-๑-
นายอนันต์ อนนั ตกลู
ปลดั กระทรวงมหาดไทย
ครั้งท่ี ๑ ระหว่างวนั ที่ ๑๗ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๓ – ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๔
ครั้งที่ ๒ ระหวา่ งวนั ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๓๔ – ๓๐ กันยายน ๒๕๓๖
-๒-
๑. ขอ้ มูลประวัติ
คุณวุฒิทางการศึกษา (ประกาศนยี บตั ร/ปริญญา)
- รฐั ศาสตรบัณฑิต (เกียรตินยิ มดี) มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
- รฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย
สหรฐั อเมรกิ า
- ปรญิ ญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
- ปริญญานิติศาสตรดุษฎีบณั ฑิตกิตติมศักด์ิ มหาวิทยาลยั รามคาแหง
- ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาพัฒนศกึ ษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ
- ปริญญาดุษฎบี ณั ฑติ กิตตมิ ศกั ด์ิ สาขาวิชารฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา
- ศิลปศาสตรดุษฎบี ัณฑติ กติ ติมศกั ด์ิ สาขาพฒั นาองค์การ มหาวิทยาลยั
เจา้ พระยา
- ประกาศนยี บัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รนุ่ ที่ ๑๙
- ประกาศนยี บัตรการฝึกอบรมวิทยากร มหาวิทยาลัยเซาเทิร์น
แคลิฟอร์เนีย สหรฐั อเมรกิ า
-๓-
ตาแหน่งสาคญั ในราชการ :
- ผู้ว่าราชการจังหวัด (ชยั ภูม,ิ สมทุ รปราการ)
- เลขาธิการสานักงานเรง่ รดั พฒั นาชนบท
- รองปลัดกระทรวงมหาดไทย/ผตู้ รวจราชการกระทรวงมหาดไทย
- ผอู้ านวยศนู ย์อานวยการบรหิ ารจังหวัดชายแดนภาคใต้
พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๒๘
- เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
- ปลัดกระทรวงมหาดไทย
เกียรตคิ ณุ :
- เครอื่ งราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ชา้ งเผอื ก
- เคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ มหาวชริ มงกุฎ
- เหรียญรตั นาภรณ์ ชนั้ ๓
- เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณ์ ทตุ ยิ จุลจอมเกล้าวเิ ศษ
- ศิษยเ์ กา่ ดีเด่น มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
- รางวลั นักบรหิ ารข้าราชการพลเรอื นดีเดน่ “ครุฑทองคา”
- นายกสภามหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๔๓
- นายกสภามหาวิทยาลัยบรู พา, ๒๕๔๒-๒๕๔๓
- ราชบณั ฑิต สาขาวิชา : ประเภทวิชาสังคมศาสตร์ สาขาวิชา
รฐั ศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สานักธรรมศาสตร์และการเมือง
(๑๓ ก.ย. ๖๐ - ปจั จุบนั )
-๔-
๒. ผลงานท่ีภาคภูมใิ จในชว่ งการปฏิบัตริ าชการ
๒.๑ โครงการ “การจัดตั้งสถาบันดา รงราชา นุภาพ” เพื่อให้
กระทรวงมหาดไทยสามารถกาหนดยทุ ธศาสตร์ให้สอดคล้องกับการบริหาร
ราชการแผ่นดิน และให้บุคลากรของกระทรวงมหาดไทยประพฤติ ปฏิบัติ
ตน อยใู่ นหลกั ทศพิธราชธรรมและหลักธรรมาภิบาล ได้รับการพัฒนา
ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ทัศนคติ ในการปฏิบัติราชการ
อย่างตอ่ เนือ่ ง ใหข้ า้ ราชการมศี ักยภาพเปน็ เลศิ ในการบริหารราชการ และ
การพฒั นาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ นาพาประเทศชาติ ใหม้ ีความเจริญก้าวหน้า
ผมจึงให้ความสาคญั ต่อการพัฒนา “ข้าราชการมหาดไทย” โดยเน้นการพัฒนา
ด้านความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ทศั นคติ และภาวะผู้นา จึงได้ คิด
รเิ รมิ่ จดั ต้งั “สถาบนั ดารงราชานภุ าพ” ให้เปน็ หน่วยงานกลางที่ทาหน้าท่ี
ในการกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ
กระทรวงมหาดไทย รวมท้งั ประสานการพฒั นาบุคลากรของส่วนราชการ
และรฐั วสิ าหกจิ ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย สา มารถดาเนินการพัฒนา
บุคลากรในทกุ ระดับ โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูงได้ศึกษาวิจัย กาหนด
ยทุ ธศาสตรใ์ นการบรหิ ารราชการ นอกจากน้ียังทาหน้าท่ี ให้คาปรึกษา
เสนอแนะขอ้ คดิ เหน็ ในการพัฒนาโครงสร้างการจัดองค์กร การกาหนด
อานาจหนา้ ทข่ี องหนว่ ยงาน และระบบบรหิ าร
สาหรับช่ือ “สถาบันดารงราชานุภาพ” เป็นพระนามของ
สมเดจ็ พระเจา้ พระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ องค์ปฐม
-๕-
เสนา บดีกร ะทรวงมหา ดไทย ซึ่งกระทรวงมหาดไทยได้รับพร ะบร ม
ราชานญุ าต จากพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ ให้ใช้เป็นชื่อ
สถาบันแห่งนี้ในโอกาสท่ีกระทรวงมหาดไทย ได้สถาปนา ครบ ๑๐๐ ปี
ในวนั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๕ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้า
พร ะบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพที่ได้ทรงวา งรา กฐา น
การบรหิ ารและการปกครองอันเป็นประโยชน์แก่กระทรวงมหาดไทย
และประเทศชาติไว้เป็นอเนกประการ
๒.๒ โครงการ “การจัดต้ังศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงมหาดไทย ”
เพอื่ ให้กระทรวงมหาดไทย มีหน่วยงานผู้รับผิดชอบหลักในการติดตาม
ประเมินสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อความม่ันคงภายใน ไม่ว่าจะเป็น
ปญั หาความเดือดร้อนของประชาชน การเดินขบวนประท้วงมาเรียกร้อง
รฐั บาล ปัญหายาเสพติด ปญั หาสาธารณภัยและการก่อความไม่สงบ โดย
ผนึกกาลงั ระหว่างเจา้ หน้าทท่ี เี่ ก่ยี วข้องในดา้ นการข่าว ความมั่นคง ระบบ
ข้อมูลข่าวสา รการประชา สัมพัน ธ์ การ สื่อสา ร และกา รสนับสนุน
ร่วมปฏบิ ตั ิงานใน “ศูนยป์ ฏิบัตกิ ารกระทรวงมหาดไทย”
๒.๓ โคร งกา ร “การสร้า งสันติสุข และความสงบให้เกิดขึ้น
ในชายแดนภาคใต้” ผมไดร้ บั มอบหมายจาก ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
นายกรฐั มนตรี ขณะน้นั ใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทผี่ ้อู านวยการศนู ย์อานวยการบริหาร
จังหวดั ชายแดนภาคใต้ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ในขณะทีด่ ารงตาแหน่งประจา
กระทรวงมหาดไทย จนถงึ ปี พ.ศ. ๒๕๒๖ จึงไดร้ บั แต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง
-๖-
รองปลดั กระทรวงมหาดไทย และได้รับมอบหมายงานฝ่ายกิจการพิเศษ
ใหด้ ารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ด้วย เพื่อสรา้ งสันติสขุ และความสงบสุขใหก้ ับพน้ื ท่ีชายแดนภาคใต้
ให้เกิดข้ึน โดยผ่านการสรา้ งการมีส่วนร่วมและความเขา้ ใจรว่ มกัน ระหว่าง
ภาคส่วนตา่ ง ๆ ในพนื้ ท่ที ัง้ ภาครัฐ เอกชน ผู้นาศาสนา ประชาชน และ
มวลชน เพื่อแกไ้ ขปัญหาทั้งดา้ นความม่ันคง สังคม และเศรษฐกจิ
๒.๔ โครงการ “การปรับปรุงพัฒนาระบบบริหารราชการแนวใหม่
นาไปสู่การกาหนดยุทธศาสตร์พฒั นาจงั หวัด” ผมมองวา่ ปญั หาการทางาน
ของกระทรวงมหาดไทย ทีผ่ า่ นมาพบว่าการกาหนดยุทธศาสตร์และการ
วางแผนแบบบูรณาการ การทางานของแตล่ ะกรม แต่ละจังหวดั ต่างคนตา่ งทา
มลี ักษณะการทางานทยี่ ดึ ตัวบุคคลขาดนโยบายและเปา้ หมายท่ชี ัดเจน ดงั นน้ั
ผมจงึ จาเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงและแก้ไขระบบการบริหารเพราะ
การบริหารราชการท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ ต้องมีการกาหนดยุทธศาสตร์โดยใช้
แผนเป็นเครือ่ งมอื และมเี ปา้ หมายท่ชี ัดเจน ตลอดจนมีการบูรณาการแผน
ในแต่ละระดับเพื่อใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติราชการ ประกอบกับ
นาระบบการบรหิ ารแนวใหม่โดยใชแ้ ผนและนโยบายเปน็ เครือ่ งมือนามาใช้
ในการ ปรับปรุงการปฏิบัติงาน กา รปรับปรุงโคร งสร้า งสา นักงา น
ปลดั กระทรวงมหาดไทย และปรบั ปรุงระบบการวางแผนการพฒั นาจังหวัด
เพอื่ ให้ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สามารถบรหิ ารพฒั นาจังหวัด ได้อย่างคล่องตัว
และเช่อื มโยงระบบข้อมูลระดับจังหวัดกับกระทรวงมหาดไทย โดยใช้
-๗-
แผนยุทธศาสตร์ในการพฒั นาจงั หวดั ซงึ่ เป็นแผนทช่ี แี้ นวทางของการพัฒนา
จงั หวดั และให้ทุกหน่วยงานทุกองค์กรท่ีตั้งในจังหวัดร่วมกันคิดพัฒนา
ศักยภาพ เพ่อื กาหนดทิศทางพัฒนาจังหวดั ให้สอดคล้องกับความต้องกา ร
ของประชาชนในพื้นที่และทอ้ งถ่นิ
๒.๕ ผมได้คดิ กาหนดรูปแบบวิธีการทางานต่าง ๆ เพื่อสนับสนุน
กา ร ปฏิบัติงาน อาทิ จัดตั้งศูน ย์อา น วย กา รและศูน ย์ปฏิบัติกา ร
กระทรวงมหาดไทย การจดั ระบบศูนยข์ ้อมูลเพือ่ การตดั สินใจของผู้บริหาร
การปรับปรงุ ระบบการวางแผนพฒั นาจังหวัด เพ่ือให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
บริหา ร กา ร พัฒน า จังหวัดได้อย่า งคล่องตัวและ มีปร ะสิทธิภา พ
การเช่ือมโยงระบบข้อมลู ระดบั จงั หวัดกับกระทรวงมหาดไทย การจัดตั้ง
ศูนย์บริการ ข่าวสารมหาดไทย การประชุมในห้องกาแฟทุกเช้าหรือ
Morning Briefing ก็ถือเป็นวิธีการลดขั้นตอนของการทางานท่ีได้ผลดี
อกี วธิ ีหน่ึง เพราะเป็นเวทที สี่ ง่ ผา่ นความคดิ เห็นและเป็นท่ีปรับทัศนคติของ
คนมหาดไทยใหเ้ ป็นไปในทิศทางท่เี หมาะสม
๓. เทคนิคที่ใช้ใ นการบริหารจัดการและการแก้ไขปัญหาที่ประสบ
ความสาเร็จหลักคิดในการทางาน
“ความผาสกุ ของประชาชนนนั้ มีส่ิงที่ต้องคานึง ๓ เรอื่ งด้วยกนั คอื
หนงึ่ ตอ้ งเรียนรวู้ ่าประชาชนตอ้ งการอะไร
สองตอ้ งเรียนรูว้ า่ ประชาชนคาดหวังอะไรจากเรา
สามเราตอ้ งตอบคาถามได้ว่าเราจะต้องทาอะไรเพ่ือประชาชน”
-๘-
การเป็นนกั ปกครองและนักบริหารในปัจจุบัน ต้องเป่ียมไปด้วย
ความรู้ ความสามารถ ความมุง่ มั่นในการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่รี บั ผดิ ชอบอยา่ งแท้จริง
โดยมีเปา้ หมายอย่ทู ี่ความผาสกุ ของประชาชนและประโยชน์ส่วนรวมของ
ปร ะเทศชาติ มีควา มกร ะตือรือร้น ที่จ ะปรับปรุงพัฒนา งา น ของ
กระทรวงมหาดไทยโดยตลอดไม่ว่าจะอยู่ในฐานะหน้าที่ความผิดชอบใน
ตาแหน่งใด มโี ลกทศั น์กวา้ งไกล และมีความทนั สมยั ทันเหตกุ ารณ์ เป็นนิจ
มีแนวคดิ ทีเ่ ปน็ ระบบ ยอมรับและพยายามนาหลักวิชาการและเทคโนโลยี
สมัย ใหม่มาใช้ประโย ชน์ใน กา รปฏิบัติงา นอย่า งมีปร ะสิทธิผล และ
ประสิทธิภา พ ให้ควา มสาคัญกับการพัฒนาคน ซ่ึงผมได้ปฏิบัติเป็น
แบบอย่างและพยายามถ่ายทอด ปลูกฝังแนวความคิดในเรื่องต่าง ๆ
อย่างเปน็ ระบบต่อเน่อื งกอปรดว้ ย หลกั การ วิธกี าร และคุณลักษณะต่าง ๆ
ทีเ่ ปน็ ประโยชน์อย่างยิ่งต่อคนมหาดไทยและราชการโดยส่วนรวมด้วย
ความตระหนักในคณุ ค่าและประโยชน์ดังกลา่ ว
แนวทางความคดิ ในการปฏบิ ัตงิ านตามสไตล์ของผม ได้แก่
๑. แนวความคดิ ดา้ นการเมือง
๒. แนวความคิดด้านการปกครอง
๓. แนวความคดิ ดา้ นการบริหาร
๔. แนวความคิดด้านการประชาสมั พันธ์
แนวทางทีม่ ีความสาคัญตอ่ แนวความคิดและความมุง่ มน่ั ในการทางาน
ของผม ก็คือ เปา้ หมายหรอื จุดหมาย จงึ กล่าวได้วา่ เป้าหมายท่ีผมยึดถือมา
-๙-
โดยตลอดในการทางาน และมคี วามเก่ียวขอ้ งอยา่ งสาคัญต่อแนวความคิด
ในด้านต่าง ๆ คือ ความผาสกุ ของประชาชน และประโยชน์ของทางราชการ
ความเจริญก้าวหนา้ ของประเทศ
ดงั ที่ผมไดเ้ คยกล่าวกบั ผูว้ ่าราชการจังหวัดท่ีได้รับการแต่งตั้งใหม่
ในเรื่องเกีย่ วกับเป้าหมายในการทางาน ดงั นี้
“ผมคดิ ว่าเมือ่ เราได้กาหนดเป้าหมาย คือ ความเจริญของ
ประเทศ ความผาสกุ ของประชาชนการรักษาสถาบันของกระทรวงมหาดไทย..
ทัศนคติเกา่ ท่ีเคยคิดว่าจะทางานเป็นกิจกรรม หรือถือเอาภารกิจของกรมเปน็
หลกั นนั้ คงตอ้ งมีการเปล่ียนแปลงเป็นผู้รับผิดชอบร่วมกัน การทางาน
ก็ตอ้ งถือเอาเปา้ หมายเป็นหลักและความสาเร็จ ของเป้าหมายไม่ใช่เป็น
กิจกรรม กิจกรรมนั้นต้องพิสูจน์ให้ได้ว่าเป็นการสนับสนุนเป้าหมา ย
เหลา่ นน้ั ”
หรือที่ได้เคยกล่าวมอบแนวทา งปฏิบัติรา ชการให้แก่ผู้บริหา ร
ระดบั สูงและผ้วู ่าราชการจังหวัด วา่
“ใหผ้ ู้ว่าราชการจังหวัดทาความเข้าใจต่อส่วนราชการใน
จังหวดั วา่ เปา้ หมายหรือจดุ สุดท้ายของการบริหารงานในระดับจังหวัด
คือ ความผาสุกของประชาชน ความสาเรจ็ ของส่วนราชการตามโครงการ
เปน็ เพยี งเครอื่ งมือเท่านั้น ถ้าเรามีเป้าหมายตรงนี้ร่วมกันทุกอย่างก็ไม่
ขัดกัน”
- ๑๐ -
๓.๑ เป้าหมายเกย่ี วกับความผาสกุ ของประชาชน
ความมุง่ มน่ั ในการทางานของผม จึงมจี ุดหมายปลายทางหรือ
ผลสาเรจ็ ของงานอยู่ทผี่ ลความสาเรจ็ ทบ่ี ังเกิดแก่ประชาชนจริง ๆ การท่ี
ผมคานึงถงึ ประโยชนข์ องประชาชน ลกั ษณะของการทางานก็จะเป็นการ
“ทาให้” ประชาชนเปน็ หลกั ไมใ่ ช่ “ทาเอา” เป็นการทางานเพื่อขจัดความทุกข์
ของประชาชนให้หมดไป พร้อมท้ังทาให้ประชาชนมีความผาสุก มิใช่ให้
ประโยชนน์ ้ันเกดิ เฉพาะข้าราชการผู้ทาซง่ึ เป็นคนทาเอาดังเช่นท่ีผมไดก้ ล่าวไว้ว่า :
“ผมได้ตัดสินใจแน่วแน่ในกา รที่จะบริหาร งาน ให้เป็น
ปร ะโย ชน์ต่อพ่ีน้องปร ะชา ชนให้มากที่สุดเท่า ที่จ ะทาได้ ภา ย ใต้
ความร่วมมือของข้าราชการท้ังกระทรวง และนอกจากน้ันยังอาสาเป็น
ตัวกลางทจ่ี ะประสานกบั ส่วนราชการอ่ืนทั้งในระดับข้างเคียง ระดับล่าง
และระดบั สงู ”
และขอ้ ความที่ยืนยันอีกตอนหนง่ึ คอื
“ผมมีความสุขกับการทางานให้สาเร็จ ความสุขของคน
มหี ลายอยา่ ง ผมแกไ้ ขปัญหาให้ราษฎรได้ ผมมคี วามสขุ ”
เปา้ หมายดังกลา่ วข้างตน้ นอกจากผมจะยึดม่ันและถือปฏิบัติ
เองแล้ว ยงั ไดพ้ ยายามผลักดนั ให้คนมหาดไทยและขา้ ราชการทั่วไปยึดเป็น
หลักในการทางานร่วมกันด้วย โดยผมยังได้ย้าถึงเร่ืองน้ีเสมอในกา ร
มอบโอวาทและแนวทางปฏบิ ตั ิราชการ ดงั น้ี
- ๑๑ -
“ถ้าพจิ ารณาภาพเป็นส่วนรวม จะเห็นว่ากระทรวงมหาดไทย
ทางานเพ่อื ความพอใจของประชาชน สนองตอบต่อความต้องการของ
ประชาชน ซ่งึ เปน็ ไปตามระบอบประชาธิปไตย ส่วนการทางานต้องมีแผนนั้น
แผนเปน็ เพียงเครื่องมือหรือวิธีการ (Means) ในการทางานเป็นวิธีการ
เท่าน้ัน แตเ่ ปา้ หมายใหญ่คอื ความพอใจของประชาชน”
๓.๒ เป้าหมายเกี่ยวกบั ประโยชนข์ องทางราชการและความเจริญก้าวหนา้
ของประเทศ
นอกจากเปา้ หมายหลักในการทางานเพื่อประโยชน์สุขของ
ประชาชนแลว้ เป้าหมายท่สี าคัญ อกี ประการหนง่ึ ทผ่ี มเนน้ ยา้ และถือว่าเปน็
เป้า หมา ย ร่วมกั น ของข้า ร า ชก า ร ฝ่า ย ปกคร อ งทุกคน ด้วย ก็คื อ
ความเจริญก้าวหนา้ หรอื ประโยชนส์ ว่ นรวมของประเทศชาติ จุดมุ่งหมาย
หรือเป้าหมายสาคัญน้ี โดยแท้จริงแลว้ นา่ จะเป็นภาระหน้าท่ีของบุคลากร
ทุกหมู่เหล่าในสังคมไทยด้วย ที่จะต้องช่วยกันปฏิบัติงาน ตามหน้า ท่ี
ความรับผิดชอบของตนเพือ่ ชว่ ยให้ประเทศชาติบรรลุถึงเป้าหมายนี้ด้วย
ดังเช่นทีผ่ มได้กล่าวถึงเปา้ หมายนีก้ ับผวู้ า่ ราชการจงั หวดั
“ทา่ นท้ังหลายตอ้ งเชอ่ื ม่ันว่า การเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด
เปน็ ผทู้ ี่ตอ้ งยนื หยัดตอ่ สู้กบั ความไม่เป็นธรรม รักษาทรัพยากรธรรมชาติ
ส่งิ แวดล้อมได้ รักษาสมบตั ิสาธารณชนได้ รักษาตวั บทกฎหมายได้ ตอ้ งแก้ไข
ปญั หาท่ีเป็นทุกข์ของราษฎรได้”
- ๑๒ -
“ขอให้ท่านศึกษา และยึดม่ันในสิ่งที่ผมเรียนไปแล้วว่า
ให้ยดึ หลกั ประโยชนร์ าชการและประโยชน์ของประชาชน”
๑ แนวความคดิ ดา้ นการเมือง
ผมเป็นข้าร าชการประจาผู้หน่ึงท่ีประพฤติปฏิบัติ
อย่ใู นกรอบและครรลองของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์เป็นประมุข เป็นผู้ที่ยึดมั่นในอุดมการณ์และวิถีทา ง
ประชาธิปไตย ท้ังน้ี ด้วยการมีเป้าหมายในการทางานโดยคานึงถึง
ความต้องการ แ ละป ร ะโย ชน์สุข ข องป ร ะชา ชน ซึ่ งเป็น พ้ืน ฐา น กา ร เมือง
การ ปกครองระบอบปร ะชา ธิปไตย และกา รย อมรับและใช้วิถีทา ง
ประชาธิปไตยเป็นหลักและแนวทางในการปฏบิ ัติงาน
แนวความคดิ ทางการเมอื งของผมคิดว่า ในปัจจุบัน
เราเดนิ ทางในแนวทางทีถ่ ูกต้อง คือเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนมีสทิ ธิเสรภี าพใน
การใช้อานาจปกครองตนเอง และความเห็นเก่ียวกับการมีส่วนร่วมใน
ครรลองของประชาธิปไตย
“ประชาธปิ ไตยน้ันทุกคนเสมอภาคกัน และอานาจ
ทีม่ าใช้ปกครองประชาชนต้องเป็นของประชาชน มาจากประชาชน และ
โดยประชาชน การมีส่วนรว่ มนนั้ เปน็ วิถีประชาธิปไตยอย่างหนึ่ง”
การ ยอมรับและยึดถือใน วิถีทางประชาธิปไตย
ของทา่ นปรากฏให้เหน็ จากรูปแบบวิธีการทางานของท่านท่ีถือหลักการ
ร่วมคดิ รว่ มทาและรว่ มรับผิดชอบ ซ่ึงเป็นวิถีทางประชาธิปไตยที่สาคัญ
- ๑๓ -
ปรากฏในหลักการทางานท่ไี ดม้ อบใหข้ า้ ราชการมหาดไทยยึดเป็นแนวทาง
ปฏบิ ตั ิ ๕ ประการ ดังน้ี คือ
(๑) ยึดหลกั การเขา้ ไปมีสว่ นรว่ มกบั ประชาชน
(๒) ถือองคก์ รประชาชนเป็นหลกั
(๓) รว่ มมือกบั องคก์ รเอกชนและภาคเอกชน
(๔) ใช้หลักประชาธปิ ไตย
(๕) ผนึกกาลังระหวา่ งหนว่ ยราชการ
ผมพย า ย า มผลั กดัน ให้ ข้า ร า ช กา ร มห า ดไท ย
ปรบั เปล่ียนวิธกี ารทางานโดยเปิดรับต่อกระแสความเปล่ียนแปลงของ
เศรษฐกจิ สังคมและการเมอื ง ที่มงุ่ ไปในทิศทางที่ยอมรับความต่ืนตัวของ
ประชาชนที่ต้องการมีส่วนร่วมในการปกครองตนเองมากยงิ่ ขน้ึ
ในฐานะทก่ี ระทรวงมหาดไทยเกี่ยวข้องโดยตรงกับ
การเมืองการปกครอง โดยมีภารกจิ สาคัญในการส่งเสริมและพัฒนาการเมือง
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขและการ
บรหิ ารงานเลือกตง้ั ให้เปน็ ไปด้วยความบริสุทธ์ิยุติธรรม ผมได้ตระหนักถึง
ความสาคญั ของการเลอื กต้ัง ซึง่ จะมสี ่วนสาคัญต่อความสาเร็จหรือความ
ล้มเหลวของการปกครองระบอบประชาธิปไตย เพื่อให้ได้มาซ่ึงผู้แทน
ปวงชน ท่ีมีคุณภา พและมีคุณธรร ม ผมเคย ได้มอบหลักกา ร สา คัญ
ใหข้ ้าราชการมหาดไทยพยายามดาเนนิ การ คือ
- ๑๔ -
๑. ๑ การส่ง เสริม ใ ห้คนดีมีคุณธรรม เสียสล ะ
และเหน็ ประโยชนแ์ ก่ชาติบา้ นเมอื ง ได้มีโอกาสท่จี ะเขา้ มารับใช้ประชาชน
โดยผา่ นระบบการเลอื กตง้ั
เนอื่ งจากการเลอื กตั้งเป็นกระบวนการที่สาคัญ
ที่เปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนใช้สิทธเิ ลอื กผ้แู ทนเพอ่ื ไปใช้อานาจอธิปไตยแทน
ประชาชน การใช้สิทธิและโอกาสดังกล่าวของประชาชนจะสัมฤทธ์ิ ผล
ในทางทเี่ ป็นคณุ ตอ่ ระบอบประชาธิปไตยหรือไม่ ข้าราชการมหาดไทย
ผู้มีสว่ นเกี่ยวข้องในการดาเนินการเลือกตั้งจึงมีส่วนสาคัญเช่นเดียวกัน
ผมไดย้ า้ ถึงบทบาทหน้าทด่ี งั กล่าวไว้ ดังน้ี
“งานเลือกต้ังอยู่ในความรับผิดชอบของท่าน
มีผลให้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็น
ประมุข รวมทัง้ การทจี่ ะแสดงใหพ้ ่นี อ้ งประชาชนได้เห็นว่าการปกครองใน
ระบอบน้ี จะสามารถแก้ไขปัญหาของชาติบ้านเมืองได้ด้วยการยอมรับ
ของพ่ีน้องประชาชนทั่วท้ังประเทศไม่ให้มีจดุ อ่อน ทห่ี น่งึ ทใี่ ด... อย่าให้ใคร
มาตาหนติ เิ ตยี นว่าการเลอื กต้งั ทน่ี ั่นทีน่ ไี้ ม่ถูก การเลือกตั้งท่ีนี้มีการซ้ือเสียงมาก
...มีคนใช้อานาจข่มข.ู่ .. เจ้าหน้าทรี่ ัฐไปเปน็ เครื่องมือหรอื ไปสนับสนุนผู้ใด...
การเลือกตง้ั ไม่บริสุทธ์ิยุติธรรมน้ัน หมายถึง สภาจะเกิดการอลเวงขึ้น
ท่านคงตอ้ งยอมรับแล้วว่า ปฏกิ ิรยิ าของประชาชนทม่ี ตี อ่ เร่อื งน้ีนั้นค่อนข้าง
จะรนุ แรง” และขอ้ ความอกี ตอนหนึง่ ทว่ี ่า :
- ๑๕ -
“ผมได้ตระหนกั ถึงความสาคัญอันเป็นกรณีพิเศษ...
มคี วามสาคญั อยา่ งยิง่ เราตอ้ งรบั ผดิ ชอบท้ังกระบวนการและผล แต่เดิมเรา
บอกว่า ส.ส. เปน็ ผลิตผลของสังคม แต่ว่าเดี๋ยวน้ีจะต้องถือเสียว่าเราคือ
คนหนึง่ ของสงั คมนน้ั ๆ แลว้ เราเป็นคนสาคญั คงจะตอ้ งไปร่วมรับผิดชอบ”
นอกจ ากน้ัน ผมยังขอร้องต่อคน มหา ดไทยทั้งหลา ย ให้ยึดม่ัน ใน
ความยุตธิ รรม และการสง่ เสรมิ คนดี ดังท่ีผมกล่าววา่ :
“หัวใจของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ไมว่ า่ จะเป็นของทอ้ งถนิ่ หรือของระดบั ใด เราคงต้องยึดหลักความบริสุทธิ์
ยตุ ิธรรม... สิง่ ท่ีเราจะตอ้ งชว่ ยกนั ก็คอื การสง่ เสรมิ ให้คนดีมีคุณธรรม คนท่ี
เสียสละ คนทีเ่ หน็ แกป่ ระโยชน์ของชาตบิ า้ นเมืองได้มโี อกาสในการท่จี ะเข้ามา
รับใช้โดยผ่านระบบการเลือกตั้ง ” และให้ ปฏิบัติตามอานาจ หน้า ท่ี
อยา่ งแทจ้ รงิ เพื่อประโยชนข์ องชาตโิ ดยส่วนรวม คอื
“สิ่งท่ีเราต้องจัดการกันให้เด็ดขาดลงไปก็คือ
การป้องกนั การเลอื กต้ังทไ่ี ม่ชอบด้วยกฎหมาย คือการทจุ รติ หรือการใช้เงิน
ให้ได้มาซึ่งความเปน็ ผแู้ ทน ซงึ่ ถ้าเป็นเช่นนี้แล้วเราก็จะได้ผู้แทนที่ลงทุน
ดว้ ยเงนิ และเข้ามาโดยไม่ถูกต้องตามทานองคลองธรรม เม่ือเป็นเช่นนี้
ถึงแม้จะมีเพียงส่วนหนึ่งหรือไม่มาก แต่ก็สามารถจะทาให้ระบบของ
ประชาธปิ ไตยเสียหาย”
๑. ๒ กา ร ใ ห้ค ว า ม รู้ ใ ห้ กา ร ศึ กษ า เ ก่ีย ว กั บ
ประชาธิปไตย และการใช้สิทธิเลือกตง้ั ท่ีถกู ต้องแก่ประชาชน
- ๑๖ -
นอกจากการอานวยความสะดวกใหป้ ระชาชนไป
ใช้สทิ ธิใหม้ ากท่ีสดุ แลว้ คนมหาดไทยจะต้องช่วยกันขจัดปัญหาเก่ียวกับ
การซ้ือสิทธิขายเสียงและการใชอ้ ิทธพิ ลข่มข่ปู ระชาชนใหใ้ ชส้ ิทธิโดยวิธีการ
ตา่ ง ๆ แต่ที่สาคัญท่ีสุดก็คือ การให้ความรู้สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง
แกป่ ระชาชน เพอ่ื ใหเ้ หน็ ความสาคัญของการใช้สิทธิ ใช้เสียงในระบอบ
ประชาธปิ ไตย ดงั ที่ผมไดเ้ คยกลา่ วในเร่ืองนี้ไว้ว่า
“คาว่าใช้สิทธิมากอย่างเดียวคงไม่พอ ต้องให้
ถูกต้องคือ กา รให้การศึกษา ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ ทาทุกอย่า ง
ใหม้ นั งา่ ยอยา่ ใหม้ ันยาก อย่าทาให้ยงุ่ ” และผมได้เคยกล่าวถงึ การแกป้ ัญหา
เก่ยี วกับการซือ้ สทิ ธิ ขายเสยี งวา่ :
“ผมคิดว่า ใน อุดมกา รณ์น้ัน ป้องกัน ได้ โดย
จะต้องทาให้ประชาชน อยู่ดีกินดี ให้ความรู้ในเร่ืองของระบอบกา ร
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย โดยฝกึ ฝนกันมาตง้ั แต่หมบู่ ้าน ตาบล”
ภารกิจเกี่ยวกับการเลือกต้ังจึงมิได้สิ้นสุดหรือ
สาเร็จผลเพียงแต่การดาเนินการเลือกตั้งให้เป็นไปด้วย ความบริสุทธ์ิ
ยตุ ธิ รรม เท่านน้ั หากแตจ่ ะตอ้ งพิจารณาตอ่ เน่ืองไปถึงผลแห่งการใช้สิทธิ
เลอื กตงั้ ของประชาชนว่ามีการใช้สิทธิอย่างอิสระและมีความเข้าใจถึง
ความสาคัญของการเลอื กต้งั กับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยมาก
นอ้ ยเพียงใด
- ๑๗ -
“การที่ ข้ารา ช การ กระทร วง ม ห าดไท ย
จะทางานให้ดี จะทางานให้ถูกใจกับผู้คนนั้น คนมหาดไทยจะต้อง
รบั ผิดชอบ ในทุกเร่อื ง และเปน็ ความรับผิดชอบท่ตี ่อเนือ่ ง โดยไม่จาเป็นต้องบอก
วา่ ใครรบั ผิดชอบ แต่อยู่ทต่ี วั ระบบ ตัวสถาบนั มหาดไทย ภายใต้ปรัชญา
ของการบริหารราชการของเรา”
๒ แนวความคิดด้านการปกครอง
แนวความคิดของผมในด้านการปกครอง มีควา ม
สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายในการทางาน ทม่ี ุ่งประโยชน์สุขของประชาชนเป็น
หลัก ท้งั น้ี อาจสรุปได้จากความเห็นของผมที่ได้เคยกล่าว มอบแนวทาง
การปฏิบตั ิราชการใหแ้ ก่นักปกครองทัง้ หลายว่า :
“ความเป็นนักปกครองของท่านท้งั หลาย ถึงเวลาแล้ว
ทต่ี อ้ งมาทบทวนบทบาทวา่ ทา่ นจะเลอื กเปน็ ผปู้ กครองหรือผู้คุ้มครอง ท่ีใช้
คาว่าคุ้มครองเพอ่ื ให้ท่านเหน็ วา่ ขณะนี้ทา่ นตอ้ งค้มุ ครองไม่ใช่คนอย่างเดียว
ตอ้ งคุ้มครองทรพั ยากรธรรมชาติสง่ิ แวดล้อม คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครอง
สิทธิมนษุ ยชน ไม่ใชป่ ลอ่ ยให้ประชาชน ต้องทนทุกข์อยู่กับความยากจน
และเผชิญปัญหาหลายด้าน”
จากขอ้ ความข้างต้นจะเห็นได้ว่า ผมมีแนวความคิด
เก่ียวกับการปกครองที่แตกต่างไปจ ากภาพลักษณ์เดิมส่วน หนึ่งของ
การปกครองทเ่ี ปน็ ลกั ษณะของการเปน็ “ผู้ปกครอง” หรือเป็น “เจ้าคน
นายคน” “เปน็ เจ้าเป็นนายของประชาชน” ผมมิได้ปฏิเสธบทบาทของ
- ๑๘ -
นักปกครองที่มีมาแต่ดั้งเดิมที่บรรพบุรุษของกระทรวงมหาดไทยสืบทอด
แนวทางกันมาจนถงึ ปจั จุบัน แต่ผมไดช้ ใ้ี หเ้ หน็ ถงึ จดุ เด่นทสี่ าคัญของบทบาท
นักปกครองในอดีตท่ีชนรุ่นหลังควรถือเป็น แบบอย่า งพร้อมไปกับ
กา ร ปรับเปลี่ยน บทบาทบา งส่วน ให้เหมา ะสมและสอดคล้อง กับ
การเปล่ยี นแปลงสงั คม ดังน้ี
๒.๑ บทบาทในการทาหนา้ ทีแ่ ทนประชาชนและเป็น
ทีพ่ งึ่ ร่วมทกุ ข์รว่ มสขุ กับประชาชน
ความสาคัญของกร ะทร วงมหา ดไทย และ
คว า ม ภ า ค ภูมิใ จ ที่สืบ ท อด กัน ม า แ ต่ใ น อ ดีต ที่บรร พบุรุษของ
กระทรวงมหาดไทยไดส้ รา้ งสมต่อเน่ืองกันมา ก็เพราะการที่ นักปกครอง
ในอดตี ได้ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีด้วยการมีวญิ ญาณหรือจิตสานึกท่ีสาคัญคือ สานึก
ในการทาหนา้ ท่แี ทนประชาชน และการเป็นทพี่ ง่ึ ในการแกไ้ ขความทุกขร์ อ้ น
ของประชาชน ผมไดเ้ คยกล่าวไว้กับผู้ว่าราชการจังหวัดท่ัวประเทศ ว่า
“ในจังหวัด ในอาเภอ จะเห็นได้ว่า ประชาชน
หวังพ่ึงนายอาเภอ หวังพ่ึงผู้ว่าราชการจังหวัด การท่ีเขามาพ่ึงเพราะ
มีความเชื่อมั่นว่าท่านท้ังหลายเป็นผู้ที่รับผิดชอบในเรื่องการแก้ปัญหา
ความเดอื ดรอ้ นของพน่ี อ้ งประชาชน ใครมีทุกขก์ ็ตอ้ งมาหา พวกเราเป็นคน
ทร่ี ว่ มทุกขร์ ่วมสขุ กับเขาอยู่แล้ว นั่นเป็นวิญญาณที่แท้จริง เพราะฉะนั้น
ในส่วนหนง่ึ ทา่ นตอ้ งเป็นตัวแทนของประชาชน เห็นอะไรท่ีไม่ยุติธรรม เห็นอะไร
ทีไ่ ม่ถูกตอ้ ง อะไรทีเ่ ปน็ สมบตั ิของประชาชน เราต้องกา้ วออกมา มีผู้ว่าราชการ
- ๑๙ -
จงั หวดั ของเราหรือมรี องผู้ว่าราชการจังหวัดของเรา หรือมีนายอาเภอ
มีฝ่ายปกครองไปทาหน้าที่นี้อย่างดีย่ิง และในประวัติศาสตร์ท่ีพ่ีน้อง
ประชาชนยกย่องพนักงานฝ่ายปกครอง ยกย่องผู้ว่าราชการจังหวัดหรือ
นายอาเภอ ผมคิดว่าหน้าท่ีอันนี้เป็นหน้าท่ีทเ่ี ขาเกิดความเช่อื ถือ ศรัทธา
และไว้วางใจ”
๒.๒ บทบาทในการปกป้องคุม้ ครองประชาชน
การปกคร องในปัจ จุบันจึงเป็ นการดา รงบทบา ท
อันดีงามของนกั ปกครองในอดีต ท่ีเป็นตัวแทนและเป็นท่ีพึ่งของประชาชน
ควบคู่ไปกบั การปรับเปลย่ี นบทบาทหรือภาพลกั ษณท์ ี่ไม่เหมาะสมบางส่วน
ในอดตี ให้หมดไปและเพ่ิมเติมบทบาทที่สาคัญในการปกป้องคุ้มครอง
ประชาชนในด้านต่าง ๆ ดงั น้ี คือ
๒.๒.๑ การคุ้มครองคน ซึ่งหมายถึงการคุ้มครอง
สวสั ดภิ าพและความปลอดภัยในชีวิตทรัพยส์ นิ ของประชาชนท่ัวไป
๒.๒.๒ การค้มุ ครองทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม
เปน็ การรกั ษาประโยชน์สว่ นรวมของคนทัง้ ชาติ
๒.๒.๓ การคุ้มครองผู้บริโภคเป็นการคุ้มครอง
และแกไ้ ขปัญหาการเอารัดเอาเปรียบของคนในสงั คม
๒.๒.๔ การคมุ้ ครองสิทธมิ นุษยชนเป็น การ
สร้างหลกั ประกันมใิ ห้มกี ารละเมิดสิทธเิ สรีภาพในการดาเนนิ ชีวิตอย่างปกติ
สุขของคนในสังคม
- ๒๐ -
“เราตอ้ งทาตวั เองให้คนท้งั หลายไวว้ างใจ....
ในเรอื่ งความซื่อสตั ย์ ความสจุ ริต ความซอ่ื ตรงตอ่ หน้าท่ี....
ความถกู ต้องตามกฎหมาย ถูกตอ้ งในเนือ้ หา และเชอ่ื ม่นั ว่า
สง่ิ ที่ตดั สินใจทานัน้ เป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม”
นอกจากบทบาทท่ีสาคัญทั้ง ๒ ประการข้างต้น แล้ว
ผมไดเ้ คยใหแ้ นวคิดเก่ียวกับคณุ ธรรมของนกั ปกครองไว้ รวม ๔ ประการ คือ
๑. เป็นคน บริสุทธิ์ สุจริต ท้ังกา ย วาจา และใจ คือ
ไม่โลภอยากได้ทรัพย์สินของทางราชการและประชาชน มีแต่จิตใจ
ที่จะชว่ ยเหลอื ประชาชน
๒. มีปญั ญา และความรู้ ปญั ญาเหนอื ความรู้ คอื มองเห็น
ปญั หาและแกไ้ ขปัญหาได้
๓. มีเมตตา คือ การอยากชว่ ยผอู้ ืน่ ท่ตี กทุกข์ได้ยาก
๔. มคี วามอดทนตอ่ ความยากลาบาก
อย่างไรก็ตามส่งิ สาคัญที่ผมได้ย้าเสมอคือ ในปัจจุบันนี้
นกั ปกครองจะตอ้ งเพิ่มความเป็น “นกั บรหิ าร” ให้มากยิ่งขนึ้ โดยการทาความเข้าใจ
ในเรื่องระบบงานและเทคนิควิธีการบริหารงานสมัยใหม่ เพราะการท่ี
ผู้ว่าราชการจงั หวัดหรอื นายอาเภอจะรกั ษาสถาบันหรือความเป็นผู้นาหรือ
เปน็ ผ้รู บั ผดิ ชอบการบริหารงานในพ้ืนที่ได้ดีหรือไม่ จะมีองค์ประกอบ
ทสี่ าคัญ ๒ สิง่ คอื ความเปน็ นักบริหาร และความเป็นผู้ท่ีมีวิญญาณของ
นกั ปกครอง
- ๒๑ -
“งานราชการทพี่ วกเราทากนั มักมคี นเขา้ ใจว่าทากับกระดาษ
บรหิ ารกระดาษ เลยสนุกกับกระดาษกนั ใหญ่
แท้จรงิ การทางาน คอื การบรหิ ารคน ไม่ใชก่ ารบรหิ ารกระดาษ”
๓. แนวความคดิ ดา้ นการบรหิ าร
ผมเปน็ บุคคลหนึง่ ทีม่ คี วามคิดก้าวหนา้ และเป็นตวั แทน
ของนักปกครองยุคใหม่ที่ให้ความสาคัญกบั การบริหารเป็นอย่างย่ิง ผมให้
ความสนใจศึกษาเทคนิควิทยาการการบรหิ ารสมยั ใหม่ และนามาปรับใช้ ให้
บงั เกดิ ผลในการบริหารราชการอยู่เสมอ นอกจากน้ียังพยายามถ่ายทอด
หลักการ เทคนคิ วธิ ีการบริหารที่ผมไดน้ ามาใช้ จนบงั เกิดผลสาเร็จ เพื่อให้
ขา้ ราชการมหาดไทยนาไปพัฒนาปรับปรุงวิธีการและทัศนคติในการ
ทางานทม่ี งุ่ หมายคอื ข้าราชการมหาดไทยควรเป็น ท้ังนักปกครองและ
นกั บรหิ าร ดังท่ีผมได้เคยสรุปไว้ว่า :
“จดุ ยืนของกระทรวงมหาดไทยน้ัน ยึดมั่นในสภาพของ
ความเป็นนกั ปกครอง ความเป็นนกั บริหาร”
และข้อควา มที่เคยร้องขอให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
ทว่ั ประเทศตระหนกั ถึงความสาคัญของการเปน็ นกั บรหิ ารท่ีวา่ :
“ในฐานะท่ีเปน็ ผู้นาผู้รับผดิ ชอบสูงสดุ ของจงั หวดั และ
ตัวท่านเองจ ะต้องเป็นผู้ที่รักษา สถา บัน ของ ผู้ว่า ร า ชกา ร จัง หวัด
ส่ิงที่ต้องพิสูจน์ว่าผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้นา หรือเป็นผู้รับผิดชอบ
การบริหารงานในจังหวัดได้ดี จะมีองค์ประกอบ ๒ ส่ิง คือ ความเป็น
- ๒๒ -
นักบริหาร และความเป็นผู้ท่ีมีวิญญาณเป็นนักปกครองแต่ความเป็น
นักบริหารจะต้องใหป้ รากฏ”
กรอบแนวความคดิ ในดา้ นการบรหิ าร แบ่งได้ ดังน้ี
๓ . ๑ ห ลั ก ก า ร บ ริ ห าร ท่ี เ ห ม า ะ ส ม กั บ ง า น
กระทรวงมหาดไทย ลักษณะของการบริหารราชการต้องถือหลักการ
บริหารการพัฒนา (Development Administration) เพราะการบริหาร
การพฒั นาเป็นการบริหารเพอ่ื ความเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีข้ึน ยึดถือ
เป้าหมายเป็นหลัก และเป้าหมายที่ชัดเจนอยู่ท่ีประโยชน์ท่ีจะเกิดขึ้นกับ
ประชาชนและประเทศชาติ เป็นการบริหารท่ีมองไปข้างหน้า และต้องมี
การผนึกกาลัง/รวมกาลัง เพื่อแก้ไขปัญหาให้สาเร็จลุล่วง เพื่อให้สังคม
ร่มเย็นสงบสุข ควา มคิดของผมปรา กฏใน คาบรร ยา ยพิเศษ เร่ือง
ยทุ ธศาสตร์การบรหิ ารและพัฒนาจังหวดั ตอนหนงึ่ วา่ :
“การบริหารยึดหลักการบรหิ ารการพัฒนา และเนน้ ไปที่
จังหวัด การบริหารการพัฒนาจะถือเอาเป้าหมายมีลักษณะรวมกาลัง
เพือ่ ที่จะเขา้ ไปแกไ้ ข ซ่ึงต่างจากการประสานงานเป็นโครงการ หรืองาน...
การบริหารการพัฒนามองไปข้างหน้ามีเป้าหมาย ถ้าซื้อตุ่มอย่างเดียว
อย่างน้ีไม่ใช่การบริหา รการพัฒนา เพราะไม่สามารถ โยงให้เห็นว่า
ประชาชนจะไดร้ ับประโยชนจ์ ากการซื้อต่มุ อยา่ งไร...”
๓.๒ คุณสมบัติลักษณะข องนักบริหารมหาดไทย
นกั บรหิ ารทก่ี ระทรวงมหาดไทยต้องการ/คาดหวัง ต้องเป็นนักบริหาร
- ๒๓ -
การพฒั นาทมี่ ีจติ สานกึ /วญิ ญาณของนกั ปกครอง คอื การปกป้องคุ้มครอง
ประชาชน และเป็นที่พ่ึงของประชาชน นักบริหารต้องปรับแนวคิดและ
ทศั นคตทิ ่ีจะนาไปสู่การมพี ฤติกรรมท่ีเหมาะสม ในการทางาน เพื่อให้ได้รับ
ผลสาเร็จ ไปถึงประชาชน ทัศนคติและพฤติกรรมจะมีความสัมพันธ์กัน
ในเชงิ ที่เป็นเหตุเป็นผลกัน ดังแผนภูมิข้างล่างน้ี
A --------------> B------------> C
A = Attitude ทัศนคติ ทัศนคตินักบริหาร
คอื การทางานเพ่อื ประชาชน
B = Behavior พฤติกรรม การบริหารท่ี
คานึงถงึ ประโยชนป์ ระชาชน
C = Consequence ผลกา ร กร ะทา มี
Impact ต่อประชาชน
คุณสมบัติของนักบริหารท่ีผมมุ่งหวัง จะต้อง
ประกอบดว้ ย องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ดังน้ี
(๑) ภาวะผนู้ า คนท่จี ะเปน็ หวั หนา้ คนหรอื บรหิ ารคน
จะตอ้ งมภี าวะผู้นา หากไม่มีก็จาเป็นต้องสร้างให้ได้ด้วยตนเอง คนอ่ืน
ไม่สามารถชว่ ยได้ ภาวะผ้นู าเกดิ จากการสร้างหรอื การพัฒนาตัวเอง
(๒) ทศั นคติ เป็นสง่ิ สาคัญย่ิงสาหรับผู้บริหารและ
ข้าราชการโดยส่วนรวมที่ต้องปรับทัศนคติให้สอดคล้องกับสถานการณ์
ทีเ่ ปลีย่ นแปลง และทัศนคติที่เหมาะสม ประกอบดว้ ย
- ๒๔ -
๑) ทัศนคติผู้บริการประชาชน ( Service
Minded) จะต้องมีความสานึกในฐานะผ้บู ริหาร โดยปรับทัศนคติให้ได้
ว่า การใหบ้ รกิ ารกับประชาชนหรือการทางานให้กับประชาชนไม่ใช่เป็น
ความเมตตากรุณาของข้าราชการแต่เปน็ สิทธิอันชอบธรรมของประชาชน
ทีจ่ ะไดร้ ับบริการจากทางราชการ
๒) ทัศนคติเกี่ยวกับความสา เร็จของงา น
ความสาเรจ็ ของงานอยู่ทวี่ า่ งานน้นั ไดผ้ ลสาเร็จตรงกับความต้องการของ
ประชาชน และเกิดประโยชน์แก่ปร ะชา ชนหรือไม่งานมีผลกระทบ
(Impact) กับประชาชนหรือไม่
๓) ทัศนคติเกย่ี วกับเวลา (ปฏิบัติงาน) ต้องให้
ความสาคญั กับเวลาอยา่ งเต็มท่ี เพราะเวลาเป็นเรื่องสาคัญและมีค่าต่อ
ประชาชน การทางานหรือใหบ้ รกิ ารทล่ี า่ ชา้ จึงเปรยี บเสมอื นการไม่บรกิ าร
๔) ทัศนคติเก่ียวกับวัตถุปร ะสงค์ของงา น
ต้องถือเอาเปา้ หมายสูงสดุ คือประชาชน
(๓) ความสามารถ พิจารณาทีก่ ารทางานให้สาเร็จ
ตามวตั ถุประสงค์
(๔) ความรู้ หมายถึง ความร้ใู นเรอ่ื งที่เกี่ยวกับงาน
ได้แก่ รเู้ ร่อื งนโยบาย รูภ้ ารกิจขององค์การ ร้ภู ารกิจของตนเอง
(๕) ประสบการณ์ จากการดารงตาแหน่งหรือ
ปฏบิ ตั หิ น้าทที่ ีผ่ ่านมา
- ๒๕ -
(๖) ความเป็นสากล หมายถึง ความพร้อมของ
นกั บริหารมหาดไทยสมัยใหม่ท่ีมีความตระหนักถึงการกระจายอานาจ
(Decentralization) การมองการ ณ์ไกลที่มีผลกร ะทบใน ระดับสากล
(Internationalization) และการสนับสนุนเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของ
ภาคเอกชนและองค์กรท่ีเกยี่ วขอ้ ง (Privatization/NGO)
๓.๓ เทคนคิ วิธกี ารบรหิ ารงาน
การบรหิ ารงานในปัจจบุ ัน นักบรหิ ารจาเป็นต้อง
มีควา มรู้ควา ม เข้ า ใจ ใน เท คนิควิธีกา ร บริ ห า ร งา น ควบ คู่ไปกับควา ม รู้
ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั งานท่รี ับผดิ ชอบ ดังท่ีผม เคยใหแ้ ง่คดิ ในเรือ่ งนี้ว่า
“...มีข้อที่ผมคิดว่ามีความจาเป็นให้ข้อเสน อ
บางประการมสี ่วนชว่ ยให้ท่านทงั้ หลายไดท้ างานอย่างเต็มท่ีก็คือ ในหลักของเรา
กค็ ือการรแู้ ตเ่ พยี งหนา้ ท่ีความรับผิดชอบคงไมพ่ อ ผมคิดว่าสิ่งท่ีเราจะต้อง
เรยี นรู้มากทีส่ ดุ กค็ ือเทคนิคในการบริหารราชการจะมีส่วนร่วมมาผสม
กลมกลืนหรือควบคู่กนั เหมือนอย่างนกั ปกครองรนุ่ ก่อน ๆ เขาพูดถึงเรื่อง
ศิลปะ ในปจั จบุ ันนไ้ี มค่ อ่ ยมีคนพดู ก็จะเปล่ียนมาเป็นเทคนิค หรือวิธีการ
หรือการพัฒนาประสิทธิภาพในการบรหิ าร”
ผมได้กล่า วถึงเทคนิค/ วิธีกา ร บริหา ร งา น
ให้ผูบ้ ริหารและข้าราชการมหาดไทยระดับต่าง ๆ รบั ไปเป็นแนวทางปฏิบัติ
หลายประการ อาทิ
- ๒๖ -
(๑ ) วิ ธีก าร ท าง า น คว ร ปร ะก อ บด้ ว ย
องคป์ ระกอบสาคัญ ๘ ประการ คือ
๑) นโยบายตอ้ งแน่ชัด
๒) แผนงาน ใช้แผนเป็นเคร่ืองมือประกอบกับ
การมรี ะบบข้อมลู ข่าวสารทีท่ นั สมัยถกู ต้อง
๓) กาหนดมาตรการ/แนวทางปฏบิ ตั ิรองรับ
๔) มรี ะบบบรหิ าร
๕) ระเบีย บวิธีปฏิบัติแน่น อน ชัดเจ น
สามารถปฏบิ ตั ไิ ด้
๖) มีการกา หนดองค์กรและแบ่งหน้า ที่
ความรับผดิ ชอบ
๗) บคุ ลากร
๘) การตดิ ตามและประเมนิ ผล
(๒) เขา้ ใจและสามารถปรับใช้เทคนิควิธีการ
บรหิ ารสมัยใหม่ ไดแ้ ก่
๑) C3I ซ่งึ มีความหมายดังนี้ C ที่หน่ึง คือ
Control การควบคมุ งาน C ท่ีสอง คอื Command การบังคบั บญั ชาสงั่ การ
C ที่สาม คือ Communication การสื่อสารซึ่งต้องมีทั้ง ๒ ทาง และ
I คอื Intelligence ข้อมลู ข่าวสาร ซ่ึงแบ่งได้เป็น ๔ ส่วน คือ (๑) การ
สบื สวนล่วงหน้าว่าอะไรจะเกิดขึน้ (๒) การรายงานเมื่อมีเหตุการณ์เกิดขึ้น
- ๒๗ -
ไดท้ ันที (๓) รายงานสงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ โดยรวดเร็ว และ (๔) มแี ผนปฏิบัติที่จะ
ดาเนินการในเร่อื งตอ่ ไป
๒) OSCE (Objective Structural Critical
Evaluation) ซึ่งมีการนามาปรับใช้ เป็น OSPE (Objective Structural
Performance Evaluation) โดยมีหลักการที่สาคัญในการบริหารหรือ
แก้ไขปญั หาใหส้ าเร็จลลุ ่วงภายใตเ้ วลาอันจากดั
๓ ) ก า ร ท า ง า น อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ
ซ่ึงประกอบด้วยการ คิด ซึ่งต้องคิดท้ังร ะบบและมองไป ข้า งหน้าและ
การจดั แบง่ ลกั ษณะงานออกเป็นส่วน ๆ เช่น (๑) งานประจา (๒) งาน
บริหาร (๓) งานนโยบายและ (๔) งานเฉพาะหน้า
๔) การวิเคราะห์สถานการณ์และกาหนด
ยุทธศาสตร์ในการทางาน เนื่องจากการบริหาร ราชการในปัจจุบันเป็น
การบรหิ ารงานในระบอบประชาธปิ ไตยภายใตก้ ารบริหาร และการกากับ
ดูแลของผู้แทนประชาชนและเป็นการบริหารงานภายใต้สถานการณ์
การเปล่ียนแปลง และแรงกดดนั ตา่ ง ๆ ทีต่ ้องคานึง ไดแ้ ก่
- การเปลย่ี นแปลงของสงั คมนานาชาติ
ไดแ้ ก่ การกีดกันทางการค้า การส่อื สารเทคโนโลยีที่กา้ วหน้า ทาให้ทุกคน
สามารถรบั ฟังขา่ วสารไดพ้ รอ้ ม ๆ กันทุกมุมโลก และความเปล่ียนแปลง
ของสงั คมโลกที่ม่งุ ไปสสู่ นั ติภาพและประชาธิปไตย
- ๒๘ -
- กร ะแสควา ม ต้ องกา ร ต่ า ง ๆ
ที่เรียกว่า New World Order ได้แก่ ปร ะชาธิปไตย กา ร มีส่ วน ร่ว ม
ในการปกครองตนเอง สิทธิมนุษยชน การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม การใช้
แรงงานท่ีไม่เปน็ ธรรม
- ปัญหา ระดับภูมิภา คในเอเชีย
ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ไดแ้ ก่ การแสวงหาสันติภาพ และความร่วมมือระดับ
ภูมภิ าค
- ปัญหาระดบั ประเทศท่ีสาคัญก็คือ
ความยากจนของประชาชน และกระแสเรียกร้องในการปกครองตนเอง
ทีเ่ ป็นประชาธปิ ไตย การมสี ่วนร่วมขององค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชน
และปัญหาสิ่งแวดล้อม
- แรงกดดันท่ีมีต่อผู้บริหารภายใต้
ระบอบประชาธปิ ไตย ซ่ึงผ้บู ริหารในระบบราชการมฐี านะเปน็ ผู้นานโยบาย
ทฝี่ า่ ยการเมืองกาหนดข้ึนไปปฏิบัติให้บรรลุผล แรงกดดันดังกล่าวคือ
(๑) คณะรัฐมนตร/ี รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย (๒) พรรคการเมือง
(๓) กล่มุ การเมอื งทอ้ งถนิ่ (๔) สื่อมวลชน (๕) NGO (Non - Government
Organization) (๖) กลุม่ ผลประโยชน์ (๗) กลุ่ม/สถาบันธุรกิจต่าง ๆ (๘)
องคก์ รชมุ ชน และ (๙) มวลชนทัว่ ไป
- ๒๙ -
๔. แนวคิดด้านการประชาสัมพนั ธ์
ผมในฐานะของนักบรหิ ารท่ีมวี ญิ ญาณของนักปกครอง
ที่คานึงถึงประชาชนเป็นที่ตั้งแล้ ว เราต้องเป็น นักปร ะชา สัมพัน ธ์
ที่มีความสามา รถโดดเด่นและมีผลงานดีเด่นด้านการ ประชาสัมพัน ธ์
งานราชการที่รับผิดชอบด้วย
หลกั การและแนวความคิดด้านประชาสัมพันธ์ท่ีผม
ยดึ ถือและมสี ่วนสนบั สนุนความสาเร็จในด้านการประชาสัมพันธ์ของผม
อาจสรปุ เปน็ ประเดน็ สาคัญ ๆ ได้ ๔ ประการ คอื
ประการแรก การบริหารกับการประชาสัมพันธ์เป็นส่ิงท่ี
ควบคู่กนั การบรหิ ารกบั การประชาสมั พนั ธ์เปน็ เรือ่ งท่ีแยกจากกันไม่ออก และ
จะตอ้ งดาเนินการควบคกู่ ันไปโดยตลอด ผมได้ถา่ ยทอดแนวคิดดังกล่าวให้
นักบรหิ ารในกระทรวงมหาดไทยใหค้ วามสนใจกบั งานประชาสัมพนั ธ์ ดงั นี้
“ผมคดิ วา่ เราคงยอมรบั ตรงกันว่าการบริหารกับการ
ประชา สัมพัน ธ์ต้องไปควบคู่กัน นักบริหา รกับน ักป ร ะ ชา สัม พัน ธ์
ต้องทางานควบคู่กนั เหมือนกับที่กระทรวงมหาดไทยถอื ว่า สื่อมวลชน
เป็นผู้ร่วมงาน...นักบริหารกบั นกั ประชาสัมพันธอ์ าจจะเปน็ คน ๆ เดยี วกัน
การบริหารกบั การประชาสัมพันธ์จะต้องไปควบคู่กันเหมือนกับการเมือง
กับการบรหิ ารตอ้ งเป็นเหรยี ญสองหนา้ ...”
ประการท่ีสอง สิ่งสาคัญที่สุดในการประชาสัมพันธ์
คือ เนื้อหา ท่ีทา กา ร ปร ะชา สัมพัน ธ์ กล่า วคือ ใน การ ดาเนินกา ร
- ๓๐ -
ประชาสัมพันธ์ของหน่วยรา ชการนั้น มีวิธีการต่าง ๆ หลายวิธี เช่น
การแถลงข่าว การชีแ้ จงไปยังหนังสือพิมพ์ หรอื การพดู จากับกล่มุ เป้าหมาย
โดยตรง การปิดประกาศ การออกจุลสาร การแจกข่าว การออก/ ปิด
ประกาศ ฯลฯ หน่วยงานจึงจาเปน็ ตอ้ งเลอื กใช้วิธีท่ีเหมาะสม แต่สิ่งที่สาคัญกว่า
วธิ ีการ ส่งิ ท่นี าเสนอ หรอื เนอ้ื หาท่ีทาการประชาสัมพันธ์ ซ่ึงผู้ท่ีจะทาการ
ปร ะชาสัมพันธ์ต้องมีความเข้าใจ เป็น อย่างดีในเร่ืองที่จ ะทา กา ร
ประชาสัมพนั ธ์กอ่ นแล้วจงึ ทาความเข้าใจให้บังเกิดข้ึนแก่ประชาชนทั่วไป
ซ่งึ เป็นกลมุ่ เป้าหมายดังที่ผมเคยกลา่ วไว้ ในเร่ืองนว้ี ่า
“การแจกจลุ สาร การแจกข่าว การปิดประกาศไว้ใน
ที่ต่า ง ๆ วิธีการ เหล่า น้ีเป็นเพีย งช้ีให้เห็น ว่าเป็น เคร่ืองมือใน กา ร
ประชาสัมพันธ์ แต่ส่ิงที่สา คัญท่ีสุดก็คือ เนื้ อหาของมัน ควา มเข้าใจ
ในเน้ือหา เพรา ะฉะน้ันถ้าในเรื่องสา คัญ...ผมอยา กให้หัวหน้า ฝ่า ย
ประชาสมั พันธเ์ ขา้ ไป sit in…”
ประการทีส่ าม การประชาสัมพันธน์ ้ัน ต้องดาเนินการ
ในลกั ษณะท่ีสรา้ งสรรคแ์ ละแกไ้ ขควบคูก่ ันไป คือ พยายามทาความเข้าใจ
ก่อนเกิดปญั หาหรือกอ่ นท่จี ะดาเนินการตา่ ง ๆ ที่มีผลหรือมีความสัมพันธ์
กบั ประชาชน ในขณะเดยี วกนั กต็ ้องรีบดาเนินการทนั ทเี มอ่ื มีเหตุการณ์หรือ
ปญั หาตา่ ง ๆ เกดิ ขึ้น เพอื่ เร่งสร้างความเขา้ ใจท่ีถูกตอ้ งแกร่ าษฎร
ประการท่ีสี่ ข้าราชการทุกคนหรอื คนในองค์กรทุกคน
ตอ้ งเป็นนกั ประชาสมั พันธอ์ งค์กร หรือหน่วยใดจะมีเกียรติมีศักดิ์ศรี และ
- ๓๑ -
เปน็ ทย่ี อมรับของประชาชนหรอื ไมอ่ ยู่ทค่ี นทุกคนในหน่วยงานต้องช่วยกัน
ดาเนินการรักษา ช่ือเสียงและภา พลักษณ์ของหน่วย งาน โดยเฉพา ะ
กระทรวงมหาดไทย ขา้ ราชการต้องปฏิบัติตนให้เป็นผู้นาในการส่งเสริม
ใหพ้ ่นี ้องประชาชนมีความเปน็ อยู่ท่ีดี จะตอ้ งกระทาทกุ วิถีทางให้บ้านเมือง
เจริญขึ้น ดังที่ผมได้เคยกล่าว ใน กา รประชุมผู้บริหา รระดับสูงของ
กระทรวงมหาดไทยไว้ว่า
“บุคลากรของเราทุกคนนั้นเป็นนักประชาสัมพันธ์
บคุ ลากรของเราทุกคนน้ันเป็นตัวแทนของกระทรวงมหาดไทย ไม่ว่าเขา
จะไปทาอะไรในทางท่ีดี กระทรวงมหาดไทยก็จะได้รับผลดี หมายถึงว่า
ประชาชนก็ได้รับผลดี แต่ถ้าไปทาอะไรไม่ดี กระทรวงมหาดไทยก็จะ
เสยี หาย รัฐบาลก็จะเสียหาย เพ่อื นร่วมงานของเราก็จะเสียหาย...”
๔. ข้อคดิ สาหรบั การปฏบิ ตั ริ าชการในยุคปัจจุบันให้บรรลุผลสัมฤทธ์ิ
จากประสบการณ์การบริหารงานในตาแหน่งผู้บริหารระดับสูง
ปร ะก อบ กับ คว า ม คิด อัน กว้ างไกล แล ะค วา มรู้ ใน หลั กท ฤษ ฎี
การบรหิ ารงานสมัยใหม่ ผมได้สังเคราะห์องค์ประกอบท้ัง ๓ ส่วนดังกล่าวจะ
เปน็ ข้อคิดเหน็ และวธิ กี ารในการบรหิ ารงานทส่ี ะดวกในการทา ความเข้าใจ
และนาไปปฏบิ ตั ิ อยา่ งเชน่
๔.๑ กา รบริหา รงาน คือ การ บริหาร คน การ ใช้คนให้เป็น
จากคาบรรยายที่ผมเคยกล่าวไว้ คือ :
- ๓๒ -
“การบริหารทีแ่ ทจ้ รงิ แลว้ คอื การบรหิ ารคน งาน เปน็ ผลิตผล
ของคน ถา้ เราบริหารคนเป็น บริหารตวั เองเปน็ งานก็จะเกิดผลตามมา”
๔.๒ การบรหิ าร คอื การพัฒนาคน นักบริหารพัฒนาลูกน้องให้มี
ความรู้ ความสามารถควบคู่ไปดว้ ย ดังทีผ่ มไดย้ ดึ ถอื ปฏิบัติอยสู่ ม่าเสมอและ
ได้กลา่ วในเร่อื งนีไ้ ว้ว่า :
“ผมมขี อ้ เสนอแนะวา่ คนเปล่ยี นได้ แต่สู้ปรับทัศนคติเขาไม่ได้
...” และในความรู้สกึ ของผมเองทว่ี า่ :
“ผมชอบพฒั นาคน ผมมลี ูกน้อง อะไรท่ีเขาต้องเซ็นไม่เซ็นไม่ได้
เซน็ ผ่านก็ยงั ดี อา่ นไมอ่ ่านตอ้ งเซ็นทกุ เร่ืองตอ้ งมาผ่าน...”
๔.๓ การบรหิ ารงานคือการแกไ้ ขปัญหา และการแก้ไขปญั หาคือการทางาน
รว่ มกัน ต้องร่วมทางานกบั ผู้อ่ืน ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผิดชอบ รับทราบ
ปัญหาต่าง ๆ ใหม้ ากทีส่ ุดและสรา้ งทีมงานให้ได้ดังท่ีผมให้ข้อคิดไวว้ ่า :
“จริง ๆ แล้ว บริหารงาน คือ บริหารคน บริหารงานคือ
การแก้ไขปัญหา...” และ
“...ผ้ทู ่ีเปน็ หัวหน้างานหน้าทีส่ าคัญประการหน่ึงคือ การที่จะ
ทาใหค้ นในหนว่ ยงานรว่ มมือกนั ทางาน จะต้องเข้าใจในเรอ่ื งการบริหารใน
ลักษณะทีเ่ ป็นหมู่ เป็นคณะ เปน็ องคก์ ร...”
๔.๔ การ บริหา รร าชกา รมิใช่เรื่องส่วนตัวของคน หนึ่งคนใด
(Impersonal) แต่ตอ้ งทางานเป็นทีม/สร้างทีมงาน/ผนึกกาลังระหว่าง
หนว่ ยราชการ ต้องยอมรบั การมีสว่ นร่วมของประชาชน องคก์ รประชาชน
- ๓๓ -
๔.๕ การ บริหา รร าชกา ร คือ การ บริหา รแผน ให้ลุล่วง ด้วย
ความรวดเรว็ มปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล
๔.๖ วธิ ีการทางานตอ้ งทางานอย่างเปน็ ระบบ นับตั้งแต่วธิ ีคิดต้องคิด
ทง้ั ระบบ คอื มองไปข้างหน้า และต้องแบง่ ลักษณะงานให้ดีเพ่ือผู้บริหารจะ
ได้มีเวลาทางานนโยบายไดม้ ากท่ีสดุ การแบ่งลกั ษณะงาน ได้แก่ (๑) งาน
ประจา (๒) งานบริหาร (๓) งานนโยบาย (๔) งานเฉพาะหน้า ต้อง
มอบหมายหรือกระจายอานาจออกไปใหม้ ากทสี่ ดุ
๔.๗ วิธกี ารทางาน ควรทางานแบบคู่ขนาน หมายถงึ การทางานไว้
ลว่ งหนา้ โดยใชก้ ารประสานภายใน และความรว่ มมอื ในการแก้ไขปัญหา
ซง่ึ จะทาให้การปฏิบตั งิ านรวดเร็วขึ้น
๔.๘ ขา้ ราชการมหาดไทยได้รบั มอบอานาจหน้าทใ่ี หม้ า “บาบัดทุกข์
บารุงสุข” แก่ประชาชนเป็นส่วนรวมไม่ให้แบ่งแยก เช้ือชาติ ศาสนา
ภมู ิลาเนา จงึ จาเป็นตอ้ งมจี ติ ใจเสยี สละอดทน ผนึกกาลังทุกฝ่ายทุกส่วน
ราชการ ไม่จากดั เฉพาะภายในมหาดไทย เพื่อเป็นการแกไ้ ขปัญหาวกิ ฤตชิ าติ
ที่กาลังเผชิญอยู่ ต้องพัฒนาตนเองและหน่วยงานของตนให้มีศักยภาพ
เปน็ ศนู ย์รวมท่จี ะแก้ปัญหาของชาติและชุมชน ด้วยความคิดที่ก้าวหน้า
มีวิสยั ทัศน์ มีความรอบรู้ ทง้ั ทางเทคโนโลยีและการสือ่ สารสมัยใหม่ในโลก
ดจิ ทิ ลั
- ๓๔ -
สาหรับเทคนิคแนวคิด ในการปฏิบัติงานของผมให้ประสบความสาเร็จ
กเ็ ป็นไปตามดังทีไ่ ด้นาเสนอข้างต้นมาแล้วน้ัน ก็น่าจะมีคุณประโยชน์
สาคญั ต่อกระทรวงมหาดไทยและระบบราชการโดยส่วนรวม เน่ืองจากเป็น
แนวคิดที่ได้ผ่านกา รสังเครา ะห์หรือประยุกต์หลักการทฤษฎี บริหา ร
สมัยใหม่ ร่วมกับปร ะสบการณ์ความสาเร็จจา กกา รปฏิบัติงา น จริง
ในตาแหนง่ ราชการทีส่ าคญั ๆ ของผม โดยประโยชนข์ องแนวคิดดงั กลา่ วนนั้
หวงั ว่าจะส่งผลถึงประชาชนโดยส่วนรวมด้วย หากคนมหาดไทยและ
ข้าราชการรนุ่ ใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑ จะได้นาไปเป็นแนวทางปฏิบัติท้ังใน
การดาเนนิ ชีวติ และการปฏิบัตริ าชการต่อไปได้
********************