The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสื่อสารข้อมูล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by arter9, 2019-12-09 01:54:36

การสื่อสารข้อมูล

การสื่อสารข้อมูล

การส่อื สารขอ้ มลู (Data Communication)

การส่อื สารขอ้ มลู คือ การแลกเปล่ยี นขอ้ มลู ระหวา่ งอปุ กรณอ์ ยา่ งนอ้ ย
2 ตวั โดยผ่านทางส่อื กลางชนิดใดชนิดหน่งึ ซง่ึ ขอ้ มลู นนั้ อาจจะอยใู่ นรูปของ
ตวั อกั ษร ตวั เลข รูปภาพ หรือเสียง เป็นตน้

การสื่อสารขอ้ มูลจะมีประโยชนม์ ากหรือนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั องคป์ ระกอบ
พ้ืนฐาน 3 อยา่ งคือ
1. ขอ้ มลู ท่ีส่งจะตอ้ งถึงผรู้ ับหรือปลายทางไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
2. ขอ้ มลู ท่ีส่งไปน้นั เมื่อไปถึงผรู้ ับหรือปลายทางจะตอ้ งมีความถูกตอ้ ง

แน่นอน ไม่ผิดพลาด
3. ขอ้ มูลจะตอ้ งถกู ส่งถึงผรู้ ับหรือปลายทางไดท้ นั เวลาที่ผรู้ ับหรือปลายทาง

จะนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้

องคป์ ระกอบของระบบส่อื สารขอ้ มลู

1.ผสู้ ง่ หรืออปุ กรณส์ ง่ ขอ้ มลู (Sender) และ ผรู้ บั หรอื อปุ กรณร์ บั ขอ้ มลู
(Receiver) ผสู้ ง่ หรอื อปุ กรณ์ สง่ ขอ้ มลู ตน้ ทาง ของ การส่ือสารขอ้ มลู
มีหนา้ ท่ีเตรียมสรา้ งขอ้ มลู สว่ นผรู้ บั หรอื อปุ กรณ์ รบั ขอ้ มลู เป็น

ปลายทางการส่อื สารขอ้ มลู มหี นา้ ท่ีรบั ขอ้ มลู ท่ีสง่ มาให้

DTE แหลง่ กาเนิดรบั ขอ้ มลู เทอรม์ ินอล คอมพิวเตอร์ เคร่ืองพมิ พ์

อปุ กรณ์ รบั - สง่ ขอ้ มลู

DCE อปุ กรณส์ ง่ -รบั ขอ้ มลู โมเด็ม จานไมโครเวฟ ดาวเทียม

2.โปรโตรคอล (Protocol) และ ซอฟตแ์ วร์ (Software) โปรโตรคอล คอื วิธีการหรือกฏระเบียบท่ใี ช้
ใน การส่อื สารขอ้ มลู เพ่ือใหผ้ รู้ บั และผสู้ ง่ สามารถเขา้ ใจกนั หรือคยุ กนั รูเ้ ร่ือง สว่ นซอฟตแ์ วรม์ ี
หนา้ ท่ีทาใหก้ าร ดาเนินงานในการส่อื สารขอ้ มลู เป็นไปตามโปรแกรมท่ีกาหนดไว้

3.ขา่ วสาร (Message) สญั ญาณอเิ ลคทรอนิกสท์ ่ีสง่ ผา่ นไปในระบบส่อื สาร เรียกวา่ ขา่ วสาร หรอื
Information สามารถแบง่ การส่อื สารขอ้ มลู ไดเ้ ป็น
4 รูปแบบดว้ ยกนั คอื เสียง ขอ้ มลู ขอ้ ความ ภาพ

4.ส่ือกลาง (Medium) ส่ือกลางเป็นเสน้ ทางการส่อื สารเพ่ือนาขอ้ มลู จากตน้ ทาง
ไปยงั ปลายทาง ส่ือกลาง การส่อื สารอาจจะเป็นเสน้ ลวด สายไฟ สายเคเบิล
หรอื คล่นื ทางอากาศ เชน่ ไมโครเวฟ ดาวเทียม วทิ ยุ

การสง่ -รบั ขอ้ มลู เพ่ือโอนถ่ายหรือแลกเปล่ยี นขอ้ มลู กนั ระหวา่ งผสู้ ง่ และผรู้ บั จะ
สาเรจ็ ขนึ้ ไดต้ อ้ งประกอบ ดว้ ยปัจจยั สาคญั 2 ประการ คือคณุ ภาพของ
สญั ญาณขอ้ มลู ท่ีสง่ -รบั กนั และคณุ ลกั ษณะของสายส่อื สาร สาหรบั สง่ ผา่ น
ขอ้ มลู อย่างไรก็ตามเทคนิคการสง่ -รบั ขอ้ มลู ทงั้ ท่ีเป็นสญั ญาณอนาลอ็ กและ
ดิจิตอล

สญั ญาณอนาลอ็ ก เป็นสญั ญาณท่ีเป็นคล่ืนตอ่ เน่ือง และเป็นคา่ ท่ีไดจ้ ากการ
วดั ไดแ้ ก่ สญั ญาณเสียง

สญั ญาณดิจิตอล เป็นสญั ญาณสญั ทญาณ่ีไดจ้ ากสองสถานะถือ เปิดหรอื ปิด บวกหรือ
ลบสว่ นใหญ่แทนคา่ ดว้ ย 0 และ 1

รูปแบบการสง่ สญั ญาณขอ้ มลู

1. แบบทิศทางเดียวหรือซิมเพลก็ ซ์ (One-Way หรือ Simplex )ในการสง่
สญั ญาณขอ้ มลู แบบ simplex ขอ้ มลู จะถกู สง่ ไปในทางเดียวเทา่ นนั้ และ
ตลอดเวลา ตวั อยา่ งเชน่ การกระจายเสียงของ สถานี วทิ ยุ หรอื การแพร่ภาพ
ทางโทรทศั น์ เป็นตน้

2. แบบกง่ึ ทางคหู่ รอื ครง่ึ ดเู พลก็ ซ์ (Either-Way of Two Waysหรอื Half
Duplex) การส่อื สารแบบ Half Duplex เราสามารถสง่ ขอ้ มลู สวนทางกนั ไดแ้ ต่
ตอ้ งสลบั กนั สง่ จะทาใน เวลาเดียว กนั ไมไ่ ด้ ตวั อยา่ งเช่น วิทยุส่ือสารของ

ตารวจแบบ Walkly-Talkly

3.แบบทางคู่ (Full-Duplex) ในแบบนีเ้ ราสามารถสง่ ขอ้ มลู ไดพ้ รอ้ มๆ กนั
ทงั้ สองทาง ตวั อย่างเชน่ การพดู คยุ โทรศพั ท์ โดยสามารถส่อื สารพรอ้ มกนั ได้

ทงั้ สองฝ่าย บางครงั้ เรียกการส่อื สารแบบทางควู่ า่ Four-Wire Line

4.แบบสะทอ้ นสญั ญาณหรอื เอ๊กโคเพล๊กซ์ (Echo-Plex) เป็นการสง่
สญั ญาณท่ีรวมทงั้ Half-Duplex และ Full-Duplex ไวร้ วมกนั เช่น ความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งคยี บ์ อรด์ และจอภาพของเคร่ือง Terminal ของ Main Frame หรอื Host
คอมพิวเตอร์



รูปแบบการเช่ือมโยงการส่ือสารขอ้ มลู

การเช่ือมโยงแบบจดุ ตอ่ จดุ ( Point - to - Point ) เป็นการเช่ือมโยง
ระหวา่ งเคร่อื งเทอรม์ นิ อล หรอื คอมพิวเตอรเ์ พียง 2 เคร่ือง โดยผ่านทางสาย
ส่ือสารเพียงสายเดียวและความยาวของสายไม่ จากดั สามารถสง่ สญั ญาณ
ขอ้ มลู ไดไ้ มว่ า่ จะเป็นแบบซมิ เพลก็ ซ์ ครง่ึ ดเู พลก็ ซ์ หรอื ดเู พล็กซเ์ ตม็ ก็ได้ และ
สามารถสง่ สญั ญาณขอ้ มลู ไดท้ งั้ แบบ ซิงโครนสั หรอื แบบ อะซงิ โครนัส สาย
ส่ือสารจะถกู จองการสง่ ขอ้ มลู อย่ตู ลอดเวลา ( Lease Line ) ดงั นนั้ การเช่ือมโยง
แบบจดุ ตอ่ จดุ จงึ เหมาะสมกบั งานท่ีมกี ารสง่ รบั ขอ้ มลู มากๆ และต่อเน่ือง เชน่
การเช่าสายโทรศพั ทเ์ พ่ือใชใ้ นระบบ ATM เป็นตน้

การเช่ือมโยงแบบหลายจดุ ( Multipoing or Multidrop )
เน่ืองจากการเช่ือมโยงแบบจดุ ตอ่ จดุ นนั้ สนิ้ เปลอื งสายส่ือสารมากเกินไป และ
ในการสง่ ขอ้ มลู สว่ นใหญ่มกั ใชง้ านไมเ่ ตม็ ประสทิ ธิภาพของสาย ส่ือสาร แบบ
การเช่ือมโยงท่ีคมุ้ คา่ กวา่ คอื การใชส้ ายส่ือสารเพียงสายเดยี ว แตเ่ ช่ือมตอ่ กบั
เทอรม์ ินลั ไดห้ ลายๆ เคร่ือง หรอื หลายๆ จดุ

การเช่ือมโยงแบบเครือขา่ ยสวติ ช่ิง ( Switching Network)

ในการทางานของการเช่ือมโยงแบบสวติ ซช์ ่ิงนนั้ ประกอบดว้ ย
1. การเช่ือมโยงการส่อื สารทงั้ 2 ฝ่าย ก่อนจะเร่มิ สง่ - รบั ขอ้ มลู เช่นตอ้ งหมนุ
หมายเลขโทรศพั ทก์ อ่ นจะเร่มิ พดู กบั ปลายทางได้ โดยมเี ครือข่าย สวติ ช่ิงเช่ือมโยง
คอยสลบั สายให้
2. การเช่ือมโยงการส่อื สารจะเป็นแบบจดุ ตอ่ จดุ คือคยุ กนั แค่ 2 คนเท่านนั้
3. เม่อื จบการสง่ ขอ้ มลู แลว้ จะตอ้ งตดั การเช่ือมโยงระหวา่ ง 2 จดุ นนั้ เพ่ือใหส้ าย
การส่อื สารวา่ ง เพ่ือใหส้ ายอ่นื เช่ือมตอ่ ได้

มาตรฐานการเช่ือมตอ่ OSI

Application มหี น้าทตี่ ดิ ต่อระหว่างผ้ใู ช้โดยตรง

หน้าทคี่ อยรวบรวมข้อความ และแปลง Presentation
รหัสหรือแปลงรูปแบบของข้อมูล
มหี น้าทเ่ี ช่ือมโยงระหว่างผู้ใช้งานกบั
Session คอมพวิ เตอร์

มีหนา้ ท่ีตรวจสอบและ ปอ้ งกนั ขอ้ มลู Transport

Network มหี นา้ ที่กาหนดเสน้ ทางการเดินทาง
ของขอ้ มลู ที่สง่ - รบั

มีหนา้ ที่เหมือนผตู้ รวจสอบ คอยควบคมุ Data Link

Physical

มีหน้าทร่ี ับ - ส่งข้อมูลจากช่องทางการสื่อสารส่ือระหว่างคอมพวิ เตอร์

ระบบสายเช่ือมต่อสญั ญาณขอ้ มลู

แบบมีสสาายยเกลยี วคู่ ( Twisted Pair Cable ) 2 เสน้ แตล่ ะเสน้
สายเกลยี วคเู่ ป็นสายทม่ี รี าคาถกู ท่สี ดุ ประกอบดว้ ยทองแดง
มฉี นวนหมุ้ พนั กนั เป็นเกลยี วปอ้ งกนั การรบกวนจากสนามแมเ่ หลก็ ได้ แต่ ไม่สามารถ

ปอ้ งกนั การสญู เสยี พลงั งานจากการแผร่ งั สคี วามรอ้ นในขณะท่ีมสี ญั ญาณส่งผา่ นสาย

สายเกลยี วคู่ 1 คู่ จะแทนการสอื่ สาร ได้ 1 ช่องทาง สอื่ สาร ( Channel ) ในการ
ใชง้ านไดจ้ รงิ เชน่ สายโทรศพั ทจ์ ะเป็นสายรวมที่ประกอบดว้ ยสายเกลยี วคอู่ ยภู่ ายใน

เป็นรอ้ ยๆ คู่ สายเกลยี วคู่ 1 คจู่ ะมี ขนาดประมาณ 0.016 - 0.036 นวิ้

สายโคแอกเชียล ( Coaxial Cable)

สายเคเบิลแบบโคแอกเชียลหรือเรียกสนั้ ๆ วา่ " สายโคแอก " จะเป็นสายส่ือสารท่ีมี
คณุ ภาพดกี วา่ และราคาแพงกวา่ สายเกลียวคู่ สว่ นของการสง่ ขอ้ มลู จะอยู่ตรงกลาง
เป็นลวดทองแดงมีชนั้ ของตวั เหน่ียวนาหมุ้ อยู่ 2 ชนั้ ชนั้ ในเป็นฟ่ันเกลียวหรือชนั้ แข็ง
ชนั้ นอกเป็นฟ่ันเกลียว และค่นั ระหวา่ ง ชนั้ ดว้ ยฉนวนหนา เปลอื กชั้นนอกสดุ เป็น
ฉนวน สายโคแอกสามารถมว้ นโคง้ งอไดง้ ่าย มี 2 แบบ คอื 75 โอหม์ และ 50 โอหม์
ขนาดของสายมตี งั้ แต่ 0.4-1.0 นิว้ นอก จากนนั้ สายโคแอกยงั ช่วยปอ้ งกนั " การสะทอ้ น
กลบั " ( Echo ) ของเสียงไดอ้ ีกแและลดการรบกวนจากภายนอกไดด้ ีเช่นกนั

แบบไมจม่ ะสี าเปย็ นกกาารรสส่่งงสสัญญั Mไญญมicาาrโณณoคwขขaรvออ้้เeวมม)ฟูลูล(แไปบกบบัรับคลชื่น่วงไตมอ่ โๆครกเวนั ฟ
จากหอ ( สถานี ) ส่ง - รับสัญญาณหน่ึงไปยงั อีก
หอ หน่ึง แต่ละหอจะครอบคลุมพ้ืนที่รับสัญญาณ
ประมาณ 30- 50 กม.
การส่งสัญญาณขอ้ มลู ดว้ ยไมโครเวฟมกั ใชก้ นั
ในกรณีท่ีการติดต้งั สายเคเบิลทาไดไ้ ม่สะดวก เช่น
ในเขตเมืองใหญ่ๆ หรือ ป่ าเขา แต่ละสถานี
ไมโครเวฟจะติดต้งั จานส่ง - รับสัญญาณขอ้ มูลซ่ึงมี
เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 10 ฟตุ

ดาวเทียม ( Satellite )
ท่ีจรงิ ดาวเทียมคือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้าน่นั เอง ซง่ึ ทาหนา้ ท่ีขยายและ

ทบทวนสญั ญาณขอ้ มลู รบั และสง่ สญั ญาณขอ้ มลู กบั สถานีดาวเทียม บนพืน้
โลก สถานีดาวเทียมภาคพืน้ จะทาการสง่ สญั ญาณขอ้ มลู ไปยงั ดาวเทียมซง่ึ
จะหมนุ ไปตามการหมนุ ของโลกซง่ึ มตี าแหน่งคงท่ี เม่อื เทียบ กบั ตาแหน่งบน
พืน้ โลก ดาวเทียมจะถกู สง่ ขนึ้ ใหไ้ ปลอยอยสู่ งู จากพืน้ โลกประมาณ 36,000 กม.

คาศพั ทแ์ ละแบบฝึกหดั

คาศพั ท์ แบบฝึกหดั

1. Date Communication 1. สายยทู ีพี (UTP) ยอ่ มาจากอะไร
2. Receiver หมายถึงอะไร
3. Protocol
4. Media 2. สายเอสทีพี (STP) ยอ่ มาจากอะไร
5. System หมายถึงอะไร
6. Cable
7. Satellite System
8. Parallel
9. Transmission
10. Network


Click to View FlipBook Version