The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

MOU ระหว่างผ่ายสาธารณสงเคราะห์ มหาเถรสมาคม กระทรวงมหาดไทย และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by stabundamrong KM, 2022-08-28 22:40:00

การขับเคลื่อนข้อตกลงความร่วมมือบทบาทในการเกื้อหนุนระหว่าง วัดและชุมชนให้มีความสุขอย่างยั่งยืน จังหวัดอุบลราชธานี

MOU ระหว่างผ่ายสาธารณสงเคราะห์ มหาเถรสมาคม กระทรวงมหาดไทย และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

Keywords: MOU,อุบลราชธานี,วัด,สาธารณสงเคราะห์

สมเด็จพระมหาธีราจารย์
ประธานกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์มหาเถรสมาคม





การขับเคลื่อนข้อตกลงความร่วมมือ
บทบาทในการเกื้อหนุนระหว่างวัด
และชุมชนให้มีความสุขอย่างยั่งยืน นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ
จังหวัดอุบลราชธานี ปลัดกระทรวงมหาดไทย




ภายใต้บันทึกความร่วมมือระหว่าง
ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ มหาเถรสมาคม

กระทรวงมหาดไทย
และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

จัดทำโดย


สถาบันดำรงราชานุภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย







สำรบญั

เร่อื ง หนำ้

๑. ความเป็นมาและความสาคัญ ๑

๒. วัตถุประสงค์ ๓

๓. กรอบแนวทางการขับเคล่ือน ๓

๔. กระบวนการในการขับเคล่ือน MOU จงั หวดั อบุ ลราชธานี ๘

๕. กรณีพ้นื ท่ศี ึกษา ๑๓

๕.๑ ศนู ยพ์ ุทธธรรมสมเด็จพระมหาธรี าจารย์ ปา่ ดงใหญ่วังออ้ ๑๓

๕.๒ โครงการพระราชทาน “โคก หนอง นา แหง่ นา้ ใจ และความหวัง” ณ วดั ปา่ ศรีแสงธรรม ๒๔

๖. ปัจจัยแห่งความสาเรจ็ ๓๑

๗. ข้อเสนอแนะ ๓๓

๘. ภาคผนวก

๓ ระดับ การขับเคลื่อนความร่วมมือ MOU ภายใต้กลไก ๓ ๕ ๗

ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ กระทรวงมหาดไทย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
มหาเถรสมาคม เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ระดับประเทศ - เผยแผ่พระธรรมคำสอนในการเสริมสร้าง - ฝึกอบรมเพิ่มทักษะการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบ - ให้ความรู้ทางวิชาการเพื่อเพิ่มทักษะการพัฒนา
การทำความดี ช่วยกันดูแลสังคม การหาเลี้ยงชีพ เศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ "โคก หนอง นา โมเดล" กสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - สร้างและพัฒนาพื้นที่ต้นแบบในการพัฒนา "โคก หนอง นา โมเดล"
- ขับเคลื่อนภารกิจฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ คุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ - เป็นที่ปรึกษาให้คำแนะนำและส่งเสริม
โดยใช้หลักธรรมประยุกต์กับหลักปรัชญา "เขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง" การหาเลี้ยงชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
ของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ - สนับสนุนความร่วมมือระหว่างคณะสงฆ์ พอเพียงและเกษรตรทฤษฎีใหม่ มาประยุกต์สู่
- ส่งเสริมการทำงานร่วมกับเครือข่ายทุกภาคส่วน ข้าราชการ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และทุกภาคีเครือข่าย "เขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง"
ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ - ส่งเสริมและสนับสนุนการขับเคลื่อนการดำเนินการ - สนับสนุนงานด้านวิชาการในการขับเคลื่อนงาน
ประยุกต์สู่ "เขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง" ให้ขยายผลไปสู่ประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม แบบบูรณาการ

เกิดการเกื้อหนุน ระหว่าง วัด ราชการ และ ชุมชน ให้มีความสุขอย่างยั่งยืนเพื่อส่งเสริมฟื้ นฟูภูมิปั ญญาเรื่องการหาเลี้ยงชีพ

ของประชาชนคนไทย พัฒนาเศรษฐกิจฐากรากและแก้ไขปั ญหาความเดือดร้อนของประชาชน นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของพี่น้องประชาชน

ระดับจังหวัด ๕ กลไก น้อมนำหลัก บ้าน ++ โรงเรียน + ราชการ ๗ ภาคี
วัด


"บวร" ที่ปรึกษา

กลไกการขับเคลื่อน คณะกรรมการฯ


คณะสงฆ์
จังหวัดอุบลราชธานี คณะกรรมการอำนวยการฯ ภาคศาสนา


การประสานงานภาคี คณะทำงานประสานงาน กวิทยากร คณะทำงาน

(หลัก) ระดับอำเภอ
เครือข่าย ติดตาม และประเมินผล


ขวิทยากร

โดยแบ่งเป็นคณะทำงานระดับโซน


จำนวน ๕ ทีม (ระดับอำเภอ)
ภาครัฐ
ระดับพื้นที่/ชุมชน การบูรณาการแผนงาน ควิทยากร

และยุทธศาสตร์

(ระดับตำบล)






ภาควิชาการ
การติดตาม หนุนเสริม
และประเมินผล










การจัดการความรู้ วิจัย
และพัฒนาบุคลากร ภาคเอกชน








การสื่อสารสังคม
เชิงรุก


ภาคประชาชน








ภาคประชาสังคม









ภาคสื่อสาร

มวลชน

โดยมีพื้นที่เป้าหมาย ๒๕ อำเภอ ๒๑๒ วัด KICK off กิจกรรมนำร่อง

ถนนสายวัฒนธรรม จิตอาสาพัฒนาวัดและชุมชน ๑ วัด ๑ คลังยา ๑ คลังอาหารชุมชน

ภารกิจสงฆ์ ๖ ๒ ศาสนศึกษา การเผยแผ่ สาธารณูปการ สาธารณสงเคราะห์
การปกครอง ๔ ๕๖
ด้าน
๑ ๓ ศึกษาสงเคราะห์

ยุทธศาสตร์ ๕ด้าน ส่งเสริมการปกครอง ส่งเสริมการศึกษา การเผยแผ่หลักธรรม ด้านสาธารณูปการ การสงเคราะห์
MOU และการบริหาร พระสงฆ์และประชาชน ตามคำสอน เพื่อพัฒนาโครงสร้าง
"บวร" และช่วยเหลือสังคม
จัดการวัด ๑ ทุกช่วงวัย ๒ ของพระพุทธศาสนา ๓ พื้นฐานและสิ่งแวดล้อม๔


กำรขับเคลือ่ นขอ้ ตกลงควำมร่วมมอื
บทบำทในกำรเกอ้ื หนนุ ระหว่ำงวดั และชุมชนให้มคี วำมสุขอย่ำงยงั่ ยืน จงั หวัดอบุ ลรำชธำนี

ภำยใต้บันทกึ ควำมร่วมมอื ระหวำ่ งมหำเถรสมำคม กระทรวงมหำดไทย
สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจำ้ คุณทหำรลำดกระบงั

๑. ควำมเป็นมำและควำมสำคัญ
พระพุทธศาสนาอย่คู ูก่ บั สังคมไทยมาอยา่ งยาวนาน โดยมีวัดเป็นศูนย์กลางแห่งการสาธารณสงเคราะห์

และพระสงฆเ์ ป็นหลกั ชยั ทพ่ี ึ่งให้กับพุทธศาสนิกชนคนไทยและชาวต่างชาติ ทั้งด้านเผยแผ่พระพุทธศาสนาและ
ดา้ นการช่วยเหลือสังคมท่ีคณะสงฆ์เป็นกาลังสาคัญในการช่วยเหลือประชาชนคนไทยและชาวต่างชาติให้ได้รับ
ความสงบสขุ ทางกายและใจ รวมถึงการมสี ติในยามเกิดความทุกข์ยากอยู่เสมอ สิ่งเหล่าน้ีล้วนเป็นสาธารณสงเคราะห์
ประการสาคัญท่ีคณะสงฆ์ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ของมหาเถรสมาคมได้ร่วมกันรื้อฟื้นสิ่งที่เป็น “เสาหลักของ
ประเทศชาติ” ใหก้ ลบั มาเข้มแขง็ ในยคุ ท่ฆี ราวาสกาลังอยู่ในช่วงเวลาที่ยากลาบาก คือ การส่งเสริมและฟ้ืนฟูภูมิปัญญา
ในเรื่องการหาเล้ียงชีพซ่ึงสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาประยุกต์สู่ “เขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง”
ไปสรา้ งคณุ ภาพชีวิตของประชาชนให้มีความสุขอย่างมั่นคง ย่ังยืน สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและภารกิจสาคัญ
ของกระทรวงมหาดไทยในการ “บาบัดทุกข์ บารุงสุข” แก่พี่น้องประชาชน ซ่ึงพระสงฆ์ในพระบวรพุทธศาสนา
ของไทยจะไดร้ ่วมกันผนึกกาลังกับกระทรวงมหาดไทย ตลอดจนภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ในการขับเคลื่อนดูแลสังคม
พีน่ อ้ งประชาชน ให้มคี วามสขุ กาย สขุ ใจ ทง้ั ในปัจจบุ นั และอนาคต

เพอ่ื ให้การดาเนินงานเป็นไปตามเจตนารมณ์ดังกล่าวข้างต้น จึงมีการจัดทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
โดยจัดทาขึ้นจากสามฝ่าย ระหว่าง (๑) ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ของมหาเถรสมาคม โดย สมเด็จพระมหาธีราจารย์
กรรมการมหาเถรสมาคม ประธานคณะกรรมการของฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ ของมหาเถรสมาคม เจ้าอาวาส
วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม ราชวรมหาวหิ าร ฝา่ ยหน่ึงกบั (๒) กระทรวงมหาดไทย อีกฝ่ายหนึ่ง และ (๓) สถาบัน
เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั อีกฝา่ ยหนึ่ง มีความมุ่งหมายท่ีจะส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน
ในการเกอ้ื หนนุ ระหว่างวัดและชมุ ชนให้มีความสุขอยา่ งย่ังยืน โดยเน้นการบูรณาการภาคีเครือข่ายเช่ือมประสานงาน



ให้เกิดการพัฒนาในทกุ มติ อิ นั เป็นหิตประโยชน์แก่สังคมส่งเสริมสัมมาชีพสัมมาปฏิบัติ เสริมสร้างสังคมสุขภาวะ
สรา้ งความสุขสงั คมไทย ขยายผลช่วยสังคมโลกใหม้ คี วามสขุ อยา่ งยัง่ ยืน เพื่อให้เกิดการดาเนินงานแบบบูรณาการ
ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ บรรลผุ ลตามเป้าหมายทกี่ าหนดไว้อยา่ งย่ังยนื

เมือ่ วันพฤหสั บดที ี่ ๒๔ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ พระอุโบสถวดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม ราชวรมหาวิหาร
กรงุ เทพฯ เจ้าประคณุ สมเด็จพระมหาธรี าจารย์ กรรมการมหาเถรสมาคม ประธานคณะกรรมการฝ่ายสาธารณสงเคราะห์
มหาเถรสมาคม เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
และ รศ.ดร.อนวุ ัฒน์ จางวณิชเลศิ รักษาการแทน อธกิ ารบดี สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ไดร้ ่วมลงนามบันทึกขอ้ ตกลงความร่วมมือบทบาทในการเกื้อหนนุ ระหว่างวัดและชุมชนให้มีความสุขอย่างยั่งยืน
โดยมีพระธรรมวชิรโมลี เจ้าอาวาสวัดยานนาวา รองประธานสานักงานกากับดูแลพระธรรมทูตไปต่างประเทศ
มหาเถรสมาคม พระเทพวชิรโมลี ผ้ชู ่วยเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร พระปญั ญาวชิรโมลี
เจ้าอาวาสวัดป่าศรีแสงธรรม ที่ปรึกษาปลัดกระทรวงมหาดไทย พระพิพัฒน์วชิโรภาส ผู้อานวยการศูนย์พุทธธรรม
สมเด็จพระมหาธรี าจารย์ ป่าดงใหญ่วังอ้อ ทีป่ รกึ ษาปลดั กระทรวงมหาดไทย รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ ท่ีปรึกษา
ปลัดกระทรวงมหาดไทย ผศ.พิเชฐ โสวิทยสกุล ท่ีปรึกษาปลัดกระทรวงมหาดไทย นายสมคิด จันทมฤก อธิบดี
กรมการพัฒนาชมุ ชน นายอนิ ทพร จัน่ เอย่ี ม ผตู้ รวจราชการสานักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ ร่วมในพิธีลงนาม
บันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมอื บทบาทในการเกอื้ หนนุ ระหว่างวัดและชุมชนให้มีความสุขอย่างย่ังยืน มุ่งหนุนเสริม
“เสาหลักของประเทศชาติ” คือ ชาติ ศาสนา และมหากษัตริย์ ให้เป็นสถาบันหลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชนใหม้ คี วามสขุ อยา่ งยัง่ ยนื

เจตนารมณ์และวัตถุประสงค์ของการลงนามในบันทึกข้อตกลง (MOU) ดังกล่าว คือ เพื่อให้คณะสงฆ์
ซึ่งเป็นฝา่ ยสาธารณสงเคราะห์ของมหาเถรสมาคม ได้ชว่ ยหนุนเสรมิ ความหวงั ของประเทศชาติ คือ ชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์ ให้เป็นสถาบันหลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีความสุข ตลอดจนพัฒนาชุมชน
ใหม้ คี วามเขม้ แข็งตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งนบั ตัง้ แต่อดตี ถงึ ปจั จุบัน วัดและพระสงฆ์ได้ดาเนินงาน
ดา้ นสาธารณสงเคราะห์ คือ “เป็นครู คลัง ช่ำง หมอ” ด้วยการอบรมส่ังสอน เป็นคลังอาหาร สรรพวิทยาการ
โดยพระสงฆท์ ่ีมีความสามารถทางด้านงานช่าง และวัดเปน็ ศูนย์กลางของความรู้ทางด้านยาสมุนไพร การแพทย์
นาองคค์ วามรู้นวตั กรรมของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มาเป็นเครื่องมือที่สาคัญ



ในการเก้ือหนุนนามาใช้แก้ปัญหาความเดือดร้อนของพี่น้องประชาชนในหลากหลายมิติ สอดคล้องกับนโยบาย
ของรัฐบาลในปัจจุบัน ซึ่งถือเป็นการดาเนินการท่ีเป็นภารกิจหลักของกระทรวงมหาดไทยในการ “บาบัดทุกข์ บารุงสุข”
และพัฒนาคุณภาพชีวิตของพ่ีน้องประชาชน ซ่ึงกระทรวงมหาดไทยพร้อมท่ีจะขับเคล่ือนและดาเนินการอย่าง
ตอ่ เนอ่ื งเพอื่ ประโยชน์สขุ ของประชาชนอย่างยงั่ ยนื

๒. วัตถุประสงค์

๒.๑ เพ่ือส่งเสริมและฟ้ืนฟูภูมิปัญญาในเรื่องการหาเล้ียงชีพท่ีตรงกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และทฤษฎีใหมข่ องพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาประยุกต์สู่
“เขตพฒั นาเศรษฐกิจพอเพียง” ไปสร้างคุณภาพชวี ิตของประชาชนใหม้ ีความสุขอยา่ งยง่ั ยืน

๒.๒ เพ่อื เชือ่ มประสานความรว่ มมือของวัด ชุมชน โรงเรียน และสว่ นราชการ สู่การพ่ึงพาตนเองอย่างเข้มแข็ง
และช่วยเหลือเกือ้ กูลกันตามความเหมาะสมของแต่ละท้องถ่ินเพือ่ ความสุขอยา่ งย่งั ยนื

๒.๓ เพื่อร่วมมอื กันระหว่างคณะสงฆ์ ข้าราชการ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กานัน ผู้ใหญ่บ้าน
อาสาสมัครทุกภาคีเครือข่ายในการพัฒนาสังคม ชุมชน ให้มีความสุขร่มเย็นและขับเคล่ือนช่วยเหลือสังคม
เพอื่ ใหค้ นไทยมีความสขุ กาย สขุ ใจทีเ่ พ่มิ มากข้ึนและยั่งยนื

๒.๔ เพอ่ื เสรมิ สรา้ งให้คนในสังคมมีจิตใจที่เป็นบุญเป็นกุศล เล่ือมใสในพระพุทธศาสนา มีวัตรปฏิบัติ
ในการท่จี ะลด ละ การทาบาปอกุศล การทาสิ่งไม่ดีไม่งาม และเพ่ิมพูนในการทาความดี ทาบุญทากุศล ช่วยกัน
ดูแลสังคม การทามาหาเล้ียงชีพของประชาชนเพ่ือที่จะนาไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชน ไปสู่การเสริมสร้างให้คน
พึ่งพาตนเองไดต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

๒.๕ เพอ่ื เปน็ การสง่ เสรมิ สนับสนนุ และขับเคลือ่ นการดาเนินการของคณะสงฆ์กับผู้ว่าราชการจังหวัด
และนายอาเภอขยายผลไปสู่ผ้นู าทอ้ งท่ี ทอ้ งถน่ิ และประชาชนใหเ้ กิดเปน็ รปู ธรรม

๓. กรอบแนวทำงกำรขบั เคลอื่ น



๓.๑ จงั หวัดอบุ ลราชธานไี ด้ดาเนนิ การกาหนดแนวทางการขบั เคลอ่ื นการเชอ่ื มโยงและวิเคราะห์กิจการ
พระพุทธศาสนาตามภารกิจของคณะสงฆ์ จานวน ๖ ดา้ น ได้แก่

๑) ดา้ นการปกครอง
๒) ดา้ นการศาสนศึกษา
๓) ดา้ นการศกึ ษาสงเคราะห์
๔) การเผยแพร่
๕) การสาธารณูปการ
๖) การสาธารณสงเคราะห์
๓.๒ จงั หวัดอุบลราชธานีกาหนดยทุ ธศาสตร์การขับเคล่อื นความร่วมมือบทบาทในการเกอื้ หนุนระหว่างวัด
และชุมชนใหม้ ีความสุขอย่างยงั่ ยืน โดยมุ่งหนนุ เสริม “เสาหลกั ของประเทศชาติ” คือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์
ให้เป็นสถาบนั หลักในการพฒั นาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีความสุขอย่างยั่งยืน เพื่อมากาหนดประเด็นพัฒนา
โดยใชพ้ ลงั “บวร” ได้แก่ บ้าน วดั โรงเรียนและราชการขับเคล่ือน โดยกาหนดยุทธศาสตร์การขับเคล่ือนบทบาท
ในการเก้ือหนุนระหว่างวัดและชุมชนให้มีความสุขอย่างย่ังยืน จังหวัดอุบลราชธานี (ภายใต้บันทึกความร่วมมือ
ระหว่างมหาเถรสมาคม กระทรวงมหาดไทย และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง)
ประกอบดว้ ยยทุ ธศาสตร์ ดงั ต่อไปน้ี
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ : ดา้ นสง่ เสริมการปกครองและบริหารจดั การวัด
ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ : ดา้ นสง่ เสรมิ การศึกษาพระภกิ ษุ สามเณร และประชาชนทกุ ชว่ งวยั
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : ดา้ นการเผยแผ่หลกั ธรรมตามคาสอนของพระพุทธศาสนา
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ : ดา้ นสาธารณปู การเพอื่ พฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐานและสงิ่ แวดลอ้ ม
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๕ : ดา้ นการสงเคราะห์และชว่ ยเหลือสังคม

๓.๓ กิจกรรมที่ขบั เคล่ือน ประกอบดว้ ยกจิ กรรม ดงั นี้
 กิจกรรมด้ำนกำรปกครอง
๑) พลงั บวรสนับสนนุ ส่งเสริมการจัดการขยะภายในวดั และชุมชนสู่การจัดการด้วยถังขยะรักษ์โลก

และการแยกขยะตามแนวทาง Zero waste
๒) การปรับปรุงภูมิทัศน์ การจัด Zoning ภายในวัดให้สวยงาม โดยทีมสถาบันเทคโนโลยี

พระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง (สจล.)
๓) การจดั ทาทะเบยี นประวตั ขิ องพระสงฆ์และสามเณรในวดั



๔) จัดทาคูม่ ือการดาเนินงานเก่ยี วกับบทบาทหนา้ ที่ของไวยาวจั กรและกรรมการวดั
๕) จัดทาฐานขอ้ มูลในการปอ้ งกนั ปัญหาแกไ้ ขปญั หาและการพฒั นาวัด
๖) พลังบวรสนบั สนุนสง่ เสริมระบบบรหิ ารจดั การสารสนเทศของวดั
๗) พลังบวรส่งเสริมความรู้ทางวิชาการและทักษะที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติศาสนกิจ
ท่เี หมาะสมกับสมณสารูป
๘) เสรมิ สรา้ งบทบาทพระภกิ ษุ สามเณร ชี ศษิ ย์วดั ในการสร้างสุขภาวะสงั คม
๙) ส่งเสริมและพฒั นาศกั ยภาพพระวินยาธกิ ารในพ้ืนทจ่ี งั หวัดอุบลราชธานี
๑๐) เสริมสร้างความรใู้ หก้ บั ไวยาวัจกรบทบาทหน้าที่และศาสนพิธี
กิจกรรมดำ้ นกำรศึกษำและศกึ ษำสงเครำะห์
๑) สง่ เสริมการศึกษาโรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม
๒) สง่ เสริมโรงเรยี นการกศุ ลของวัดในพระพทุ ธศาสนา
๓) ส่งเสริมการศกึ ษาพระพุทธศาสนาวนั อาทติ ย์
๔) ส่งเสริมสานกั เรียนนักธรรม - บาลี
๕) ส่งเสรมิ ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็ก
๖) พลังบวรสนบั สนนุ สง่ เสริมการขบั เคลื่อนการขับเคล่ือนโครงการ ๑ ตาบล ๑ วัด ๑ เขตพัฒนา
เศรษฐกิจพอเพยี ง
๗) พลงั บวรสนับสนุนส่งเสริมการ ขับเคล่ือนการขับเคล่ือนโครงการ ๑ ตาบล ๑ วัด ๑ คลังยา
และอาหาร
๘) พลงั บวรสนับสนนุ ส่งเสรมิ การขับเคลอื่ นวัดจดั ทาสวนสมนุ ไพร
๙) พลังบวรสนบั สนุนส่งเสรมิ การขบั เคลื่อนแหลง่ เรยี นรกู้ ารสรา้ งบา้ นดนิ
๑๐) พลงั บวรสนบั สนุนส่งเสรมิ การขบั เคล่อื นแหลง่ เรยี นร้พู ลงั งานแสงอาทิตย์
๑๑) พลังบวรสนับสนนุ สง่ เสริมการขบั เคลอ่ื นแหลง่ เรยี นรกู้ ารทานากล้าตน้ เดยี ว
๑๒) พลงั บวรสนบั สนุนสง่ เสริมผลติ ภัณฑช์ มุ ชน ตลอดจนการฝึกอบรมสมนุ ไพรในวดั
๑๓) พลงั บวรสนบั สนนุ ส่งเสริมการขับเคลอ่ื นแหล่งเรียนร้กู ารฝึกอบรมธนาคารน้าใต้ดนิ
๑๔) พลังบวรสนับสนุนส่งเสริมการขับเคลื่อนแหล่งเรียนรู้การฝึกอบรมการทาเกษตร
เพอรม์ ารค์ ัลเจอร์ (เกษตรย่ังยืน)
๑๕) พลังบวรสนับสนุนส่งเสริมการขับเคลื่อนแหล่งเรียนรู้การทาปุ๋ยหมักไม่พลิกกอง
และปุ๋ยหมกั โบกาฉิ
๑๖) ถนนสาย โคก หนอง นา เพ่ือสมั มาชีพชมุ ชน
๑๗) พลังบวรสนับสนุนสง่ เสริมการขับเคล่อื นแหลง่ เรยี นรูเ้ ทคโนโลยีพลงั งานและการเกษตร
๑๘) พลงั บวรสนับสนุนส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีพลังงาน (ขยะปน่ั ผลติ ไฟฟา้ , Solar Sharing)
๑๙) สนบั สนุนส่งเสรมิ งานศลิ ปวฒั นธรรมประเพณี ฮตี ๑๒ คอง ๑๔



กจิ กรรมดำ้ นกำรเผยแผ่
๑) อบรมเสริมทักษะการเผยแผห่ ลักธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนาแก่พระภิกษุ - สามเณร
๒) อบรมการจัดทาส่ือเพ่ือการเผยแผห่ ลักธรรมคาสอนของพระพทุ ธศาสนา
๓) พลังบวรสนับสนุนส่งเสริมการบรรพชาสามเณรฤดูร้อนและการบรรพชา อุปสมบท

ในวาระสาคัญต่าง ๆ
๔) ฝกึ อบรมพระธรรมวนิ ยั ท่ีถกู ต้องแก่พระภกิ ษุสงฆ์ - สามเณร
๕) ๑ อาเภอ ๑ ถนนสายธรรม สายทาน สายเทียน
๖) ผวู้ า่ ราชการจังหวดั พาเขา้ วัด/โครงการนายอาเภอพาเข้าวดั
๗) หมูบ่ ้านคุณธรรมต้นแบบ
๘) ฟนื้ ฟหู มบู่ ้าน ชมุ ชน สังคม ประเทศด้วย ๙ มรรควธิ ี ตามแนวทางพระราชนิพนธพ์ ระมหาชนก

ในหลวงรัชกาลที่ ๙
๙) ฝึกอบรมเสริมทักษะประธานและคณะกรรมการหน่วยอบรมประชาชนประจาตาบล (อ.ป.ต.)
๑๐) ฝึกอบรมเสรมิ ทักษะประธานและคณะกรรมการสานักปฏบิ ตั ิธรรมประจาจังหวัดอุบลราชธานี
๑๑) ฝึกอบรมเสริมทักษะ เด็ก เยาวชน ๕ ดี ให้มีจิตอาสาเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงชุมชน

และสังคมไทย
๑๒) เสริมทักษะการตัดสินใจ ท้าทายชีวิตวยั รนุ่
๑๓) เสริมทักษะผ้สู งู วัยให้แกอ่ ย่างมีคณุ ค่า ชราอย่างมคี ุณภาพ
๑๔) ฝกึ อบรมเสรมิ ทกั ษะพธิ ีกรนอ้ ยคอยบอกบุญ
๑๕) ฝึกอบรมเสรมิ ทกั ษะมัคคเุ ทศก์ธรรมนาสูก่ ารท่องเทย่ี ว
๑๖) ฝึกอบรมเสรมิ ทักษะหลกั สูตรครูมีจิตอาสา พฒั นาเด็ก เยาวชน
๑๗) พลังบวรขบั เคลอ่ื นชมุ ชนคุณธรรม ลานธรรม ลานวถิ ไี ทย

กจิ กรรมด้ำนสำธำรณูปกำร
๑) พลงั บวรร่วมกนั สมทบทุนสรา้ งโรงพยาบาลและเครอื่ งมอื แพทย์ เชน่ การจดั กิจกรรมวงิ่ การกุศล
๒) พลังบวรรว่ มกนั สมทบทนุ สรา้ งอาคารเรยี น อาคารสาธารณประโยชน์
๓) พลังบวรร่วมกันสมทบทุนโครงการโซลารเ์ ซลล์ ๗๖ จงั หวดั ๗๖ โรงพยาบาล
๔) พลังบวรร่วมโครงการปุ๋ยหมักไม่พลิกกลับกองจากผักตบชวาเพ่ือลดการใช้ปุ๋ยเคมี

และอนรุ กั ษฟ์ ้ืนฟแู หลง่ น้า
๕) พลงั บวรรว่ มทาธนาคารน้าใตด้ นิ แบบต้ืน (ลดพลาสติก)
๖) พลังบวรร่วมพัฒนาโครงการพระราชทานโคก หนอง นา แห่งน้าใจและความหวัง

(วดั ป่าศรแี สงธรรม) และนาผลผลิตไปสงเคราะห์ผู้ประสบภัยและผู้ยากไร้
๗) พลังบวรจดั ทาหลักสตู รแก้จนสาหรบั ประชาชนทว่ั ไป (๖ วิชาแก้จน)
๘) พลงั บวรกาจัดผกั ตบชวาตามลานา้ เพือ่ ทาปุ๋ยหมักไม่พลิกกลับกอง
๙) พลังบวรทาปุ๋ยโบกาฉิ
๑๐) พลังบวรจติ อาสาพฒั นาวดั และชุมชน



๑๑) พลงั บวรพฒั นาวดั ใหเ้ ป็นท่ีพง่ึ ของคนในชุมชนต้งั แต่เกิดจนถึงตาย
๑๒) พลงั บวรเพ่ิมป่า เพิ่มพ้ืนที่ สเี ขยี ว เพ่ิมรายไดจ้ ากแหลง่ ทรัพยากรธรรมชาติ
๑๓) รวบรวมตน้ ไมท้ รงปลกู ของในหลวง พระราชนิ ี และพระบรมวงศานุวงศ์
๑๔) ประสานงานกับหน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง และอานวยความสะดวกในการขออนุญาตสร้างวัด
ตง้ั วัด ในเขตพนื้ ที่ป่าของรัฐ
กจิ กรรมด้ำนสำธำรณสงเครำะห์
๑) พลังบวรร่วมปลูกพืชผักสวนครัว สมุนไพร พื้นที่เดียวกันภายในครัวเรือน (ยันต์กันอด
รปู แบบวัดป่าศรแี สงธรรม)
๒) โคก หนอง นา รวมใจใหค้ วามช่วยเหลือประชาชนและสาธารณสงเคราะห์
๓) พลังบวรร่วมสนับสนุนชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยและผู้ยากไร้
๔) พลังบวรร่วมสนับสนนุ ศนู ย์พักคอยผ้ตู ดิ เชอ้ื โควดิ - 19
๕) พลังบวรรว่ มสนับสนุนศนู ยพ์ กั พิงผู้ประสบภัย
๖) พลังบวรสนับสนุนการจัดตง้ั กองทุนสงเคราะห์
๗) การสรา้ งบา้ นหรือซ่อมแซมบ้านให้ผ้ยู ากไร้
๘) พลงั บวรสนับสนนุ ช่วยเหลือกจิ กรรมวดั ชว่ ยบ้าน
๙) โซลาร์เซลล์ชนดิ เคลื่อนทเ่ี พือ่ ช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั (Light for life)
๑๐) พลังบวรสนับสนนุ กลมุ่ สจั จะสะสมทรัพย์เพื่อการสงเคราะห์และพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน
๑๑) พลังบวรนาข้าวกน้ บาตรและสงิ่ ของเคร่ืองใช้ใหก้ ารสงเคราะห์
๑๒) รบั สมัครสมาชกิ ระดมทุนเข้ากองทุนสงฆ์อาพาธ
๑๓) พลงั บวรสร้างบ้านแกผ่ ยู้ ากไร้
๑๔) สวดมนต์ เย่ียมไข้ ให้กาลงั ใจผูป้ ว่ ยในชุมชน
๑๕) พลังบวรระดมเมล็ดพันธุ์ขา้ ว เพาะพนั ธ์ุกล้าไม้ รบั บรจิ าคต้นไม้
๑๖) นากลุ่มยากไร้ กลมุ่ ท่ีอยใู่ นระบบ TPMAP เข้าฝกึ สัมมาชพี
๑๗) ใหค้ าปรึกษาร่วมแก้ปญั หาชวี ติ ด้วยหลกั ธรรม
๑๘) พลังบวรนาสิ่งของเคร่อื งอุปโภคบรโิ ภคมาใส่ตปู้ นั สุข



๔. กระบวนกำรในกำรขับเคลอื่ น MOU จงั หวัดอุบลรำชธำนี

๔.๑ กำรประชุมวำงแผนเพอ่ื กำหนดกจิ กรรมและแนวทำงกำรขบั เคลือ่ น
 ครั้งที่ ๑ วนั ท่ี ๑๖ มนี าคม ๒๕๖๕ (กาหนดกิจกรรม) ดงั นี้
- ๑ ตาบล ๑ ถนนสายวัฒนธรรม
- พลัง (บวร) จติ อาสาพัฒนาวัดและชมุ ชน
- ๑ วัด ๑ คลงั ยา ๑ คลงั อาหารชุมชน
 ครั้งท่ี ๒ วนั ที่ ๒๑ มนี าคม ๒๕๖๕ (กาหนดกรอบแนวทางเพื่อดาเนนิ กจิ กรรม)

๔.๒ แต่งตั้งคณะกรรมกำรและคณะทำงำนขับเคลื่อนบทบำทกำรเก้ือหนุนระหว่ำงวัดและชุมชน
ใหม้ คี วำมสุขอย่ำงย่ังยืนในระดับจังหวัด ตำมภำรกิจ MOU ของปลัดกระทรวงมหำดไทย สถำบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบงั และคณะสงฆ์ ดงั นี้ (๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕)

 ท่ปี รกึ ษาคณะกรรมการกิตตมิ ศักด์ิ
- สมเดจ็ พระมหาธรี าจารย์ เจ้าอาวาสวัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร

 ที่ปรกึ ษาคณะกรรมการ ประกอบด้วย
- เจ้าคณะจงั หวดั อบุ ลราชธานี มหานิกาย
- เจ้าคณะจงั หวดั อุบลราชธานี ธรรมยุต
- พระพิพฒั นว์ ชิโรภาส ผูอ้ านวยการศูนย์พุทธธรรมสมเดจ็ พระมหาธีราจารย์ ปา่ ดงใหญว่ งั นอ้ ย
- พระปญั ญาวชริ โมลี เจ้าอาวาสวัดป่าศรแี สงธรรม
- ประธานคณะกรรมการพฒั นาสตรีจงั หวัดอุบลราชธานี
- ประธานมูลนิธริ ักษด์ ินรกั ษน์ ้าหรือ Earth Safe Foundation
- ประธานหอการค้ากลมุ่ จงั หวดั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนล่าง ๒
- รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ ท่ปี รึกษาปลดั กระทรวงมหาดไทย
- ผศ.พิเชฐ โสวทิ ยสกุล ท่ปี รึกษาปลัดกระทรวงมหาดไทย

 คณะกรรมการอานวยการความร่วมมือในการเกื้อหนุนระหว่างวัดและชุมชนให้มีความสุข
อย่างย่งั ยืน

- ผ้วู ่าราชการจงั หวดั อบุ ลราชธานี (ประธานกรรมการ)
- มีหน้าที่อานวยการและกาหนดแนวทางการปฏิบัติในการขับเคลื่อนภารกิจตาม
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือบทบาทในการเกอ้ื หนนุ ระหว่างวดั และชุมชนให้มีความสุขอย่างย่ังยืน มุ่งหนุนเสริม
เสาหลักของประเทศชาติ ได้แก่ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ให้เป็นสถาบันหลักในการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนอย่างย่ังยืนในพ้ืนที่จังหวัดอุบลราชธานี รวมท้ังกากับ ติดตาม และพิจารณาผลสัมฤทธิ์ของ
การขับเคลอื่ นระดบั จังหวัด
 แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะทางานประสานงาน ติดตาม และประเมินผล การดาเนินการ
ภายใต้ความร่วมมือในการเก้ือหนุนระหว่างวัดและชุมชนให้มีความสุขอย่างยั่งยืนระดับโซน โดยแบ่งออกเป็น
๕ โซน ไดแ้ ก่



- โซนที่ ๑ ประกอบด้วย อาเภอดอนมดแดง อาเภอเหล่าเสือโก้ก อาเภอเข่ืองใน
อาเภอมว่ งสามสิบ อาเภอกดุ ข้าวปุ้น และอาเภอตระการพืชผล

- โซนท่ี ๒ ประกอบด้วย อาเภอน้ายืน อาเภอน้าขุ่น อาเภอสาโรง อาเภอเดชอุดม
และอาเภอท่งุ ศรีอุดม

- โซนที่ ๓ ประกอบด้วย อาเภอพิบูลมังสาหาร อาเภอตาลสุม อาเภอสว่างวีระวงศ์
อาเภอนาเยีย อาเภอบณุ ฑริก และอาเภอนาจะหลวย

- โซนท่ี ๔ ประกอบด้วย อาเภอเขมราฐ อาเภอนาตาล อาเภอโพธ์ิไทร อาเภอศรีเมืองใหม่
อาเภอโขงเจียม และอาเภอสิรินธร

- โซนท่ี ๕ ประกอบดว้ ย อาเภอเมอื งอุบลราชธานี และอาเภอวารนิ ชาราบ
 มีหนา้ ท่ี

- บูรณาการการปฏิบัติงานกับพ้ืนที่เพื่อขับเคลื่อนภารกิจตามบันทึกข้อตกลง
ความร่วมมือบทบาทในการเกื้อหนุนระหว่างวัดและชุมชนให้มีความสุขอย่างยั่งยืน มุ่งหนุนเสริม เสาหลักของ
ประเทศชาติ ไดแ้ ก่ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ให้เป็นสถาบันหลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
อยา่ งยั่งยืน ในพื้นทจี่ ังหวดั อบุ ลราชธานี

- ประสาน กากับ ตดิ ตาม ให้คาแนะนา และประเมนิ ผล การดาเนินการในพื้นท่โี ซน
- ดาเนินการอน่ื ๆ ตามที่คณะกรรมการอานวยการมอบหมาย
 คณะทางานระดบั อาเภอ
- นายอาเภอ หวั หนา้ คณะทางาน
 มหี น้าท่ี ดงั นี้
- บูรณาการการปฏิบัติงานกับพ้ืนท่ีเพื่อขับเคลื่อนภารกิจตามบันทึกข้อตกลง
ความร่วมมือบทบาทในการเก้ือหนุนระหว่างวัดและชุมชนให้มีความสุขอย่างย่ังยืน มุ่งหนุนเสริมเสาหลักของ
ประเทศชาติ ได้แก่ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ให้เป็นสถาบันหลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
อยา่ งย่ังยืนในพน้ื ทอ่ี าเภอ
- ประสานงานกับคณะทางานระดับโซนในการกากับ ติดตาม ให้คาแนะนาและ
ประเมนิ ผลการดาเนนิ การในพน้ื ทอ่ี าเภอ
- พิจารณาคัดเลือกวิทยากรของอาเภอ จานวน ๕ คน เพ่ือเข้าร่วมการอบรมเสริมสร้าง
ทักษะเพอื่ นาไปถา่ ยทอดในพ้ืนท่ี และส่งรายชื่อวทิ ยากรให้กับฝ่ายเลขานกุ ารคณะกรรมการอานวยการจงั หวดั
- ดาเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการอานวยการและคณะกรรมการระดับโซน
ให้คาแนะนา
 คณะทางานระดับอาเภอ ประชุม และคัดเลือกวิทยากรระดับอาเภอ เพื่อถ่ายทอดความรู้
ในรปู แบบ ก  ข  ค (๑ เมษายน ๒๕๖๕)
- ครู ก (วิทยากรหลกั )
- ครู ข (วิทยากรระดับอาเภอ)
- ครู ค (วิทยากรระดบั ตาบล)

๑๐

 ประชุม/ซักซ้อม วทิ ยากรของอาเภอ (๑๙ เมษายน ๒๕๖๕)
๔.๓ Kick off

 จัดทาแผนงาน/โครงการทีจ่ ะ Kick off เสนอจังหวดั อุบลราชธานี (๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕)
 Kick off กิจกรรม “บวร” บา้ น วดั โรงเรียนและราชการ ในระดบั พื้นที่ (๘ พฤษภาคม ๒๕๖๕)
๔.๔ ขับเคลอื่ นแบบบรู ณำกำร
 อาเภอดาเนนิ การขบั เคลอื่ นในระดบั พื้นที่
 ส่วนราชการร่วมกนั บรู ณาการการขับเคลือ่ น
๔.๕ กำกับ ติดตำม และประเมนิ ผล
 คณะทางานระดับโซนฯ ลงพ้ืนท่ีกากบั ตดิ ตาม
 คณะกรรมการอานวยการ ประเมินผลการดาเนนิ งาน

กระบวนการขับเคลื่อนภารกิจ

MOU

ระหว่างคณะสงฆ์ กระทรวงมหาดไทย
และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

จังหวัดอุบลราชธานี






จัดทำแผนงาน/โครงการ
กำหนดกิจกรรม "บวร" ในระดับพื้นที่




จักลไกการขับเคลื่อน MOUนี
ระหว่างคณะสงฆ์ กระทรวงมหาดไทย

และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง




งหวัดอุบลราชธา

๑๓

๕. กรณีพื้นท่ีศึกษำ

๕.๑ ศนู ยพ์ ทุ ธธรรมสมเดจ็ พระมหำธรี ำจำรย์ ป่ำดงใหญว่ งั อ้อ
เดิมคือศูนย์พัฒนาคุณธรรมป่าดงใหญ่วังอ้อเกิดขึ้นโดยความคิดริเร่ิมของพระพรหมวชิรญาณ

กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าอาวาสวัดยานนาวา กรุงเทพมหานคร (สมเด็จพระมหาธีราจารย์ เจ้าอาวาส
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร) ตลอดจนชาวบ้านในชุมชน โดยมีพระครูสุขุมวรรโณภาส
(พระพิพัฒน์วชิโรภาส) วัดวังอ้อ พระอาจารย์ประมวล จันทสาโร วัดทุ่งใหญ่ พระปลัดถาวร ถาวโร วัดเข่ืองกลาง
พระครโู สภณอาภากร วดั ยางนอ้ ย อาเภอเขื่องใน จังหวัดอบุ ลราชธานี ร่วมจัดตงั้ ขึ้น

“ศูนย์พัฒนาคุณธรรมป่าดงใหญ่วังอ้อ” มีวัตถุประสงค์สาคัญเพื่อเป็นศูนย์ฝึกอบรมคุณธรรม
จริยธรรม พระภกิ ษุ สามเณร ข้าราชการ พนักงานบรษิ ทั เดก็ เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
และเป็นสถานท่ีรองรับโครงการ บ้านเปลี่ยนวิถี ให้การบาบัดรักษาฟื้นฟูจิตใจผู้ติดยาเสพติด ในเขตจังหวัด
อุบลราชธานี และจังหวัดใกล้เคียง ในเขตอีสานตอนล่างตลอดจนเป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ฝึกอาชีพ
ให้แกช่ ุมชน

เบ้ืองต้นสานักงานป้องกันและปราบปราบยาเสพติดได้ให้การสนับสนุนงบประมาณ โดยต่อมา
พระเทพกิตติมุนี อดีตเจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธานี นายจิระศักดิ์ เกษณียบุตร อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
ได้ลงนามจัดตั้งเป็นศนู ย์ฝกึ อบรมอย่างเปน็ ทางการ เม่ือวันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๖ เริ่มต้นศูนย์แห่งนี้เป็น
เพียงสถานท่ีให้การฝึกอบรมด้านคุณธรรมแก่บุตรหลานของประชาชนในเขตพื้นท่ีอาเภอเข่ืองในและใกล้เคียง
ได้มีผู้ให้ความสนใจจากพื้นที่อ่ืน ๆ เข้ามารับการฝึกอบรมเป็นจานวนมาก จนกระท่ังได้รับการหนุนเสริมจากหน่วยงาน
ภายนอกหลายแห่ง อาทิ กองบัญชาการกองทัพไทย สานักงานป้องกันและปราบปราบยาเสพติด สานักงาน
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สถานพินิจเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗
จงึ ไดม้ แี นวคดิ ทีจ่ ะหาพน้ื ทร่ี องรับผู้ทต่ี ิดยาเสพตดิ ใหม้ ีโอกาสฟน้ื ฟสู ภาพจติ ใจและร่างกาย เพ่ือกลับตัวเป็นคนดี
ของสังคม ได้เริ่มรับผู้ติดยาเสพติดเข้ารับการบาบัดฟ้ืนฟูในชื่อ “โครงการบ้านเปล่ียนวิถีคืนคนดีสู่สังคม”
ให้การบาบัดฟื้นฟูจิตใจ เพื่อเป็นการรองรับผู้ติดยาเสพติดที่เข้ามารับการบาบัดฟื้นฟูต่อมาจึงได้จัดให้มีศูนย์
เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งประกอบด้วยการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์นานาชนิดท่ีจาเป็นต้องกินต้องใช้ในชีวิตประจาวัน

๑๔

เพ่ือเป็นแหล่งฝึกนิสัย พัฒนาอาชีพ และเป็นการผ่อนคลายตามหลักอาชีวบาบัด สาหรับผู้ติดยาเสพติด
อีกทางหนึ่งปัจจุบันศูนย์พัฒนาคุณธรรมป่าดงใหญ่วังอ้อ จึงเป็นศูนย์ที่ได้รับรองจากทางราชการอย่างถูกต้อง
ตามกฎหมายและตามหลกั วิชาการในการบาบัดรกั ษาผู้ติดยาเสพติด

ต่อมาเมื่อวันที่ ๑๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ พระพรหมวชิรญาณ ได้เปลี่ยนช่ือจากศูนย์พัฒนา
คณุ ธรรมป่าดงใหญว่ งั อ้อ เปน็ ศนู ยพ์ ุทธธรรมพรหมวชริ ญาณ ปา่ ดงใหญว่ งั อ้อ และวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
พระพรหมวชิรญาณ เป็นประธานประชุมสร้างความเข้าใจแก่คณะทางาน และให้มีการกาหนดแนวทางการดาเนินการ
จัดต้ังศูนย์พุทธธรรมพรหมวชิรญาณ ป่าดงใหญ่วังอ้อ โดยให้เครือข่ายศูนย์พุทธธรรมพรหมวชิรญาณยกร่าง
คณะกรรมการในแต่ละฝ่ายขึ้นมาเป็นคณะทางานเพิ่มเติม และในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ พระพรหมวชิรญาณ
เป็นประธานประชุมให้คณะทางานเพื่อระดมสมองยกร่างการจัดต้ังเป็นสถาบัน โดยมีกาหนดวัตถุประสงค์
วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ บทบาทหนา้ ท่ภี าคีเครอื ขา่ ยของสถาบัน ดงั นี้

วตั ถุประสงค์

๑. เพ่ือเป็นองค์กรสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล
และสงั คมทกุ ระดบั ทุกเพศ ทกุ วัย ใหม้ ีระเบียบวนิ ัยเปน็ แบบอย่างทด่ี ี มีสัมมาชีพ และมีคุณธรรมจรยิ ธรรม

๒. เพ่ือสร้างภาคีเครือข่ายคนดี มีจิตอาสาในการพัฒนาบุคคล หน่วยงาน และองค์กร
ให้เป็นตน้ แบบคุณธรรมจรยิ ธรรม

๓. เพื่อเป็นองค์กรที่ให้โอกาสบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีประสงค์จะปรับเปล่ียนพฤติกรรม
เพอ่ื เป็นคนดขี องสงั คม

๔. เพ่ือดาเนินการให้จังหวัดอุบลราชธานี เป็นต้นแบบเมืองคนดี และเป็นศูนย์การพัฒนา
คุณธรรมจริยธรรมในการพฒั นาชมุ ชน สงั คม และประเทศอย่างบรู ณาการ

๕. เพื่อขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินการประสบความสาเร็จสู่นโยบาย
ระดับชาติ

วสิ ัยทัศน์

พฒั นาคนและชมุ ชนแบบบูรณาการโดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ปลูกฝังคุณธรรมจรยิ ธรรม
วางรากฐานชวี ิตใหม้ น่ั คง นาชวี ติ ตนให้ถงึ จดุ หมายยกระดับชวี ติ ให้มคี วามสุขอยา่ งแท้จริง

พันธกิจ

๑. สร้างเสริมครอบครัวให้เป็นครอบครัวอบอุ่น เพิ่มขีดความสามารถของบิดา มารดา
ผ้ปู กครองในการอบรมเลี้ยงดูลูกหลาน

๒. พัฒนาเด็กและเยาวชน ให้เป็นคนดีมีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตอาสาเป็นเยาวชนผู้นา
การเปลยี่ นแปลง

๓. พัฒนาครูให้เปน็ ครดู ี เป็นปชู นียบคุ คล เป็นแบบอยา่ งที่ดี เป็นครกู ลั ยาณมติ ร เปน็ ครจู ติ อาสา

๑๕

๔. พัฒนาพระภิกษุ สามเณรให้เป็นต้นแบบด้านศีลธรรม เพิ่มขีดความสามารถในการเผยแผ่
และถ่ายทอดหลักธรรมคาสอนทางพระพุทธศาสนา

๕. สร้างเสริม สนับสนุนให้หนว่ ยงาน องคก์ รทงั้ ภาครฐั และเอกชนเป็นหนว่ ยงานคุณธรรม
และคุณภาพตามหลักธรรมาภบิ าล

๖. สร้างเสริมให้ประชาชนเป็นคนดีมีศีลธรรมเป็นระเบียบวินัย มีสุขภาวะท่ีดี อยู่ร่วมกัน
อยา่ งมีความสุข

๗. พัฒนาชุมชนต้นแบบ โดยความร่วมมอื ของกัลยาณมติ รและสมาชิกในชมุ ชนแบบบูรณาการ

เป้ำประสงค์

๑. ประชากรทุกเพศ ทุกวยั ทุกสาขาอาชพี ครอบครัว ชุมชน หน่วยงาน องค์กรในจังหวัด
อุบลราชธานี และใกล้เคียงได้รับการพัฒนา บาบัด ฟ้ืนฟู และส่งเสริม ด้านคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย
เป็นแบบอยา่ งทด่ี ี นาชวี ติ สู่จุดหมาย ๓ ขัน้ ๓ ดา้ น มีความสุข ใน ๓ ระดบั

๒. ประชากรทุกเพศ ทกุ วยั ทุกสาขาอาชีพ ครอบครัว ชุมชน หน่วยงาน องค์กรในจังหวัด
อุบลราชธานี ได้รับการพัฒนาและสร้างเสริมให้เข้มแข็งเป็นแบบอย่างที่ดี เหมาะสมตามบทบาทหน้าท่ี
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

กลยทุ ธ์

๑. สรา้ งบคุ คล ครอบครวั ชุมชน หนว่ ยงาน องคก์ ร ให้เป็นต้นแบบทดี่ ี
๒. สรา้ งเครือข่ายกัลยาณมิตร พัฒนาคนและชมุ ชนแบบบรู ณาการใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพย่งิ ข้ึน
๓. แสวงหาความรว่ มมือและการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ น
 หลักกำรในกำรดำเนนิ งำน : ในการทจ่ี ะนาศีลธรรมกลับคืนมา โดยผ่านทางพุทธศาสตร์และพุทธวิธี
เพ่ือป้องกัน แก้ไขปัญหา หรือเพ่ือการพัฒนานั้น จะต้องนึกถึงโครงสร้างของสังคมเร่ิมต้ังแต่ครอบครัว ครู เด็ก
นกั เรยี น นกั ศกึ ษา เยาวชน พระสงฆ์ ประชาชน และองค์กรภาคีต่าง ๆ ในหมู่บ้าน/ชุมชน มาร่วมแรงร่วมใจ ป้องกัน
แกไ้ ขปัญหาหรือรว่ มกันพัฒนา ใหเ้ ป็นระบบต่อเน่ืองบูรณาการ เพราะชีวิตเริ่มที่พ่อ ก่อที่แม่ แก้ท่ีลูก ปลูกท่ีครู
อาจารย์ มอบจิตวิญญาณแก่พระสงฆ์ ได้รับการหนุนเสริมจากเอกชนและรัฐบาล และทั้งหมดต้องมาร่วมกัน
ทางานแบบเครือญาติ
 กระบวนกำรดำเนนิ งำนหรอื กระบวนทัศน์สคู่ วำมสำเรจ็
๑. สรำ้ งควำมตระหนัก สรำ้ งเขำ้ ใจกบั คนในชุมชนพ้ืนที่ : สร้างความเข้าใจกับทุกกลุ่มเป้าหมาย
ทุกเพศ ทุกวัย ในหมู่บ้าน ชุมชน สังคม ให้ตระหนักถึงสภาพปัญหาสังคมในปัจจุบัน แล้วร่วมกันฝันถึงอนาคต
หรือรว่ มกันสรา้ งสรรค์สิง่ ดงี ามแกส่ ังคม
๒. จับมือกันให้ดี : จะต้องมีการทาบันทึกความร่วมมือ (MOU) ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ที่เกี่ยวข้องกับเร่ืองท่ีต้องการป้องกัน การแก้ไขปัญหาหรือการพัฒนาคนในหมู่บ้าน
ชมุ ชมสงั คมนัน้ ๆ

๑๖

๓. สรำ้ งหลกั สูตรนำวิถี : เหมือนสรา้ งอาวธุ นาวถิ ี ทมี่ ีอานุภาพ ทีจ่ ะทาลาย ศัตรู คือ กิเลส ตัณหา
หรือปัญหาชุมชนได้ หรือเหมือนยาดี ที่จะรักษาโรคให้หายได้ หลักสูตรที่กล่าวน้ี สามารถท่ีจะเช่ือมโยงครอบคลุม
ไปยังทุกกลุม่ เปา้ หมายไดอ้ ย่างดีทเี ดยี ว

๔. รวบรวมรี้พล : เมื่อได้หลักสูตรหรือคู่มือฝึกอบรมแล้วต้องมีการสารวจ คัดเลือก คนดี
คนมีจิตอาสา บุคคลที่เป็นทุนทางสังคม ครอบครัว ครู เด็ก เยาวชน พระสงฆ์ ประชาชน องค์กรต่าง ๆ
ในหมบู่ ้านชุมชน แลว้ ยกย่องเชดิ ชคู นดี รวมคนดี ใหเ้ ป็นคนดี อเี อม็ (อีเอ็ม คือน้าดีไปบาบัดน้าเสีย) คนดี อีเอ็ม
คอื การนาคนดีไปชว่ ยบาบดั คนไมด่ ี เพราะคนดจี ะเปน็ กาลงั หลักในการพฒั นา

๕. ฝึกฝนกำลังหลัก : กาลังหลักต้องมีการฝึกฝน หมายถึง ฝึกอบรมแม่ทัพ นายกอง
คือ วิทยากรกระบวนการในพ้ืนที่ มาจากครอบครัว ครู เด็ก เยาวชน พระสงฆ์ ประชาชน องค์กร ให้เพียงพอ
ใหเ้ ข้มแข็ง เชี่ยวชาญ เปน็ แบบอย่างทดี่ ีของคนในหมบู่ า้ นชมุ ชน เปน็ กาลงั หลักในการพฒั นา

๖. ใช้ศำสตร์กำรเปล่ยี นแปลง : การพัฒนาคนในหมู่บ้านชุมชนจะต้องมีศาสตร์ท่ีสามารถทาให้เกิด
การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นกายภาพ สังคม อารมณ์ สติปัญญา และจิตวิญญาณได้ ศาสตร์น้ัน คือ หลักอริยสัจ ๔
ท่ีจะทาให้คนในหมู่บ้านรู้ทุกข์ รู้ปัญหาตนเอง รู้ว่าสาเหตุทุกข์นั้น ปัญหานั้นมาจากอะไร การจะให้ทุกข์น้ัน
ปญั หาน้ัน บรรเทาเบาบางและหมดไป จะต้องทาอย่างไร และมวี ธิ กี ารใด หนทางใด ด้วยเคร่ืองมืออะไร อีกทั้งใช้หลัก
ของการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ตามพระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และหลักภูมิปัญญาท้องถ่ิน
มาเป็นเครอ่ื งมือในการพฒั นาคนชุมชนอย่างเปน็ ระบบต่อเนือ่ ง

๗. ร่วมแรง ร่วมใจ ทุกภำคส่วน : ทุกภาคส่วนในหมู่บ้านชุมชน ต้องมีการบูรณาการ
ลดความซ้าซ้อน มีการเชื่อมโยง มีประสิทธิภาพ โดยคนในชุมชนต้ังแต่ สถาบันครอบครัว โรงเรียน วัด ชุมชน
องค์กร ร่วมกันคิดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โดยกาหนด แผนงาน แผนคน แผนเงิน แผนที่ ป้องกัน แก้ไข
หรอื พัฒนาชุมชนแบบบรู ณาการข้นึ มา

๘. จัดกระบวนทัพใหม้ ั่นคง : การคิดแผนงานโครงการ หรือการจัดกิจกรรมขึ้นมา เพื่อป้องกัน
แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาหมู่บ้านชุมชนนั้น ต้องทาเป็นระบบต่อเนื่อง โดยเริ่มที่พ่อ ก่อที่แม่ แก้ที่ลูก (ครอบครัว)
ปลูกที่ครูอาจารย์ (สถานศึกษา) มอบจิตวิญญาณ แก่พระสงฆ์ (วัด) ได้รับการส่งเสริมจากเอกชนและรัฐบาล (รัฐ)
ร่วมกันทางานแบบเครือญาติ (บูรณาการ) ถ้ากระบวนทัพมีความมั่นคง การรบ การแก้ไขปัญหา หรือการพัฒนาก็จะ
ชว่ ยให้ง่ายขนึ้

๙. ยนื ตรงในธงอรหันต์ : ดว้ ยการนาหลักธรรมคาสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาประยุกต์ใช้
ในชวี ติ ให้เกิดผลเป็นความสุข ๓ ระดบั กลา่ วคอื

๑) การมีสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง ไร้โรค อายุยืน การมีงาน มีเงิน มีกิน มีอาชีพสุจริต
พึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ การมีสถานภาพดี มีเกียรติ เป็นที่ยอมรับนับถือในสังคมการมีครอบครัวผาสุก
ทาวงศ์ตระกลู ใหเ้ ปน็ ที่นบั ถอื

๒) การมีความอบอุ่นซาบซ้ึงสุขใจ ไม่อ้างว้างเล่ือนลอย มีหลักยึดเหนี่ยวใจให้เข้มแข็ง
การมีความภูมิใจในชีวิตที่สะอาดท่ีได้ประพฤติปฏิบัติแต่การอันดีงาม ด้วยความสุจริต การมีความอิ่มใจในชีวิต
มีคุณค่า ได้ทาประโยชน์ตลอดมา ด้วยน้าใจเสียสละ การมีความแกล้วกล้าม่ันใจที่จะแก้ไขปัญหานาชีวิต

๑๗

และภารกิจไปได้ด้วยปัญญา การมีความโล่งจิตม่ันใจมีทุนประกันภพใหม่ ด้วยได้ทาไว้แต่กรรมที่ดี มีทาน ศีล
ภาวนา ความสุข ๒ ระดบั นี้ เป็นโลกยี สุข (ถา้ บรรลุจดุ หมายชวี ิตถงึ ขั้นท่ี ๒ ขน้ึ ไป เรยี กวา่ บัณฑติ )

๓) การมีชวี ติ ท่สี งบเย็น ถึงถูกโลกธรรมกระทบ ถึงจะพบความผันผวนปรวนแปร ไม่หว่ันไหว
มใี จเกษมศานต์ มัน่ คง ไมถ่ ูกความยดึ ตดิ ถอื ม่ันบีบค้นั จติ ให้ผิดหวงั โศกเศรา้ มจี ิตโลง่ โปร่งเบา เป็นอิสระ สดช่ืน
เบิกบานใจ ไม่ขุ่นมัว เศร้าหมอง ผ่องใส ไร้ทุกข์ มีความสุขที่แท้/รู้เท่าทันและทาการ ตรงตามเหตุปัจจัย
ชวี ิตหมดจด สดใส เป็นอยดู่ ้วย ศีล สมาธิ ปญั ญา และด้วยแนวทาง ๕ ประการ คือ

(๑) ยนื สมาธิ
(๒) เดนิ สมาธิ
(๓) นงั่ สมาธิ
(๔) ไสยาสนส์ มาธิ
(๕) ทาจติ มัชฌมิ า (ระดบั ท่ี ๓ เป็นโลกุตตระ - ผู้หลดุ พน้ )
นอกจากนี้ยังต้องใช้แนวทางการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และหลักภูมิปัญญาท้องถ่ิน มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาชุมชนที่จะนาไปสู่
การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต
๑๐. เกษมสันต์ ประสบสิ่ง เสมอใจ สมควำมมุ่งหมำย : เมื่อมีการนากระบวนทัศน์คือ สร้าง
ความตระหนัก สร้างความเข้าใจกับคนในชุมชนพื้นที่จับมือกันให้ดี สร้างหลักสูตรนาวิถี รวบรวมร้ีพล ฝึกฝน
กาลงั หลกั ใช้ศาสตร์การเปล่ียนแปลง ร่วมแรงร่วมใจทุกภาคส่วน จัดกระบวนทัพให้ม่ันคง ยืนตรงในธงอรหันต์
ดังกล่าว มาใช้ในการพัฒนาหมู่บ้านชุมชน ก็จะทาให้คนในหมู่บ้านชุมชนทุกเพศ ทุกวัย ทุกกลุ่มเป้าหมาย
เป็นคนดีมีศีลธรรม มีระเบียบวินัย เป็นแบบอย่างที่ดี มีการพัฒนาชีวิตให้ถึงจุดหมาย ๓ ขั้น มีความสุข ๓
ระดบั ซึ่งเปน็ เป้าหมาย ๓ ขน้ั ๓ ดา้ น ในทางพระพุทธศาสนา
 แผนงำน โครงกำร และกจิ กรรม
เน้นการฝึกอบรม และมีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อาทิ การฝึกอบรมคุณธรรมจริยธรรม
และเสริมทักษะพัฒนาชีวิต บาบัดฟ้ืนฟูผู้ติดยาเสพติด ส่งเสริมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แก่เด็ก
เยาวชน นักเรียน นักศึกษา ข้าราชการ และประชาชนท่ัวไป ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดใกล้เคียง
เป็นระยะเวลายาวนาน ตามแผนงาน โครงการ และกจิ กรรมในแตล่ ะปี
ผลสำเร็จท่ไี ดร้ ับ
จากการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมวางแผน ร่วมแก้ปัญหา ร่วมพัฒนาต้นแบบบูรณาการ ยังประโยชน์
ให้เกิดขึ้นแก่เด็ก เยาวชน ครอบครัว หมู่บ้าน ชุมชน สังคม คือ เด็ก เยาวชน เป็นไท เป็นพลเมืองท่ีมีคุณภาพ
พ้นภัยจากยาเสพติด เป็นแหล่งบ่มเพาะคนเพื่อพัฒนาสังคม ครอบครัว หมู่บ้าน ชุมชนมีความเข้มแข็ง สังคม
มคี ณุ ภาพ เป็นการสนองนโยบายของกระทรวงมหาดไทย
 ควำมสำเร็จท่ีศูนยพ์ ุทธธรรมสมเด็จพระมหำธีรำจำรย์ ปำ่ ดงใหญว่ งั อ้อ มดี ังนี้
๑. สามารถดารงอยู่ได้และมีแนวโน้มขยายข้ึนเรื่อย ๆ โดยสังเกตจากจานวนหน่วยงานและผู้เข้า
รับการฝึกอบรมมีมาอยา่ งต่อเนอื่ ง

๑๘

๒. ได้รับการยอมรับจากชุมชน จากส่วนราชการต่าง ๆ โดยมีการส่งคนมาเข้ารับการฝึกอบรม ส่งคน
เพื่อเข้ามาศึกษาดูงาน และบางแห่งได้นาไปเป็นต้นแบบในการดาเนินงานด้วย นอกจากนี้ยังให้การสนับสนุน
โดยการรับรองสทิ ธแิ ละโดยการจัดสรรงบประมาณมาช่วยเปน็ จานวนมากอกี ด้วย

๓. เด็ก เยาวชน บุคคลท่ัวไปท่ีเข้ามารับการฝึกอบรมในศูนย์ฯ และผู้ติดยาเสพติดที่เข้ามารับ
การบาบัดในศนู ยฯ์ มกี ารเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมตนเองสามารถกลบั ส่สู งั คมได้เหมือนคนปกติทั่วไป

๔. ทีมงานท่ที างานในศูนย์ฯ ไดร้ บั การเรียนรู้ และพัฒนาทักษะในการทางานดา้ นตา่ ง ๆ อย่างต่อเนื่อง
จนได้รับการยอมรับจากชมุ ชนและสังคมภายนอกอย่างกวา้ งขวาง

๕. คนในชมุ ชนได้รับการปลกู ฝงั และเขา้ ถงึ ธรรมะ มีความรัก ความสามัคคี มีความเอ้ืออาทรต่อกัน
เข้าใจซ่ึงกนั และกนั มากขนึ้

๖. คณะกรรมการศูนย์ฯ อาสาสมัครและคนในชุมชนมีงานทา มีรายได้จากผู้เข้ารับการฝึกอบรม
และไดเ้ รยี นรดู้ ้านการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง

 ปัจจยั แห่งควำมสำเรจ็
๑. ปัจจัยด้านทุน เป็นปัจจัยสาคัญท่ีช่วยหนุนให้การดาเนินงานของศูนย์ประสบความสาเร็จ

มอี ยู่ ๓ ประการ คอื
๑.๑ ทุนทางสงั คม ไดแ้ ก่ ความรคู้ วามเข้าใจ ความรกั ความศรัทธาในงานท่ีพระพิพัฒน์วชิโรภาส

มอี ยใู่ นตัวเอง ความศรัทธา ความเชื่อม่ันในความดีของคนในชุมชนท่ีมีต่อพระอาจารย์ และแนวทางที่พระอาจารย์
ปฏบิ ัติ นอกจากนี้ความเอือ้ เฟื้อเผอื่ แผ่ การยึดม่ันในความดี ความถูกต้อง ความสามัคคี ความปรารถนา ที่จะเห็นคน
ในสังคมอยู่ดีมีสุข ซ่ึงมีอยู่กับคนในชุมชน โดยเฉพาะ
ทชี่ ุมชนวงั อ้อ - วังถ้า ซ่ึงจะเห็นได้จากกานัน ผู้ใหญ่บ้าน
ไดร้ ะดมสรรพกาลงั ชาวบา้ นท่เี ปน็ อาสาสมัครสาธารณสุข
ประจาหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครป้องกันกับฝ่ายพลเรือน
(อปพร.) กรรมการหมู่บ้าน กรรมการวัด และชาวบ้าน
ในตาบลหัวดอน ตาบลใกล้เคียง ในเขตอาเภอเขื่องใน
ได้ร่วมกันทอดกฐิน ทอดผ้าป่า ถวายสังฆทาน บริจาค
ทรัพย์ ทั้งที่เป็นเงิน วัตถุ และแรงงานในการก่อสร้าง
ท่ีพกั และสถานที่ฝึกอบรม

๑.๒ ทุนทางธรรมชาติ ได้แก่ท่ีดินทากิน
สภาพดินฟ้าอากาศ ความอุดมสมบูรณ์ของพื้นท่ี
และที่สาคัญคือ ป่าชุมชน อันได้แก่ ป่าดงใหญ่
วังอ้อ - วังถ้า ซึ่งเป็นทุนทางธรรมชาติท่ีมีอยู่ก่อน
แล้ว และพร้อมที่จะเอื้อต่อการดาเนินงานของ
ศนู ยฯ์

๑๙

๑.๓ ทุนทางทรัพย์สิน แม้คนในชุมชนจะมีทรัพย์สินอยู่ไม่มากนัก แต่เมื่อมีทุนทางสังคม
อยู่เป็นจานวนมากก็สามารถแปลงทุนทางสังคมมาเป็นทุนทางทรัพย์สินได้ โดยการช่วยกันออกแรงและบริจาค
วัสดุอุปกรณ์ ต้นไม้ หรืออะไรก็ได้ที่จาเป็นจะต้องใช้ในการก่อสร้างศูนย์ ซึ่งในที่สุดทุกอย่างก็สาเร็จลงได้ด้วยดี
ด้วยแรงศรัทธาและทรัพย์สินท่ีมีอยู่เพียงเล็กน้อย ภายหลังท่ีศูนย์ฯ ต้ังขึ้นแล้วการดาเนินงานในระยะต่อมา
ก็ได้รับการหนุนเสริมสนับสนุนด้านงบประมาณจากหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ จากภายนอกมาตลอด
ซ่งึ ทาให้ศูนย์ฯ มพี ลงั มคี วามเข้มแข็ง

๓. ปัจจัยด้านการจัดการ แนวทางในการบริหารจัดการพระอาจารย์ได้ใช้หลักการเข้าถึง เข้าใจ
และมีส่วนร่วมอย่างโปร่งใส เท่าเทียมบนฐานของความถนัด ความสมัครใจ และความพร้อมของแต่ละคน
โดยตระหนักอยู่ตลอดเวลาว่าทุกคนคืออาสาสมัคร ไม่มีใครเป็นนายของใคร ทุกคนทางานด้วยใจมุ่งสู่ความสาเร็จ
ของงานเป็นหลัก ส่วนผลประโยชน์ต่าง ๆ ถ้าหากจะมีก็เป็นเพียงผลพลอยได้เท่านั้น หากได้มาก็จะมีการแบ่งปัน
อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

๔. ปัจจัยด้านเครือข่าย ในการดาเนินงานของศูนย์ฯ ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า
นอกจากตอ้ งอาศยั ปัจจัยต่าง ๆ ดังกล่าวมาแล้ว ยังต้องอาศัยเครือข่ายท้ังในพ้ืนที่และนอกพ้ืนท่ีให้การหนุนเสริม
ดงั นี้

 เครอื ขา่ ยในพืน้ ที่ ได้แก่ โรงเรียน ส่วนราชการต่าง ๆ รวมท้ังองค์การบริหารส่วนตาบล
ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม คณะสงฆ์ในพื้นท่ีให้การยอมรับสนับสนุน โดยการอนุญาตให้ดาเนินการได้
และหนนุ เสริมด้วยงบประมาณ ตลอดจนร่วมส่งคนเข้ารับการฝกึ อบรม

 เครือข่ายนอกพื้นที่ ได้แก่ เครือข่ายพระสงฆ์ พระวิทยากรกองทัพธรรมกองทัพไทย
เครือข่ายโรงพยาบาล เครือข่าย สสส. เครือข่ายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เครือข่ายการท่องเที่ยว
แหง่ ประเทศไทย เครือข่ายครูจิตอาสา เครือข่ายกลุ่มเยาวชนจิตอาสา เครือข่ายมูลนิธิส่งเสริมยุวเกษตรกรไทย
ในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เครือข่ายเหล่านี้ ได้ให้การรับรองและคุ้มครองในส่ิงที่ได้ดาเนินการไปแล้วนั้นว่าเป็นสิ่งท่ีถูกต้องชอบธรรม
ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ ซ่ึงเครือข่ายดังกล่าวได้มีส่วนส่งเสริมให้ผู้ดาเนินงานมีขวัญ
มกี าลังใจที่จะมุ่งม่นั ทมุ่ เทในการทางานต่อไป

 สรุปผลกำรดำเนินงำนเก่ียวกับกำรนำศำสตร์พระรำชำ โคก หนอง นำ มำเขียนเป็นตำรำ
ลงบนแผ่นดิน

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓ ขับเคลื่อนโครงการบทบาทพระสงฆ์กับการสร้างสุขภาวะสังคม
โดยความร่วมมือของ บวร ให้พระภิกษุสามเณรและประชาชน ให้มีสุขภาพอนามัยที่ดีมีศีลธรรมวัฒนธรรมจิตใจ
สดใส มีสัมมาชีพแบบพอเพียง มีสามัคคีธรรมสังคมอบอุ่น ผ่านโครงการบทบาทพระสงฆ์กับการสร้างสุขภาวะ
สงั คม โดยความรว่ มมือของ “บวร” บ้าน วดั โรงเรียนและราชการ

 ด้านสุขภาพอนามัยดี : ทาให้พระภิกษุสามเณร แม่ชี และคนในชุมชน ๔๗ ชุมชน
ในจังหวัดอุบลราชธานี มีสุขภาพอนามัยที่ดี มีอาหารท่ีปลอดภัย กินข้าวเป็นหลัก กินผักเป็นยา ไล่ห่าหรือโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา (COVID-19) ออกจากปอดด้วยสมุนไพรไทย และใช้สมุนไพรในการป้องกันรักษาโรค เช่น ใช้แช่มือ
แช่เท้า พอกหน้า ต้ม ดม ดูด ด่ืม ประคบ อบ ทา นวด มีคลังยาสมุนไพรประจาบ้าน และการแปรรูปสมุนไพร

๒๐

แจกจ่ายให้คนในชุมชน มีถนนท่ีใช้เดิน วิ่ง ออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพ มีทางเดินกะลามะพร้าวนวดฝ่าเท้า
มนี วดแผนไทย แผนโบราณ และมอี ากาศท่ีบริสุทธิ์ ผลติ แอลกอฮอล์ หนา้ กากอนามัยใช้เอง มีการจัดนิทรรศการ
ให้ความรู้เกย่ี วกับการกนิ อาหารตามธาตุของรา่ งกาย การกินผกั ที่เปน็ ยา และกนิ ขา้ วท่ีมนี า้ ตาลต่า

 ด้านศีลธรรมวัฒนธรรม : ทาให้จิตใจสดใส คนในชุมชนมีคุณธรรม จริยธรรม คือ
มีความอดทน มคี วามเพียร มสี ัจจะ มรี ะเบยี บวนิ ยั มีน้าใจ มีความกตัญญู มีทาน มีศีล มีภาวนา อย่างเป็นรูปธรรม
โดยผา่ นการจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทเี่ ออ้ื ตอ่ การพฒั นาจติ พฒั นาปญั ญา และสอดคลอ้ งกับวฒั นธรรมประเพณีท่ดี ี เช่น

๑. กจิ กรรมถนนสายวัฒนธรรม นาสู่ทาน ศีล ภาวนา มีการทาบุญตักบาตร ในบริเวณ
แปลงต้นแบบ แล้วนาอาหารทเี่ หลือจากทพี่ ระภิกษุ สามเณร ฉันเสร็จแลว้ ไปมอบให้แก่ เดก็ ผู้สงู อายุ ผู้ยากจน
ผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติและโรคระบาดในหมู่บ้านชุมชนเป็นการปลูกฝัง
คณุ ธรรม ความกตัญญู ความมีน้าใจ ความเอ้ืออาทร แกเ่ ดก็ เยาวชน ให้คนในชุมชนอยา่ งเป็นรูปธรรม

๒. กิจกรรมพิธีกรน้อยคอยบอกบุญ เมื่อมีกิจกรรมทาบุญตักบาตรในพ้ืนท่ีบ้าน วัด
โรงเรยี น สง่ เสริมให้เดก็ เยาวชนเปน็ พิธกี รน้อยคอยบอกบุญ โดยเด็กนา ผใู้ หญ่หนุน ใหเ้ ด็ก เยาวชน นาไหว้พระ
อาราธนาศลี กลา่ วถวายสงั ฆทาน กลา่ วคาแผเ่ มตตา เม่ือใหโ้ อกาสอย่างน้ี เด็ก เยาวชนสามารถปฏิบัติศาสนพิธี
ได้อย่างถกู ตอ้ ง

๓. กิจกรรมลานธรรม ลานวิถีไทย มีการฟังเทศน์ สนทนาธรรม แสดงละครสะท้อน
คุณธรรมพระเวสสันดรชาดก มีการสืบค้นคติธรรม คากลอน ข้อคิด คาคม แล้วนามาเขียนหรือพิมพ์แขวน
ตดิ ตามต้นไม้หรือขา้ งถนนริมทางเดนิ ให้ผ้คู นได้เห็น ไดอ้ า่ น แล้วกเ็ พลดิ เพลนิ เจรญิ จติ เกดิ ปญั ญา

๔. กิจกรรมทาบญุ ตามประเพณี ๑๒ เดอื น ได้แก่ ๑. บุญเขา้ กรรมหรือเข้าปริวาสกรรม
๒. บุญก้มุ ข้าวหรอื บุญคณู ลาน ๓. บญุ ขา้ วจ่ีและวนั มาฆบูชา ๔. บญุ พระเวส (เวสสันดรชาดก) ๕. บุญสงกรานต์
๖. บุญบั้งไฟ บุญวิสาขบูชา ๗. บุญชาฮะหรือบุญเบิกบ้าน ๘. บุญเข้าพรรษา ถวายเทียนพรรษา ผ้าอาบน้าฝน
๙. บุญข้าวประดับดิน ๑๐. บุญข้าวสากหรือสลากภัต ๑๑. บุญออกพรรษา ถวายผ้ากฐิน ๑๒. บุญลอยกระทง
บุญส่งทา้ ยปีเก่า การสวดมนตข์ ้ามปี และการทาบุญต้อนรบั ปใี หม่

 ด้านการมีสัมมาชีพแบบพอเพียง ประชาชน จานวน ๔,๗๐๐ คน ใน ๔๗ ชุมชนเป้าหมาย
ดาเนินชีวิตตามหลักทฤษฎีบันได ๙ ขั้น มีธนาคารเมล็ดพันธุ์ ธนาคารข้าว ธนาคารต้นไม้ คลังยาและอาหาร
มีความมั่นคงในชีวิตขั้นพ้ืนฐาน (๔ พอ) คือ ๑. พอกิน ๒. พอใช้ ๓. พออยู่ ๔. พอร่มเย็น และมีความมั่นคง
ในชีวติ ข้นั กา้ วหน้า (๕ ม) คอื ๑. มบี ญุ ๒. มที าน ๓. มีเก็บแปรรูปถนอมอาหาร ๔. มีขายผลผลิต หรือผลิตภัณฑ์
เพิ่มรายได้ในครัวเรือนชุมชน และผลผลิตของชุมชนมีคุณภาพ มาตรฐาน แบรนด์สินค้าเป็นของตนเอง
๕. มเี ครอื ขา่ ยทงั้ เครือขา่ ยในระดบั จงั หวัด เครอื ข่ายในระดบั ประเทศ รว่ มพฒั นาชวี ิตสู่ความพอเพยี ง

 ด้านสามคั คธี รรม ทาใหส้ ังคมอบอนุ่ ประชาชน จานวน ๔,๗๐๐ คน ใน ๔๗ ชุมชนเปา้ หมาย
มีการพัฒนาครอบครัวให้ทรงประสิทธิผล ครูให้เป็นปูชนียบุคคล เด็กเยาวชนให้เป็นคนดี มีจิตอาสา พระสงฆ์
เป็นนักพัฒนาประชาชนให้เป็นต้นแบบความดี องค์กรภาคีให้มีความโดดเด่นด้านบูรณาการเป็นชุมชนคุณธรรม
มีกองทนุ สาธารณสงเคราะห์ มีปัจจัย ๔ คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่มส่ิงของเครื่องใช้ ท่ีอยู่อาศัย ยารักษาโรค ช่วยเหลือ
เดก็ ผู้สงู อายุ ผู้ยากจน ผ้ดู ้อยโอกาส ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ และโรคระบาดต่าง ๆ มีเงินออม
กบั กลุ่มสัจจะสะสมทรพั ย์ และมกี ารจัดสวัสดิการช่วยคนในชุมชนตั้งแต่เกดิ จนถงึ ตาย

๒๑

ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ผลงานโดดเด่นด้านการนาศาสตร์พระราชา โคก หนอง นา มาเขียนเป็น
ตาราลงบนแผ่นดิน ทาให้กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ได้นาแนวคิดกระบวนการดาเนินงาน
ไปขยายผลต่อใน ๒๕ อาเภอของจังหวัดอุบลราชธานี และพื้นที่โคก หนอง นา ทั่วประเทศ รวมทั้ง
นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ได้แต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมการอานวยการขจัด
ความยากจนและพฒั นาคนทุกช่วงวัยอย่างย่ังยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของกรมการพัฒนาชุมชน
และมีผลงานโดดเดน่ ทาให้หน่วยอบรมประชาชนประจาตาบล (อ.ป.ต.) วัดวังอ้อ ตาบลหัวดอน อาเภอเข่ืองใน
จังหวัดอบุ ลราชธานี ไดร้ บั การประกาศจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ใหเ้ ปน็ หนว่ ยอบรมประชาชนประจาตาบล (อ.ป.ต.) ตน้ แบบเสริมสรา้ งสุขภาวะเชิงพทุ ธ ของจังหวดั อบุ ลราชธานี

ท่ีสาคัญเม่ือวันที่ ๑๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีลงพ้ืนท่ี
ทาให้ชุมชนวัดวังอ้อ ตาบลหัวดอน อาเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี และมอบโล่เชิดชูเกียรติสุดยอดชุมชน
คุณธรรมน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขับเคลื่อนด้วยพลัง “บวร” ต้นแบบ จากผลงานโดดเด่นทาให้
พระพพิ ฒั นว์ ชิโรภาส ผู้อานวยการศูนย์พุทธธรรมสมเด็จพระมหาธีราจารย์ ป่าดงใหญ่วังอ้อ เจ้าอาวาสวัดวังอ้อ
ตาบลหัวดอน อาเภอเข่ืองใน จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับโล่รางวัลผู้ปิดทองหลังพระในการนาศาสตร์พระราชา
มาเขยี นเปน็ ตาราลงบนแผ่นดินอีกดว้ ย

ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ฝึกอบรมพระภิกษุ สามเณร เด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา ข้าราชการ
และประชาชนท่ัวไป ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดใกล้เคียง ท่ีเข้ารับการฝึกอบรม ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรม
วดั วังออ้ ตาบลหัวดอน อาเภอเขื่องใน จังหวดั อุบลราชธานี ตลอดปีจานวน ๑,๒๕๐ คน

ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ฝึกอบรมกลุ่มเป้าหมายของโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา” ของกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
จานวน ๑๖ รุ่น โดยมีผเู้ ขา้ อบรมรนุ่ ละ ๑๐๐ คน ร่นุ ละ ๕ วนั

ผลงานโดดเด่นทาให้พระพิพัฒน์วชิโรภาส เจ้าอาวาสวัดวังอ้อ ตาบลหัวดอน อาเภอเข่ืองใน
จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับประกาศเกียรติคุณรางวัลชนะเลิศ จากนายสฤษดิ์ วิฑูรย์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัด
อุบลราชธานี ประเภทผู้นาทางศาสนา เป็นบุคคลต้นแบบปลูกผักสวนครัวสร้างความม่ันคงทางอาหาร ซึ่งเป็นการ
น้อมนาพระราชดาริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สร้างความมนั่ คงทางอาหาร สู่แผนปฏิบตั กิ าร ๙๐ วัน เมอ่ื วันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

ผลงานโดดเด่นทาให้พระพิพัฒน์วชิโรภาส เจ้าอาวาสวัดวังอ้อ ตาบลหัวดอน อาเภอเขื่องใน
จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับโล่รางวัลเชิดชูเกียรติ จากพลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ด้านเป็นผู้ดาเนินกิจกรรมน้อมนาพระราชดาริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี สร้างความม่ันคงทางอาหาร สู่แผนปฏิบัติการ ๙๐ วัน ปลูกผักสวนครัวสร้างความมั่นคงทางอาหาร
ประเภทผนู้ าทางศาสนา ท่ีมผี ลงานเป็นที่ประจักษแ์ กส่ าธารณชน เม่อื วันที่ ๓๐ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

ผลงานโดดเด่นด้านการนาศาสตร์พระราชา “โคก หนอง นา” มาเขียนเปน็ ตาราลงบนแผ่นดิน
โดยได้มีการขับเคล่ือนโครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่
“โคก หนอง นา โมเดล” ร่วมกับกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย มีการฝึกอบรมครูกระบวนการ
ครูประจาวิชา ครูพาทา และตั้งเป็นศูนย์ฝึกอบรมในจังหวัดอุบลราชธานี จานวน ๔ ศูนย์ฝึกอบรม คือ

๒๒

๑. ศูนยฝ์ ึกอบรมวัดป่าศรีแสงธรรม อาเภอโขงเจียม ๒. ศูนย์ฝึกอบรมวัดภูอานนท์ อาเภอโขงเจียม ๓. ศูนย์ฝึกอบรมสารภี
อาเภอสว่างวีระวงศ์ ๔. ศูนย์ฝึกอบรมบ้านดอนหมู อาเภอตระการพืชผล และให้การฝึกอบรมกลุ่มเป้าหมาย
จานวน ๓,๙๐๐ คน ในพ้ืนทจี่ งั หวัดอบุ ลราชธานี มผี ู้เข้าอบรมรุ่นละ ๑๐๐ คน รุน่ ละ ๕ วนั

กระทรวงมหาดไทย ไดน้ าแนวคิด กระบวนการดาเนินงาน ไปสานข่าย ขยายผล ในพ้ืนท่ีโคก หนอง นา
ท่ัวประเทศ รวมท้ังนายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ได้แต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาปลัดกระทรวงมหาดไทย
เมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เพื่อช่วยขับเคลื่อนโครงการต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับภารกิจด้านสาธารณสงเคราะห์
และภารกจิ ของหนว่ ยอบรมประชาชนประจาตาบล (อ.ป.ต.)

ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔
- ขับเคลื่อนโครงการเขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง SEDZ ด้วยโมเดลเขตเศรษฐกิจใหม่
ของกระทรวงมหาดไทย ในพื้นทีจ่ ังหวดั อบุ ลราชธานี
- ขับเคล่ือนโครงการศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดอุบลราชธานี ของกระทรวงมหาดไทย
ในพนื้ ทจี่ ังหวดั อบุ ลราชธานี ตง้ั แตว่ ันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕
- ขับเคลื่อนโครงการขจัดความยากจนพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างย่ังยืนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตามนโยบายของกระทรวงมหาดไทย
- ขับเคลื่อนโครงการไฟฟ้าเพื่อการเกษตรบ้านวังอ้อ ๒ เส้นทางงบประมาณ ๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท
จากการไฟฟา้ ส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) โดยพี่นอ้ งประชาชนกวา่ ๑๐๐ ครวั เรอื นได้รบั ประโยชน์
- ขับเคลือ่ นโครงการสรา้ งถนนคอนกรตี วังออ้ - นายาง งบประมาณจาก อบจ.อุบลราชธานี
กระบวนกำรทำงำน

ศูนยพ์ ทุ ธธรรมสมเด็จพระมหาธีราจารย์ ป่าดงใหญ่วังอ้อ เป็นหน่วยอบรมประชาชนประจาตาบล (อ.ป.ต.)
ตาบลหัวดอน อาเภอเข่ืองใน จังหวัดอุบลราชธานี เขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค ๑๐ ภายใต้โครงการสร้างโอกาส
และบูรณาการสร้างสังคมดี เศรษฐกิจดี และส่ิงแวดล้อมดี ตามแนวสุขภาวะเชิงพุทธ โดยมีกระบวนการการดาเนินงาน
แบบมสี ่วนรว่ ม สามารถแบง่ ออกเปน็ ๖ ขนั้ ตอน ดงั นี้

๒๓

๑. จบั มอื กันใหด้ ี - ทาบนั ทึกความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานบ้านวัดโรงเรียน ราชการ พฒั นาชมุ ชน
๒. สร้างหลกั สูตรนาวถิ ี - ทีเ่ หมาะกับคน กบั งาน บรบิ ทภูมิสงั คม ขนบธรรมเนยี มวัฒนธรรม
๓. รวบรวมรี้พล - ท่เี ป็นทุนทางสังคม อาทิ พระ, ครู, คลัง, ช่าง, หมอ, พ่อแม่, เด็กเยาวชน
ท่หี วั ไวใจสู้
๔. ฝึกฝนกาลังหลัก - ฝึกให้เป็นครูกระบวนการ, ครูประจาวิชา, ครูพาทา, ครูนาผล,
ครูสอื่ สารมวลชน
๕. ใช้ศาสตร์การเปลี่ยนแปลง - หลักศีลธรรมในทางพระพุทธศาสนา, ศาสตร์พระราชา,
หลกั ภูมิปญั ญาท้องถนิ่
๖. ร่วมแรง ร่วมใจ ทุกภาคส่วน
“บวร” บ้าน วัด โรงเรียนและราชการ ร่วมกันป้องกัน
ปัญหา แก้ไขปัญหา พัฒนาคุณภาพชีวิตคนในชุมชน
ทั้งด้านกายภาพ สังคม อารมณ์ สติปัญญา จิตใจ
ผ่านแผนงาน โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ตั้งแต่อดีต
จนถึงปจั จบุ นั
สรุปผลกำรขับเคล่ือนภำรกิจ MOU บทบำทในกำรเกื้อหนุนระหว่ำงวัดและชุมชนให้มีควำมสุข
อยำ่ งย่ังยืน
เจ้าประคุณสมเด็จพระมหาธีราจารย์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย และรองอธิการบดี สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือบทบาทในการเก้ือหนุน
ระหว่างวัดและชุมชนให้มีความสุขอย่างยั่งยืน มุ่งหนุนเสริม “เสาหลักของประเทศชาติ” คือ ชาติ ศาสนา
และมหากษัตริย์ ให้เป็นสถาบันหลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีความสุขอย่างย่ังยืน ในพื้นที่
๒๕ อาเภอ ของจังหวัดอบุ ลราชธานี ดว้ ยกจิ กรรมต่าง ๆ ดังน้ี
๑. กจิ กรรม ถนนสายวัฒนธรรม นาสู่ทาน ศลี ภาวนา และสาธารณสงเคราะห์
๒. กจิ กรรม ๑ ตาบล ๑ วัด ๑ คลงั ยาและอาหาร
๓. กจิ กรรมพลัง บวร จติ อาสาพัฒนาวดั และชุมชน
๔. กจิ กรรมพฒั นาวัดและชุมชนดว้ ยหลัก ๕ ส

๒๔

๕.๒ โครงกำรพระรำชทำน “โคก หนอง นำ แห่งนำ้ ใจ และควำมหวัง” ณ วดั ปำ่ ศรแี สงธรรม

วดั ปำ่ ศรแี สงธรรม (โรงเรียนศรแี สงธรรม) หรอื อีกชอ่ื วัดเสียดายแดด (โรงเรียนเสยี ดายแดด)
ต้ังอยู่ท่ีบ้านดงดิบ หมู่ท่ี ๕ ตาบลห้วยยาง อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เป็นวัดสาขา

ของหลวงปู่ศรี หาวิโร หรือพระเทพวิสุทธิมงคล เจ้าอาวาสวัดประชาคมวนาราม (วัดป่ากุง) อาเภอศรีสมเด็จ
จงั หวดั รอ้ ยเอด็

พระปัญญาวชิรโมลี (พระครูวิมลปัญญาคุณ) เป็นท่ีรู้จักในวงกว้างว่าเป็น “พระนักพัฒนา”
จากการทเ่ี ปน็ ผกู้ ่อตงั้ โรงเรยี นศรีแสงธรรม หรอื “โรงเรียนเสียดายแดด” เพราะพระปัญญาวชิรโมลี ได้นาความรู้
ที่ได้จากการศึกษาโซลาร์เซลล์มาต่อยอดเป็นพลังงานทดแทนไว้ใช้ในโรงเรียน และสร้างระบบ Smart Farm,
รถเข็นนอนนา (สถานีไฟฟ้าเคล่ือนที่), รถไฟฟ้า Ev Car จากแผงโซลาร์เซลล์ เป็นต้น จนทาให้ลูกศิษย์บางคน
ต้งั ฉายาใหพ้ ระครูว่า “พระเสียดายแดด” และ “พระครูโซลารเ์ ซลล์

โดยพ้ืนที่ ๒๐ ไร่ ของวัดป่าศรีแสงธรรม นั้น มีพ้ืนที่แปลงนา เพื่อให้โรงเรียนศรีแสงธรรม ใช้เป็น
แปลงนาสาธิตให้นักเรียนรู้จักวิชาดานาและเก่ียวข้าวเอง จนได้ผลผลิตข้าวเปลือกมาเป็นอาหารกลางวัน
ปจั จบุ ันไดป้ รับเปลย่ี นพืน้ ท่ใี ห้เปน็ แปลงสาธิตโคก หนอง นา และได้รบั พระบรมราชานุญาตให้ใช้ช่ือโครงการว่า
“โครงการพระราชทาน โคก หนอง นา แหง่ น้าใจ และความหวงั ” วัดปา่ ศรีแสงธรรม และพระราชทานทุนทรัพย์
ส่วนพระองค์ มาสนับสนุนสร้างศาลาปฏิบัติธรรม ช่ือ ศาลาปฏิบัติธรรมโคก หนอง นา ณ วัดป่าศรีแสงธรรมเพื่อถวาย
เปน็ พุทธบชู าและเป็นการสืบทอดบวรพุทธศาสนาด้วย

วัดป่าศรีแสงธรรมและโรงเรียนศรีแสงธรรม จึงเป็นท้ังศาสนสถานและสถาบันการศึกษา
ที่มีวิวัฒนาการทางการพัฒนามาตั้งแต่อดีตจนกระท่ังถึงปัจจุบัน นับได้ว่าเป็นสถาบันที่มีโครงสร้างและหน้าท่ี
เกื้อกูลให้เกิดภารกิจแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยา ในการแก้ปัญหาภัยแล้ง ลดปัญหาความอดอยากหิวโหย
หรืออาจกล่าวได้ว่ามีผลสัมฤทธ์ิและผลผลิตท่ีเกิดจากการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาสู่
การปฏิบตั ิจนเกดิ ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลให้แก่สังคมในทุกมติ ิ

จึงอาจกล่าวได้ว่าโรงเรียนศรีแสงธรรม มีวัดป่าศรีแสงธรรมเป็นสถาบันหลักของการพัฒนา
ท่ีเป็นต้นแบบในการพัฒนาชุมชนและสังคมเพื่อให้เกิดความยั่งยืน ดังท่ีหลายหน่วยงานได้เข้ามาศึกษาดูงาน
และประสานเครือข่ายความร่วมมือ แม้ว่าจะเป็นหน่วยงานหรือองค์กรชุมชน ต่างได้นาแนวทางของการประยุกต์
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การประยุกต์ใช้ โดยเฉพาะการพัฒนาคนโดยมีแบบแผนการปรับปรุงกายภาพ

๒๕

ของครัวเรือนไทยในชนบทให้เป็นผู้บริหารจัดการที่ดีและเป็นผู้ถ่ายทอดอย่างมีประสิทธิภาพ จนเกิด “ชุมชนเพื่อ
การจัดการตนเอง” ในดา้ นพลังงานและสามารถลดปัญหาของชุมชนในทุก ๆ ด้าน สง่ ผลใหค้ ณุ ภาพชวี ิตของพลเมอื งไทย
สามารถฟนั ฝา่ อุปสรรคและวิกฤตการณ์ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) และภาวะเศรษฐกิจถดถอยลง
ไดอ้ ย่างเป็นรปู ธรรม ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้รับงบประมาณจากงบพัฒนาจังหวัดโดยสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด
อุบลราชธานี ร่วมดาเนนิ การบรู ณาการในการพัฒนาพน้ื ท่ีวา่ งให้เป็นศูนย์เรยี นรู้ในรปู แบบ “โคก หนอง นา โมเดล”

ทงั้ นี้ วัดป่าศรแี สงธรรม ยงั เป็นสถานที่สาหรับฝึกอบรมตามโครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา พช.” จังหวัดอุบลราชธานี กิจกรรมที่ ๑ ฝึกอบรม
เพ่ิมทักษะระยะส้ันการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา จานวน ๑๑ รุ่น และมีฐาน
การเรียนรู้ตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ จานวน ๑๐ ฐาน ประกอบด้วย ๑. ฐานคนมีไฟ ๒. ฐานคนมีน้ายา
๓. ฐานคนเอาถ่าน ๔. ฐานรักษ์แม่ธรณี ๕. ฐานรักษ์แม่โพสพ ๖. ฐานคนรักษ์สุขภาพ ๗. ฐานคนรักษ์ดิน
๘. ฐานคนรักษป์ า่ ๙. ฐานคนรักษ์นา้ ๑๐. ฐานคนั นาทองคา

นอกจากน้ัน ในพ้ืนที่วัดป่าศรีแสงธรรมยังได้ดาเนินโครงการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิตตามหลัก ตามหลักทฤษฎีใหม่ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ประยุกต์สู่
“โคก หนอง นา พช." งบพฒั นาจังหวดั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ บนพ้ืนท่ี ๕ ไร่ ปจั จุบนั ได้ดาเนินการ
เสรจ็ สน้ิ แล้ว ถือเปน็ แหลง่ เรยี นรู้การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
ให้กับประชาชนที่สนใจสามารถเข้ามาเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี โดยวัดป่าศรีแสงธรรมได้ขยายผลเพื่อต่อยอด
การดาเนินโครงการฯ โดยการพัฒนาพ้ืนที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์ ในรูปแบบ "โคก หนอง นา พช."
เพ่ิมอีกในเน้ือท่ี ๑๕ ไร่ รวมเป็น ๒๐ ไร่ เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้เเละฝึกปฏิบัติในสถานท่ีจริงแก่ผู้ที่สนใจในการทา
"โคก หนอง นา" ถือเป็นความร่วมมือในการพัฒนาชุมชนโดยใช้หลัก “บวร” เป็นกลไกพัฒนาและสร้างชุมชน
ใหเ้ ขม้ แขง็ ก่อให้เกิดเศรษฐกจิ ฐานรากที่มน่ั คงชมุ ชนสามารถพ่ึงพาตนเองได้อยา่ งแท้จริงต่อไป

ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ วัดป่าศรีแสงธรรม ยังเป็นพ้ืนที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
(Community Lab Model for quality of life: CLM) ขุดแปลงโคก หนอง นา เพิ่มอีก ๑๕ ไร่ ได้รับการสนับสนุน
จากกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ดาเนินการขุดโดยหน่วยพัฒนาการเคล่ือนท่ี ๕๑ สานักงาน
พัฒนาภาค ๕ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย เกิดเป็นโครงการพัฒนาแบบร่วมมือกัน
ตามหลัก “บวร” คือ บ้าน วัด โรงเรียนและราชการ โดยในพื้นที่รอบบ่อมีการปลูกไม้ผลและพืชผักสวนครัวสลับกัน
ไป สว่ นคลองไส้ไก่หรอื ท่อี ย่ใู นพนื้ ทรี่ ม่ บางสว่ นปลูกพชื สมุนไพรพน้ื บา้ นและสมุนไพรที่จาเป็น

โคก หนอง นา วัดปา่ ศรแี สงธรรม มีการนาเทคโนโลยีสมยั ใหม่มาต่อยอดลงในแปลงอันเป็นผล
จากการจัดการเรียนการสอนภายในห้องเรียนที่โดดเด่นในเรื่องพลังงานแสงอาทิตย์ และยังได้มีการใช้ระบบ
การควบคมุ ส่ังการผา่ นมอื ถอื เข้ามาช่วยเพื่อลดค่าใช้จ่ายในแปลง เช่น จ้างคนดูแลรดน้าต้นไม้ในหน้าแล้งวันละ
๓๐๐ บาท ๕ คนเดือนละ ๓๐,๐๐๐ บาท หากวางระบบท่อ วางระบบโซลาร์เซลล์ และใช้โปรแกรมควบคุม
ส่ังการอตั โนมัตดิ ้วยความชื้นในดินหรือใช้การต้ังเวลามาเปิด - ปิดน้า ก็จะช่วยทาให้ประหยัดน้า ซ่ึงการทาโคก
ควรอยู่ที่สูง ถ้าปลูกป่าแล้วต้นไม้ต้องการน้า เราขุดหนองก็อยู่ที่ต่า หากจะวางคลองไส้ไก่เข้าไปให้ความชุ่มชื้น
ปริมาณน้าย่อมไม่เพียงพอ เรามีความรู้อยู่แล้ว เพราะเด็กนักเรียนของเราสามารถต่อปั๊มน้า เขียนโปรแกรมได้
เพียงแตส่ นบั สนุนอปุ กรณก์ ็ย่อมจะเป็นการต่อยอดเกษตรกรให้เปน็ Smart farmer ขึ้นไปอีกขนั้

๒๖

“ศรแี สงธรรมโมเดล” ต่อยอดควำมสำเร็จ “โคก หนอง นำ โมเดล” ตำมหลกั “บวร”
เพ่อื เป็นตน้ แบบระดบั ประเทศ

วัดป่าศรีแสงธรรม บ้านดงดิบ หมู่ท่ี ๕ ตาบลห้วยยาง อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
ตัวอย่างการพฒั นากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกจิ พอเพียง รูปแบบ “โคก หนอง นำ โมเดล” และ “ศรีแสงธรรมโมเดล”
โดยได้รับความเมตตาจากพระปัญญาวชิรโมลี เจ้าอาวาสวัดป่าศรีแสงธรรม ที่ปรึกษาปลัดกระทรวงมหาดไทย
พระนักพัฒนาท่ีร่วมมือและเสียสละการดาเนินงานมาโดยตลอดตามหลัก “บวร” หรือ บ้าน วัด โรงเรียน
และราชการ รวมถึงสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดอุบลราชธานี ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี
เพื่อยกระดับศรีแสงธรรมโมเดล ให้กลายเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ แนวทางการพัฒนาอย่างย่ังยืน
ตามศาสตร์พระราชาบนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขับเคล่ือนพลัง “บวร” และยกระดับคุณภาพชีวิต
ของคนในทกุ ช่วงวยั โดยมอี งคป์ ระกอบทีส่ าคัญ ไดแ้ ก่

๑. ระบบไฟฟา้ ๓ เฟส รับผิดชอบโดยการไฟฟา้ ส่วนภมู ิภาค (กฟภ.)
๒. บุคลากรผเู้ ชี่ยวชาญด้านหลักสูตร รบั ผดิ ชอบโดยกรมการพัฒนาชุมชน
๓. ถนนภายในวดั ปา่ ศรีแสงธรรม รบั ผิดชอบโดยกรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิ่น
๔. โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่
“โคก หนอง นำ โมเดล” รับผดิ ชอบโดยกรมการพัฒนาชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน และสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดอุบลราชธานี ได้จัดทาหลักสูตร
สาหรับกิจกรรมฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ “โคก หนอง นำ
โมเดล” และ“ศรีแสงธรรมโมเดล” จนมีหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม นอกเหนือจากการหลักสูตรการฝึกอบรม
โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นำ โมเดล”
ของกรมการพัฒนาชุมชน และมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ
ซง่ึ ประกอบดว้ ย การนาองค์ความรู้จากฐานการอบรม
เกษตรกรโครงการ “โคก หนอง นำ โมเดล” มา
ต่อยอดเป็นวิชาเรียนให้นักเรียนในระดับมัธยมศึกษา
ปีที่ ๑ – ๖ ได้เรียน เพ่ือให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต
ตามบรบิ ทของชมุ ชน ไดแ้ ก่
๑. วชิ ารักษ์ป่า : เนื้อหาเกี่ยวกับ
ความสาคญั และคุณคา่ ของปา่ ๕ ระดับ
๒. วิชารักษ์ดิน : เนื้อหาเก่ียวกับ ความสาคัญขององค์ประกอบและประเภทของดิน
ปญั หาของดนิ การห่มดนิ รวมถงึ การผลิตปยุ๋ โบกาฉิ และปุ๋ยหมักไมพ่ ลกิ กลับกองปุ๋ย
๓. วิชาคนรักษ์น้า : เน้ือหาเกี่ยวกับทฤษฎีน้า การกักเก็บน้า การรักษาความชื้นในดิน
การบาบดั น้าเสยี ในรูปแบบตา่ ง ๆ
๔. วชิ าโซลาร์เซลล์ระดบั มธั ยมต้น
๕. วิชาโซลาร์เซลล์ระดบั มัธยมปลาย

๒๗

๖. วิชารักษ์สขุ ภาพ : เนอื้ หาเก่ียวกับความรู้ในเรื่องพืชสมุนไพรในท้องถ่ิน การใช้ประโยชน์
วธิ กี ารเกบ็ รกั ษา การแปรรูป รวมถึงแนวทางการนาพืชสมุนไพรไปใช้ในการป้องกันหรือรักษาโรค และการนาเสนอ
ผลงานทางวชิ าการ ซง่ึ คณะดาเนินกิจกรรมฯ จะจดั ทารายวชิ าทง้ั หมดนใี้ นรูปของหนังสือเรียน และจะมอบให้กับ
นกั เรียนโรงเรยี นวัดปา่ ศรแี สงธรรมทกุ คน ไว้ใช้ศึกษาต่อไป

นอกจากนี้ยังได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายภาคราชการ เอกชน และวิชาการ ได้แก่
สานกั งานพัฒนาชุมชนจังหวดั อุบลราชธานี บริษทั ประชารัฐรกั สามคั คีอุบลราชธานี (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จากัด
และ คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้ลงพื้นท่ีเพื่อติดตามความก้าวหน้า
โครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
และวางแผนการขับเคล่ือนแนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพอเพียงด้วยโมเดลเศรษฐกิจใหม่ Sufficiency
Economy Development Zones for Sustainable Development Goals (SEDZ for SDGs) ณ วัดป่าศรีแสงธรรม
ทั้งน้ี ไดร้ ับความเมตตาจากพระปัญญาวชริ โมลี เจ้าอาวาสวดั ป่าศรีแสงธรรม ที่ปรึกษาปลัดกระทรวงมหาดไทย
พระนักพัฒนาทีไ่ ดร้ ว่ มขบั เคลื่อนงานพัฒนาชุมชนท้องถิ่นมาโดยตลอดตามหลัก "บวร" หรือ บ้าน วัด โรงเรียน
และราชการ รวมไปถึงผู้ใหญ่บ้านดงดิบ หมู่ท่ี ๕ และสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง ได้ร่วมดาเนินการ
วางแผนการขับเคล่ือนโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่
“โคก หนอง นา โมเดล” แปลงศูนย์เรียนรู้ระดับตาบล (Community Lab Model for quality of Life: CLM)
รวมไปถึงโครงการพระราชทาน “โคก หนอง นา แห่งน้าใจและความหวัง” และฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ ยกตัวอย่าง
เช่น ฐานการเรียนรู้ตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ การทาเกษตรแบบเพอร์มาคัลเจอร์ ปุ๋ยโบกาฉิแบบไม่กลับกองปุ๋ย
พลังงานแสงอาทิตยห์ รือโซลาร์เซลล์ ในพนื้ ท่วี ัดและโรงเรียน

กิจกรรมและแผนผังฐานการเรียนรู้ ตลอดจนส่ือประชาสัมพันธ์การเรียนรู้ ทั้งในรูปแบบ
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษท่ีจะส่ือสารให้หน่วยงานและบุคคลท่ัวไปได้รับรู้ มีความสนใจที่จะมาเรียนรู้ในพ้ืนที่แห่งนี้
นอกจากนั้นโดยกรมการพัฒนาชุมชน ได้จัดทาการถอดบทเรียนและสร้างหลักสูตรเรียนรู้ “ศรีแสงธรรมโมเดล”
หรือ “โคกอีโด่ยวัลเลย์” แห่งนี้ ซึ่งในอนาคตจะเป็นศูนย์การเรียนรู้โครงการขับเคล่ือนแนวทางการพัฒนา
เขตเศรษฐกิจพอเพียงหรือ (SEDZ) ด้วยโมเดลเศรษฐกิจใหม่ เพื่อจะเป็นจุดนาร่องและเป็นต้นแบบของการดาเนินงาน
ในระดับประเทศอีกด้วย

ในการนี้ พระปัญญาวชิรโมลี เจ้าอาวาสวัดป่าศรีแสงธรรม ท่ีปรึกษาปลัดกระทรวงมหาดไทย
ไดเ้ มตตาให้ความรเู้ พม่ิ เติมว่า ในส่วนของโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” และต่อยอดความสาเร็จในการนาผลผลิตมาสู่โครงการขับเคล่ือนแนวทาง
การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพอเพียง (SEDZ) ด้วยโมเดลเศรษฐกิจใหม่ ซ่ึงกระทรวงมหาดไทย มุ่งเน้นท่ีจะพัฒนาคน
พัฒนาศักยภาพและฟ้ืนฟูป่าและสิ่งแวดล้อม เช่ือมโยงกับวาระแห่งชาติเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ
เศรษฐกิจหมุนเวียนและเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy: BCG) ท้ังในด้านการเกษตร การแปรรูป
และการท่องเที่ยว ตามแต่ละบริบทของพื้นที่ โดยมีภาครัฐช่วยลงทุน ส่วนผู้เข้าร่วมโครงการมีหน้าท่ีลงแรง
และภาควิชาการมีหน้าท่ีส่งเสริมองค์ความรู้และสนับสนุนการดาเนินงาน จึงต้องประสานความร่วมมือกัน
อย่างจริงจัง เพื่อประโยชน์สุขของพ่ีน้องประชาชน ตามแนวพระราชดาริของในหลวงรัชกาลที่ ๙ และสืบสาน
รกั ษา ต่อยอด ตามพระราชปณธิ าณของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว

๒๘

“วัดป่าศรีแสงธรรม” หรือ โคกอีโด่ยวัลเลย์ ถือเป็นจุดท่ี กรมการพัฒนาชุมชน โดยสานักงาน
พัฒนาชุมชนจังหวัดอุบลราชธานี ใช้เป็นสถานท่ีดาเนินการฝึกอบรมโครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิต ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา พช.” กิจกรรมท่ี ๑ การฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะส้ัน
การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ โคก หนอง นา รวมทั้งสิ้น ๑๑ รุ่น และเป็นพื้นท่ีดาเนิน
โครงการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา พช.”
แปลงศูนย์เรียนรู้ระดับตาบล (Community Lab Model for quality of Life : CLM) พ้ืนท่ี ๑๕ ไร่ ภาคีเครือข่าย
ทุกภาคส่วนได้มาร่วมกันดาเนินกิจกรรมจิตอาสาเอามื้อสามัคคี ร่วมกันขุดหลุมปลูกป่า ๕ ระดับ
ปลูกต้นไม้ ๓ อย่างประโยชน์ ๔ อย่าง ตลอดจนห่มฟางบารุงดิน ให้ดินเล้ียงพืช ประโยชน์ของการการปลูกป่า

๕ ระดับ เป็นการสร้างความมั่นคงทางอาหาร
เปน็ แหลง่ เรยี นร้ชู มุ ชนสอนให้คนมีอยู่มีกินไม่ต้อง
ด้ิ น ร น ไ ป เ ส่ี ย ง โ ช ค ใ น เ มื อ ง ใ ห ญ่ ทิ้ ง ไ ร่ ท้ิ ง น า
ไปหาเงนิ ส่งมาให้ครอบครัวหรือบางคนทิ้งลูกไว้ให้
คนแก่เลี้ยงท่ีบ้าน ความเหินห่างทางครอบครัว
ย่อมไม่มีความอบอุ่น แต่ถ้าทาโคก หนอง นา
ก็มีเว ลาพลิก ผืน แ ผ่น ดิน ใ ห้เ ป็น ท อ ง คา
นาทรัพยากรของเราท่ีได้รับมรดกตกทอด
มาเป็นพ้ืนฐ าน โ ครงการพระราช ทาน
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระองค์มีพระราชประสงค์ให้ชาวบ้านอยู่ดีกินดีมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น
พระองค์สนพระทัยศึกษา และทดลองด้วยพระองค์เอง เพื่อสืบสาน รักษา และต่อยอด ตามแนวในหลวงรัชกาลท่ี ๙
ทท่ี รงทุ่มเทเพ่ือพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด ในปัจจุบันน้ีจะได้เห็นภาพ เห็นดอกผลเกิดข้ึนด้วย “โคก หนอง นา โมเดล”
โดยมีข้ันตอนประกอบด้วย การทาหนอง และหลุมขนมครกกระจายไปท่ัวทั้งบริเวณ เป็นการจัดการน้า
ตามพระราชดาริ เช่น แก้มลิงเพ่ือแก้ไขปัญหาน้าท่วมถูกประยุกต์มาใช้ในการเกษตรเพ่ือแก้ปัญหาน้าแล้ง
คือการกักเก็บน้าไว้ใช้นอกฤดูฝน มีระบบคลองส่งน้าและการกระจายความชุ่มชื้นด้วยคลองไส้ไก่ แต่เมื่อนามาใช้
กบั การเกษตรมีเทคโนโลยีพลังงานคือ โซลาร์เซลล์มาทาให้ลดแรงงานคน ลดเวลาในการบารุงรักษาต้นไม้ปลูกใหม่
และการบริหารจัดการระบบด้วย Internet of Things: IoT ถือเป็นเกษตรอัจฉริยะหรือจะเรียกว่าเป็นการต่อยอด
ดังเช่น ต้นมะม่วงในพระมหาชนก ให้เป็น “Smart farmer”

ปจั จยั แหง่ ควำมสำเรจ็ “วัดป่ำศรีแสงธรรม” ทใี่ ช้ขบั เคลอ่ื นเป็นพน้ื ทตี่ ้นแบบโคก หนอง นา โมเดล
จังหวัดอบุ ลราชธานี มี ๒ ประการ คอื

๑. ผนู้ ำบริหำรงำนตำมสถำนกำรณ์และทำใหเ้ ห็นผลลพั ธ์ปรำกฏเปน็ ท่ีประจกั ษ์
พระปัญญาวชิรโมลี เจ้าอาวาสวัดป่าศรีแสงธรรม เป็นผู้นาท่ีมีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีทักษะ

ความรู้และความสามารถในการพัฒนาชมุ ชนให้มคี ุณภาพชวี ิตทดี่ ีอย่างพอเพยี ง เชน่ ทา่ นเล็งเห็นถึงความสาคัญ
ของการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของนักเรียนในพื้นท่ีห่างไกล และต้องการให้เด็กท่ีสามารถเข้าเรียน
ในมหาวิทยาลัยได้ เป็นแรงบันดาลใจของคนในชุมชน จึงได้ก่อตั้งโรงเรียนวัดป่าศรีแสงธรรมด้วยเงินก้อนแรก
ท่ีได้มาจากการขายที่ดินซึ่งเป็นมรดกของครอบครัว ในขณะนั้น ได้ส่งหนังสือขอสนับสนุนงบประมาณ

๒๙

ในการก่อตั้งส่งไปยงั หลายหน่วยงานและบุคคล แต่ไม่ได้รับการตอบรับ แม้จะมีข้อจากัดเกิดขึ้น แต่ด้วยการลงมือทา
ด้วยความเพียร มีวิริยะ อุตสาหะ ไม่ว่างานเล็กงานใหญ่ มีใจเป็นประธานแห่งความมุ่งมั่นศรัทธา มีความขยัน
เอาใจใส่ คิดใคร่ครวญแล้วลงมือ ท่านจึงค่อย ๆ ขยายผลด้วยการนาความรู้ท่ีได้จากการศึกษาโซลาร์เซลล์
มาต่อยอดเป็นพลังงานทดแทนไว้ใช้ในโรงเรียน นอกจากนี้ ท่านยังนานวัตกรรมทางการเกษตรมาพัฒนาพ้ืนท่ี
ของวัด ทาเป็นแปลงนาสาธิตให้นักเรียนรู้จักวิชาดานา และเก่ียวข้าวเอง จนได้ผลผลิตมาเป็นอาหารกลางวัน
ส่งผลให้ได้รับความร่วมมือจากชุมชนในการพัฒนาพื้นที่ โดยนาความรู้จากหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาปรับใช้ ส่งเสริมการใช้พลังงานสะอาด นาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์มาช่วยในการทาการเกษตร
เพอ่ื เปน็ การลดตน้ ทนุ

๒. กำรพัฒนำคนพ้นื ฐำนตอ้ งมคี ุณธรรมและควำมรู้
การบริหารงานโดยยึดแนวทางการพัฒนา “คน” และพัฒนา “พ้ืนท่ี” ภายใต้หลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการเรียนรู้ท่ีหลากหลายรูปแบบ นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ม่ันคง ม่ังคั่ง
และย่ังยนื จนเกิดเป็นชุมชนต้นแบบ บุคคลต้นแบบข้ึนมากมาย ยกตัวอย่างชุมชนต้นแบบ - เกษตรกรต้นแบบ
โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นาโมเดล” และผสมแนวทางด้านทางธรรม
ได้แก่ การเอาคณุ ธรรมนาความรู้ โดยยึดหลักอทิ ธิบาท ๔ อยู่ในกรอบเศรษฐกิจพอเพียงตามหลักสัปปุริสธรรม ๗
ตลอดจนสร้างเสริมให้มีความมุ่งม่ัน ความเสียสละ และความเพียรให้ความรู้ด้านดิน น้า ลม ไฟ ป่า และคน
ออกแบบบทเรียนที่เป็นการบูรณาการท่ีเน้นการลงมือปฏิบัติจริง เพ่ือให้สามารถนาไปปรับใช้กับพื้นที่ของตน
หรอื การดาเนนิ งานในอนาคตได้ โดยใช้แนวทางนักเรยี น ๑ คน แกจ้ น ๑ ครอบครัวและยึดหลัก “ผู้ที่รักธรรมย่อมเจริญ
ผู้ชังธรรมย่อมเสื่อม” สร้างคนด้วยการให้ความรู้ควบคู่ท้ังทางโลกและทางธรรม รวมท้ังประสานความร่วมมือ
เพอ่ื ใหก้ ารบรหิ ารจดั การมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ข้ึน

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา “โคก หนอง นา โมเดล”ตามภารกิจการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลัก
ทฤษฎีใหม่ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” และการขับเคลื่อนแนวทางเขตพัฒนาด้วยโมเดลเศรษฐกิจใหม่
หรือ (SEDZ) เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เวลา ๐๘.๓๐ น. ณ วัดป่าศรีแสงธรรม บ้านดงดิบ หมู่ท่ี ๖
ตาบลห้วยยาง อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เป็นการขับเคลื่อนภารกิจเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” และการขับเคล่ือนแนวทางเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พอเพียงหรือ (SEDZ) ด้วยโมเดลเศรษฐกิจใหม่ และการขับเคล่ือนบทบาทการเก้ือหนุนระหว่างวัดและชุมชน
ให้มีความสุขอย่างย่ังยืนตามภารกิจ MOU ของปลัดกระทรวงมหาดไทย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั และคณะสงฆ์จังหวดั อุบลราชธานี โดยภารกจิ ประกอบดว้ ย ๔ กิจกรรม ดังนี้

๑. ถนนสายวัฒนธรรมนาส่สู าธารณสงเคราะห์
๒. กิจกรรมการทาถงั ขยะรกั ษโ์ ลก
๓. กจิ กรรมการทาป๋ยุ หมกั โบกาฉิ
๔. กิจกรรมการปลกู ปา่ แบบเพอรม์ าคลั เจอร์

๓๐
กจิ กรรมท่ี ๑ ถนนสายวัฒนธรรมนาสสู่ าธารณสงเคราะห์

กิจกรรมที่ ๒ การทาถังขยะรกั ษ์โลก

กิจกรรมที่ ๓ การทาปุย๋ หมักโบกาฉิ กิจกรรมที่ ๔ การปลูกปา่ แบบเพอร์มาคลั เจอร์

๓๑

๖. ปจั จัยแห่งควำมสำเร็จ

๖.๑ จังหวัดสร้างการรับรแู้ ละความเข้าใจร่วมกันกบั คณะสงฆ์ในพื้นที่ในการเช่ือมโยงและวิเคราะห์กิจการ
พระพุทธศาสนาตามภารกิจสงฆ์กับโครงการ/กิจกรรมของจังหวัดอุบลราชธานี โดยกาหนดวัตถุประสงค์
เปา้ หมายการดาเนนิ การ พ้ืนท่ีการขับเคล่ือน ขั้นตอนการขับเคลื่อนบทบาทเก้ือหนุนระหว่างวัด ชุมชน และราชการ
ใ น ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ ห้
มีความสุขอย่างย่ังยืน จังหวัดอุบลราชธานีจึงได้กาหนด
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนความร่วมมือบทบาท
เกื้อหนุนระหว่างวัดและชุมชนให้มีความสุขอย่าง
ย่ังยืน มุ่งหนุนเสริม “เสาหลักของประเทศชาติ”
คือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ให้เป็น
สถาบันหลกั ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
ให้มีความสุขอย่างยัง่ ยืน

๖.๒ ผู้บริหารของจังหวัดอุบลราชธานี อาทิ
ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั รองผู้วา่ ราชการจังหวัด ปลัดจังหวัด
ให้ความสาคัญในการปฏิบัติงานในพื้นที่ ทั้งยังดาเนินการ
ขับเคล่ือนบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรมด้วยการลงพื้นที่
กากับ ติดตาม และนาผลการขับเคล่ือนมาพิจารณา
ในระดบั จังหวดั ผา่ นคณะกรรมการอานวยการความร่วมมือ
ในการเก้ือหนุนระหว่างชุมชนให้มีความสุขอย่างย่ังยืน
นอกจากน้ียังแต่งตั้งคณะทางานประสานงาน ติดตาม
และประเมินผล การดาเนนิ การภายใต้ความรว่ มมือในการเกื้อหนุนระหว่างวัดและชุมชนให้มีความสุขอย่างย่ังยืน
ระดบั โซน คณะทางานระดับอาเภอ และคณะวิทยากรกลาง เพ่ือขับเคลื่อนบทบาทเกื้อหนุนระหว่างวัด ชุมชน
และราชการในการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของประชาชนให้มคี วามสุขอย่างยั่งยืน
๖.๓ จังหวัดอุบลราชธานีได้แต่งต้ังที่ปรึกษาคณะกรรมการกิตติมศักดิ์และท่ีปรึกษาคณะกรรมการ
ซึ่งมีส่วนสาคัญในการผลักดันการขับเคล่ือนภารกิจตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือบทบาทในการเกื้อหนุน
ระหว่างวัดและชุมชนให้มีความสุขอย่างยั่งยืนเป็นรูปธรรมเกิดผลลัพธ์แก่ประชาชน รวมทั้งส่วนราชการต่าง ๆ
ในจงั หวดั อาทิ ที่ทาการปกครองจังหวดั สานักงานจังหวัด สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด สานักงานโยธาธิการ
และผังเมอื งจังหวดั สานกั งานสง่ เสริมการปกครองท้องถ่ินจังหวัด สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด สานักงาน
ประชาสัมพันธ์จังหวัด สานักงานวัฒนธรรมจังหวัด สานักงานเกษตรจังหวัด สานักงานศึกษาธิการจังหวัด
สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ตลอดจนสถาบันการศึกษาในพื้นท่ีได้ร่วมเป็น
คณะกรรมการในระดบั จังหวัด ทาให้การกาหนดแนวทางการปฏิบัติงานในพ้ืนที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันส่งผลให้
การขบั เคลือ่ นภารกจิ ตาม MOU บรรลผุ ลสมั ฤทธ์ิ

๓๒

๖.๔ คณะสงฆ์จังหวัดอุบลราชธานีสามารถสร้าง
ความร่วมมือและเชิญชวนผู้นาชุมชน ชาวบ้าน ผู้บริหาร
สถานศึกษา ครู นักเรียน อาสาสมัครสาธารณสุขประจา
หมู่บ้าน รวมทั้งภาคีเครือข่ายมาจัดกิจกรรมร่วมกันตาม
แผนงาน/โครงการ ซ่ึงคณะสงฆ์เป็นผู้มีบทบาทสาคัญ
ใ น ก า ร พั ฒ น า พ้ื น ท่ี โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก ธ ร ร ม ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ กั บ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาประ ยุกต์สู่

“เขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง” ตลอดจนได้ดาเนินการ
ช่วยเหลือและพัฒนาสังคมทั้งด้านกายภาพและด้านจิตใจ
ให้กับประชาชน โดยนาองค์ความรู้ทางพระพุทธศาสนา
มาเป็นเครอื่ งมือในการขับเคล่ือนเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิต
พร้อมทั้งสนบั สนนุ การสรา้ งความต่นื ตวั ในการช่วยเหลอื สงั คม
การสงเคราะห์และการแบ่งปันเกื้อหนุน ระหว่างวัดกับชุมชน
ตลอดจนการเสียสละและการมีจิตอาสา เป็นต้นแบบพลัง
“บวร” บ้าน วดั โรงเรียนและราชการ ท่ีชัดเจน
๖.๕ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
และมหาวทิ ยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี ไดใ้ หก้ ารสนบั สนุนบุคลากรท่ีมอี งคค์ วามรเู้ ร่อื งเศรษฐกิจพอเพียงรูปแบบ
โคก หนอง นา เพ่ือช่วยเพิ่มทักษะการพัฒนา
กสิกรรมธรรมชาติ ตลอดจนให้คาปรึกษา แนะนา
และส่งเสริมความรู้ในการหาเล้ียงชีพตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ รวมทั้ง
ส นั บ ส นุ น ง า น ด้ า น วิ ช า ก า ร ใ น ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น
ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น พื้ น ที่ แ บ บ บู ร ณ า ก า ร ที่ มี
ประสิทธิภาพ ทาให้ประชาชนสามารถนาไป
ปรับใช้กับการดาเนินชีวิตในปัจจุบันตามภูมิสังคม
ของตนได้
๖.๖ การประสานงานและการบูรณาการ เป็นหัวใจสาคัญท่ีทาให้การขับเคลื่อนภารกิจตาม MOU
ประสบความสาเร็จ เน่ืองจากจังหวัดอุบลราชธานีสามารถประสานการทางานร่วมกับ ๗ ภาคีเครือข่ายได้
อยา่ งรวดเรว็ ไดแ้ ก่
๑) ภาคสื่อสารมวลชน อาทิ สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยจังหวัดอุบลราชธานี สถานีวิทยุ
กระจายเสียงแห่งประเทศไทยจงั หวดั อุบลราชธานี สถานวี ทิ ยุ อสมท. จงั หวดั อบุ ลราชธานี อมรนิ ทรท์ วี ี ช่อง ๓๔
๒) ภาควชิ าการ อาทิ มหาวทิ ยาลยั สถาบันการอาชวี ศึกษา โรงเรยี น
๓) ภาคประชาชน อาทิ ข้าราชการเกษียณ กลุม่ ผ้สู ูงอายุ กลมุ่ เยาวชน - เด็ก

๓๓

๔) ภาคศาสนา อาทิ พระสงฆ์ และวัดทีเ่ ข้าร่วม MOU มากกว่า ๒๑๒ วัด
๕) ภาคประชาสังคม อาทิ ปราชญช์ าวบา้ น กล่มุ จิตอาสา อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน
๖) ภาครัฐ อาทิ ข้าราชการฝ่ายปกครอง กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต ๒ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดอุบลราชธานี การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย
๗) ภาคเอกชน อาทิ บริษัทโรงสีข้าว ห้างหุ้นส่วนจากัด ข้าวโฮยเกลือสตูดิโอวิสาหกิจเพื่อชุมชน
บริษทั คโู บต้าเจรญิ ชัยอบุ ลราชธานี

๗. ขอ้ เสนอแนะ

๗.๑ ภาครัฐควรสร้างกลไกการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เก่ียวกับการดาเนินโครงการ/กิจกรรมและสื่อสาร
เชิงรุก (Proactive Communication) เพ่ือสร้างการรับรู้และความเข้าใจให้ตรงกัน เก่ียวกับข้อตกลงความร่วมมือ
บทบาทในการเกื้อหนุนระหว่างวัดและชุมชน ซึ่งให้วัดเป็นศูนย์กลางและเชิญพี่น้องประชาชนในชุมชนมารับทราบข้อมูล
โดยให้ทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมและรับทราบถึงวัตถุประสงค์ในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งรับรู้และเข้าใจ
ถึงประโยชน์ท่ีจะได้รับ ตลอดจนเชิญชวนให้ผู้สนใจเข้ามาร่วมกิจกรรมขับเคล่ือนในพ้ืนที่ เพื่อให้เกิดความร่วมมือ
กันอย่างย่ังยืนและสามารถขับเคล่ือนการปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งจะเป็นการมุ่งหนุนเสริม “เสาหลัก
ของประเทศชาติ” คือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ให้เป็นสถาบันหลักพัฒนาคุณภาพชีวิตของพี่น้องประชาชน
ให้มีความสุขอย่างย่ังยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

๗.๒ หมู่บ้าน/ชุมชนควรมีกลุ่มพลังจิตอาสาหรือจิตสาธารณะ ซ่ึงเป็นผู้มีจิตใจที่เสียสละและมีความตั้งใจ
มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตอันเป็นกุศลชอบช่วยเหลือสังคม เข้ามาร่วมสนับสนุนขับเคล่ือนการดาเนินงาน
ตามวัตถุประสงค์ของ MOU เพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะผู้ใหญ่บ้านและคณะกรรมการหมู่บ้าน
ซึ่งมีบทบาทสาคญั ในการขบั เคลอ่ื นและเป็นส่ือกลางระหวา่ งวัดกบั ชมุ ชน

๗.๓ สร้างกลไกส่งเสริมการทางานร่วมกัน โดยหน่วยงานภาครัฐควรเป็นแกนหลักในการระดมความร่วมมือ
จากทกุ ภาคเี ครือขา่ ยทเี่ ก่ยี วข้อง รวมทงั้ ประชาชนในชุมชนไดร้ ว่ มแรง รว่ มมือ รว่ มใจกัน ในการขับเคลื่อนการทางาน
โดยมีเป้าหมายอันเดียวกัน มีความรัก ความสามัคคีปรองดอง การเอื้ออาทรกัน การลดปัญหาความขัดแย้ง
ตลอดจนช่วยสนับสนุนปัจจัยท่ีจาเป็นให้แก่วัด เพราะวัดเป็นศูนย์กลางการขับเคลื่อนการดาเนินงานในชุมชน
ตามวัตถุประสงค์ของ MOU อาทิ เมล็ดพันธุ์ต้นกล้าพืชสมุนไพรที่ใช้ปลูกในกิจกรรมคลังยาและอาหาร
เครื่องจกั รและวสั ดอุ ปุ กรณท์ ีจ่ าเปน็ ตา่ ง ๆ เป็นตน้

๗.๔ จังหวัดควรมอบหมายหน่วยงานกลางที่เกี่ยวข้องให้รับผิดชอบ เพื่อวางระบบการรายงานติดตาม
ประเมินผลการดาเนินงานต้ังแต่ต้นน้า กลางน้า และปลายน้า ของโครงการ/กิจกรรมท่ีขับเคล่ือนตามวัตถุประสงค์
ของ MOU ในพ้ืนท่ีอาเภอ เพ่ือรับทราบถึงผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ในชุมชนรวมท้ังมีการวางระบบจัดทาฐานข้อมูลรายละเอียดเก่ียวกับวัดและชุมชน ที่เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อให้เกิด
การขับเคล่ือนอยา่ งต่อเน่ืองและยัง่ ยืน ซ่ึงจะช่วยทาให้พ่ีน้องประชาชนสามารถนากิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การปลูก
พืชสมนุ ไพร การปลูกพชื สวนครวั การทาปยุ๋ มาปรบั ใช้เพอื่ ยกระดับคณุ ภาพชีวติ ของตนเองและครอบครวั

๓๔

๗.๕ กิจกรรมและโครงการต่าง ๆ ที่ดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของMOU ชุมชนควรมีส่วนร่วมคิดร่วมทา
ต้ังแต่เริ่มต้น (Collaborative Thinking) เพ่ือให้สอดรับกับวิถีชีวิต ภูมิสังคม วัฒนธรรมประเพณีในท้องถ่ิน
ความตอ้ งการของประชาชนหรอื ชุมชนในแต่ละพ้ืนที่ เพราะจะเป็นประโยชน์สาหรับการใช้เป็นกรอบในการวิเคราะห์
กาหนดกิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงานให้เห็นภาพความเช่ือมโยงของกระบวนการทางานในลักษณะห่วงโซ่คุณค่า
(Value Chain) ซง่ึ จะเป็นประโยชน์ในการจัดทาแผนชุมชน (Bottoms up) แผนดาเนนิ งานขับเคลือ่ นในคร้งั ตอ่ ไป

๗.๖ ภาคีเครือข่ายในชุมชนควรมีการบูรณาการความร่วมมือ กาหนดเป้าหมายในทิศทางเดียวกัน
การพัฒนาร่วมกัน โดยมีการกาหนดพื้นที่การพัฒนาชุมชน เพื่อสร้างกระบวนการในรูปแบบการมีส่วนร่วม
ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมติดตาม ร่วมแก้ไขปัญหา และร่วมใช้ทรัพยากรในชุมชนอย่างยั่งยืนให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เพ่ือสร้างพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาสู่วิถีชีวิตที่สอดคล้องตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การพัฒนา
คุณภาพชวี ิตอยา่ งมัน่ คง มัง่ คั่ง และยง่ั ยืน

๗.๗ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่อยู่ในพื้นท่ีควรส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ
พร้อมทั้งเป็นผู้ประสานงานระหว่างคณะสงฆ์ ข้าราชการ ผู้นาชุมชน กานัน ผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัครทุกภาคี
ให้สามารถขับเคลื่อนกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ของ MOU เพ่ือสร้างเครือข่ายการพัฒนาชุมชนของตนเอง
สร้างความเข้มแข็งให้เกิดข้ึนจากภายในชุมชน และเสริมสร้างให้คนในชุมชนเกิดค่านิยมการสงเคราะห์
ช่วยเหลือเกอ้ื กูลกนั

๗.๘ สถาบันการศึกษา ได้แก่ โรงเรียน สถาบันอาชีวศึกษา และสถาบันอุดมศึกษาในพื้นท่ีควรให้ความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศาสตร์พระราชา ทฤษฎีใหม่ การออกแบบ โคก หนอง นา
เพื่อให้พี่น้องประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ได้รับทราบถึงองค์ความรู้ท่ีถูกต้องและประโยชน์จากการน้อมนาหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ปฏิบัติได้จริง ซ่ึงจะเป็นจุดเปล่ียนสาคัญ (Momentum for Change) ที่จะช่วยทาให้
พีน่ ้องประชาชนในพนื้ ทเี่ กดิ ความผาสุกอยดู่ ีกินดีตามวตั ถปุ ระสงค์ของ MOU

๗.๙ หน่วยงานภาคเอกชน อาทิ หอการค้าจังหวัด สภาอุตสาหกรรมจังหวัด ควรเข้ามามีบทบาท
ให้การสนับสนุนช่วยเหลือชุมชน เพ่ือส่งเสริมกลยุทธ์ทางการตลาดหรือช่องทางการจัดจาหน่ายสินค้าชุมชน
หรือผลิตภัณฑ์การแปรรูปจากชุมชน รวมทั้งเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดหา
สถานที่หรือช่องทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของชุมชนท่ีหลากหลาย ซ่ึงจะเป็นการสร้างรายได้เพ่ิมข้ึน
ใหแ้ ก่ชุมชน อกี ท้ังยงั เกิดการหมุนเวยี นของเศรษฐกจิ สร้างความเข้มแขง็ ใหเ้ กิดขึน้ ภายในชมุ ชน

๗.๑๐ พฒั นาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวในพน้ื ที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดอุบลราชธานี ให้เป็นสถานที่
ศกึ ษาดูงานต้นแบบและแหลง่ เรยี นรู้วถิ ีชีวิตชมุ ชนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยเป็นการท่องเท่ียว
เชิงนิเวศคานึงถึงความย่ังยืนของสิ่งแวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม ท้ังยังสามารถสร้างรายได้เป็นอาชีพเสริม
สนับสนุนอาชีพหลักหรือวิถีชีวิตดั้งเดิมของคนในชุมชน โดยที่ไม่เป็นการทาลายวิถีชีวิตดั้งเดิมหรือฐาน
ทรัพยากรของชุมชนที่มีอยู่ ซ่ึงจะก่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในท้องถิ่นเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ
ชุมชน เช่น จัดให้มีที่พักสาหรับนักท่องเท่ียว ร้านค้าอาหารที่เป็นผลผลิตในชุมชน ร้านค้าชุมชนจาหน่ายผลิตภัณฑ์
จากวัตถุดิบในพ้ืนท่ี ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Environmentally Friendly Products)
หรือผลิตภัณฑ์ที่ไม่ปนเป้ือนสารเคมีในกระบวนการผลิตและแปรรูป (Organic Products) สอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาทยี่ ั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ เปน็ ต้น

๓๕
*****************************************************************





๓๗





๓๘



๓๙


Click to View FlipBook Version