรมฝ่ายทหารใน
พจนานุกรมน้ันมีอีกค�ำหนึ่งว่า “มหทย” Mahadaya
อรรถาธบิ ายนี้ พระบิดาแหง่ ประวตั ิศาสตร์ และ แปลความวา่ “เมตตายง่ิ ” Verry Compassionate อยา่ ง ๑
พระบิดาแห่งราชการมหาดไทยสมัยใหม่ ได้ประทาน “กรุณายง่ิ ” Very Merciful อย่าง ๑ ดกู ส็ มกับทีเ่ อามา
อรรถาธบิ ายแกพ่ ระยาอนิ ทรมนตรี ผู้ทลู ถวายข้อปัญหา ใชเ้ ปน็ ชอื่ กรมฝา่ ยพลเรอื น แตค่ ำ� พลมั ภงั มเี พยี งเคา้ เงอ่ื น
ขอรบั พระอธบิ ายไวด้ ว้ ยขอ้ ความคอ่ นขา้ งยดื ยาว ปรากฏ ในพจนานุกรมเป็น ๒ ศัพท์ คือว่า “พลัม” แปลว่า
สำ� เนาลายพระหตั ถน์ นั้ ดงั น้ี (สำ� เนาคำ� ตอบปญั หาพระยา Strength, Power, Force ลว้ นหมายความวา่ กำ� ลงั อยา่ ง ๑
อินทรมนตรี) อกี นยั หนงึ่ แปลว่า “ทหารบก” Army หรอื “กองทหาร”
Troop และในพจนานุกรมมีอีกค�ำหน่ึงว่า “อัมโภ”
Ambho แปลว่า “กอ้ นกรวด” Pebble ถา้ เอา ๒ คำ� น้ี
เขา้ สนธกิ นั เปน็ “พลมั โภ” ดใู กลก้ บั คำ� พลมั ภงั ประหลาด
อยทู่ ตี่ ามกฎหมายทำ� เนยี บศกั ดนิ ามกี รมพลมั ภงั อยทู่ ง้ั ใน
กระทรวงมหาดไทย และในกระทรวงกลาโหม เจ้ากรม
พลัมภังมหาดไทยเป็นที่พระยาจ่าแสนยบดีและเจ้ากรม
พลมั ภังกลาโหมเป็นท่ีพระยาศรเี สาวราชภักดี ฉนั ไดเ้ คย
สืบถามพวกข้าราชการช้ันเก่าในกระทรวงมหาดไทยว่า
กรมพลัมภังน้ันแต่เดิมมีหน้าท่ีอย่างไร เขาบอกว่ากรม
พลมั ภงั นนั้ กลา่ วกนั มาวา่ แตโ่ บราณเปน็ เจา้ หนา้ ทสี่ ำ� หรบั
คุมปืนใหญ่ ถ้าเช่นน้ันชื่อกรมพลัมภังก็อาจจะมาแต่
ค�ำ “พลัมโภ” ท่ีในพจนานุกรมแปลค�ำ “อัมโภ” ว่า
“ก้อนกรวด” อาจหมายถึงวัตถุท่ีใช้เป็นกระสุนของ
ปนื ใหญช่ นั้ เดมิ กเ็ ปน็ ได้ ความทส่ี นั นษิ ฐานมาเปน็ วนิ จิ ฉยั

๑๒๐ ปี 45

กระทรวงมหาดไทย

มูลของค�ำ “กลาโหม” “มหาดไทย” และ “พลมั ภัง” ว่า พระเจา้ แผน่ ดนิ องคห์ ลงั ๆ ทว่ี า่ เลอไทย, ลไิ ทย, ไสยลอื ไทย
มาแตอ่ ะไร น้ัน ก็ล้วนประกอบจากค�ำว่า “อุไทย” ทั้งส้ิน อน่ึง
ยังมีวินิจฉัยที่ควรกล่าวต่อไปถึงเหตุท่ีเอาค�ำ ในชน้ั เดมิ ทพี่ วกไทยเรายกมาจากดนิ แดนทปี่ ระเทศจนี ใน
“กลาโหม” กบั “มหาดไทย” มาใชเ้ ปน็ ชอ่ื กรมอธบิ ายขอ้ นี้ เวลานี้น้ันก็ไว้ผมยาวเกล้ามวยทั้งหญิงชายเหมือนกับจีน
มีอยู่ในหนังสือพระราชพงศาวดารสมัยกรุงศรีอยุธยา ในสมัยโบราณ แต่พอต้ังกรุงสุโขทัยเสร็จไทยก็ตัดผม มี
กับในกฎหมายทำ� เนียบศกั ดินาประกอบกนั วา่ เมื่อ พ.ศ. รปู เปน็ วงกลมกลางกระหมอ่ ม และโกนรอบขา้ งทำ� ใหผ้ ม
๑๙๙๘ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดให้ก�ำหนด ตรงกลางมีรูปร่างเหมือนพระอาทิตย์ และเรียกชื่อผมท่ี
ข้าราชการเป็น “ฝ่ายทหาร” และ “ฝ่ายพลเรือน” ตดั ใหมน่ ว้ี า่ “มหาอไุ ทย” นานมาหนอ่ ยเราเขยี น อุ กลาย
ทรงตัง้ ต�ำแหนง่ อคั รมหาเสนาบดขี นึ้ ๒ คน คือ เจา้ พระยา เป็น ฦ เลยกลายเปน็ “มหาฦทยั ” คนต่อไปเขยี นหางตวั
มหาเสนาบดี ให้เป็นหัวหน้าข้าราชการฝ่ายทหารคน ๑ ฦ ยาวไปหน่อย กลายเป็น ฎ เลยกลายเป็น มหาฎไทย
เจา้ พระยาจกั รี ใหเ้ ปน็ หวั หนา้ ราชการฝา่ ยพลเรอื น คน ๑ ภายหลัง ฎ ชะฎา เขยี นลำ� บาก จงึ เปน็ ด.เด็ก เลยกลาย
ผู้ช่วย Staff ของอัครมหาเสนาบดี ฝ่ายทหารรวมเข้า เป็นมหาดไทย จึงเปน็ ผมมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย
เป็นกรม ให้เรียก “กรมกลาโหม” ผู้ช่วยของอัครมหา มหาดไทยมณฑลอยใู่ นเวลาน้ี ซงึ่ ทจี่ รงิ มาจากคำ� วา่ “มหา
เสนาบดีฝ่ายพลเรอื นก็รวมเปน็ กรมเช่นเดียวกนั ใหเ้ รยี กว่า อุทยั ” ซ่งึ แปลว่าพระอาทิตยแ์ รกขึ้น อนั เปน็ ความหมาย
กรมมหาดไทย จึงมีกรมกลาโหมและกรมมหาดไทย ของคำ� ว่า “พระร่วง” นัน่ เอง”
เกิดข้ึนด้วยประการฉะนี้ เพิ่งมาบัญญัติให้เรียกกรม สรปุ วา่ ท่านผูน้ ้ีสนั นษิ ฐานว่า “อกั ขรวิบตั ิ” ซงึ่
ที่มีเสนาบดีเป็นผู้บัญชาการว่า “กระทรวง” (ตรงกับ เปน็ โรคเรอื้ รงั มาก ในบรรดาเอกสารโบราณของชาตไิ ทย
Ministry) เม่อื รชั กาลที่ ๕ ท่ใี ชว้ ธิ คี ดั ลอกต่อ ๆ กนั มา กอ่ นสมัยมีการพิมพห์ นังสือ
เปน็ อนั วา่ “มหาดไทย” น่าจะมาจาก “มหทย”
(Mahadaya) ซึ่งแปลว่า เมตตายิ่ง หรือกรณุ ายง่ิ ตรงกับ ความเห็นที่ ๓ ขอ้ เสนอค�ำวนิ จิ ฉัยอกี กระแสหนง่ึ
งานและหน้าที่ของมหาดไทยเป็นที่สุด การที่เราเขียน ก่อนที่จะวินิจฉัยค�ำว่า มหาดไทย ใคร่ขอแยก
มหทย เปน็ มหาดไทย จะเปน็ ดว้ ยเขยี นตามสำ� เนยี งทเี่ ปลง่ ประเด็นการพจิ ารณาเปน็ ขั้น ๆ ดังนี้
ออกมา หรืออกั ขระกลายรูป อย่างไรอยา่ งหนึง่ ก็เปน็ ได้ วินจิ ฉยั ค�ำวา่ “มหาด”
ได้มีผู้วินิจฉัยค�ำนี้กันมามาก บางท่านก็วินิจฉัย
ความเหน็ ที่ ๒ ความเหน็ ของหลวงวจิ ติ รวาทการ รวมทง้ั ความ คอื มหาดไทย และมหาดเลก็ แต่เมื่อมีค�ำวา่
มหาดอาษา เกิดข้ึน จึงคิดว่า “มหาด” น้ีอาจจะเป็น
พลตรี หลวงวจิ ติ รวาทการ นักประวัตศิ าสตรค์ น ต�ำแหน่งราชการอย่างใดอย่างหนึ่ง และเป็นต�ำแหน่ง
สำ� คัญของชาตไิ ทย กลา่ วถึงคำ� น้ีไว้วา่ พลเรือน หากจะแยกศัพท์ ดูจะได้ดังนี้ ศัพท์ - มหาด
“...พระนามของกษัตรยิ ์วงศ์น้ี (วงศ์สุโขทยั ) ก็ดี มหา + อตั (โบราณนยิ มเขียน “มหาต”)
สิ่งต่าง ๆ ที่ท�ำไปในแผ่นดินกษัตริย์วงศ์นี้ก็ดี ล้วนเป็น ตามความแปลในพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน
ท�ำนองพระอาทิตย์แรกข้ึน หรือพระอาทิตย์อุทัยท้ังสิ้น พ.ศ. ๒๔๙๓
กษัตริย์องค์แรก ยังทรงพระนามว่าศรีอินทราทิตย์ หน้า ๖๙๙ มหา = ใหญ่
นครหลวงกม็ นี ามว่าสุโขทัย (สุข + อทุ ยั ) พระนามของ

46 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

หนา้ ๑๐๑๐ อตั = ตวั ตน หรอื ลกั ษณะความเปน็ ขา้ ราชการผใู้ หญท่ ี่มหี น้าทร่ี บั ใชอ้ งค์พระมหากษัตริย์ ซึง่
ตวั ตนหรอื บคุ คล ตรงกบั หนา้ ท่ีของมหาดเลก็ ในปจั จุบนั มใิ ช่วา่ มหาดไทย
เมื่อสนธิค�ำท้ังสองนี้เข้าด้วยกันตามหลักจะได้ เปน็ เจา้ หน้าท่ชี น้ั ผใู้ หญ่ สว่ นมหาดเลก็ เป็นเจา้ หนา้ ทีช่ น้ั
ศัพท์ว่า “มหาต” หรือ “มหาด” และจะไดค้ วามหมาย ผนู้ อ้ ย เพราะตำ� แหนง่ มหาดเลก็ เทา่ ทม่ี อี ยใู่ นเมอื งไทยเรา
“คนทเ่ี ปน็ ใหญ่” (มหาต) ซงึ่ เลื่อนมาเปน็ มหาด น้ี เป็น มหาดเล็กท่ีมีอ�ำนาจย่ิงใหญ่ในราชการบ้านเมืองก็มีอยู่
เรื่องปกติของการแปรรูปศัพท์ และอักษรในภาษาไทย ไม่น้อย บางรายมหาดเล็กมีอ�ำนาจเหนือกว่ามหาดไทย
เช่น บิตา เป็น บิดา, ติฏฐ เป็น ดิตถ ฯลฯ แม้ค�ำว่า ก็มี แม้ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ ก็ได้โปรดต้ังข้าราชการ
“มหาดไทย โบราณก็นยิ มเขียน “มหาตไทย” มหาดเลก็ ใหไ้ ปดำ� รงตำ� แหนง่ สมหุ เทศาภบิ าลกห็ ลายทา่ น
จากความหมายน้ีย่อมเป็นท่ีเหน็ ไดว้ ่า “มหาด” แสดงว่าย้ายต�ำแหน่งจากมหาดเล็กไปอยู่มหาดไทย
คอื บคุ คลที่ไดร้ ับแตง่ ต้งั ให้เป็นเจ้าหน้าที่ (ช้นั ผใู้ หญ)่ ถ้า บางรายเคยอยู่มหาดไทยฝ่ายเดียว ก็โปรดเกล้าฯ
จะเทยี บกบั ขา้ ราชการปจั จบุ นั กค็ งจะเปน็ เจา้ หนา้ ทเ่ี ทยี บ พระราชทานยศมหาดเล็กในราชส�ำนักให้ด้วย ดังที่เป็น
เท่าชนั้ สญั ญาบตั ร หรือประจำ� แผนกขน้ึ ไป จงึ จะพอถอื พระราชนยิ มทรงปฏิบัตอิ ยูใ่ นสมยั รัชกาลที่ ๖
เป็นผู้ใหญ่มีอ�ำนาจได้เพราะดูตามพระราชกฤษฎีกา ๓. ค�ำว่า มหาดอาษา
ดงั กล่าว ดูประหนง่ึ วา่ จะต้องมกี ารแตง่ ต้ังดว้ ย ค�ำว่า “อาษา” พจนานกุ รม หนา้ ๑๐๒๗ แปลว่า
เม่ือไดค้ วามหมายว่า “มหาด” คือ เจ้าหน้าที่ชัน้ เต็มใจ หรือสมัคร ฉะนั้นค�ำว่า “มหาดอาษา” ก็คือ
ผู้ใหญแ่ ล้ว ความหมายของค�ำวา่ มหาดไทย, มหาดเล็ก เจา้ หนา้ ทชี่ น้ั ผใู้ หญห่ รอื ผทู้ ไี่ ดร้ บั แตง่ ตงั้ ใหม้ อี ำ� นาจปฏบิ ตั ิ
และมหาดอาษา กส็ ามารถไขความได้หมด คอื ราชการหรืองานเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยอาษารับเข้ามาท�ำ
๑. ค�ำวา่ มหาดไทย และคงจะเป็นราชการเฉพาะเร่ืองเฉพาะคราว เมื่อ
เฉพาะคำ� วา่ “ไทย” พจนานกุ รมแปลวา่ เปน็ ใหญ่ หมดงานก็คงจะหมดจากหน้าที่ไป ฉะนั้น ตามความใน
หรืออิสระ (หน้า ๔๗๗) ฉะนั้น มหาดไทยจึงแปลว่า พระราชกฤษฎกี าเร่ืองท่ีกลั ปนาเมอื งพัทลุง เกรงวา่ พวก
“ข้าราชการผู้ใหญ่ที่มีอิสระพอท่ีจะสั่งปฏิบัติงานได้ ข้าพระคนทานเหล่านั้นจะหลบหนีไปอาษาท�ำราชการ
ด้วยอ�ำนาจของตนเอง” (ตามท่ไี ด้รบั มอบหมายไปจาก อ่ืนใดเสียหมด (เมื่อคิดเบื่อหน่ายข้ึน) ก็จะไม่มีผู้ปฏิบัติ
ผู้บังคับบัญชา) คือ มีอ�ำนาจส่ังการหรือปฏิบัติการแก้ วัดวาอารามตามท่ีมีพระราชก�ำหนดไว้ จึงได้ห้ามเป็น
ปญั หาเฉพาะหนา้ ไดท้ กุ กรณดี ว้ ยตนเองตามหลกั การทไ่ี ด้ มหาดอาษา
รับมอบหมายไว้ และตนเองจะต้องผูกพันรับผิดชอบใน คำ� หรอื ตำ� แหนง่ มหาดอาษานี้ แมป้ จั จบุ นั จะมไิ ด้
การปฏิบัติน้ันๆ ด้วย ดูก็จะตรงหน้าท่ีของข้าราชการ ใช้เต็มรูปก็ยังมีต�ำแหน่งอาษาสมัครอยู่หลายต�ำแหน่ง
มหาดไทยในปจั จบุ นั ดังเช่น ต�ำแหน่งเสือป่าในสมัยรัชกาลท่ี ๖ ปัจจุบันนี้
๒. ค�ำวา่ มหาดเล็ก ก็ยงั มีตำ� แหน่งอาษาอยหู่ ลายตำ� แหนง่ เช่น อาษารกั ษา
เฉพาะค�ำวา่ เลก็ โบราณเขยี นเปน็ เลก เข้าใจวา่ ดนิ แดน ลกู เสอื อาสากาชาด
คงจะเตมิ ไมไ้ ตค่ เู้ ขา้ ทหี ลงั ศพั ทเ์ ดมิ คงจะเปน็ “มหาดเลก็ ” เป็นท่ีสังเกตว่า ต�ำแหน่งมหาดอาษาในสมัย
เลก เป็นภาษาโบราณ แปลว่า คนฉกรรจ์ หรอื คนรบั ใช้ โบราณสูญง่าย ผิดกว่าต�ำแหน่งฝ่ายมหาดไทยและ
(พจนานุกรมหน้า ๘๑๒) ฉะนั้น มหาดเล็ก จึงเป็น มหาดเล็ก ทั้งน้ี ถ้าพิจารณาดูก็ไม่เกิดความสนเท่ห์

๑๒๐ ปี 47

กระทรวงมหาดไทย

อย่างใด เพราะมหาดไทยและมหาดเล็กเป็นต�ำแหน่ง เค้าเงื่อนของค�ำ “มหาด” คงจะมาจากภาษา
ราชการประจ�ำ ซ่ึงเทียบเท่ากับข้าราชการสามัญ ส่วน สนั สกฤตจรงิ แตอ่ าจจะไมไ่ ดม้ าจากคำ� วา่ “มหตั ” โดยตรง
ตำ� แหนง่ มหาดอาษาเปน็ ขา้ ราชการเฉพาะเรอื่ งเฉพาะคราว ลางทีมาจากค�ำอื่น ซ่ึงเป็นเรื่องเกี่ยวเน่ืองกับช้าง ดังจะ
ทำ� นองขา้ ราชการวสิ ามญั ชวั่ คราว ในสมยั โบราณบางสมยั ลองสนั นษิ ฐานตอ่ ไปน้ี
ต�ำแหน่งมหาดอาษาคงจะเป็นต�ำแหน่งส�ำคัญ และ มหาดไทย เป็นชื่อแพร่หลายสำ� คญั ช่ือหน่งึ ในวง
มีเกียรติอาจได้รับพระราชทานบ�ำเหน็จพิเศษ ถ้าเป็น งานปกครองของสยามประเทศเท่าท่เี หน็ ชือ่ นใี้ ชป้ รากฏ
ข้าราชการส�ำคัญ อาจถึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เป็นครั้งแรกทีเดียว ก็ดูจะเป็นกฎหมายลักษณะอาญา
แตง่ ตั้งเป็นกรณีพเิ ศษ ฉะนน้ั ต�ำแหนง่ มหาดอาษาเชน่ วา่ นี้ หลวง ซง่ึ ออกในแผน่ ดนิ พระเจา้ อทู่ อง เมอ่ื ปี พ.ศ. ๑๘๙๕
จึงน่าจะเป็นต�ำแหน่งท่ีน่าริษยาของข้าราชการประจ�ำ ในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาในนนั้ วา่ “แลปอ้ งกนั ผมู้ คี ดแี ลผรู้ า้ ย
ทวั่ ไป เพราะแสดงว่าไม่สามารถจะหาขา้ ราชการประจ�ำ ไว้มิให้ส่งแก่ตระลาการและต่อตีด่านายพท�ำมรง
ทง้ั มหาดไทยและมหาดเลก็ ปฏบิ ตั ริ าชกจิ นนั้ ได้ ใครอาสา นายมหาดไทย นายดาบ นายนกั การ นายคมุ ผไู้ ปเรยี กหา”
รบั สนองกท็ รงแตง่ ตงั้ ใหเ้ ปน็ มหาดอาษาจงึ มเี กยี รตมิ ศี กั ด์ิ ต่อมาก็พบในกฎหมายลักษณะโจร ซ่ึงออกในปี พ.ศ.
สงา่ แก่ผู้ได้รบั แต่งตัง้ เปน็ กรณีพเิ ศษ ๑๙๐๓ แผน่ ดนิ เดยี วกนั ความวา่ “มาตราหนง่ึ นายพทำ� มรง
ความมเี กยี รตขิ องตำ� แหนง่ มหาดอาษานเี้ อง เปน็ มหาดไทยท่านให้ไปเอาคนนักโทษแลให้คนบันดาเป็น
เหตุให้มหาดอาษาต้องส้ินชื่อเร็ว เพราะเม่ือมีราชการ โทษหนี ท่านให้นายพท�ำมรงมหาดไทยเร่งหาจงได้
สำ� คญั เกดิ ขนึ้ พวกขา้ ราชการประจำ� กค็ งจะรบี รบั อาสาไป ถ้ามิได้โทษผหู้ นฉี ันใด ใหล้ งโทษแก่ผู้ใหห้ นีดงั น้ัน ถา้ ทรง
ปฏิบัติจัดท�ำเสียเอง คือ ถ้าเป็นเร่ืองเกิดขึ้นภายใน พระกรุณาให้ฆ่าตีเสีย ให้ทวนด้วยลวดหนังแลไม้หวาย
ราชส�ำนกั พวกมหาดเลก็ ก็คงไปปฏบิ ัติ ถา้ เกิดขึ้นในท้องท่ี โดยโทษานุโทษ” ชื่อมหาดไทยที่ปรากฏเป็นครั้งแรกน้ี
ทั่วไป มหาดไทยก็คงรับมาปฏิบัติหมด ไม่ยอมปล่อยให้ รู้ได้เพียงว่า ในแผ่นดินพระเจ้าอู่ทองปฐมกษัตริย์
คนภายนอกไปรับอาสาเป็นมหาดอาษาได้ เพราะการ กรงุ ศรอี ยธุ ยา ดจู ะเปน็ เพยี งผคู้ มุ นกั โทษคนหนง่ึ เทา่ นน้ั เอง
ปล่อยให้บุคคลภายนอกไปรับต�ำแหน่งมหาดอาษาย่อม ช่ือมหาดไทยมาปรากฏสะดุดตาสะดุดใจให้เกิด
เป็นการแสดงถึงการหย่อนวุฒิและด้อยเกียรติแก่ตนเอง ความรู้สึกนึกคิด ก็ในกฎมณเฑียรบาล ซึ่งออกในปี
ฉะน้ัน ตำ� แหนง่ “มหาดอาษา” จงึ ส้นิ สญู ไป จลุ ศกั ราช ๘๒๑ (พ.ศ. ๒๐๐๒) ในแผน่ ดนิ สมเดจ็ พระบรม
ไตรโลกนาถหลายแห่งท่คี วรยกมากลา่ วกม็ ี
ความเห็นที่ ๔ ส�ำหรับอีกความเห็นหน่ึงท่ีน่า แห่งหน่ึงว่า “ถ้าขุนดาบมิได้ห้ามปรามไซ้ โทษ
สนใจ ขุนดาบสามประการ ทีหนึ่งให้ภาคยธรรม สองทีส่ง
มหาดไทยจ�ำ สามทีส่งองครกั ษ์จำ� ”
กาญจนาคพนั ธ์ ไดเ้ ขยี นเกย่ี วกบั คำ� วา่ มหาดไทย “ลูกขุนผู้ใด ขุนดาบห้ามปราบมิฟัง ต่อด่า
ไว้ว่า ปทานุกรมอธิบายค�ำ “มหาด” ว่าน่าจะมาจาก ต่อเถียงไซ้ มีโทษสามประการ ประการหน่ึงให้ส่ง
“มหตั ” ภาษาสนั สกฤตแปลวา่ ใหญห่ ลวง แลว้ ใหค้ ำ� แปล มหาดไทย ประการหนึ่งให้ส่งองครักษ์ ประการหนึ่ง
“มหาดไทย” ว่าไทยหลวง เป็นช่ือกระทรวงมีหน้าท่ีใน ให้สกั ลงหญา้ ชา้ ง”
การปกครอง

48 ๑๒๐ ปี

กระทรวงมหาดไทย

แห่งหนึ่งว่า “อัยการลูกขุนพลเรือนหมู่ไพร่” ในกฎมณเฑียรบาลไปตรงกับภาษาอียิปต์โบราณเช่นน้ี
พลทหารโทษอาญา และชา้ งมา้ งาเรอื กเรอื สงั กดั กฎหมาย ยอ่ มเปน็ เครอ่ื งพสิ จู นว์ า่ ถอ้ ยคำ� สำ� นวนในกฎมณเฑยี รบาล
แลหญา้ แลงานรณรงคสงคราม ทงั้ นี้ พนกั งานมหาดไทย” ย่อมจะเก่าแก่ดึกด�ำบรรพ์ไม่ใช่น้อย จึงท�ำให้เชื่อว่า
แห่งหน่ึงว่า “อนึ่ง ถ้าเสด็จพานช้างในเพนียด กฎมณเฑียรบาลต้องมีใช้มานานหนักหนาแล้ว ไม่ใช่ว่า
ถ้ามหาดไทยชาววงั ขาด โทษเทา่ หนศี ึก” เพงิ่ จะมขี น้ึ ในแผน่ ดนิ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ บางที
จากข้อความในกฎมณเฑียรบาลที่น�ำมาลงไว้น้ี ของเกา่ จะกระจดั กระจายกนั อยู่ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
แม้จะไม่ได้ความกระจ่าง ก็ช่วยความมืดมนให้เหน็ เป็นๆ เป็นผู้มารวบรวมจัดท�ำข้ึนเป็นประมวลกฎหมายส่วน
พอจะลงสันนิษฐานได้ ๓ ประการ คือ พระองคพ์ ระเจา้ แผน่ ดนิ ตอ่ ในรชั สมยั ของพระองคก์ เ็ ปน็ ได้
๑. ราชการในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาตอนตน้ มี ๒ สว่ น และเม่ือเป็นเช่นน้ีก็ชวนให้เข้าใจว่า มหาดไทยคงไม่ใช่
(ก) ราชการในพระองค์ หน้าท่ีองครักษ์ (ข) ราชการ มฐี านะเปน็ เพยี งนายพทำ� มรง อยา่ งทป่ี รากฏในกฎหมาย
แผน่ ดิน หน้าทม่ี หาดไทย ลักษณะอาญาหลวง แต่จะมีหน้าท่ีในราชการแผ่นดิน
๒. ราชการแผน่ ดินแบง่ เป็น ๒ ฝา่ ย ฝา่ ยทหาร ฝ่ายพลเรือนมาตั้งแต่ดึกด�ำบรรพ์ และหน้าท่ีน้ันมี
เปน็ พนกั งานกลาโหม (อยั การทกุ รนุ่ ทหาร หมไู่ พรพ่ ลอา้ ง ความสัมพนั ธก์ ับชา้ งเปน็ สว่ นสำ� คญั อีกดว้ ย
เร่ียวแรง อุกเลมิดพนักงานกลาโหม) ฝ่ายพลเรือนเป็น อา่ นกฎมณเฑยี รบาลตอ่ ไป ก็จะเกดิ ความสนใจ
พนักงานมหาดไทย ในเร่ืองช้างขึ้นอีก ในน้ันมีบทบัญญัติเกี่ยวกับช้างไว้
๓. มหาดไทย มีหน้าทเี่ กีย่ วกบั ช้าง มากมาย เป็นต้นว่าการคล้องช้างของพระเจ้าแผ่นดิน
ตามทรี่ กู้ นั กฎมณเฑยี รบาลเปน็ กฎหมายออกใน การทรงชา้ ง การพบชา้ งสำ� คญั การเลยี้ งชา้ ง การประทษุ รา้ ย
แผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเป็นพระเจ้าแผ่นดิน ชา้ ง การรณรงคสงครามเกยี่ วกบั ชา้ งพระราชพธิ เี กยี่ วกบั
องค์ที่ ๙ ต่อจากพระเจ้าอทู่ อง แต่ถ้อยค�ำในกฎมณเฑียรบาล ช้าง ซ่ึงเร่ืองของช้างเหล่าน้ีเราจะเห็นว่าไม่ใช่เป็นเพียง
เป็นภาษาเก่ามาก เม่ือเทียบกับกฎหมายที่ออกใน ในราชการส่วนพระองค์อย่างเดียวแต่เป็นทั้งราชการ
แผ่นดินพระเจ้าอู่ทองแล้วดูภาษาและส�ำนวนในกฎ แผน่ ดินอีกดว้ ย เช่น ปูนบ�ำเหนจ็ ในการรณรงคสงคราม
มณเฑียรบาล จะเก่ากว่าเสียด้วยซ้�ำ เช่น เรียกพระเจ้า ยกเอาไชยชนะในการชนชา้ งขนึ้ เปน็ ความชอบอยา่ งสำ� คญั
แผน่ ดนิ วา่ “พระทนี่ งั่ ” ซง่ึ เปน็ ภาษาไทยดกึ ดำ� บรรพท์ สี่ ดุ ตง้ั แตผ่ มู้ ศี กั ดนิ า ๑๐,๐๐๐ ลงมา จนไพรพ่ ลชนั้ ตำ�่ ทเี ดยี ว
ชาติที่เรียกพระเจ้าแผน่ ดนิ วา่ “พระทนี่ ั่ง” เหมือนไทยก็ ผู้ใดมีส่วนในการชนช้างชนะแล้ว เป็นต้องได้บ�ำเหน็จ
มีแต่ชาติอียิปต์ ซ่ึงเป็นชาติดึกด�ำบรรพ์ที่เจริญสูงสุด สงู ต่�ำมากน้อยตามล�ำดบั มหาดไทยไดร้ บั หนา้ ท่เี กย่ี วกับ
เกา่ แก่ท่ีสุดชาตเิ ดียว อียิปตเ์ รยี กพระเจา้ แผ่นดินวา่ พาเราห์ ช้างซึ่งเป็นท้ังราชการในพระองค์และราชการแผ่นดิน
(Pharoah) ซง่ึ เรามักอ่านกันวา่ ฟาโรห์ คำ� นีม้ าจากค�ำว่า จึงยอ่ มจะตอ้ งมอี ะไรเปน็ มูลมาแต่เดิม
“เพรา” หรือ “พะรา” (Paroue) แปลว่าบ้านใหญ่ จากขอ้ สงั เกตในกฎมณเฑยี รบาล เรอ่ื งมหาดไทย
หมายถึงวังหลวง ก็ตรงกับค�ำว่า “พระท่ีน่ัง” ของไทย ได้น�ำเราไปถึงช้าง ในการสันนิษฐานค�ำ “มหาดไทย”
น่นั เอง อน่ึงคำ� ว่า เพ – รา หรือ พะรา หรือ เป – รา หรอื จงึ จะตอ้ งจบั เรอ่ื งของชา้ งสาวขน้ึ ไป ในลำ� ดบั นจี้ งึ จะไดพ้ ดู
ปะรา ก็นา่ จะเปน็ ค�ำเดยี วกับ “ปรา” คอื ปรางปรา หรอื เร่ืองช้างก่อน ถ้าเราอ่านประวัติศาสตร์ชาติไทย เราจะ
พระพลา พลบั พลา ของไทย คำ� เรยี กพระเจา้ แผน่ ดนิ ของไทย พบเรื่องช้างท่ีเด่นท่ีสุดอยู่สองเร่ือง เร่ืองหน่ึงสมเด็จ

๑๒๐ ปี 49

กระทรวงมหาดไทย


Click to View FlipBook Version