The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Gotiut256, 2022-05-03 06:16:13

ศาสนากับความพอเพียง

62070501009 เจษฎา โสพดอ่อน



62070501015 ฐิตกร เหมือนโค้ว CPE

62070501016 ฐิตพงศ บณธนากร



บทนำ






เมื่อพูดถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนคำที่ประกอบไปดวย 2 คำคือคำว า
“ปรัชญา” และคำว า “พอเพียง” หลายคนรู จักความพอเพียงมักจะนึกถึงสามห วงสอง





เงื่อนไข ที่ประกอบไปด วย พอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุมกัน ที่อยูภายใตเงื่อนไข

ของความรู และคุณธรรม ในเมื่อเรารูจกความพอเพียงแล ว


แล ว ‘ปรัชญา’ คืออะไร? ถาอ างอิงความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน



ใหความหมายว า “[ปฺรัดยา ปรัดชะยา] น. วิชาว าดวยหลักแห งความรู และความจริง.


(ส.).” จากที่เห็นจะทราบไดว าเปนคำที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต โดยคือ “ปร” แปลวา



รอบ, ประเสริฐ กับคำว า “ชญา” แปลว า รู , เขาใจ ความหมายโดยรวมของคำว า
ปรัชญา จึงหมายถึง ความรูรอบโดยทั่ว,ความรูอย างแท จริง, ความรู อันประเสริฐ,


ความรอบรู อันเกิดจากการเรียนและการคิด






อีกทั้งคำว า “ปรัชญา” ตรงกบภาษาอังกฤษวา “Philosophy” มรากศัพท มาจากภาษา

กรีก 2 คำ คือคำว า Philos ซึ่งแปลวา ความรัก, ความเลื่อมใส, ความสนใจ รวมกับคำว า


Sophia ซึ่งแปลวา ปญญา, ความรู, วิชาการ รวมเนื้อความทั้ง 2 คำแล ว หมายความว า


ความรักในปญญา ความรักในความรู


ทำใหเราสามารถรูไดว า ปรชญาทองตามรากศัพท แล วไมไดหมายสิ่งที่เปนความจริง











เท าไหร จะกล าวไดว าเปนความรูอันประเสริฐจะสมเหตุสมผลกวา เพราะหลักปรัชญา





บางอย างก็ตามหาความเปนจริงอันสูงสุด บางศาสตร ก็ไมใช เพราะความจริงนั้นบางทีก ็


ขัดกับปรัชญา อยางเชน





“พระอาทิตย ขึ้นทางทศตะวันออก” แตความเปนจริงแล ว พระอาทิตย ไมไดขึ้น แต โลก




เราหมุนรอบดวงอาทิตย ตางหาก แต ถาความหมายตรงตามตวอักษร “การขนทางทศ



ตะวันออก”ของพระอาทิตย ก็เปนสิ่งที่ไมสามารถปฏิเสธได






เนื่องจากหนังสือเลมนีพูดถงศาสนา ความเปนศาสนาผูเขียนอาจกล าวไดว า เริ่ม


ดวยความกลัว เติบโตดวยปรัชญา คงอยูดวยความแน นอน ที่กล าววาเริ่มตนดวยความ








กลัว เมื่อรื้อสรางและศึกษาต นกำเนิดในศาสนาส วนใหญ แล วจะมจดเริม คือความกลัว






ของมนุษย เมื่อมนุษย มความกลัวและเมอกฎหมายในสงคมไมมากพอที่จะลงโทษ



ผู กระทำผิด ทำใหศาสนาเริ่มขึ้น อย างเชนศาสนาพุทธ สิ่งที่ศาสดากลัวคอวัฏสงสารทีวน


ซ้ำจากหลักความเชื่อของพราหมณ ที่มีอิทธิพลในขณะนั้น ทำใหตองหาทางหยุดสิ่งนี้


ความกลัวเหล านี้จึงเกิดเปนศาสนาพุทธ ความกลัวในธรรมชาติจึงเกิดเทพมากมายของ

พราหมณ และอีกหลากหลายความกลัวที่ทำใหเกิดศาสนา แต ศาสนาไมสามารถเติบโต














ไดหรือรียกศาสนาไดถาไมมปรชญา สิงททำใหศาสนาเปนศาสนาคือทางแกความกลัวที่



กลายเปนแนวปฏิบัติและคำสอนในภายหลัง เมอมความแน นอนในหลักคำสอนหรือหลัก




ปฏิบัติศาสนาจึงดำรงอยู จึงเห็นไดชัดวาศาสนานั้นมีปรัชญาคงอยู

เมื่อพูดถึงศาสนาสิ่งที่ตรงขามคือไรศาสนา หรือการไมนับถือศาสนา หลายคนอาจ








คิดว าการเลือกที่จะไม นบถือศาสนาเกดขึนเปนเทรนดในชวงหนึ่ง ทำตามกันไปเพราะ



กระแสสังคม แตความจริงแล วแต ละคนมีความคิดเห็นที่น าสนใจมากกวานั้น จากการ

สืบค นความคิดเห็นผานกระทูและโซเชียลมีเดียหลายชองทาง เราไดหลักความคิดใหม ๆ






มากมายที่นาสนใจ และความคิดเห็นที่ไมควรมองขาม

หลายคนออกความคิดเห็นว า สิ่งที่นาเบื่อหนายอย างหนึ่งของศาสนาคือการสอนให คน



อยูในกรอบดวยความกลัว อย าทำอย างนี้นะเพราะจะบาปกรรม ทำแบบนี้แล วตายไปจะ


ตกนรก เกิดใหม เปนคนไมครบ 32 บางล ะ ซึงสิงเหล านี้เกอบจะเปนนามธรรม เพราะเรา





ไมสามารถรู ไดเลยวาแท จริงแล วนรกสวรรคเปนอย างไร มีจริงหรือไม







คนจำนวนไม นอยที่รู สึกผิดหวังกับพฤติกรรมของผู เปนตัวแทนเผยแผ ศาสนาและผู ที่


เลื่อมใสศาสนามากเกินไปจนส งผลเสีย เปนสิ่งที่ทำให พวกเขาเดินออกมาอยูในจุดที่พอดี



เลือกนับถือแต คำสอนโดยไมเขาไปยุงกับระบบศาสนาใด ๆ หลายความคิดเห็นที่นาเอา





ไปคิดตามและมเหตผลรองรบ ทำใหเราเห็นว าการเลือกไมนับถือศาสนาของหลาย ๆ คน
ไมไดทำไปเพราะความเทอย างแน นอน



คนไม มีศาสนา ใชอะไรยึดเหนี่ยวในการดำเนินชีวิต? คำตอบที่น าสนใจอีกอย างหนึ่งคือ




“กฎหมาย” ที่ถึงแม จะมีกุศโลบายคลาย ๆ กับศาสนา แต สิ่งที่ตามมาไมใชความกลัว




เกี่ยวกับบาปบุญคุณโทษ แต เปนความกลวในกระบวนการยุตธรรมทีมีการตรวจสอบและ
บทลงโทษที่แน นอนอย างที่สังคมในชวงกำเนิดศาสนาไม มี

บางคนตอบทีเล นทีจริงว าเขานับถือดารานักร องที่ตัวเองชอบ ซึ่งถามวาผิดมั้ย ในแงที่ใช



เปนที่พึ่งทางใจก็คงไมผิดนัก การเสพผลงานของคนเหล านั้นเพื่อเปนทียึดเหนยวในยาม





ตองการที่พึ่งย อมไม ใชเรื่องผิด


อย างไรก็ตามสถาบันศาสนาไมว าจะศาสนาใดบนโลกถือว าเปนสถาบันที่เขมแข็งมาก







เพราะอยู บนพนฐานความเชอความศรทธาทีฝ งอยูนานเปนพันป เราควรเรียนรู การจะอยู







กับมันโดยเขาใจกันและกัน เข าใจผูเลื่อมใส เขาใจผูที่เลือกทางเดินของตัวเอง ยึดเอา



หลักคำสอนของศาสนาทีดของตวเองนำมาปฏิบตกบผอื่น และปฏิบัติตอกันตาม







กฎหมาย การไม นับถือศาสนาอาจจะเปนศาสนาที่ไรคำสอนอย างนึง คือการคงอยู ของ




ปรัชญาวาดวยเรืองความพอดีในชวิต

พระพุทธศาสนากับความพอเพียง




ศาสนาพุทธเปนศาสนาประเภทอเทวนิยม และเปนศาสนาที่มีผู นับถือมาก


ศาสนาหนึ่งของโลก รอง



จาก ศาสนาครสต ศาสนา

อิสลาม และศาสนาฮินด ที่มี

เปาหมายคือนิพพาน(การดับ


สนิทแห งกิเลสและกองทุกข)

โดยยกความบริสุทธิ์ สะอาด

(ดวยศีล) ความสงบระงบ



(ดวยสมาธิ) และความเขาใจ




แจมแจง (ดวยปญญา) ของมนุษย



กอตั้งขึ้นเพื่อประโยชนของคนหมู มาก เพือความสขของคนหม มาก และ



เพื่ออนุเคราะหโลก อาจนำคำสอนไปประพฤติปฏิบัติไดตามความสามารถ และความ




พอใจของตนเปนศาสนาแหงการพิจารณาเหตุผลและการปฏิบัติเพื่อช วยตัวเอง พึ่ง
ตัวเอง และขยายความชวยเหลือไปสู ผู อื่นดวยความ





ปรารถนาดี (เมตตา) และความคิดชวยใหพ นทุกข (กรุณา) เปนทั้งปรัชญาและการปฏิบัติ


คือศรัทธาความเชื่อที่ถกศลความประพฤตดงาม สุตตะการหาความรู จาคะการ





เอื้อเฟ อใหปน และปญญา ความรูแจงเห็น พระพุทธศาสนาสอนว า ความบริสทธิเปน







อิสระจากกิเลส คือความโลภ ความโกรธ และความหลง นับวาเปนผู ประเสริฐสุด

หลักธรรมสำคัญของพุทธศาสนา







ศาสนาพุทธสอนว า ปรมตถธรรม หรือสรรพสงมี 4 อย างคอ จต เจตสิก รูป นิพพาน จึง









ปฏิเสธการมีอยูของพระเปนเจา (เพราะพระเปนเจาจัดเขาในปรมัตถธรรมไมได) และ


เชื่อว าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎแหงธรรมชาตหรือนิยาม5 ประการ คือ อุตุนิยาม พีชนิยาม
จิตนิยาม กรรมนิยาม ธรรมนิยาม
สังสารวัฏ

วัฏสงสารหรือ สังสารวัฏ หรือ สงสารวัฏ คือการเวยนว ายตายเกิด






กฎแหงกรรม


คือกฎธรรมชาติที่ว าดวยการกระทำ

และผลของการกระทำ ซึ่งการกระทำกับผล




นั้นย อมมความสัมพันธ กันเชน ทำดีไดดี ทำ

ชั่วไดชั่ว ผลของการกระทำ

อริยสัจ




จตุราริยสัจ หรืออริยสัจ ๔ เปนหลัก
คำสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจา แปลว า


ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระ

อริยะ หรือความจริงที่ทำใหผู เขาถึงกลายเปน



อริยะ มีอยูสี่ประการ คอ ทกข สมุทย นิโรธ มรรค





ไตรลักษณ






ไตรลักษณ เปนธรรมะที่ทำใหเปนพระอริยะ (อริยกรธรรม) แปลวา ลักษณะ 3




ประการ หมายถึงสามัญลกษณะ คือ กฎธรรมดาของสรรพสิ่งทั้งปวง อันไดแก อนิจจ
ลักษณะ ลักษณะไมเที่ยง มีการแปรเปลี่ยนไปเปนธรรมดา ทุกขลักษณะ ลักษณะทนอยู






ตลอดไปไมได ถูกบีบคั้นดวยอำนาจของธรรมชาติทำใหทุกสิ่งไมสามารถทนอยู ในสภาพ





เดิมไดตลอดไป และ อนัตตลักษณะ ลักษณะไมสามารถบังคับบัญชาใหเปนไปตาม




ตองการได เชน ไม สามารถบังคับให ชีวิตยั่งยืนอยู ไดตลอดไป ไมสามารถบังคับจิตใจให


เปนไปตามปรารถนา ความมิใชตัวตน เปนตน ไตรลักษณ คือ การเกิดขึ้น ตั้งอยู และ




ดับไป ทุกสิ่งในโลกนี้ ล วนแล วอยูใน กฎไตรลักษณ

ตถตา : เปนเชนนั้นเอง


สุญตา : ความวาง [(บาลี: สุ ฺญตา) หรือ ศูนยตา (สันสกฤต: ศูนฺยตา) แปลว า

ความว างเปล า, ความเปนของสูญ คือความไม มีตัวตน ถือเอาเปนตัวตนไมได]




พุทธศาสนาในโลกตะวันตก



มีหลักฐานว าพุทธศาสนาแพร หลายไปถึงตะวันตกมานาน ชาดก ซึ่งเปน คำภีร
หนึ่งในพระไตรปฎกของพุทธศาสนา มีผู แปลเปนภาษาซีเรียคและภาษาอาหรับ เชน




Kalilg and Dammag พทธประวัติแปลเปนภาษากรีกโดย จอห นแหงดามัสกัส ได





เปนที่แพร หลายในหมู ชาวคริสตในนามของบาร ลาอัมและโยซาฟ ต เรื่องนี้เปนที่นิยม




ของชาวคริสต จนกระทั่ง เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๘๐๐ ชาวคริสตยกย องโยซาฟตใหเปน

นักบุญแหงนิกายคาทอลิก
ความสนใจในพุทธศาสนาเริ่มขึ้นอีกครั้งในยุคอาณานิคม เมื่อมหาอำนาจตะวัน



ตำไดมีโอกาสศึกษาศาสนาในรายละเอียดมากขึ้น ปรัชญาในยุโรปสมัยนั้นไดรบอิทธิพล




จากศาสนาในตะวันออกมาก การเปดประเทศของญี่ปุนเมือ พ.ศ. ๒๓๙๖ ทำใหมีการ








ยอมรับศิลปวัฒนธรรมญี่ปุน รวมทังวัฒนธรรมเกยวกบศาสนาพุทธดวยงานแปลคมภีร
ึ้
ทางพุทธศาสนาเปนภาษาตะวันตกเริ่มขนโดย Max Muller ผู จัดพิมพ Scared


Books of the East “ คัมภีร ศักดิ์สิทธิ์แหงตะวันออก” มีการจดตั้งสมาคมบาลี



ปกรณ เพื่อจัดพิมพ พระไตรปฎกและคัมภีรทางพุทธศาสนาอื่น ๆ แต ความสนใจยังจำกัด
ในหมู ปญญาชน

ศาสนาพุทธเริ่มเปนที่สนใจของชาวยุโรปอย างกวางขวาง ในพุทธศตวรรษที่ ๒๕


หลังจากสงครามโลก ครั้งที่ ๒ เปนตนมา ความเชื่อทางศาสนาของชาวตะวันตก









เปลี่ยนไปเนนทีความเชอของปจเจกบุคคลมากขึ้น ทำใหศาสนาพุทธเปนที่ดึงดูดในจาก






การที่มีขอพิสูจน ใหพิสูจนไดดวยการปฏิบัติดวยตนเอง มีการตั้งองคกรทางพุทธศาสนา


ระดบโลกโดยชาวพุทธจากเอเชย ยุโรป และอเมรกาเหนอรวม ๒๗ ประเทศทีศรีลักกา






เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๓ ในชื่อ “องคกรพุทธศาสนิกสัมพันธ แหงโลก”
ศาสนาพุทธกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ตองยอมรับว าศาสนาพทธนันมีอิทธิพลตอความคิดของคนไทยมาอย างชานาน




หลักการและเหตุผลส วนใหญ จึงมักยึดโยงกับความเปนพุทธ จนพุทธในไทยอาจเรียกว า






เปนนิกายไทยไดดวยซ้ำ กล าวคือการรวมกนทงพุทธ พราหมณ และศาสนาผี ที่มีอิทธิพล


เปนดั้งเดิม ความเปนพุทธไทยในไทยจงมีการเชื่อมโยงกับคนไทยไมว าทางใดทางหนึ่ง








หลักปรัชญาเศรษฐกจพอเพียงก็เชนกันที่อยู ภายใตสองเงือนไขคือความร และ








“คุณธรรม” และเงอนไขคุณธรรมทีว านี้จะตองสรางเสริมใหเปนพื้นฐานจิตใจของคนใน


ชาติ ประกอบดวย ด านจิตใจ คือการตระหนักในคุณธรรม รูผิดชอบชั่วดี ซื่อสัตย สุจริต

ใชสติปญญาอย างถูกต องและเหมาะสมในการดำเนินชีวิต และด านการกระทำ คือมี

ความขยันหมั่นเพียร อดทน ไมโลภ ไมตระหนี่ รู จักแบงปน และรับผิดชอบในการอยู






ร วมกับผูอื่นในสังคม จะเห็นไดว าคุณธรรมนีมความเปนพุทธมากพอสมควร





ถายึดโยงโดยเอาเศรษกจพอเพียงเปนที่ตั้งนั้นจะเห็นวาหลักคำสอนพุทธก็มีความ







พอพียงอยูดวยเชนกัน อย างเชนบทพิจารณาอาหาร
ปะฏิสังขา โยนิโส ป ณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ เรายอมพิจารณาโดยแยบคาย แล วฉัน
บิณฑบาต

เนวะ ทวายะ, ไมให เป นไปเพอความเพลิดเพลิน
ื่
สนุกสนาน


นะ มะทายะ, ไมให เป นไปเพื่อความเมามัน เกิดกำลัง
พลังทางกาย

นะ มัณฑะนายะ, ไมให เป นไปเพอประดับ

ื่
นะ วิภูสะนายะ ไมให เป นไปเพอตกแต ง
ื่



ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา, แตให เป นไปเพียงเพื่อความตั้งอยูไดแห ง

กายนี้

ยาปะนายะ, เพื่อความเปนไปไดแห งอัตภาพ

วิหิงสุปะระติยา, เพื่อความสิ้นไปแห งความลำบากทางกาย

พรัหมะจะริยานุคคะหายะ, เพื่ออนุเคราะห แห งการประพฤติพรหมจรรย

อิติ ปุรานัญจะ เวทะนังปะฏิหังขามิ, ดวยการทำอย างนี้ เราย อมระงับเสียไดซึ่ง

ทุกขเวทนาเก า คือความหิว



นะวัญจะเวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, และไมทำทุกขเวทนาใหมให เกิดขึ้น
ยาตรา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ,

อนึ่ง ความเป นไปโดยสะดวกแห งอัตภาพนี้ดวย ความเป นผู หาโทษมิไดดวย และความเป นอยู โดย



ผาสุกดวยจักมีแกเรา




จะเห็นไดว าบทสวดนี้ทั้งมีเหตุผลในการฉันบิณฑบาต ไมไดเพื่อความเพลิดเพลิน แต เพื่อ

ความอยูรอดมีเรี่ยวแรงปฏิบัติ มีภูมิคุมกันในเรื่องการกระทำบาปและระงับทุกขเวทนา






และมีความพอประมาณใหเปนไปเพียงเพื่อความตั้งอยู ไดแหงกายนี้ และมีเงอนไขความร ู


คือการฉันอาหาร ไมตองปฏิบัติทุกข กริยา และมีคุณธรรมในเรื่องความขยันหมั่นเพียร



อดทน ไมโลภ ไมตระหนี่

คริสตศาสนากับความพอเพียง




























ความเป นศาสนาคริสต







ตามหลักฐานในพระคัมภีร เมื่อพระเจาสร างโลก และไดสรางหญิงชายคูหนง คือ


อาดัม กับอีฟ (หรืออีวา) และเนรมิตสวนเอเดนใหทั้งคูอยู อย างมีความสุข ต อมามนุษย







ไดแอบกินผลไมตองหาม จึงถูกลงโทษ ด วยการขับใหมาตกระกำลำบาก บาปของมนุษย


คูนี้ จึงตกทอดมาถึงมนุษย ทุกคนดวย บาปนี้ เรียกวา "บาปกำเนิด" แม มนุษย จะทำ




บาป แตพระเจาก็ทรงเมตตา โดยสงพระเยซู ให อวตาร ลงมาเกิดในโลกมนุษย เพื่อไถ
บาปใหกบมนุษย เพื่อใหมนุษย หลุดพ นจากความทุกขเข็ญ และเพราะมนุษย มีจิตใจที่





ไมเขมแข็ง จึงตองพงพระเจา และพระบุตรของพระองค เพื่อช วยใหมนุษย มีจิตใจ
ึ่




เขมแข็งขึ้น


หลกตรีเอกภาพ
ศาสนาคริสตสอนวา มีพระเจาองคเดยว (Monotheism) คือ พระยะโฮวา หรือ






พระยาเวห ในพระเจาองค เดียวนี้ แบงออกเปน 3 ภาค คือ

พระบิดา คือ พระเจาสร างโลก เปนผู สร างทุกสิ่ง ทรงเปน
นิรันดร








พระบตร คือ พระเยซ ซึงจตมาเปนมนุษย เพื่อ
ชวยใหมนุษย ไดรับฟ งคำสั่งสอนของพระเจา




อย างใกล ชิด


พระจิต คือ พระเจาที่ปรากฏเปนดวงวิญญาณ ของมนุษย เพื่อ

เกื้อหนุนใหมนุษย ประกอบกรรมดี








ศาสนาคริสต กับความรัก


ความรักถือเปนบทบัญญัติที่




สำคัญของศาสนาครสต ดังพระ


เยซูตรัสวา "จงรักพระเจา
อย างสุดใจ สุดความคิด และ


สดกำลัง และจงรักเพือน

มนุษย เหมือนรักตนเอง" ความรก



นี้ ไม ใชความรักของหนุ มสาว แตเปน


ความรักต อเพื่อนมนุษย ศาสนาคริสต ถือว า ทุก




คนเปนบุตรของพระเจา จึงควรรักกันเหมือนพี่นอง

คริสตศาสนา ความรัก และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง







"จงอดทนตอกันและกัน และถาใครมีเรื่องราวตอกัน ก็จงใหอภัยกัน องคพระผู




เปนเจาทรงให อภัยพวกทานอย างไร ท านก็จงทำอย างนั้นดวย" (คส.3:13)







ระวังเมอพระเจาทรงผูกพันเราใหเปนหนึ่งเดียวกันผ านพระเยซคริสต บนไมกางเขนนั้น

แล ว จงอย าฉีกความผูกพันในความเปนหนึ่งเดียวกันนั้นด วยอารมณชววบของเราเอง




หลาย ๆ ครั้งที่เราเขาใจกันผิด เพราะการไมยอมพูดหรืออาจจะเพราะการคิดไปเองของ


เรา จงระวัง อย าฟ งคำโกหกของมารที่จะพยายามทำใหเราสงสัยความจริงใจของผูอื่น ซึ่ง




นั้นไม ใชน้ำพระทัยของพระเจา แตน้ำพระทัยของพระเจาคือใหเราจงรักซึงกันและกัน




(ยน.13:34-35)




ใหอภัยกันและกันเหมือนอย างที่พระเจาทรงให อภัยเราในองคพระเยซคริสตนั้น ร อยพัน



เรื่องดี ๆ ที่ทำ สูไมไดกับเรื่องเลว 1 เรื่องที่ทำ อย าใหเปนอย างนั้นเลย ขอพระเจาทรง








สอนใหเรานั่งนับพระพรดี ๆ ที่ใครคนหนึ่งทำใหเราทุก ๆ วัน แล วจารึกสิงเหล านั้นไวบน




ศิลาในหวใจของเรา เพือจะไม มสิงใดลบเลือนสิงเหล านั้นไปจากใจของเราได เพื่อที่วัน



หนึ่งเมื่อใครคนนั้นไดเผลอทำสงทเลวร ายกับเราเขา ก็อย าใหความรักของเรานั้นเยือก









เย็นลงเลย อย าใหการกระทำหรือบางคำพูดของเค ามาทำลายสิงทสำคญทีสดคือ






"มิตรภาพ" แม สิ่งนั้นจะทำร ายความรูสึกของเราอย างมาก แตจงใหความรักของพระเจา



ในจิตใจของเรานั้นมากกว าเพื่อจะสามารถลบล างความผิดมากมายของเขาได (1ปต.4:8)
จงทำเหมอนพระเยซคริสต ที่ทรงเขียนความผิดบาปของเราไวที่พื้นทราย เพื่อใหลมแห ง




การใหอภัยมาพัดลบลางความผิดบาปของเราไป (ยน.8:6)


อย าติดคางหนี้อะไรใครนอกจากหนี้ความรัก เพราะความรักใหญ ที่สุด (รม.13:8, 1คร.





13:13) ตอใหเรามีความเชื่อที่ยิ่งใหญ จนสามารถทำการอัศจรรย ตางๆได รักษาโรคได ขับ




ผีออกได แตหากปราศจากความรักก็ไรประโยชน ในสายพระเนตรของพระเจา (1คร.

13:1-3) หรือตอใหเรามีความหวังใจที่จะมีชีวิตอยู แตหากอยูอย างปราศจากความรักเรา




ก็ไมตางอะไรกับศพเดินไดในโลกนี้ (1ยน.3:14-15)
เราอยูอย างปราศจากอะไรกไดในโลกนี้ แต เราไมสามารถอยู โดยไมมีความรักไม ได!










บททดสอบของความรัก คือ การใหอภัย สิงททำใหพระเจาของเราทรงน าเกรงขามคือ



พระองค ทรงมการอภัยอย างเหลือล นอยูตลอดเวลา (อสย.55:7) เพราะสิ่งนี้ละ...ทำใหผม





และคุณจึงไดอยูในความรักของพระองค เชนนีเรือยมา


จงใชสายตามองที่พระเจา อย ามัวเอาสายตามองแตความผิดของคนอื่น (สภษ.4:25)







อย าใหการกระทำหรือคำพูดทีเลวรายของใครบางคน (อฟ.4:29) มาเปนดั่งเสนผมที่บด



บังความรักของเรา เพราะหากจิตใจเราไมมีความรัก เราก็กำลังตกอยูในวังวนแห งความ


หวาดกลัว เราไมสามารถยกโทษบางคนไดเพราะเรากลัวเสียหน า หรอกลัววาการทำแบบ






นั้นจะทำใหคนนั้นเหลิงไมรู ตัววาตัวเองทำผิดอยู หรือปาว? อย าลืม...จงทำการงานของ





เราที่มองเห็นได คือ การยกโทษและใหอภัย สวนงานที่มองเห็นไมได งานในจิตใจที่จะทำ

ใหเค าคนนั้นรูสึกผิดและกลับใจใหมนั้นเปนงานของพระวิญญาณฯ (กจ.2:37, 47)



เมื่อเราทำส วนของเราเต็มที่ในการสำแดงความรักกับเค าที่ทำร ายจิตใจของเรานั้น พระ


คริสตจะทรงทำส วนของพระองค ตอไปเอง


เค าที่ทำร ายจิตใจของเราไมว าจะด วยคำพูดหรือการกระทำนั้น อาจจะทำใหเราเจ็บปวด




ชอกช้ำ ผิดหวัง เสียใจ แตไมไดทำใหเราตายสักหน อย และทำไมเรายังไมตายเพราะ


คำพูดหรือการกระทำของเค า ก็เพราะ...พระเจาทรงปรารถนาใหเราที่จะมีเวลาที่จะ



กลับคืนดกับเคาอีกครั้ง ดวยการให อภัย ระวัง...จะเสียใจหากไมมีเค าใหอภัยแล วในวันนี้




คุณคิดวา ระหว างการจะไปนั่งหน าหลุมศพแล วอโหสิกรรมใหเค าที่ตายไปแล ว กับการให




อภัยเคาในวันนทีคุณสามารถจะสวมกอดเคาคนนั้นได สิ่งไหนละ...เปนพระประสงคของ





พระเจาที่ทรงปรารถนาใหเราทำมากที่สุด?!




ไมมการกระทำใดหรือคำพูดใดฆาเราใหตายได แตมันสามารถทำใหเราเกลียดชังและเลิก

ไมไววางใจใครบางคนได จงใหความรักของพระเจาในจิตใจของเรานั้นใหญ กว า และมาก







พอที่จะใหอภัยได อย าตอบสนองตามอารมณ หมดเวลาทีทำตามอำเภอใจของเราที่
อยากจะเอาชนะเคาคนนั้น และหมดเวลาในการเรียกร องความยุติธรรมทั้งสิ้นแล ว แต


มันถึงเวลาที่เราจะแสวงหาน้ำพระทัยของพระเจาอย างจริงจัง เพราะเวลาของเราในโลก


นี้ชางแสนสั้นยิ่งหนัก และน้ำพระทัยของพระเจาคือการเอาชนะตนเองเพื่อจะรักคนอื่น




อย างพระเยซูคริสต หากพระคริสตทรงอดทนกบเราได เราลูกพระเจาก็ย อมต องอดทน


และทำอย างนั้นกับคนอื่นๆดวย โดยเฉพาะอย างยิงคนททำร ายเรา (กท.6:1)



เพราะหากไม มีคนมาทำร ายจิตใจของเรา เราจะมีโอกาสไดสำแดงพระเจาใหโลกนี้ตะลึง



ไดอย างไร คนของพระเจาไมทำอะไรๆตามอารมณ หรือความรู สึก แต คนของพระเจาจะ






ทำอะไรๆทพระเจาพอพระทัย และใครๆก็เห็นว าดี (รม.12:17)

ลูกพระเจาจะไมเรียกร องสิ่งใด ๆ แต เราจะร องเรียกพระเจา เพราะในพระเจาทุกสิ่งมี




อย างบริบูรณ รวมไปถึงความรักและความยุติธรรมดวย





บัดนี้...ไดเวลาทเราจะ รัก รัก รก รัก ดวยใจจริงอย างพระครสตกับใครสักคนหรือหลาย



ๆ คนไดรึยัง...? (1ยน.3:18)

ศาสนาอิสลามกับความพอเพียง




ความเป นอิสลาม




ศาสนาอิสลสามเกิดขึ้นในป พ.ศ. ๑๑๕๔ ใน
คาบสมุทรอาหรับ แล วเผยแพร ไปสู ทวีปยุโรป มาท ี ่


อินเดีย และหมูเกาะชวา เขามาประเทศไทยทาง

ทิศตะวันตก ผ านบังคลาเทศ พม า จากทิศเหนือ




เขามาทางภาคใตของจีน และทางทศใตผ าน






มาเลเซย โดยเฉพาะในสมยกรงศรอยุธยา และ

เขามาอีกจำนวนมาก ตงแตยุคตนกรุงรัตนโกสินทร






ทกรุงเทพฯ พระนครศรอยุธยา ฉะเชงเทรา นครนายก










และปทุมธานี ทีทราบกนดวา เปนเขตทมีชาวมสลิมมากทีสด


คือ สี่จังหวัดทางภาคใต คือ ป ตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล นอกนั้นส วนหนึ่งอยู ใน


จังหวัดใกลเคียง คือ สงขลา นครศรธรรมราช และภูเกต


ชาวมสลิมส วนใหญ ในประเทศไทยนับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่ ประมุขสูงสุด

ของชาวมุสลิมในประเทศไทยเรยกวา จุฬาราชมนตรี ซึ่งรัฐบาลเปนผู แตงตั้ง ในชุมชน










ชาวมสลิมจะมีผูนำศาสนา มีโรงเรียนสอนศาสนาสำหรับเดก มสถานทประกอบพธีทาง


ศาสนา เรียกว า สุเหรา หรือมัสยิด
อิสลามกับวิถีชีวิต

ศาสนาอิสลามถือว า กฎเกณฑทางศาสนาเปนแนวทางปฏิบัติในการดำเนินชีวิต



ไมไดแยกชวตทางศาสนาออกจากทางโลก จึงมีกฎระเบยบต างๆ อย างละเอียด มีขอห าม









จำนวนมาก เชน ห ามรับประทานเนอสตวทตายเอง หรือถูกสัตวอื่นกัดตาย หาม








รบประทานเลือดทกชนิด เนอสุกร หามกินสัตวที่จับสัตวอื่นเปนอาหาร เชน เสือ หมา










ลิง หรือจับดวยองเล็บ เชน นกอินทรี เหยี่ยว นกเค าแมว อีกา นอกนั้นยังรังเกียจอาหาร
ประเภทดองตางๆ เชน ปลาร า ปลาเจา กะป บูดู ห ามดื่นของเมาทุกชนิด รวมทั้งยาเสพ





ติด เชน ฝ น เฮโรอีน ห ามเลนการพนันทุกรูปแบบ ซื้อขายสลากกินแบง หรือหวย


ในเรื่องการค าขาย ศาสนาอิสลามหามการคดโกงทุกชนิด ใหค าขายอย างเปดเผย ห าม


ผูกขาด กดราคา โกงราคา กักตุนสินค า หามเอาดอกเบี้ยเงินก หามสบถสาบาน หรือ




กล าวเท็จ เปนตน



อาจกล าวไดว า ศาสนาอิสลามมีบทบัญญัติ ข อห าม และหลักปฏิบติ สำหรับการดำเนิน




ชีวิต ใหชาวมุสลิมใชเปนแนวทาง ตั้งแตเกิดจนตาย ตั้งแตตื่นนอน จนถึงเขานอนเลย



ทีเดียว








การปฏิบัติศาสนกิจเปนส วนหนงของการดำเนินชวิตประจำวัน ศาสนกจสำคัญมอยู ๕
ขอที่อิสลามทุกคนพึงปฏิบัติ

๑. การนมาซ (ละหมาด)




เปนการแสดงความคารวะตอพระผู เปนเจาวันละ ๕ เวลา คือ เวลาย่ำรุง ก อน





ตะวันทอแสง (อัลซุบฮิ) เวลาตะวันคลอย (อัลดฮ ริ) เวลาบ าย (อลอซริ) เวลาพลบค่ำ (อัล

มกริบ) และเวลากลางคืน (อัลอิชาอฺ)

๒. การถือศีลอด


คือ การเว นจากการดื่ม กิน และการรวมสังวาส ตั้งแตรุ งสางจนพลบค่ำ ตลอดจน

ละเว นความคิดราย วาจาหยาบคาย นินทาผู อื่น การแสดงความโกรธ ความโลภ ความ






หลงตางๆ เปนการฝ กจิตใจใหมีความอดทน และรูจักเอื้อเฟ อเผือแผ การถือศีลอดนี้


กระทำในเดือนรอมฎอน โดยนับเดือนตามจันทรคติ (พ.ศ.2538 ตรงกับเดือนกุมภาพันธ)


เปนเวลาหนึงเดือน ผู ที่ไดรับการยกเวน คือ ผูทำงานหนัก คนชรา คนเจ็บ เด็ก หญิงมี



ครรภ แม ลูกอ อน

๓. การบำเพ็ญฮัจญ





คือ การเดินทางไปบำเพ็ญศาสนกจ ทีนครมกกะฮ ประเทศซาอุดิอาระเบีย
๔. การจายซะกาต











หรือการจายทาน เปนการจายตามศาสนบญญัต จากทีมเกนจำเปนในครอบครัว






ทั้งทรัพย สินเงินทอง และอาหาร เพื่อใหแกคนยากจน คนขัดสนตางๆ ซึงมกำหนดไว



อย างชัดเจนว า จะต องจายในอัตราเทาใดของรายไดของแต ละคน

๕. วฒนธรรมการดำเนินชวิตของมุสลิม







จะตองผูกพันอยู กับความศรัทธาในพระผูเปนเจา และปฏิบติตามบทบญญตของ







ศาสนา ตั้งแต การทำพิธีนมาซในตอนรุงเชา เมอตนนอน จนนมาซครงท ๕ เมอกอนเข า








นอน ในการรับประทานอาหาร หรือปฏิบัติงาน การปฏิบัติตนตอสมาชิกในครอบครัว




หรือเพื่อนฝูง ตองทำตามกฎเกณฑที่ศาสนาไดกำหนดไว



ชาวมสลิมเชอว า อิสลามเปนศาสนาที่พระผู เปนเจา (อัลลอฮฺ) ทรงบัญญัติแก นบี






(ศาสดา) เพอสังสอนมนุษย ตั้งแต มีโลกมนุษย มา โดยมี นบมูฮัมมด เปนนบีองค สุดท าย









อล-กรอาน คือ คัมภีรของอสลาม ศรัทธา
ของอิสลามมี ๖ ประการ คือ

๑. ศรัทธาในความเปนเอกของ


พระผู เปนเจา
๒. ศรัทธาในเทวดา (อัล

มาลาอิกะฮ ) ของพระผู เปนเจา

๓. ศรทธาในคมภร (อล-กุรอาน)




ของพระผู เปนเจา






๔. ศรัทธาในนบี (นบีมูฮัมมัด) (ผู ประกาศขาว) และผู สื่อสารของพระผู เปนเจา
๕. ศรัทธาในวันสิ้นโลก


๖. ศรัทธาในกฎกำหนดสภาวะที่พระผูเปนเจาทรงกำหนดไว



มสลิมกบความพอเพยง











อสลามนนมีเหตและผลมากมายทเขยนหรอไมเขียนในคัมภีร อย างการที่อิสลาม



ไมเลี้ยงสุนัขเพราะอิสลามจะถือว านำลายของสุนัขไม สะอาด มีความยุงยากในการทำ
ความสะอาดโดยตองลางน้ำถึงเจ็ดหนเพื่อทำกิจกกรมอื่นหากโดนน้ำลายสุนัข จะเห็นว า
















เหตุและผลของเรืองนีคือความสะอาดบนพนฐานของความร ทงยงมภมคมกันในตัวเอง



อีกดวย อีกเรองคอการกน อิสลามมข อห ามเรื่องการกินมากมาย แต ที่เรารูจักกันดีคือ








การไม กินหมู ทำไมอิสลามไมแตะเนื้อหมูเลย? แตในความเปนจริงแล ว ขอห ามเรองเนอ









หมูไม ไดมีแค อิสลามเทานั้น ในสายศาสนาตระกลอับราฮัมทังหลาย ก็มีการหามกินเนื้อ
หมูกันทั้งนั้น แล วทำไมคนโบราณเหล านี้ถึงหามกัน? เรื่องนี้อธิบายไดงายมาก นั่นคือ




ความสะอาดอีกเหมือนกัน มอง ๆ ไปก็มีความพอเพียงแฝงอยูในนันทังนัน





ในสมัยกอนนนในยคทหองน้ำยังไมสามารถจัดการไดดี ต องใชการขนตกไปทิงดวยซ้ำ มี
















สัตว ชนิดนึงที่กนของพวกนี้ นั่นคือหมู จะเห็นไดว าหมูในแรกเริ่มไมไดถกเลียงไวกิน แต












ถูกเลี้ยงไวเพอกำจดอจาระ ของเสยทีหมกไวตางหาก อิสลามจึงไมกินหมูเพราะไมรู ว าจะ


นำพาเชื้อโรคอะไรมาใหบาง และน าจะเปนศาสนาเดียวในเครอนีทีไมกินหมูเนื่องจากข อ










หามและข อปฏิบติที่เครงครัด จึงสามารถเห็นไดว ามีทั้งความรูและคุณธรรม ทั้งยังมี


เหตุผล มภูมคุมกน และพอประมาณในตวเอง






คนไรศาสนากับความพอเพียง




การดำรงอยูโดยปราศจากศาสนา




แม จะเดาไดไมยากว า เมอถงยุคทวิทยาการความร พัฒนาไปจนสามารถตอบ








คำถามยากๆ ที่เคยเปน


ปริศนาสำหรับคนยคกอน


อย างเชน เรื่องฝนฟา
อากาศ หรือปรากฏการณ
ทางธรรมชาติต างๆ

บทบาทของ ‘ศาสนา’ ก ็

อาจลดลง อีกทั้งความเชื่อ


อันเข มข นตอศาสนาของ

ผู คนจะจางหายไปอย างรวดเร็วจนน าตกใจ








ขอมูลจาก The Pew Research Center ระบุว าสถิติของ ‘คนไมมศาสนา’ เพิมสูงขน





จาก 35 ล านคน เมื่อป 2008 มาเปน 1,100 ล านคน ในป 2019 ซึ่งบงบอกว ามันอาจ

เปนเรื่องธรรมดาสำหรับคนรุนใหม





และเกิดคำถามวา คนไมมีศาสนาจะมีชีวิตอยูกันอย างไร? ไมมีศาสนาจะทำยังไงกับศพ?



จะว าไปแล ว การประกาศวาตัวเองไมมศาสนาในสังคมทเรยกตวเองวาเปน ‘เมืองพุทธ’








นั้น ต องอาศัยความกล าหาญพอสมควร เพราะการไมนับถือศาสนา อาจทำใหตองรับแรง


ปะทะจากสังคมและครอบครัวไม มากก็น อยเลยเมื่อเกิดมา คนสวนใหญ มักถูกระบุ

ศาสนาตามพอแม หรือครอบครัวของตัวเอง กอนที่จะรูจักและเข าใจคำว า ‘ศาสนา’


จริงๆ เสียอีก

เมื่อเปนเชนนี้ จึงมีความเปนไปไดที่พอโตขึ้น เขาใจอะไรมากขึ้น ความเชื่อเปลี่ยนไป ก ็

อาจรูสึกตองการเปลี่ยนศาสนา หรือกระทั่งเลิกนับถือศาสนา เพราะค นพบว า สิ่งที่





ตัวเองยึดถือไมสอดคล องกบศาสนาทีระบุในบตรประชาชนอกต อไป


ไรศาสนาที่เป นศาสนา

ในกลุ มของคนทีระบว าไมนับถือศาสนานี้ ยังอาจแบงไดอีกสามกลุ มใหญ ๆ นันคือ







๑. Atheist เปนกลุมที่เชื่อ

ว า ‘ไม มี’ พระเจาและ

เทพเจาใดๆ รวมทั้ง
ชีวิตหลังความตายดวย

๒. Agnostic เปนกลุมที่


เชื่อว าอาจ ‘มี’ หรือ

‘ไม มี’ พระเจาก็ได


ศาสนาเบคอน
ตราบใดที่ยังไม มีข อ

พิสูจนที่แน ชัด พวกเขา





จึงไม ปกใจเชื่อสิ่งใดเลย ชีวิตหลังความตายอาจมีก็ได แตเชื่อว าน าจะไมมีมากกว า


๓. กลุมที่ระบุวา ‘ไม มีอะไรเปนพิเศษ’ คือไมมีศาสนา และไมไดสนใจจะระบุวา






ตัวเองอยู ในกลุ มไหน มความเชออย างไร





อย างงั้นแล วเมื่อเชื่อสิ่งใดแล ว เราก็มกจะถูกขับเคลอนดวยความเชื่อนั้น กล าวคือ

เราจะมองหาหลักฐานหรือเหตุผลเพื่อสนับสนุนความเชื่อของตัวเองโดยอัตโนมัติ



จะเห็นวาในกลุ มผู ไมนับถือศาสนา ก็ยังมีความเชื่อประจำกลุ มของตน เชน Atheist


‘เชื่อ’ ว าไมมีพระเจา, Agnostic ‘เชื่อ’ ว าอาจมีหรือไมมีพระเจาก็ได และ SBNR



‘เชื่อ’ เรื่องของจิต ไม แปลกที่บางคนจะบอกว านี่ก็คือศาสนานึงที่ไม มีการยึดถือ



ปฏิบัติแค นั้นเอง เมอมีศาสนาย อมต องมีคำว า ‘ศีลธรรม’ ควบคูกันเสมอ แต การ




เกิดขึ้นของศีลธรรมอาจไม จำเปนตองอยูภายใตศาสนาเสมอไป



ความหมายของคำว า ศีลธรรม คือ ธรรมทีดำรงความเปนปกติสุขของมนุษย ซึ่งตรง


กับคำในภาษาอังกฤษวา Moral ซึ่งมาจากภาษาละตินวา Moralis แปลวา ‘วิถีของ


ชีวิต’ -- เมื่อเปนเชนนี้ ศีลธรรมจึงเปนเรื่องของการดำรงชีวิตบนความเปนปกติสุข



เปนเรื่องที่วาดวยความถูก, ความผิด, ความดี, ความชั่ว อันเปนสากล ไมใชความดี







ี่


ของคนกลุ มใดกลุ มหนึ่งทเห็นวาดี แตเปนความดี ความถูกตอง ที่คนทั้งโลกเห็น


ร วมกันโดยไมมีข อโต แย ง



ฉะนัน เมือศลธรรมเปนเรื่องสากล (Universal) จึงไม ใชเรื่องที่จำเพาะเจาะจงสำหรับ





คนมีศาสนาเท านั้น แตยังเปนสิ่งที่มนุษย ทุกคนควรมี ไมว าจะนับถือศาสนาใด หรือ
จะไมนับถือศาสนากตาม



ไรศาสนากับความพอเพียง

การไร ศาสนานั้นหมายถึงการไม นับถือศาสนาแตไมไดไดหมายความว าจะเปนคนไ






ม ดีหรือทำสิ่งไมดีเพียงแตสิ่งไหนดีสิ่งไหนไมดีจะถูกแยกแยะด วยตนเองโดยไมจำเปน





ตองพึ่งพาคำสอนของใครเพียงแตเราใชความคิดของเราตัดสินใจด วยตวเอง




การที่เราจะแยกแยะความดีออกจากความไม ดนันเราจำเปนตองมความรู






เพื่อที่จะนำมาคิดวิเคราะห และไตรตรองแยกแยะว าสิ่งไหนที่ดีและสิ่งไหนที่ไม ดีและ
ความมีเหตุผลที่จะนำมาประกอบตัดสินใจเลือกเวลาเราจะทำอะไรก็ตาม



เพอทีเราจะไดเลือกกระทำแต สิ่งที่ดี





อีกทั้งยังการมีภูมิคุมกันในตนเองนั้นก็เปนสิ่งจำเปนที่จะทำใหเราไมหลงเดินทางผิด



ไปในทางที่ไมดีเพราะบางครั้งทางที่ไมดีนั้นก็เปนทางเลือกทีนาสนใจและเต็มไปดวยผ







ลตอบแทนมากมายแตผลตอบแทนพวกนั้นมันเกิดมาจากความไมสจรตซงเปนสิ่งที่ไม





ถูกต องและไมควรกระทำและการไมเบียดเบียนผู อื่นนั้นก็เปนสิ่งที่สมควรทำไมว าจะอ



ยูในศาสนาไหน

หรือไม มีศาสนาก็ตามเพราะการอยูในสังคมนั้นเราอาจจะต องพึ่งพาอาศัยกันแตไมคว



รเบียดเบียนกัน


การประยุกต



จะมีหรือไม มีศาสนา ความพอเพียงก็สามารถดำรงอยูได อย างที่กล าวไวในบทนำ



เพราะนี่คือปรัชญาแขนงนึง แล วปรัชญานั้นอยู ที่การตีความ จะมีหรือไมมีศาสนาเราก็นำ




ความพอเพียงมาใชได เพราะสิ่งนี้ไม ไดถูกจำกัดดวยอาชีพหรือความเชื่อใด แตอยูบน





พื้นฐานของชีวิต และความรู อันประเสริฐ ผูอ านเพียงปล อยใจใหว าง แล วนำมันไปปรับใช



กบ อาชีพหน าที่การงาน หรือแม แตความเชื่อที่มีความคิดแตงตางกัน

บรรณานุกรม




pimchanok pangsoy. (3 พฤษจิกายน 2564). PLOOK BLOG. เขาถงไดจาก
trueplookpanya:


https://www.trueplookpanya.com/blog/content/90473/-blo-morart-

mor-




ชุมพล ศรีสมบัติ. (28 พฤษภาคม 2555). gotoknow. เขาถึงไดจาก gotoknow:

https://www.gotoknow.org/posts/309797





เนตรศักดิ์ ใสรังกา. (23 กุมภาพันธ 2562). พระวจนะที่มีชีวิต. เขาถึงไดจาก
Alivingword:


https://www.facebook.com/alivingword/photos/a.730471070391674/

1368344009937707/?type=3



สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ. (ม.ป.ป.). มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับ



เยาวชนฯ. เขาถึงไดจาก saranukromthai.or.th:
https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=20&ch


ap=1&page=t20-1-infodetail05.html


พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2554



“ Life is really simple, but men insist

on making it complicated ”


Click to View FlipBook Version