ตัวช้ีวัดระบบนิเวศ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก
...พลว้ิ พลว้ิ ปลวิ ไหว สยายปีก
กรดี กราย ลมฉีก ฉวดั เฉวยี น
สกณุ า ใหญ่น้อย บนิ วนเวยี น
ผลดั เปลย่ี น ป้อนเหยอ่ื ใหล้ กู มนั
บา้ งกนิ พชื กนิ ผล กนิ ดอกหญา้
บา้ งกอ็ อก เป็นนกั ลา่ ดสู ขุ สนั ต์
เกดิ สมดุล ธรรมชาติ ในทุกวนั
วหิ คน้อย ประโยชน์นนั้ อนนั ตเ์ อย...
เมธาพนั ธ์ นลิ แกว้
สัตว์ เป็นส่ิงมีชีวิตที่สามารถเคล่ือนที่ได้ แต่สร้างสารอาหารเองไม่ได้อย่างพวกพืช จาเป็นต้องพึ่งพาการกินสิ่งมีชีวิตด้วยกันเป็นอาหารแ ละอาศัย
สิง่ แวดลอ้ มเพ่ือการดารงชีวติ เป็นสาคัญ ความหมาย “สัตว์ป่า” ในทางนิเวศวิทยา จึงหมายถึงสัตว์ท่ีมีการดารงชีวิตเป็นอิสระในถิ่นอาศัยที่มีปัจจัย
แวดลอ้ มจาเป็นในการดารงชีวติ ได้แก่ นา อาหาร ที่หลบซ่อนอาศัย และทีว่ ่างจาเป็น เหมาะสมกับสภาพการดารงชีวิตและการสืบพันธ์ุของสัตว์ป่า
นัน ๆ สัตว์ป่า จึงมีความสามารถปรับตัวตามสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปและมีการตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมถิ่นอาศัยได้
รวดเรว็ ดังนนั สถานภาพของสัตว์ป่า จงึ ขึนอยู่กับคุณภาพปัจจัยแวดล้อมของถิ่นอาศยั และเป็นดชั นีบง่ ชีสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศของสัตว์ป่า
โดยเฉพาะชนิดพนั ธุ์เด่นในสงั คมของถ่ินอาศัย ซงึ่ จดั เปน็ ชนิดพันธทุ์ ี่ประสบความสาเร็จในการดารงชวี ติ ในสภาพแวดลอ้ มของทอ้ งถน่ิ นัน ๆ ดีที่สุด
การดารงชีวิตจึงสัมพันธ์กับต้นไม้และสภาพสังคมพืช เป็นทังที่อยู่อาศัย
หากนิ และจับคู่ผสมพนั ธุ์ทารงั วางไข่ ซึ่งส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการหากินตอน
กลางวนั มกี ารแสดงตวั เปิดเผย มเี สียงร้องดงั ในการติดตอ่ สื่อสารระหว่างกัน
ท าให้สามารถพบเหน็ ตัวหรอื ได้ยินเสียงรอ้ งไดโ้ ดยตรง
นกมีความผกู พนั ใกลช้ ิดกับต้นไม้ ซึ่งเป็นดชั นบี ง่ ชสี ภาพแวดล้อม
ระบบนิเวศนัน ๆทาให้นกมีความอ่อนไหว และความสามารถปรับตัวตาม
การเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมได้เด่นชัดรวดเร็ว นกจึงเป็นตัวชีวัด
สภาพแวดล้อม และการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมได้เหมาะสมดีกว่าสัตว์
จาพวกอ่ืน ๆ โดยเฉพาะชนดิ พนั ธุเ์ ดน่ ในทอ้ งถิน่
ข้อมลู จาก ฐานข้อมลู นก มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้
1.นกกาเหว่า
นกในตระกลู นกคคั คู ตวั ผมู้ สี ีดา นกกาเหว่าเป็ นนกในวงศ์คัคคู (Cuculidae)
ล้วน ตาสีแดง ตัวเมียมีสีออก มีขนาดใกลเ้ คียงกับอีกา ลาตัวเพรียวยาว
นา้ ตาลลายจดุ ขาว ตาสีแดง หางยาวและแข็ง เท้าจับก่ิง ไม้
มีลักษณะพิเศษต่างจากนกชนิดอื่ น คื อ
ห า ก ใ ค ร ม า ท่ี ศ ูน ย์ ศึ ก ษ า แ ล ะ สามารถจับก่ิงไมไ้ ดร้ อบโดยใชน้ ิ้วหนา้ 2 น้ิว
พัฒนาชมุ ชนนครนายก จะตอ้ งได้ และน้ิวหลัง 2 นิ้ว ตัวผมู้ ีสีดา ปากสีเขยี วเทา
ยินเสียงรอ้ ง “กาเวา้ กาเวา้ ” อย่าง สว่ นตวั เมยี สนี า้ ตาลแก่ มีลายเป็ นจดุ ขาวทวั่ ตวั
แนน่ อน
ในประเทศไทย นกกาเหว่าเป็ นสตั วป์ ่ า
เจา้ สองตวั นถ้ี ่ายไดบ้ ริเวณตน้ หู ค้มุ ครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและ
กระจงหลงั อาคารเหลืองอนิ เดยี
คมุ้ ครองสัตว์ป่ า พุทธศักราช 2535 จึงห้ามล่า
พยายามล่า ห้ามค้า ห้ามนาเข้าหรือส่งออก
หา้ มครอบครอง หา้ มเพาะพันธ์ุ หา้ มเก็บหรือทา
อันตรายรัง การหา้ มการครอบครองและการคา้ มี
ผลไปถึงไขแ่ ละซาก
2.นกกระสาแดง
นกในวงศน์ กระสา เป็ นนกอพยพมาจากประเทศทางเหนือ เจา้
ตัวน้ีพบท่ ีศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก บริเวณสระนา้ หนา้ อาคาร
กาสะลอง สระน้าน้ีมีนกน้าหลายชนิดแวะเวียนมาหากินตลอดปี แต่เจา้ น่ ี
น่าจะหายากกวา่ ตัวอ่ ืน
ลักษณะของนกกระสาแดงนั้น ตัวผู้
และตวั เมียมลี กั ษณะคลา้ ยกนั ปากยาว คอ
ยาว ขายาว สีตอนบนเป็ นสีน้าตาลดา
ตอนล่างเป็ นสีนา้ ตาลเหลือง มีลายดาจาก
มุมปากเป็ นทางไปตลอดคอ และจาก
ดา้ นขา้ งจนถึงอก ซึ่งมีท้ังสองขา้ ง ใตค้ าง
ค่อนขา้ งขาว มีขนประดบั หรือขนสรอ้ ย ซึ่ง
มสี ีนา้ ตาลดาและมีลกั ษณะเป็ นเสน้ เล็กยาว
แหลมหอ้ ยจากหนา้ อกในฤดผู สมพนั ธ์ุ
ในประเทศไทยนกกระสาแดง เป็ นสตั วป์ ่ า
คมุ้ ครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคมุ้ ครองสัตว์
ป่ า พทุ ธศกั ราช 2535
3.นกกินปลีอกเหลือง
เป็ นนกจับคอนขนาดเล็ก ในวงศ์นกกินปลี ตัวผมู้ ีสีสนั สดใส
ทอ้ งมีสีเหลือง ใตค้ างมีสีนา้ เงินแดง ส่วนตัวเมียจะมีสีนา้ ตาล
ออกเขียว ชอบกินนา้ หวานจากดอกไมเ้ ป็ นอาหารและอาจกิน
พวกแมลง หรือสตั วข์ นาดเล็กดว้ ย
จดุ เดน่ ของนกชนดิ น้ี คือ มีจงอยปากยาวโคง้ ทีภ่ ายในกลวง
เป็ นทอ่ และมลี ้นิ ขนาดยาวอย่ใู นนน้ั ใชส้ าหรบั ดดู กินนา้ หวานจาก
ดอกไมเ้ ป็ นอาหารหลัก บางคร้ังอาจจะกินแมลงดว้ ย และนาไป
เล้ียงดลู กู อ่อน สามารถบินไดด้ ว้ ยความรวดเร็ว จึงมีลักษณะ
คลา้ ยกบั นกฮมั มิงเบิรด์ (Trochilidae) ท่ีพบในทวีปอเมริกา ความ
คลา้ ยคลึงกนั เกิดจากวิวัฒนาการเบนเขา้ ซึ่งเกิดจากวิถีชีวิตการ
กินนา้ หวานที่คลา้ ยคลึงกัน เจา้ ตวั น้ีเป็ นตัวผสู้ ดุ หล่อในฐานคน
รกั ษแ์ มธ่ รณี ของศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชนนครนายก
ในประเทศไทย ถือเป็ นสตั วป์ ่ าคมุ้ ครอง
ตามพระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ้ ครองสตั วป์ ่ า พทุ ธศกั ราช 2535
4.นกกาน้าเล็ก
เป็ นนกในวงศน์ กกาน้าที่มีขนาดเล็กท่ีสดุ เท่าท่ีเคยพบ
ในประเทศไทย ตวั ผแู้ ละตวั เมยี มลี กั ษณะเหมือนกนั ขนตามลาตวั มีสดี า
เหลือบนา้ เงนิ ตรงปี กมีสีนา้ ตาลปน บริเวณรอบตามีจดุ สีขาวขนาดเล็ก ใต้
คางมีสีครีม ชอบอาศัยอย่ตู ามหนองบึง แมน่ า้ ลาคลอง ทอ้ งนา ส่วนใหญ่
ชอบอย่ตู ามลาพัง บางคร้ังอาจพบอย่รู วมกันเป็ นฝูงบา้ ง ชอบดานา้ ไล่จับ
ปลาเป็ นอาหาร เม่ือขน้ึ จากนา้ มกั จะยืนกางปี กตากแดดใหข้ นแหง้
เจา้ ตัวน้ีพบที่สระนา้ หนา้ อาคารกาสะลองของศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชน
นครนายก ดาผดุ ดาว่ายอยตู่ วั เดียว เขา้ ไปถ่ายรปู ใกลๆ้ ยากมาก
นกตัวเล็กท่ีเสียงเจ้ือยแจ้วน่ารัก เจา้ ตวั ในภาพนก้ี าลงั คาบวสั ดเุ พื่อนาไปทารงั
มาก เสียงก้องใส ดัง “วิด วิด” ลักษณะ ถ่ายไดบ้ ริเวณสวนหย่อมหนา้ อาคารกาสะลอง
ศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชนนครนายก
หนา้ ผากและกระหมอ่ มนา้ ตาลแดง คิ้วและหนา้
ขาวแก้มเทา ลาตัวด้านบนเขียวคล้า ลาตัว
ดา้ นล่างขาว บางครั้งใตค้ อเป็ นสีดาโดยเฉพาะ
ขณะรอ้ ง คลา้ ยกระจิบคอดา แต่กน้ ขาวตลอด
ไมม่ สี ีเหลืองแซม 5.นกกระจิบธรรมดา
นกกระเต็นนอ้ ยธรรมดา นกชนดิ นเ้ี ป็ นนกขนาดเล็ก ยาว 16–18 เซนติเมตร ปี กสน้ั กว่า 8 เซนติเมตร หางสนั้ นกวยั เล็กมีอก
สีหม่นออกขาวเทา มีปากล่างสีแดง ขาและเทา้ สีดา และจะค่อยๆ แดงขนึ้ เรื่อยๆ เมื่ออายมุ ากขน้ึ ชอบ
เ ป็ น น ก อ พ ย พ ลั ก ษ ณ ะ สี สั น กินปลา และสตั วเ์ ล้ือยคลานขนาดเล็กเป็ นอาหาร เจา้ ตวั น้ีบินชนกระจกที่อาคารรวงผึ้งสลบไป กอ่ นจะ
สวยงามมาก มีหัวและหนา้ ผากสี ไดร้ บั การปฐมพยาบาลและปลอ่ ยคืนอิสรภาพตอ่ ไป
ฟ้ าอมเขียว สดใส มีจดุ สีฟ้ าอ่อน
เล็กๆ เป็ นแนวขวางถี่ๆ หลายแนว 6น.นกกกกรระเะตเต็น็นนนอ้ อ้ยยธธรรรมมดดาา
คอสีขาว อกสีน้าตาลแดง แก้ม
และขนคลมุ หสู ีนา้ ตาลแดง ปี กสีฟ้ า
อมเขยี ว มีจดุ สีฟ้ าอ่อนตรงแนวปี ก
หลังและตะโพกสีฟ้ าสดใสมากขา
และนว้ิ เทา้ เล็ก สแี ดงสดใส
7.นกจาบฝนปี กแดง แตกต่างจากนกจาบฝนปี กแดงท่ี
ลาตัวเพรี ยวและหางยาวกว่า
นกจาบฝนหรอื นกลารค์ เล็กนอ้ ย ขนหางค่นู อกขาว ลายที่
อกบางและจางกว่า
เป็ นนกเกาะคอน ส่วนใหญ่อาศัย จะพบนกชนิดน้ีไดท้ ี่ศนู ย์ศึกษาและ
อย่แู ถบแอฟริกา ชอบหากินบนพ้ืนดิน พฒั นาชมุ ชนนครนายกในชว่ งตน้ ปี
เป็ นกล่มุ เล็ก ปากหนาและค่อนขา้ ง
สนั้ ขนลาตวั นา้ ตาลดามีลายจากขอบ เจ้าตัวน้ีพบบริเวณสวนผลไม้
ขนสีน้าตาลอ่อน ค้ิวยาวสีขาวแกม ของฐานคนรกั ษป์ ่ า
น้าตาลอ่อน หน้าและขนคลุมหูสี
นา้ ตาลเรียบไม่มีลาย ขณะบินเห็นขน
ปี กบินตอนหนา้ สนี า้ ตาลแดงเขม้
นกชนิดนี้ชอบอาศัยตามท้องนา ท่งุ หญ้า ป่ าโปร่ง และ
บริเวณใกลแ้ หล่งกสิกรรม หรือหมบู่ า้ น มกั หากินอย่ตู ามลาพัง
แตอ่ ย่เู ป็ นค่ใู นช่วงฤดผู สมพันธ์ุ ชอบเกาะอย่นู ิ่งบนกิ่งไม้ และลง
หากนิ ตามพนื้ ดนิ ชอบรอ้ งเสียงดงั “ตา้ ตา้ ” กินสตั วเ์ ลอื้ ยคลาน
ตวั เล็กๆ ตามท่งุ หญา้ เป็ นอาหาร เจา้ ตวั น้เี ป็ นขาประจาบริเวณ
ตน้ ไมใ้ หญร่ ิมสระหนา้ อาคารกาสะลอง และลานจอดรถของศนู ย์
ศึกษาและพฒั นาชมุ ชนนครนายก
8.นกตะขาบท่งุ
นกตะขาบท่งุ เป็ นนกประจาถิ่น ที่มีสีสันสวยงาม
โดยเฉพาะเมื่อกางปี ก ตัวผแู้ ละตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน ขนบน
กระหมอ่ มมีสีเขยี วแกมฟ้ า เหลือง และนา้ ตาล บริเวณคอ ไหล่ อก
และหลงั เป็ นสนี า้ ตาลแกมเขยี ว ปี กสีนา้ เงนิ แกมมว่ ง หางมีสีฟ้ าคาด
ดว้ ยแถบสีนา้ เงิน บริเวณใตท้ อ้ งและปี กเม่ือบินจะเห็นสีฟ้ าสดแกม
เขยี ว ปากหนาเรียวปลายแหลม และคอสนั้
นกปรอดหวั สีเขม่า เป็ นนกปรอดอีก
ชนดิ ที่มีสีสนั สวยงาม หัวดา้ นบนดามีหงอนสนั้
เป็ นสนั แกม้ และคางเทาแกมขาว ลาตวั ดา้ นบน
นา้ ตาลแกมเทา ลาตัวดา้ นล่างเทา ตะโพกขาว
เป็ นจดุ เด่นขณะบิน มีภาวะขนสองแบบคือก้น
แดงและกน้ เหลอื ง หรือบางตวั อาจเป็ นสีสม้
9.นกปรอดหวั สีเขมา่
เจา้ ตัวน้ีพบบริเวณสายไฟฟ้ าขา้ งลาดจอดรถอาคารกาสะลอง
ในศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชน
10.นกกระเบ้ืองผา
นกกระเบ้ืองผา เป็ นนกอพยพนอกฤดผู สม
พันธใ์ุ นประเทศไทย ตัวผมู้ ีแถบคาดตาสีดา โดย
ชนิดย่อย pandoo มีสีนา้ เงินทัว่ ตัว ส่วนชนิดย่อย
philippensis มีสีน้าตาลแดงจากอกถึงใตห้ าง ตัว
เมียลาตัวเป็ นสีนา้ ตาล ดา้ นล่างของลาตัวมีลายสี
น้าตาลเขม้ ส่วนดา้ นบนเป็ นสีน้าตาลอมฟ้ า แต่
ในชว่ งนอกฤดผู สมพนั ธ์ุ ขนนกของทง้ั สองเพศจะมี
ลายเกร็ดสีขาวดาประปรายทัว่ ตัว และมีมากใน
บริเวณใตท้ อ้ ง สว่ น madoci ซึ่งเป็ นชนดิ ยอ่ ยประจา
ถ่ินภาคใตจ้ ะมสี ีเหมอื นกบั pandoo แตเ่ ขม้ กวา่
เจา้ 2 ตวั นพ้ี บบริเวณอาคารกาสะลอง และ
โตะ๊ หินอ่อนริมสระนา้ เป็ นขนชดุ นอกฤดผู สมพนั ธ์ุ
11.นกแกก๊
นกแกก๊ เป็ นนกเงือกชนิดหนึ่ง เป็ นนกประจาถ่ินท่ีพบไดน้ อ้ ยทัว่ ทกุ ภาค ครอบครวั นม้ี กั จะมาหากนิ บริเวณตน้ ไทรใหญ่ขา้ ง
จั ด เ ป็ น สั ต ว์ ป่ า คุ้ ม ค ร อ ง ต า ม อาคารอานวยการ โดยจะมาในช่วงลกู ไทรสกุ
สีลาตวั ส่วนใหญ่เป็ นสีดา โดยมีสีขาว พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ส ง ว น แ ล ะ คุ้ม ค ร อ ง เป็ นนกท่ีรอ้ งเสียงดังมาก วันไหนที่พี่ๆ เขามา
พาดที่ใบหนา้ และมีสีขาวบริเวณอก สตั วป์ ่ า พทุ ธศกั ราช 2535 วันนัน้ แทบไม่อยากทางานเลย ในภาพน้ีถ่ายไดท้ ่ี
ตอนล่างและส่วนทอ้ งท้ังหมด ขณะท่ี ยอดมะพรา้ วหลงั อาคารอานวยการ
บินจะเห็นขอบปี กดา้ นทา้ ยเป็ นสีขาว
ปากและโหนกแข็งเป็ นสีงาชา้ ง มีลาย
แตม้ สีดาเล็กนอ้ ย ตัวผจู้ ะมีโหนกแข็ง
กว่าตัวเมีย ขณะท่ีตัวเมียจะมีลาย
แตม้ สีดาที่ปาก
12.นกจบั แมลงคอแดง
จ ุด เ ด่ น ข อ ง น ก จับ แ ม ล ง ข ณ ะ ที่ น ก บิ น ห นี จ ะ เ ห็ น สี ข า ว ท่ี
หางกระพริบตัดกับสีดา ดา้ นใต้
คอแดงคือขนหางดา้ นบนเป็ นสี ขนหางครึ่งนอกเป็ นสีเทาเขม้
ดาราวๆ คร่ึงหนึ่งของขอบ ปากและขาสดี าสนทิ
หางเป็ นสีขาวยาวไปจนถึงโคน
หาง ขนสีขาวนี้จะเห็นไดช้ ดั เม่ือ เ จ้า ตั ว น้ี พ บ ที่ ต้น ลี ล า ว ดี
นกคล่ีหางออกและกระดกหาง บ ริ เ ว ณ ริ ม ส ร ะ ห น้า อ า ค า ร
ขน้ึ -ลงในลักษณะที่ทาใหห้ ลาย กาสะลอง
คนตอ้ งนึกถึงนกกางเขนบา้ น
(Oriental Magpie Robin)
นกจบั แมลงคอแดง
13.นกปากห่าง
นกปากห่างหรือนกกระสาปากห่าง เป็ นนกเจา้ ประจาของศนู ย์
ศึกษาและพัฒนาชมุ ชนนครนายก สังเกตที่ปากจะประกบกันไม่สนิท ซ่ึง
เป็ นที่มาของชื่อ ชอบกินหอยเป็ นอาหาร เจา้ ตัวในภาพน้ีถ่ายไดบ้ ริเวณ
สระนา้ หนา้ อาคารกาสะลอง กาลงั คาบหอยแลว้ นาขนึ้ มากินบนบก
นกชนิดนี้ตัวผู้และตัวเมียคล้ายกัน มีขายาว คอยาว ปากใหญ่
ส่วนกลางของปากห่างออกเพื่อคาบหอยโขง่ ซึ่งกลมล่ืนได้ ขนตามตัวมีสี
ขาวมอ ๆ หางมีสีดาแกมนา้ เงิน ขนปลายปี กมีสีดา นกปากห่างมีลาตัว
ยาว 32 นวิ้
นกปากห่างชอบอย่รู วมกันเป็ นฝูง ทารังบนตน้ ไมด้ ว้ ยเรียวไมแ้ บบ
นกยางหรือรงั กา ออกไขค่ รงั้ ละ 2-4 ฟอง ตวั ผแู้ ละตวั เมียจะผลดั กนั กกไข่
ในการผสมพันธ์ุ เวลาตัวผขู้ ้ึนทับตัวเมียน้นั นกตัวผจู้ ะใช้เทา้ จับขอบปี ก
หนา้ ของตัวเมียไวแ้ น่น ทั้งสองตัวจะกระพือปี กช่วยการทรงตัว ตัวผจู้ ะ
แกว่งปากของมนั ใหก้ ระทบกบั ปากของตวั เมยี อย่ตู ลอดเวลาทีท่ าการทบั
14.นกปรอทเหลอื งหวั จกุ
นกปรอดเหลืองหวั จกุ เป็ นนกขนาดเล็ก หน่ึง
ในนกปรอดหลายชนดิ ที่พบในศนู ยฯ์ เสียงรอ้ งเพราะมาก เจา้
ตวั ในภาพพบท่ีบริเวณตน้ หกู ระจงหลงั อาคารเหลืองอินเดยี
ลักษณะเด่น คือ มีหัวดามีหงอนยาว หัวและคอสีดา ตาสี
เหลืองอ่อนหรือสีครีม ตัวไม่เต็มวัยจะเป็ นสีเทา ขนลาตัวบน
นา้ ตาลแกมเขยี ว ลาตวั ดา้ นล่างเหลือง หางเหลือง ปลายหาง
แกมดา มีคอสีแดง พบในภาคกลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนล่าง และตะวันออก มกั ส่งเสียงรอ้ งตลอดเวลา เสียงร้อง
สนั้ แหลมเร็ว “วิด-วิด-ต้ี-วิด” พบเป็ นค่หู รือฝูงเล็กๆ หากิน
ตามพ่มุ ไม้ และยอดไมต้ ่างๆ ทั้งในระดับความสงู และระดับ
ปานกลาง
15.นกปรอดสวน
นกปรอดสวน หรือ นกปลอดสวยน้ัน ลักษณะ
โดยทวั่ ไปก็คอื เป็ นนกทมี่ หี เู ป็ นลายขดี สีเทา ปี กเป็ นสี
นา้ ตาลอ่อนจนถึงเขม้ หนา้ อกมีสีเทา ขนจะขึ้นปก
คลมุ ทง้ั ตวั จนถึงโคนหาง ตวั ผจู้ ะมตี าสีเทา แตต่ วั เมีย
สีของตาจะอ่อนกว่า บางตัวจะมีตาเป็ นสีนา้ ตาลสี
เดียวกับสีขน นกชนิดน้ีอาศัยอย่ใู นป่ าหลากหลาย
รปู แบบไม่ว่าจะเป็ นป่ าเบญจพรรณ ป่ าละเมาะ หรือ
พ้ืนท่ีทางการเกษตรทัว่ ไป มองหาไดง้ า่ ยทกุ ถิ่นฐาน
ของประเทศไทย
เป็ นนกท่ีพบไดง้ ่ายตามสวนทัว่ ไป ชอบกินผลไม้
เป็ นอาหาร เจา้ ตัวน้ีพบที่ตน้ เงาะบริเวณสวนผลไม้
ขา้ งอาคารเหลอื งอินเดยี
นกเอ้ียง
นกในตระกลู นกเอ้ียง ทัว่ โลกมีประมาณ 112 ชนิด
ในประเทศไทยพบ 16 ชนดิ และท่ีศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชน
นครนายก พบ 6 ชนดิ ไดแ้ ก่ นกเอี้ยงสาลิกา นกเอ้ียงหงอน
นกก้ิงโครงหัวสีนวล นกก้ิงโครงคอดา นกเอ้ียงด่าง
และนกขนุ ทอง
16.นกเอ้ียงสาลิกา
นกเอี้ยงคนู่ ถ้ี ่ายไดท้ ่สี นามฟุตบอลของศนู ยศ์ ึกษา
และพฒั นาชมุ ชนนครนายก
นกเอ้ียงสาลิกาเป็ นนกที่พบเห็นไดง้ า่ ยในเขตเมืองหรือชมุ ชนของมนษุ ย์ มีความยาวประมาณ 25-26 เซนติเมตร ขาเรียวเล็ก
นว้ิ ตนี แข็งแรง หวั และคอสดี า ปากและหนงั รอบตาสีเหลอื ง ลาตวั สนี า้ ตาล ขอบปี กและปลายหางสีขาว หนา้ อก, ทอ้ ง และกน้ สนี า้ ตาล
ออ่ น ตวั ผแู้ ละตวั เมยี คลา้ ยคลงึ กนั หากนิ อยตู่ ามพื้นดนิ ปะปนกบั นกชนดิ อื่น ๆ มกั เดนิ สลบั วิ่งกระโดด มคี วามปราดเปรียว ชอบจิกตี
ตอ่ สกู้ นั เองหรือทะเลาะวิวาทกบั นกชนดิ อ่ืน ๆ
เป็ นนกมีขนาดเล็ก ตัวผแู้ ละตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน ตัวเต็มวัย
บริเวณหัว คอ คอหอย และอกตอนบนมีสีดา มีลายแถบสีขาวที่
หนา้ ผาก และดา้ นขา้ งของหวั ดา้ นบนลาตวั สอี อกดา ตะโพก และช่วงไหล่
มีลายพาดสีขาว ดา้ นลา่ งลาตวั สีขาว ขนปี กดา้ นล่างสีขาว ตาสีขาวแกม
เทา วงรอบเบา้ ตาสีสม้ ปากยาวมีสีเหลืองแต่โคนปากมีสีแดงแกมส้ม
ปลายสีขาว น้วิ สีเหลือง ตวั ไม่เต็มวัยมีสีนา้ ตาลแทนที่บริเวณท่ีเป็ นสีดา
ในตวั เต็มวยั
17.นกเอ้ียงด่าง
อยใู่ นวงศน์ กเอ้ียง พบไดท้ วั่ ไปในประเทศไทยยกเวน้
ภาคใตแ้ ละภาคอีสาน ลักษณะคลา้ ยนกกิ้งโครงคอดา
โคนปากสีแดง ปลายสีเหลือง ปี กสีดา ลาตัวสีขาว
แกม้ สขี าว เจา้ ตวั นถ้ี ่ายไดบ้ ริเวณสนามฟุตบอล
18.นกเอ้ียงหงอน เป็ นนกประจาถ่ิน พบบ่อย
มาก ขนลาตัวดา ตาน้าตาล
อยู่ในวงศ์นกเอ้ียง พบได้ แดงเขม้ เกือบดา ปากเหลือง
ทัว่ ไปในประเทศไทยลักษณะเด่น หน้าผากมีหงอนยาวเด่นชัด
ของเจา้ เอี้ยงหงอนคือทรงผมสดุ ปี กมีแถบขาวเห็นเป็ นวงใหญ่
เท่ บริเวณโคนปากและหนา้ ผาก ขณะบิน ก้นขาว แขง้ และตีน
ซึ่งเป็ นเอกลักษณ์และเป็ นท่ีมา เหลือง นกวัยอ่อน หงอนสั้น
ของช่ือนกเอ้ียงหงอนนนั่ เอง เจา้ ขนลาตวั แกมนา้ ตาล
ตัวนี้ถ่ายไดบ้ ริเวณสวนหย่อม
หนา้ ศนู ยฯ์
19.นกก้งิ โครง นกก้ิงโครงหัวสีนวลหรือนก
หวั สีนวล เอ้ียงหวั หงอก อย่ใู นวงศ์นกเอ้ียง
และนกกิ้งโครง ลักษณะคลา้ ยนกเอ้ียง
สาลิกา แต่หัวมีสีขาวนวล ลาตัวสี
นา้ ตาลปนขาว ในศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นา
ชมุ ชนนครนายก เจา้ ตวั นถี้ า่ ยไดบ้ ริเวณ
ริมถนน ใกลก้ บั สวนขนนุ ของศนู ยฯ์
หัวและอกเทาแกมขาวนวล แถบตา
ดา ตาขาวแกมเหลืองอ่อน ปากเหลือง-
สม้ เหลือง โคนปากเทา ลาตัวดา้ นบน
เทาแกมนา้ ตาล ลาตัวดา้ นล่างนา้ ตาล
อ่อนอมม่วง ปี กดามีแถบขาว หางดา
ตะโพกและปลายหางนา้ ตาลออ่ น
20.นกก้งิ โครงคอดา
นกกิ้งโครงคอดาหรือนกเอี้ยงโมง เป็ นนกในวงศ์
นกเอ้ียงและนกกิ้งโครง เป็ นนกที่ร้องเสียงดังจน
บางครั้งน่าราคาญ เจา้ ตัวนี้ถ่ายบริเวณต้นไมข้ อบ
สนามฟุตบอล
นกก้ิงโครงคอดาเป็ นนกที่มีรปู ร่างอว้ นป้ อมและ มีขนาด
ใหญ่กว่านกชนิดอื่นในวงศเ์ ดียวกัน มีขนาดความยาวประมาณ
27 เซนตเิ มตร ตวั ผแู้ ละตวั เมยี มีลกั ษณะคลา้ ยกนั มีปากสดี า หวั
สีขาว มีหนงั รอบตาสเี หลือง คอสีดา ปี กและลาตวั ดา้ นบนสีเทา้ มี
แถบสีขาวพาดขวาง 4-5 เสน้ อก, ทอ้ ง, กน้ , สะโพกและปลาย
หางสีขาว ในประเทศไทยพบไดแ้ ทบทกุ ภาคยกเวน้ ทางตอนใต้
ของภาคใต้ ในต่างประเทศพบไดใ้ นประเทศอินเดีย, พม่า, ลาว,
เวียดนาม, กมั พชู า และภาคใตข้ องจนี
นกกิ้งโครงคอดาเป็ นหน่ึงของนกในวงศ์นี้ท่ีสามารถเลียนเสียง
มนษุ ยไ์ ด้ จึงมีการนามาเล้ียงเป็ นสัตวเ์ ล้ียง และถือเป็ นสัตวป์ ่ าคมุ้ ครอง
ตามพระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ้ ครองสตั วป์ ่ า พทุ ธศกั ราช 2535
21.นกขนุ ทอง
เป็ นนกในวงศ์นกเอ้ียงและนกก้ิงโครง มีความยาวเฉล่ีย
ประมาณ 29 เซนติเมตรลาตวั ป้ อมสีดา หางสัน้ ปี กแหลมยาว
เทา้ แข็งแรง มีเหนียง คือ แผ่นหนงั สีเหลืองอมสม้ คลุมทัว่ ทา้ ย
ทอยและเหนยี งสีเหลืองแดงสดใตต้ า ขนสีดาเหลือบเขยี ว มีเงาสี
ม่วงบริเวนหัวและคอ มีสีขาวแซมใตป้ ี ก ปากสีแดงสม้ ขาสี
เหลอื งสด ทงั้ ตวั ผแู้ ละตวั เมยี มลี กั ษณะคลา้ ยกนั
ครอบครัวนม้ี กั จะมีที่ศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชนนครนายก
ในชว่ งที่ลกู ไทรสกุ โดยวนั ใดที่มาจะสง่ เสยี งเจ๊ยี วจ๊าวมาก นกใน
ภาพถ่ายท่ีบริเวณยอดไมห้ ลังเรือนระกา ฐานหน่ึงงานบ้าน
พอเพียง
22.นกอีวาบตกั๊ แตน
เป็ นนกในตระกลู นกคัคคู นกชนิดนี้เป็ นนกที่ชอบแอบ
วางไขใ่ หน้ กชนิดอ่ืนเลีย้ งเชน่ เดยี วกบั นกกาเหว่า เจา้ ตวั นี้
พบบริเวณต้นหูกระจงขา้ งสระน้าหลังอาคารเหลือง
อินเดยี
อีวาบตกั๊ แตนเป็ นนกคัคคทู ่ีค่อนขา้ งเล็ก ยาวประมาณ
21-23 ซ.ม. นกตวั ผทู้ ่ีโตเต็มท่ีแลว้ มีสีเทา-นา้ ตาลดา้ นบน
และสีสม้ ดา้ นลา่ ง มหี ัว คอ และอกดา้ นบนเป็ นสีเทา ปลาย
ขนหางมีสีขาว ขาและเท้ามีสีเหลือง ตามีสีแดง ปาก
ดา้ นบนสีแดงและดา้ นล่างสีเหลือง ตัวเมียท่ีโตเต็มท่ีแลว้
บางคร้ังคลา้ ยกบั ตวั ผู้ ตวั ผมู้ เี สียงหวีดหวิวที่ฟังดลู ะหอ้ ย
โหยหวน ซึ่งรวมการร้องเป็ นชดุ วลีมีสามโนต้ ท่ีสงู ข้ึน
เรื่อยๆ และชดุ เสียงเป็ น 11-12 โนต้ ที่ตา่ ลงเรื่อยๆ
23.นกยางควาย
นกยางควายเป็ นนกยางชนิดหนึ่ง ชอบหากินตามท่งุ หญา้
โดยจะกินแมลงและสัตว์ขนาดเล็กเป็ นอาหาร เจา้ ตัวนี้ถ่ายได้
บริเวณสวนผลไม้
เป็ นนกยางสีขาว ตวั ผแู้ ละตวั เมียมีลกั ษณะเหมือนกนั ขนทัว่ ตวั สี
ขาว ขากรรไกรค่อนขา้ งใหญ่และขาส้นั มีความยาวจากปลายปากจรด
ปลายหางเพียง 51 เซนติเมตรเทา่ นน้ั แตใ่ นฤดผู สมพนั ธจ์ุ ะมีขนประดบั
เป็ นเสน้ ยาวๆ ท่ีหัว คอ และหลังเป็ นสีเหลืองสม้ พน้ ฤดผู สมพันธข์ุ น
ประดบั ดังกล่าวจะผลดั ออกหมด นยั นต์ าและปากเป็ นสีเหลือง แต่รอบ
ตาสีออกเขียวอ่อน เท้าสีดา ในช่วงนี้เมื่อจับคู่แลว้ นกท้ังสองเพศ
จะชว่ ยกนั ทารังโดยตวั ผหู้ าวัสดซุ ึ่งก็คือกิ่งไมแ้ หง้ ท่ีอาจจะหามาเองหรือ
ขโมยเอาจากรังใกลๆ้ ตัวเมียสรา้ งรัง เม่ือวางไข่แลว้ จะช่วยกันกกไข่
และหาอาหารมาป้ อนลกู
เป็ นสตั วป์ ่ าคมุ้ ครองตามพระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ้ ครองสตั วป์ ่ า พทุ ธศกั ราช 2535
เป็ นนกขายาว ลยุ นา้ ยาวประมาณ 35 ซม. ตวั ขนาดนกเขาใหญ่ ปี ก
และหลงั มีสีนา้ ตาลอ่อนมีแววสีมว่ ง ๆ แต่หัว อก และคอหรือด้านหนา้ คอ
เป็ นสีดา มีแถบสขี าว ๆ ทีเ่ ห็นชดั เจนในระหวา่ ง ๆ ตง้ั แตท่ อ้ งไปจนถึงหาง
บางพนั ธจ์ุ ะขน้ึ ไปขา้ ง ๆ คอจนเกือบถึงยอด รวมทง้ั บริเวณหู ปี กยาว
จนเกือบคลมุ หาง หางสน้ั มสี ดี า สดุ ดว้ ยสีนา้ ตาลและขาว หรือดา มีต่ิงเนื้อ
สีแดงพาดทางดา้ นหนา้ จากขอบตาหนึ่งไปอีกขอบตาหนึ่ง ปากแดงปลาย
ดา ขายาวมีสีเหลอื ง ตีนมี 4 นวิ้ น้วิ หลงั เป็ นต่ิงเล็ก อย่สู งู กว่านวิ้ อื่น เกาะ
กิ่งไมไ้ ม่ได้ มีพังผืดตอนโคนน้ิวเล็กนอ้ ย เมื่อกาลงั บิน ปี กมีแถบสีขาวเห็น
ไดช้ ดั ทงั้ บนลา่ ง
24.นกกระแตแตแ้ วด้
เป็ นเจ้าถ่ินอีกตัวของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน
นครนายก โดยจะมีผัวเมียคู่ประจา ที่คอยทาหน้าท่ี
ทาลายความสงบดว้ ยเสียงรอ้ งอันดงั และไดท้ ารังวางไข่
บริเวณสนามฟุตบอลเป็ นประจาทกุ ปี
นกแซงแซวหางปลา เป็ นนกท่ี ตัวผแู้ ละตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน
ขนาดความยาวลาตัวประมาณ 28
ชอบกินแมลงเป็ นอาหาร เจา้ ตวั น้ีพบบริเวณ เซนติเมตร ขนทัว่ ลาตัวมีสีดาเหลือบน้า
สวนขนุนหนา้ โรงอาหารเก่า และจะพบตัว เงิน ปลายหางเป็ นแฉกคลา้ ยหางปลา
อื่น ๆ ไดบ้ ริเวณฐานคนรกั ษป์ ่ า ตะเพียน ปากบนขบปากล่าง ปากสีดา ขา
สีดา เทา้ สีดา ตาแดงที่ม่านตา แต่ตาดา
เป็ นสีดา
พบในอิหร่าน อินเดยี จีน ไตห้ วัน ชวา
อินโดจีน และในประเทศไทยเป็ นนกประจา
ถิ่น พบทัว่ ไปเกือบทกุ ภาค ยกเวน้ ภาคใต้
ตั้งแต่ชุมพรลงไป ซึ่งจะพบว่าเป็ นนก
อพยพมาในชว่ งฤดหู นาว
25.นกแซงแซวหางปลา
26.นกเคา้ หรอื นกฮกู
เป็ นนกนักล่าที่หากินในเวลากลางคืน ดวงตากลมโตทาให้
มองเห็นไดด้ ี ขนมลี กั ษณะนมิ่ และเบา ทาใหไ้ มม่ เี สยี งในขณะบิน เจา้ ตวั น้ี
ถ่ายไดบ้ ริเวณลานร่มไมช้ ายตะวัน ในศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชน
นครนายก
นกเคา้ หรือ นกฮกู มีรปู ใบหนา้ คลา้ ยแมว อันเป็ นท่ีมาของช่ือสามญั จับ
สัตวเ์ ล็ก ๆ กินเป็ นอาหาร เช่น คา้ งคาว หนู, งู สตั วเ์ ล้ือยคลานและสัตวค์ ร่ึง
บกครึ่งนา้ เล็ก ๆ ในขณะท่ีบางชนิดที่มีขนาดใหญ่อาจจบั ปลาหรือปูกินไดด้ ว้ ย
จัดเป็ นนกลา่ เหยื่อจาพวกหน่ึงเหมือนเหย่ียว, อินทรี และแรง้ ที่หากินในเวลา
กลางวัน ส่วนนกเคา้ แมวน้นั มกั หากินในเวลากลางคืน ทาใหม้ ีเล็บโค้งแหลม
และมปี ากงมุ้ แหลมสาหรบั จบั สตั วก์ นิ
เหตทุ ี่หากินในเวลากลางคืน เป็ นเพราะนกเคา้ ไม่อาจสกู้ ับนกล่าเหยื่อใน
เวลากลางวันอย่างเหย่ียวหรืออินทรีได้ บางคร้ังยังถกู นกท่ีมีขนาดเล็กกว่า
อยา่ งนกเอ้ียงหรือนกกิง้ โครงไลจ่ ิกตอี ีกตา่ งหาก
27.นกบงั้ รอกใหญ่
เป็ นนกสวยงามอีกชนิด อย่ใู นตระกลู นกคัคคเู ช่นเดียวกับนก
กระปูดและกาเหว่า นกชนิดน้ีบินไม่ค่อยเก่ง แต่จะชานาญใน
การปี นป่ ายตามก่งิ ไม้ เจา้ ตวั นถี้ า่ ยทีฐ่ านคนรกั ษแ์ มโ่ พสพ
ลาตัวมีขนาดยาว 53-59 ซม. ปากหนาสั้นสีเทา มีหนงั รอบ
ดวงตาสีแดง หัวและขนคลมุ หลังสีเทา ลาตัวดา้ นบน สีเทาเขม้
หางสเี ทายาวกวา่ ลาตวั ขนหางแตล่ ะเสน้ ยาวไมเ่ ท่ากนั และมีแถบสี
ขาวท่ีปลายขนหางทกุ เสน้ ลาตัวดา้ นล่าง คอ อกและทอ้ งสีเทา
ออ่ น กน้ สเี ทาเขม้ แขง้ และตนี สีเทา ขณะบินมองแถบสีขาวเป็ นลาย
บงั้ ทใ่ี ตข้ นหาง ถิ่นอาศัย ป่ าชายเลน และป่ าบนเกาะในทะเล
28.ไกป่ ่ า
ไก่ป่ าเป็ นนกป่ าชนิดหนึ่ง ที่ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน
นครนายก จะมไี กป่ ่ ามาหากนิ เป็ นประจาและในฤดผู สมพนั ธเ์ุ จา้ ตวั นกี้ ็
จะพาเมียสาวของมนั มาวางไขท่ ี่น่ีอีกดว้ ย ในภาพน้ีถ่ายบริเวณหลงั
เรือนระกา และสระนา้ ขา้ งอาคารอานวยการ
ไกป่ ่ า หรอื ไกเ่ ถ่ือน (ชอ่ื วิทยาศาสตร:์ Gallus gallus) อย่ใู นวงศ์
ไก่ฟ้ าและนกกระทา (Phasianidae) จัดเป็ นนกมีขนาดเล็กถึงขนาด
กลาง ขนาดลาตวั 46-73 เซนตเิ มตร พบการกระจายอยใู่ นเขตศนู ย์
สตู รโดยมีการกระจายตั้งแต่ประเทศอินเดียจนถึงเวียดนาม และ
ประเทศจีนตอนใต้ จนไปถึงเกาะต่าง ๆ ในประเทศอินโดนีเซีย
จดั เป็ นไกส่ ายพนั ธด์ุ ง้ั เดมิ และเป็ นตน้ ตระกลู ของไก่บา้ นท่ีเลี้ยงกนั เป็ น
สตั วเ์ ศรษฐกจิ ในปัจจบุ นั นี้
29.นกกะรางหวั ขวาน
นกกะรางหวั ขวาน (ช่ือวิทยาศาสตร:์ Upupa epops) เป็ นนก
ขนาดกลาง มีสีสวย มีลกั ษณะเด่นท่ีจาง่ายคือมีหงอน (หวั ขวาน)
คลา้ ยหมวกของพวกอินเดียแดง พบท่ัวท้ังทวีปแอฟริกาและ
ยเู รเชียพรอ้ มทง้ั ท่วั ประเทศไทย ชื่อสกลุ ภาษาละตินว่า Upupa
คลา้ ยกบั ชื่อภาษาองั กฤษว่า "hoopoe“ (อ่านว่า ฮพู )ู โดยเป็ นชื่อ
เลียนเสียงรอ้ งของนก นกกะรางหวั ขวานเป็ นนกประจาชาติของ
ประเทศอิสราเอล เป็ นสัตว์ป่ าค้มุ ครองในประเทศไทย ตาม
พระราชบญั ญตั ิสงวนและคมุ้ ครองสตั วป์ ่ า พทุ ธศกั ราช 2535
เจา้ ตวั นพี้ บทีร่ ิมสระนา้ หนา้ อาคารกาสะลอง ลงมาหาอาหารกนิ บนพ้ืน
หญา้ ซ่ึงอาหารโปรดคือพวกหนอนต่างๆ ที่อย่ใู นดิน หรือแมลงตัว
เล็กๆ โดยจะใชป้ ากทีย่ าวเรียวแทงลงดนิ เพอ่ื หาอาหาร
30.นกกวกั น ก ก วัก ( ช่ื อ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์:
Amaurornis phoenicurus) เป็ นนกน้า
เจา้ ตัวน้ีพบในสระนา้ หนา้ ในวงศ์นกอัญชัน (Rallidae) ที่อยู่
อาคารกาสะลอง หากิน กระจายไปทั่วเอเชียใต้และเอเชีย
แ ม ล ง แ ล ะ พื ช น้ า อ ย่ ูต า ม อาคเนย์ มีสีเทาเขม้ เหมือนกระดาน
ลาพงั ชนวน ลาตวั สน้ั มีใบหนา้ อก และ
ท้องขาว ขาและน้ิวยาว อาศัยอยู่
ตามหนองน้า มกั ออกหากินในช่วง
ฟ้ าสางหรือพลบค่า เดินหากินบน
ใบพืชน้า เช่น บัว จอก แหน ในฤด ู
ผสมพนั ธค์ ือฤดฝู นหลงั เริ่มฝนตก
ก็จะร้องเสียงดัง "กวัก ๆ" เป็ น
เสียงต่าซ้า ๆ ในประเทศไทย เป็ น
สั ต ว์ ป่ า คุ้ ม ค ร อ ง ต า ม
พระราชบญั ญตั ิสงวนและคมุ้ ครอง
สตั วป์ ่ าพทุ ธศกั ราช 2535
31.นกแซงแซวหางบ่วงเลก็
นกแซงแซวหางบ่วงเล็ก (อังกฤษ: Lesser Racket-tailed Drongo)
เป็ นนกที่พบไดใ้ นป่ าดงดิบ ท่ีมีระดับความสงู ตั้งแต่ 800 เมตร ข้ึนไป
ของเขตเอเชยี ใต้ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เชน่ ประเทศบังคลาเทศ ภฏู าน
กมั พชู า อินเดยี ลาว มาเลเซีย เนปาล เวยี ดนาม พมา่ ในประเทศไทยพบ
ไ ด้ใ น ภ า ค เ ห นื อ ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก ภ า ค ต ะ วั น ต ก แ ล ะ ภ า ค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนบนในประเทศไทย เป็ นสตั วป์ ่ าคมุ้ ครอง ตาม
พระราชบัญญตั ิสงวนและคมุ้ ครองสัตวป์ ่ า พทุ ธศักราช 2535 จึงหา้ ม
ล่า พยายามลา่ หา้ มคา้ หา้ มนาเขา้ หรือส่งออก หา้ มครอบครอง หา้ ม
เพาะพันธ์ุ หา้ มเก็บหรือทาอันตรายรัง การหา้ มการครอบครองและ
การคา้ มผี ลไปถึงไขแ่ ละซากดว้ ย
นกแซงแซวหางบ่วงเล็ก ตัวนี้เกาะอยู่บนต้นหกู ระจง
ดา้ นหลงั อาคารเหลืองอินเดีย เฝ้ ารอท่ีจะจบั แมลงเล็กๆ กินเป็ น
อาหาร
นกเ ขา ชวา หรื อ นกเ ขา เล็ ก หรื อ นกเ ขา แขก (ช่ือ
วิทยาศาสตร์: Geopeliastriata เป็ นภาษาละติน แปลว่า "รอยไถ" หรือ
"ลาย" มีความหมายว่า "นกเขาที่มีลาย") เป็ นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ใน
วงศน์ กพิราบและนกเขา (Columbidae)
นกเขาชวามรี ปู ร่างเหมือนกบั นกชนิดอื่น ๆ ในวงศเ์ ดียวกนั นี้
มีขนปกคลมุ ตวั สีนา้ ตาลหัวสีเทา หรือมีสีที่หัวเป็ นสีนา้ เงิน ดา้ นขา้ งคอมี
แถบสีดาสลับกับแถบขาวเป็ นลายตามขวาง ดา้ นหลังสีเขม้ มีขีดขวาง
คลา้ ยกับลายของมา้ ลายในต่างประเทศ อันเป็ นที่มาของช่ือสามัญใน
ภาษาองั กฤษ (zebra dove) ดา้ นทอ้ งสจี าง ใตล้ าตวั เป็ นสีขาวมีขดี ขวางเล็ก
ขอบทา้ ยของขนหางสขี าว ขนาดเมือ่ โตเต็มท่ีไมเ่ กิน 8-9 นวิ้
32.นกเขาชวา
นกชนดิ นพ้ี บเห็นไดท้ วั่ ไปที่ศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชน
นครนายก เป็ นนกท่ีไม่ค่อยตื่นกลัวคน คนุ้ เคยกับคน
เจา้ ตวั นพ้ี บที่ถนนหลงั อาคารเหลอื งอินเดยี
นกโพระดกคอสีฟ้ าเคราดา เสียงรอ้ งจะคลา้ ยกับนกโพระดกคอสีฟ้ า
“เอ-อ๊กุ -อรุก”
เป็ นนกในตระกลู โพระดก ลักษณะลาตัวสี
เขยี ว กระหมอ่ มเขยี ว หนา้ และคอสีฟ้ า มีแถบ ถิ่นที่อย่อู าศัย : ป่ าดิบ ชายป่ า ความสงู
คาดตาดา มมุ ปากมีแถบดาคาดไปถึงแก้ม 600-1,700 เมตร มีรายงานการพบที่
หนา้ ผากแดง ทา้ ยทอยและดา้ นขา้ งคอมีแตม้ อทุ ยานแห่งชาติตาดหมอก และเขตรักษา
แดง พันธ์ุสัตว์ป่ าตะเบาะ-ห้วยใหญ่ จังหวัด
เพชรบรู ณ์ ส่วนเจา้ ตวั น้ีพบบริเวณลานร่ม
ไมช้ ายตะวัน กาลังขดุ รไู มเ้ พื่อทารัง อาจ
เพราะศนู ยฯ์ อย่ตู ดิ กบั เขาใหญ่ จึงมีวาสนาได้
พบเห็นนกชนดิ นี้
33.นกโพระดกคอสีฟ้ าเคราดา
34.นกหวั ขวานสี่น้ิวหลงั ทอง
ลักษณะโดยทัว่ ไปใกลเ้ คียงกับ นกชนิดน้ีมักหากินเป็ นคู่ โดยจะพากันบินไป
นกหัวขวานสามน้ิวหลังทอง แต่ ตามกิง่ ไมแ้ ละใชป้ ากท่ีแหลมและแข็งแรงในการ
ตวั ใหญ่กว่า แถบดาบริเวณคอและ เจาะเปลือกไมแ้ ละเน้ือไม้ เพ่ือหาแมลงและ
ตากวา้ ง ตาสีเหลือง ลายเกล็ดสี หนอนกินเป็ นอาหาร ได้รับสมญานามว่า
ขาวทที่ อ้ งใหญ่กว่า ตวั ผมู้ ีหงอนสี หมอรักษาตน้ ไม้ แต่หลายครั้งก็ไปเจาะไม้ท่ี
แดง ตัวเมียสีดา เสียงรอ้ งจะเป็ น เป็ นเสาไฟฟ้ า หรือสิ่งกอ่ สรา้ ง
ตติ๊ ต๊ิ ิ๊ ตอ่ เนอ่ื งกนั
เจา้ หน่มุ สาวค่นู ้ี ถ่ายไดท้ ่ีบริเวณตน้ ไม้
กระจายพันธใ์ุ นภาคเหนือ ภาค ใหญ่หลังฐานการเรียนร้คู นรักษ์ป่ า
ตะวันตก ภาคใต้ ภาคตะวันออก บรเิ วณพ้ืนท่ีโคกหนองนาของศนู ยฯ์
บางพื้นท่ี
35.นกเดา้ ลมหลงั เทา
ลักษณะ คิ้วยาวแคบ ๆ สีขาว หัวและ เจา้ ตวั น้ี ถ่ายไดบ้ รเิ วณถนนทางไปฐานคนรกั ษป์ ่ า
ลาตวั ดา้ นบนเทา ปี ดามีลายจากขอบขนโคน
ปี กขาว คอขาว ทอ้ งแกมเหลอื งและเขม้ ขึ้นที่
กน้ ตะโพกเหลืองเห็นไดช้ ดั เจนขณะบิน หาง
เรียวยาวสีดาขอบหางค่นู อกขาว ขณะบิน
ปี กมแี ถบขาว ตวั ผขู้ นชดุ ผสมพนั ธ์ุ : ค้ิวและ
แถบหนวดขาวชดั เจน คอและอกตอนบนดา
ลาตวั ดา้ นลา่ งเหลืองสดขนึ้
ถ่ิ น อ า ศั ย ใ น พ้ื น ที่ ภ า ค เ ห นื อ ต อ น ล่ า ง แ ล ะ
ลา้ นนาตะวันออก : พ้ืนท่ีเปิ ดโล่งในป่ าโปร่ง
ชายป่ า มักพบริมถนนหรือใกลแ้ หล่งนา้ ใน
ป่ า ท่ีราบถึงความสงู 2,565 เมตร
36.นกจบั แมลงสนี ้าตาล
ลกั ษณะ ปากยาวกว่านกจับแมลงสีคลา้ โคนปากล่าง
เหลืองหรือสีเนอื้ ปลายดา หัวตาและวงตาขาวใหญ่ หัวและ
ลาตัวดา้ นบนสีน้าตาลถึงเทาแกมนา้ ตาล ปี กมีแถบขาว
แคบ ๆ แต่เห็นชัด โดยเฉพาะขอบโคนปี ก คอและลาตัว
ดา้ นล่างขาวแกมเทา อกมีลายขีดเล็ก ๆ คลา้ ยนกจับ
แมลงสนี า้ ตาลทอ้ งลาย หรือเลยี บไมม่ ลี าย
เสียงรอ้ ง : "ซี ต-ิ ต-ิ ต"ิ
ถ่ินอาศยั ในพื้นท่ีภาคเหนอื ตอนลา่ งและลา้ นนาตะวนั ออก :
ป่ าโปร่ง สวนผลไม้ และสวนสาธารณะ
แหลง่ อา้ งอิง : ค่มู อื ดนู กหมอบญุ สง่ เลขะกลุ นกเมอื งไทย
และหนงั สอื นกในเมอื งไทย เลม่ 4 รศ.โอภาส ขอบเขตต์
เจา้ ตัวน้ี ถ่ายไดบ้ นกิ่งต้นทองอไุ รริมสระน้า
หลงั อาคารเหลอื งอินเดีย
เจา้ ตวั นถี้ า่ ยไดเ้ มอ่ื 26 ม.ค.65 บริเวณตน้ มะขาม 37.นกกางเขนดง
หลงั ฐานเรียนรคู้ นรกั ษป์ ่ า
นกกางเขนดง หรือ นกบินหลาดง (อังกฤษ: White-rumped
shama; ชื่อวิทยาศาสตร์: Copsychus malabaricus) เป็ นนกท่ีอย่ใู นวงศ์
Muscicapidae มีความสมั พันธอ์ ย่างใกลช้ ิดกบั นกกางเขนบา้ น แตกต่างกนั
ที่นกกางเขนดงจะมีสีสันบริเวณทอ้ งเป็ นสีแดงอมน้าตาลสดใส และมี
สัดส่วนหางยาวกว่าปี กและลาตัวมาก มีเสียงร้องเพลงไพเราะ
ชาวตะวันตกท่ีเขา้ ไปในอินเดียและพบนกชนิดนี้เขา้ ไดเ้ รียกว่านกไนติงเก
ลแห่งอินเดีย
ลกั ษณะโดยทวั่ ไปของนกกางเขนดง จะมีปากหนา ตรง ส่วนปลาย
ของปากบนงมุ้ ลงเล็กนอ้ ย ความยาวของปากมากกว่าคร่ึงของความยาว
หวั มีขนแขง็ สน้ั ท่ีมมุ ปาก มีปี กมนกลม ส่วนขนท่ีปลายปี กจะมี 10 เสน้
ขนบริเวณหางมี 12 เสน้ ขนหางเป็ นค่ซู ่ึงแต่ละค่จู ะยาวลดหลัน่ กนั ไป ขา
และนว้ิ เทา้ ใหญ่ มคี วามแขง็ แรง ทาใหส้ ามารถกระโดดไดอ้ ย่างคล่องแคลว่
ทอ่ นลา่ งของขาเป็ นเกล็ดขนาดใหญ่เหมอื นปลอกปกคลมุ ขา สว่ นน้ิวเทา้ จะ
ยื่นไปขา้ งหนา้ 3 นว้ิ และย่ืนไปขา้ ง หลงั 1 น้วิ เหมาะแกก่ ารเกาะก่ิงไมแ้ ละ
การกระโดด มีความยาวจากปลายปากจรดปลายหางประมาณ 28 ซม.
โดยหางจะมีความยาวประมาณ15 - 19 ซม. ส่วนนกกางเขนบา้ นมีหาง
ยาวประมาณ 9 ซม.
กจิ กรรมการทาบา้ นนก
ศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชนนครนายก ไดเ้ ล็งเห็นว่า พ้ืนท่ีของ
ศนู ยฯ์ มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ ประกอบดว้ ยพืชพันธท์ุ ี่หลากหลาย และ
ท่ีสาคัญเป็ นแหล่งท่ีมีนกไม่ตา่ กว่า 50 ชนิด จึงไดม้ ีแนวคิดในการทา
บา้ นนก เพ่ือเป็ นแหลง่ พักพิงและเป็ นทางเลอื กใหก้ ับนกในศนู ยฯ์ ไดม้ ีท่ี
อยอู่ าศยั เพ่ิมมากขน้ึ
รายช่อื นกท่ีพบแตย่ ังไมม่ ีการบันทกึ ภาพ
1. นกกระจอกบ้าน 2. นกกระจอกตาล
3. นกกระจอกใหญ่ 4. กา
5. นกยางกรอกพันธจ์ุ นี 6. นกกางเขนบ้าน
7. นกอีแพรดแถบอกดา 8. นกตที อง
9. นกโพระดกธรรมดา 10. นกจาบคาเลก็
11. นกแอ่นพง 12. นกสีชมพสู วน
13. นกแต้วแรว้ ธรรมดา 14. เหยยี่ วขนาดเลก็ (ไมท่ ราบชนิด)
15. นกแซงแซวหางบ่างใหญ่
ชอื่ เอกสาร นกกับตวั ชว้ี ดั ระบบนิเวศ ศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชมุ ชนนครนายก
ประเภทเอกสาร เอกสารวิชาการ
ลกั ษณะเอกสาร Electronic Book
ที่ปรึกษา นางประภา ปานนิตยกลุ ผู้อานวยการศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชมุ ชนนครนายก
นางสาวอรวีย์ แสงทอง ผู้ชว่ ยผ้อู านวยการฯ
ทมี่ าของข้อมูล
https://th.wikipedia.org/wiki
ผู้ออกแบบปกหน้า/หลัง https://birds.mju.ac.th/Default.aspx
ถ่ายภาพ/รวบรวมภาพ http://www.zoothailand.org/
ปีทพ่ี ิมพ์ http://www.lowernorthernbird.com/
แหลง่ เผยแพร่
นางสาวสฑุ ามาศ อัมรินทร์ นกั ทรพั ยากรบคุ คล
นายเมธาพันธ์ นิลแก้ว นกั ทรัพยากรบุคคลปฏบิ ตั ิการ
พ.ศ. 2564
กรมการพฒั นาชุมชน
ศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชนนครนายก
สถาบนั การพฒั นาชมุ ชน
กรมการพฒั นาชมุ ชน
กระทรวงมหาดไทย