ด่วนที่สุด ,.3, คณะกรรมการวนิ จิ ฉัยบีญหาการจัดซ้อื
จัดจา้ งและการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ
ท่ี กค(กวจ)๐๔๐๕.๒/ว กรมบัญชีกลาง
ถนนพระรามที่ ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
6 ^ 9 สงิ หาคม ๒๔๖๔
เรื่อง อนุมตยกเวน้ และกำหนดแนวทางการปฏิบัตติ ามกฎกระทรวงกำหนดพัสดแุ ละวิธกี ารจดั ซอื้ จัดจ้างพัสดทุ ่รี ฐั
ตอ้ งการส่งเสริมหรือสนบั สบุน (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๖๓
เรียน ปลัดกระทรวง อธบิ ดี อธกิ ารบดี เลขาธกิ าร ผู้อำนวยการ ผบู้ ัญซาการ ผวู้ ่าราชการจงั หวดั ผ้วู า่ ราขการ
กรงุ เทพมหานคร ผู้ว่าการ หัวหน้ารฐั วิสาหกจิ ผู้บรหิ ารท้องถ่ิน และหัวหนา้ หนว่ ยงานอืน่ ของรฐั
ส่ิงท่ีส่งมาดว้ ย คู่มอื การปฏบิ ัตติ ามกฎกระทรวงกำหนดพัสดแุ ละวิธีการจัดซอ้ื จดั จ้างพัสดุทีร่ ฐั ต้องการส่งเสรมิ
หรอื สนับสบุน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๔๖๓
ตามทก่ี ระทรวงการคลังไตอ้ อกกฎกระทรวงกำหนดพัสดแุ ละวิธีการจดั ซือ้ จัดจา้ งพสั ดทุ รี่ ฐั
ตอ้ งการสง่ เสริมหรือสนับสบุน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๔๖๓ ซง่ึ มผื ลใชบ้ งั คบั ต้งั แต่วนั ที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๔๖๓
และคณะกรรมการวนิ ิจฉัยบีญหาการจัดซื้อจัดจา้ งและการบริหารพัสดภุ าครัฐ (คณะกรรมการวนิ ิจฉยั )
โดยไต้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการนโยบายการจัดซ้ือจัดจา้ งและการบริหารพสั ดุภาครฐั ไตม้ หื นงั สอื
ด่วนทีส่ ดุ ท่ี กค (กวจ) ๐๔๐๔.๒ /ว ๘๙ ลงวันที่ ๑๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๔๖๔ แจง้ เวยี นแนวทางปฏบิ ตั ิ
ตามกฎกระทรวงฯ จากการดำเนินการที่ผ่านมา กรมบญั ชกี ลางไค้รับทราบบีญหาจากการออกกฎกระทรวงฯ
และหนังสอื แจง้ เวียนแนวทางปฏิบตั ดิ ังกลา่ ว ดังน้ี ๑) การสมยอมกันในการเสนอราคาของผูป้ ระกอบการ
โดยเฉพาะในงานจา้ งก่อสร้าง เนื่องจากกฎกระทรวงฯ และหนงั สือแจ้งเวยี นแนวทางปฏิบัติ กำหนดหลักเกณฑ์
ว่า หากมผื ปู้ ระกอบการ SMEs ท่ฃี น้ึ ทะเบยี นสินค้าหรืองานบรกิ ารตรงกับที่หน่วยงานของรฐั จะดำเนนิ การ
จดั ซ้ือจัดจา้ ง ในจังหวดั ทหี่ นว่ ยงานของรัฐผูจ้ ดั ซอื้ จัดจ้างตงั้ อยู่ไมน่ ้อยกว่า ๓ ราย ให้จดั ซือ้ จัดจา้ งกบั
ผปู้ ระกอบการ SMEs ในจังหวดั ทีห่ น่วยงานของรัฐตั้งอยกู่ อ่ น ทำให้ผปู้ ระกอบการรวมตัวกนั ไปขึ้นทะเบยี น
เปน็ ผ้ปู ระกอบการ SMEs กบั สำนกั งานส่งเสรมิ วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (สสว.) เพื่อให้ไตส้ ิทธิ
ในการเฃิญเชา้ มายนื่ ขอ้ เสนอก่อน ประกอบกบั การทีห่ นว่ ยงานของรัฐเองก็เขิญเฉพาะผูป้ ระกอบการรายเดมิ
เช้ายื่นขอ้ เสนอ ทำใหไ้ มเ่ กิดการแขง่ ขันราคาอยา่ งเป็นธรรม ๒) การค้นหารายการสินคา้ หรอื งานบริการ
ที่ vwvw.thaismegp.com ของ สสว. พบบีญหา คือ ในการรับขึ้นทะเบยี นผูป้ ระกอบการ SMEs สสว. ไม,ไต้
ให้ผ้ปู ระกอบการ SMEs นำรายละเอียดของพัสดทุ ขี่ ายหรอื รายละเอียดของงาบที่รับจ้างมาระบุไวใ้ นเวบ็ ไซต์
ทำให้หน่วยงานของรัฐไมส่ ามารถคน้ หารายการสนิ ค้าและงานบรกิ ารตา่ ง ๆ ไต้ ๓) เน่ืองจากการกำหนดหลกั เกณฑ์
ตงั กล่าวมฃื น้ั ตอนท่ตี อ้ งปฏิบัตเิ พม่ิ เติมซงี่ มรื ายละเอียดค่อนชา้ งมากและมคี วามย่งุ ยากซับช้อน จงึ ทำให้
หนว่ ยงานของรฐั ยังมคื วามไมเ่ ขา้ ใจและไมส่ ามารถดำเนนิ การให้ถูกตอ้ งได้ ประกอบกับในการประกาศใช้บังคับ
กฎกระทรวงา และหนงั สอื แจ้งเวยี นแนวทางปฏิบตั ิตามกฎกระทรวงฯ มหี น่วยงานของรฐั หลายแหง่ ไตร้ บั ทราบ
หนงั สอื แจง้ เวียนแนวทางปฏบิ ัติภายหลงั วนั ที่ ๑๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๔๖๔ ทำให้หน่วยงานของรัฐดำเนนิ การจดั ซ้ือจัดจา้ ง
ล่วงเลยมาจนถงึ ขน้ั ตอนการประกาศเขิญฃวนหร่ ือออกหนงั สือเซญิ ซวน ห่รือประกาศผลผ้ชู นะหรือผไู้ ด้รบั การดัดเลอื กแลว้
โดยไม่ไตป้ ฏิบัตติ ามกฎกระทรวงฯ และหนงั สือแจง้ เวียนแนวทางปฏบิ ัติ สง่ ผลให้หน่วยงานของรัฐทำหนังสอื
/ฃอ ...
-๒ -
ขออนมุ ัติผ่อนผันการไม่ปฏิบตั ิตามกฎกระทรวงฯ และหนงั สือแจง้ เวยี นแนวทางปฏิบัตดิ ังกล่าวเปน็ จำนวนมาก
คณะกรรมการวนิ จิ ฉัย จงึ ได้มหี นังสอื ดว่ นท่ีสุด ท่ี กค (กวจ) ๐๔๐๕.๒/ว ๓๓๒ ลงวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๔
อนุมตั ผิ อ่ นผนั การไม,ปฏิบัติตามกฎกระทรวงฯ สำหรบั การดำเนินการจัดซอ้ื จัดจ้างท่ไี ด้ดำเนินการตงั้ แต่วันที่
๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๓ ถงึ วันท่ี ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๔ นัน้
คณะกรรมการวินิจฉยั ปญ้ หาการจัดซ้ือจัดจา้ งและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั (คณะกรรมการวินจิ ฉัย)
โดยไดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการนโยบายการจัดซ้ือจัดจ้างและการบรหิ ารพสั ดภุ าครัฐ พิจารณาแล้วเหน็ ว่า
เพ่ือใหห้ น่วยงานของรฐั มีความเข้าใจและสามารถปฏบิ ัตติ ามเง่ือนไขทกี่ ฎกระทรวงกำหนดพัสดุและวิธกี าร
จดั ซ้ือจัดจ้างพัสดทุ ี่รฐั ตอ้ งการสง่ เสริมหรือสนับสนนุ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓ กำหนดไว้ จึงอาศัยอำนาจ
ตามพระราฃบัญญตั กิ ารจัดซ้ือจัดจา้ งและการบรหิ ารพัสดุภาครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔ วรรคหนงึ่ (๖)
ประกอบมาตรา ๒๙ วรรคหน่ึง (๔) และ (๗) อนมุ ัติยกเวน้ การปฏิบัติตามกฎกระทรวงๆ และกำหนดแนวทาง
ปฏิบตั ิตามกฎกระทรวงฯ ดังนี้
๑. ยกเว้นการดำเนินการตามกฎกระทรวงๆ ในกรณดี ังตอ่ ไปนี้
๑.๑ ขอ ๗ (๒) (ก) ๑) ๒)
๑.๒ ขอ้ ๗ วรรคสอง
๑.๓ ขอ้ ๒๗/๓ (๒) (ข) และวรรคสอง
๑.๔ ขอ ๒๗/๓ (๓)
๑.๕ ขอ้ ๒๗/๓ วรรคสอง
๒. ยกเลกิ หนงั สอื คณะกรรมการวินิจฉยั ปีญหาการจดั ซ้อื จัดจ้างและการบริหารพัสดภุ าครฐั
ดว่ นทีส่ ุด ที่ กค (กวจ) ๐๔๐๕.๒/ว ๘๙ ลงวันท่ี ๑๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ โดยให้ปฏบิ ัตติ ามคมู่ อื การปฏบิ ัติ
ตามกฎกระทรวงกำหนดพสั ดุและวธิ กี ารจัดซอ้ื จดั จ้างพสั ดุท่ีรฐั ตอ้ งการส่งเสรมิ หรอื สนับสนุน (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓
รายละเอยี ดปรากฏตามสง่ิ ทสี่ ง่ มาดว้ ย
๓. หนังสอื เวียนฉบบั น้ใี ห้มผี ลใช้บังคบั กับการจดั ซอ้ื จดั จ้างที่ไดเ้ ผยแพร่ประกาศและเอกสารเชิญซวน
หรอื หนังสอื เชิญขวน ตัง้ แตว่ ันที่ ๑ กันยายน ๒๕๖๔ เป็นต้นไป
จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ และแจ้งให้หนว่ ยงานในสงั กดั และเจา้ หนา้ ท่ที ่ีเกี่ยวข้องถอื ปฏบิ ตั ติ อ่ ไป
ขอแสดงความนบั ถอื
(นายประภาศ คงเอยี ด)
อธบิ ดกี รมบญั ชีกลาง
ปฏบิ ตั ิราชการแทนปลดั กระทรวงการคลัง
ประธานกรรมการวนิ ิจฉยั
กองการพัสดุภาครัฐ
ฝา่ ยเลขานกุ าร
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ่ ๔๕๕๓
โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๑๘๕ - ๖
คมู อ
การปฏบิ ัติตามกฎกระทรวงกำหนดพัสดุ
และวิธีการจดั ซ้อื จัดจ้างพัสดุ
ที่รัฐต้องการสง่ เสริมหรือสนบั สนนุ
(ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓
แนบท้ายหนงั !taคณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ปญ็ หาการซ้ือจัดจ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครฐั
ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) ๐๔๐๕:.๒/ว ๘๔๔
ลงวนั ที่ ๓๑ สงิ หาคม ๒๔๖๔
สารบัญ
เรื่อง หน้า
เจตนารมณข์ องการออกกฎกระทรวงกำหนดพสั ดุ ๑
และวิธกี ารจดั ซอ้ื จดั จา้ งพสั ดทุ รี่ ัฐตอ้ งการสง่ เสรมิ หรอื สนบั สนนุ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓
การเตรยี มการ ๒
การดำเนนิ การ ๒
การจดั ซอื้ ๒
- การจดั ทำรา่ งขอบเขตของงาน ๒
หรอื กำหนดรายละเอียดคณุ ลกั ษณะเฉพาะของพสั ดุ ๓
- การตรวจสอบรายการสนิ คา้ หรืองานบริการและรายซื่อผ้ปู ระกอบการ SMEs ๓
- การจัดซือ้ โดยวธิ ีคดั เลอื ก ๕
- การจดั ซือ้ โดยวธิ ปี ระกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ๖
การจัดจา้ งกอ่ สร้าง ๖
- การจดั ทำแบบรปู รายการงานกอ่ สร้าง ๗
- การกำหนดเงื่อนไขและคณุ สมบตั ิของผยู้ ื่นขอ้ เสนอ ๗
- การตรวจสอบรายการสนิ คา้ หรอื งานบริการและรายซ่ือผู้ประกอบการ SMEs ๗
- การจัดจา้ งกอ่ สรา้ งโดยวิธคี ดั เลือก ๘
- การจัดจ้างกอ่ สรา้ งโดยวธิ ปี ระกวดราคาอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ๙
การจดั จ้างทมี่ ใิ ขง่ านก่อสรา้ ง ๙
- การจดั ทำรา่ งขอบเขตของงานและการกำหนดเงอ่ื นไข
และคณุ สมบตั ิของผยู้ ื่นข้อเสนอ ๑๐
- การกำหนดเงื่อนไขและคณุ สมบตั ิของผูย้ ่นื ข้อเสนอ ๑๐
- การตรวจสอบรายการสนิ คา้ หรอื งานบริการและรายซอ่ื ผู้ประกอบการ SMEs ๑๐
- การจดั จา้ งโดยวิธคี ดั เลอื ก ๑๑
- การจดั จา้ งโดยวธิ ปี ระกวดราคาอิเล็กทรอนกิ ส์ ๑๒
การกำหนดเงื่อนไขเอกสารประกวดราคากรณีการให้แต้มตอ่ ๑๒
การตอ่ รองราคากรณีผ้ปู ระกอบการ SMEs เสนอราคาเกินวงเงินงบประมาณท่จี ะจัดซอื้ จดั จ้าง ๑๓
การบริหารสญั ญาและการตรวจรบั พัสดุ ๑๔
กรณกี ารจดั ซอ้ื จดั จา้ งครั้งหน่งึ ท่ีมวี งเงนิ ไมเ่ กนิ ๕๐๐,๐๐๐ บาท ๑๔
การใหส้ ตั ยาบนั
แนวทางการดำเนินการตามกฎกระทรวงฯ ในหมวด ๒ ข้อ ๖ (๒) และ (๔) ๑๔
แนวทางการดำเนินการตามกฎกระทรวงฯ ในหมวด ๗/๒ การจดั ซื้อจัดจ้างพสั ดทุ ่เี ป็นมิตรสบั สงิ แวดลอ้ ม ๑๔
ภาคผนวก ๑
ภาคผนวก ๒
ภาคผนวก ๓
ภาคผนวก ๔
๑. เจตนารมณ์ของการออกกฎกระทรวงกำหนดพสั ดุและวิธีการจัดซือ้ จัดจา้ งพสั ดุท่รี ฐั ตอ้ งการสง่ เสริม
หรือสนับสนุน (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓
เจตนารมณ์ของการส่งเสรมิ หรือสนับส'มนตามกฎกระทรวงๆ มี ๒ กรณี ไตแ้ ก,
๑.๑ ส่งเสริมการจดั ซือ้ จัดจ้างกบั ผ้ปู ระกอบวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs)
โดยใหห้ น่วยงานของรัฐจดั ซ้อื จัดจา้ งพัสดจุ ากผปู้ ระกอบการ SMEs ตามรายการสินค้าหรือบรกิ าร
ท่ีมรี ายซอ่ื ตามท่ีสำนกั งานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (สสว.) ไต้ขึ้นบญั ชีไว้ โดยให้ไขเ้ งนิ งบประมาณ
จัดซ้อื จดั จ้างพัสดุดังกล่าวไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓0 ของงบประมาณในการจัดซ้ือจดั จ้างพสั ดทุ อ่ี ยใู่ นบัญชรี ายซอ่ื
ผปู้ ระกอบการ SMEs ซ่งึ การส่งเสริมหรอื สนับสนุบแบง่ ออกเปน็ ๒ ลักษณะ ได้แก่
๑.๑.๑ การสง่ เสริมหรอื สนบั สนุนผูป้ ระกอบการ SMEs ในเชิงพ้นื ท่ี โดยพิจารณา ดงั นี้
๑.๑.๑.๑ กรณที ่หี น่วยจัดซ้อื จดั จ้างซึ่งเป็นหน่วยท่ีได้รับงบประมาณและเป็นผไู้ ขพ้ ัสดุนน้ั เอง
ให้พิจารณาผู้ประกอบการ SMEs ในพ้นื ทขี่ องหน่วยท่ไี ต้รับการจดั สรรงบประมาณน้นั
๑ . ๑ . ๑ . ๒ กรณที ่ีหนว่ ยจดั ซือ้ จัดจ้างเปน็ หน่วยทไี่ ด้รบั การจัดสรรงบประมาณ และเม่อื ไตพ้ ัสดุแล้ว
หนว่ ยจัดซ้ือจัดจ้างจะตอ้ งจัดสรรพัสดุไปให้ผใู้ ขพ้ ัสดุซ่ึงอยู่ตา่ งพื้นท่ี ใหพ้ จิ ารณาผูป้ ระกอบการ SMEs
ในพื้นท่ขี องหน่วยที่ไต้รับการจดั สรรงบประมาณ
๑.๑.๑.๓ กรณที ่หี น่วยจดั ซอื้ จัดจา้ งไมใฃห่ นว่ ยที่ไต้รบั จัดสรรงบประมาณ เป็นเพียงผดู้ ำเนนิ การ
จัดซ้ือจัดจ้างแทนหนว่ ยท่ีไตร้ บั จดั สรรงบประมาณแหง่ อนื่ โดยเม่ือจดั ซ้ือจัดจ้างแล้ว หนว่ ยจดั ซอื้ จดั จ้าง
ต้องจดั สรรพัสดุไปใหก้ บั หนว่ ยทไี่ ตร้ บั จัดสรรงบประมาณน้ัน ๆ ใหพ้ ิจารณาผปู้ ระกอบการ SMEs ใบพ้ืนที่
ของหน่วยที่ไต้รบั จัดสรรงบประมาณ
๑.๑.๑.๔ กรณที ี่หนว่ ยจดั ซือ้ จัดจ้างเปน็ หน่วยที่ไตร้ บั การจัดสรรงบประมาณ แต่ตอ้ งจัดซ้ือ
จดั จา้ งพัสดเุ พ่ือไปใช้ไนพน้ื ท่อี ืน่ ซ่งึ ไม่ใซท่ ่ีต้ังที่หน่วยจดั ซือ้ จดั จ้างตงั้ อยู่ ใหพ้ ิจารณาผปู้ ระกอบการ SMEs
ในพ้นื ทีท่ จี่ ะไปใช้พสั ดนุ ัน้
๑.๑.๒ การใหแ้ ตม้ ต่อตา้ นราคากบั ผู้ประกอบการ SMEs ให้พจิ ารณากรณีการเสนอราคาสูงกวา่
ราคาตา่ํ สุดของผู้เสนอราคารายอ่นื ไม่เกนิ ร้อยละ ๑๐
๑.๒ ส่งเสรมิ การจดั ซื้อจดั จ้างพัสดทุ ี่ผลติ ภายในประเทศ
เปน็ การส่งเสรมิ หรอื สนบั สนนุ ใหไ้ ข้สินคา้ ทผ่ี ลติ ภายในประเทศ และการใหแ้ ตม้ ตอ่ แก,ผ้ปู ระกอบการไทย
ในการเสนอราคาสูงกว่าราคาตา่ํ สดุ ของผปู้ ระกอบการตา่ งประเทศไม่เกินรอ้ ยละ ๓ โดยกำหนดงานออกเปน็
๓ ประเภท ดงั นี้
๑.๒.๑ กรณีการจัดซอ้ื ใหห้ นว่ ยงานของรัฐจดั ซ้อื พัสดุทผ่ี ลติ ภายในประเทศ
๑.๒.๒ กรณีการจดั จา้ งงานกอ่ สร้าง ใหห้ น่วยงานของรฐั กำหนดรายละเอยี ดในแบบรูปรายการ
งานกอ่ สรา้ งวา่ ให้ไขพ้ สั ดสุ ่งเสริมการผลิตภายในประเทศไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ ของพัสดุทีจ่ ะใช้ไนงานก่อสร้าง
โดยใชเ้ หล็กหรอื เหลก็ กล้าทเี่ ป็นพสั ดุสง่ เสรมิ การผลิตภายในประเทศก่อน ซงึ่ ตอ้ งไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๙๐
ของปรมิ าณเหลก็ หรอื เหล็กกล้าที่ใชไ้ นงานกอ่ สรา้ งทั้งหมดในครั้งน้นั หากการใชเ้ หลก็ หรอื เหล็กกล้าแลว้
ยังไมค่ รบร้อยละของมูลค่าท่ีกำหนดใหไ้ ขพ้ สั ดสุ ง่ เสริมการผลติ ภายในประเทศ ใหห้ น่วยงานของรัฐ
ใช้พสั ดสุ ง่ เสรมิ การผลิตภายในประเทศประเภทอ่นื เพ่ือใหค้ รบรอ้ ยละ ๖๐
๑.๒.๓ กรณงี านจา้ งที่มิใช่งานจ้างกอ่ สร้าง ใหห้ น่วยงานของรฐั กำหนดในขอบเขตของงานหรอื
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดทุ จ่ี ะใช้ในงานจ้างว่า “ให้ไขพ้ สั ดุส่งเสรมิ การผลติ ภายในประเทศไมน่ อ้ ยกวา่
รอ้ ยละ ๖๐ ของพสั ดทุ ีจ่ ะใช้ไนงานจ้าง”
หลักการดงั กล่าวข้างต้นใชบ้ งั คบั สำหรับการจัดซอื้ การจดั จา้ งกอ่ สร้าง การจดั จา้ งท่ีมิใช่งานก่อสรา้ ง
และการเชา่ ลังหารมิ ทรพั ย์ แต่ไม่ไข้กับการจา้ งทีป่ รกึ ษา และการจา้ งออกแบบหรอื ควบคุมงานกอ่ สร้าง
/๒. ...
- ๒-
๒. บีญหาการสมยอมกันในการเสนอราคา
เนอ่ื งจากไดร้ ับเร่ืองรอ้ งเรียนว่า กรณที ่ีกฎกระทรวงฯ กำหนดหลกั เกณฑว์ า่ หากมีผปู้ ระกอบการ SMEs
ทีข่ น้ึ ทะเบยี นสนิ คา้ หรืองานบรกิ ารตรงกับท่หี นว่ ยงานของรฐั จะดำเนินการจัดซ้ือจัดจ้าง ในจังหวัดท่หี น่วยงานของรฐั
ผ้จู ัดซอ้ื จัดจา้ งต้งั อยูไ่ ม,น้อยกวา่ ๓ ราย ใหจ้ ัดซ้อื จัดจา้ งกบั ผปู้ ระกอบการ SMEs ในจังหวัดทหี่ น่วยงานของรฐั
ต้ังอยูก่ ่อน โดยในงานจ้างก่อสร้าง จงั หวัดท่ไี ม,มผี ู้ประกอบการ SMEs แตต่ อ่ มาไดม้ กี ารรวมตวั กันของผูป้ ระกอบการ
ไปดำเนนิ การขนึ้ ทะเบยี นเป็นผปู้ ระกอบการ SMEs เพ่อื ใหเ้ กดิ สิทธภิ ายในกลุ่มของตนเองในการเชิญ
เขา้ มาย่ืนข้อเสนอกอ่ น จงึ เป็นการสมยอมกนั เพอื่ ใหเ้ กดิ สิทธ,ิ ดงั กลา่ ว ก่อใหเ้ กิดการแขง่ ขนั ที่ไมเ่ ป็นธรรม
ดงั น้นั เพือ่ เป็นการแก้ไขบีญหาดังกล่าวจึงแก้ไขโดยให้เปล่ียนจากเดิม “ใหเ้ ชิญผปู้ ระกอบการ SMEs
เขา้ มาเสนอราคาโดยวธิ ีคัดเลอื กไม,นอ้ ยกวา่ ๓ ราย” เปน็ “ใหเ้ ชญิ ผปู้ ระกอบการ SMEs เขา้ มาเสนอราคา
โดยวิธคี ัดเลอื กไม่นอ้ ยกว่า ๖ ราย”
๓. การเตรียมการ
การคำนวณ งบประมาณ ร้อยละ ๓๐ ของงบประมาณในการจัดซื้อจดั จา้ งพัสดุทีอ่ ยู่ในบัญชรี ายขอื่
ผ้ปู ระกอบการ SMEs ให้หนว่ ยงานของรัฐคำนวณจากงบประมาณของรายการท่ีได้รบั การจัดสรรงบประมาณ
สำหรบั การจัดซอ้ื จดั จา้ ง ณ วนั ทไี่ ดร้ ับการจดั สรรงบประมาณทกุ ครงั้ โดยใหห้ นว่ ยงานของรฐั นำรายการพสั ดุ
ท่จี ะจดั ซื้อจัดจา้ งไปตรวจสอบที่ vwwv.thaismegp.com ว่ารายการพสั ดทุ ่ีจะจัดซอ้ื จัดจา้ งดงั กล่าวตรงกบั
รายการสนิ คา้ หรอื บรกิ ารท่ี สสว. ไดข้ นึ้ ทะเบยี นไวห้ รอื ไม่ และรายการพสั ดุทีต่ รงกับการขน้ึ ทะเบียนน้นั
มจี ำนวนกร่ี ายการ เป็นมูลค่าเท่าใด เพ่ือนำข้อมลู ดังกลา่ วไปจดั ทำแผนการจดั ซ้ือจดั จ้างกบั ผ้ปู ระกอบการ SMEs
และนำข้อมลู ไปกำหนดไวในตารางภาคผนวก ๑ ทแ่ี นบทา้ ยตอ่ ไป
ตวั อย่างการคำนวณ
รายการพัสดทุ ีห่ นว่ ยงานของรฐั จะจัดซ้อื จัดจา้ งในปงี บประมาณนัน้ มนี ้ังหมดจำนวน ๑๐๐ รายการ งบประมาณ
รวม ๕๐๐ ลา้ นบาท เมอื่ หน่วยงานของรฐั ดำเนินการตรวจสอบแลว้ ปรากฏวา่ มรี ายการพัสดุทห่ี นว่ ยงานของรัฐ
ประสงค์จะจดั ซ้อื จัดจ้างอยใู่ นบัญชีรายการพสั ดแุ ละบญั ชรี ายขอื่ ผู้ประกอบการ SMEs จำนวน ๕ รายการ
งบประมาณทตี่ อ้ งใข้ในการจดั ซอื้ จดั จา้ ง ๕ รายการดงั กลา่ ว เป็นเงนิ ๑๐ ลา้ นบาท ให้หนว่ ยงานของรัฐจดั ซอื้
จดั จา้ งพัสดกุ บั ผูป้ ระกอบการ SMEs ไม,นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๓๐ ของงบประมาณ ๑๐ ล้านบาท หนว่ ยงานของรฐั
ต้องจัดซ้ือจัดจา้ งพสั ดกุ ับผู้ประกอบการ SMEs ไม่นอ้ ยกว่า ๓ ลา้ นบาท
ขง่ื พสั ดุ ๕ รายการท่ีอยูใ่ นบญั ชรี ายการพัสดแุ ละบญั ชีรายขอื่ SMEs ดังกล่าวนนั้ หน่วยงานของรฐั สามารถ
เลือกซื้อหรือจ้างรายการใดรายการหน่ืง หรือหลายรายการ โดยต้องไมน่ อ้ ยกวา่ มูลคา่ ๓ ลา้ นบาท ก็ได้
๔. การดำเนนิ การ
๔.® การจดั ซื้อ
๔.®.® การจดั ทำรา่ งขอบเขตของงานหรือกำหนดรายละเอียดคณุ ลกั ษณะเฉพาะของพสั ดุ
๔.๑.๑.๑ ใหห้ น่วยงานของรัฐดำเนนิ การจดั ทำร่างขอบเขตของงานหรอื กำหนดรายละเอียด
คุณลกั ษณะเฉพาะของพัสดตุ ามวตั ถปุ ระสงคก์ ารใช้งาน และเป็นพัสดทุ ่ีผลติ ภายในประเทศ
๔.๑.๑.๒ กรณที ่พี ัสดทุ ่หี น่วยงานของรัฐต้องการใช้งานเปน็ พัสดุทไี่ ม,มผี ลติ ภายในประเทศ
หน่วยงานของรฐั สามารถกำหนดรายละเอยี ดคณุ ลักษณะเฉพาะของพัสดุไดต้ ามวัตถปุ ระสงคก์ ารใชง้ าน
โดยไม่ตอ้ งกำหน ดว่าเป็นพ สั ดุที่ผลิตภายใน ประเทศ กรณนี ไี้ ม1ตอ้ งขออนมุ ตั ิจากหัวหนา้ หนว่ ยงานของรัฐ
หรือผ้มู ีอำนาจเหนือขน้ึ ไปหนึ่งขนั้
/ (^.(5).(9).&ก ...
๓
๔.๑.๑.๓ ในกรณีท่พี สั ดุท่หี น่วยงานของรัฐต้องการใช้งานเป็นพัสดทุ ีม่ ผี ลติ ภายในประเทศ
แตไ่ มเ่ พยี งพอต่อความต้องการในประเทศ หรอื มีผปู้ ระกอบการเชา้ ยืน่ ขอ้ เสนอจำนวนนอ้ ยราย หรือมีความจำเป็น
จะต้องมีการใชพ้ ัสดทุ ีผ่ ลิตจากต่างประเทศหรอื นำเชา้ พสั ดุจากต่างประเทศให้หนว่ ยงานของรัฐจดั ทำรายละเอียด
คุณลักษณะเฉพาะตามวัตถุประสงค์การใชง้ าน และเสนอหวั หนา้ หน่วยงานของรฐั พิจารณา โดยจะเสนอ
ไปพรอ้ มกบั ขัน้ ตอนขอความเห็นขอบรายงานขอซ้ือขอจา้ งก็ไดใ้ นกรณดี ังนี้
(๑) เป็น การจดั ห าอะไห ลท่ มี่ คี วามจำเปน็ จะต้องระบคุ ุณ ลักษณ ะเฉพ าะ
และจำเปน็ ต้องนำเชา้ จากต่างประเทศ
(๒) กรณีมคี วามจำเป็นจะต้องมีการใชพ้ ัสดทุ ผี่ ลิตหรอื นำเชา้ จากตา่ งประเทศ
ซึ่งเปน็ การจัดหาคร้ังหน่ึงทม่ี ีวงเงินไมเ่ กิน ๒ ล้านบาท หรอื ราคาพัสดทุ ี่นำเชา้ จากต่างประเทศมีราคาต่อหน่วย
ไมเ่ กิน ๒ ล้านบาท
กรณนี อกจากวรรคหนึง่ (๑) และ (๒) ใหเ้ สนอผมู้ ีอำนาจเหนอื ข้นึ ไปหน่ึงขัน้ เพ่ืออนุมตี ิ
กรณตี ามวรรคหนง่ึ (๒) หากพิจารณาแลว้ สามารถแยกราคาต่อหน่วยใต้วา่
ราคาตอ่ หนว่ ยไม,เกิน ๒ ล้านบาท กรณนี ้ีแมว้ งเงินรวมทง้ั สัญญาจะเกิน ๒ ลา้ นบาท ถา้ เช้ากรณีใดกรณีหนึง่
ใหข้ ออนุมัติตอ่ หัวหนา้ หน่วยงานของรฐั แต่หากไม่สามารถแยกพิจารณาราคาตอ่ หนว่ ยได้ ก็ให้พิจารณาจาก
มลู คา่ ของสญั ญา ถ้าไมเ่ กนิ ๒ ลา้ นบาท ใหข้ ออนุมตั ติ อ่ หัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐ
๔.๑.๒ การตรวจสอบรายการสนิ ค้าหรอื งานบรกิ ารและรายซื่อผูป้ ระกอบการ SMEs
เม่อื ดำเนินการกำหนดรายละเอยี ดตามข้อ ๔.๑.๑ แลว้ ให้หน่วยงานของรัฐนำรายละเอยี ด
คณุ ลกั ษณะเฉพาะของพสั ดทุ ปี่ ระสงค์จะจดั ซอื้ นนั้ ไปตรวจสอบที่ vvww.thaismegp.com วา่ พสั ดุที่หน่วยงานของรัฐ
ตอ้ งการจดั ซือ้ นน้ั มผี ปู้ ระกอบการ SMEs มาขึ้นทะเบียนสนิ คา้ ไว้ตรงตามรายละเอยี ดคณุ ลกั ษณะเฉพาะของพัสดุ
ท่ีหนว่ ยงานของรัฐกำหนดไวห้ รือไม่ โดยการค้นหารายซ่ือผูป้ ระกอบการ SMEs ให้ดวู า่ รายละเอยี ดคุณลักษณะ
เฉพาะของพัสดุ (Spec) ทีผ่ ู้ประกอบการ SMEs ที่ได้ข้ึนทะเบียนไวก้ ับ สสว. นั้นตรงกับความตอ้ งการ
ของหน่วยงานของรฐั ที่ต้องการจดั ซอื้ จากนั้นให้ดำเนินการดังนี้
๔.๑.๒.๑ หากตรวจสอบแล้วไมพ่ บว่ามสี ินค้าท่มี ีรายละเอียดคณุ ลักษณะเฉพาะของพัสดุตรงกับ
ความต้องการของหนว่ ยงานของรัฐทตี่ อ้ งการจดั ซอ้ื กรณนี ี้กไ็ ม,ต้องจดั ซื้อพสั ดุดังกล่าวกับผปู้ ระกอบการ SMEs
๔.๑.๒.๒ หากตรวจสอบแลว้ พบวา่ มีสนิ ค้าท่มี รี ายละเอียดคณุ ลักษณะเฉพาะของพัสดตุ รงกบั
ความต้องการของหน่วยงานของรฐั ที่ตอ้ งการจดั ซ้ือ ให้ดำเนนิ การดงั นี้
(๑) กรณีท่สี ินค้าดังกลา่ วมผี ปู้ ระกอบการ SMEs นำสนิ ค้ามาขึ้นทะเบยี นไว้
และมตี ้งั แต่ ๖ รายขึ้นไป ใหห้ นว่ ยงานของรฐั ดำเนนิ การจัดซอ้ื โดยวิธีคดั เลอื กกบั ผู้ประกอบการ SMEs กอ่ น
(๒) กรณีทสี่ นิ คา้ ดงั กลา่ วมีผู้ประกอบการ SMEs นำสินคา้ มาข้ึนทะเบียนไว้
แต่มนี อ้ ยกวา่ ๖ ราย ให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการจัดซอื้ ตามวธิ ีการท่กี ำหนดในพระราชบัญญัตกิ ารจดั ซือ้
จดั จ้างและการบรหิ ารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. ๒๔๖๐
๔.๑.๓ การจดั ซ้ือโดยวิธคี ดั เลอื ก
เม่ือดำเนนิ การตามขอ้ ๔.๑.๒ แลว้ ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำหนงั สอื เชญิ ขวน พร้อมท้ัง
ส่งรายละเอียดคณุ ลกั ษณะเฉพาะหรอื รา่ งขอบเขตของงานไปให้ผปู้ ระกอบการ SMEs ดว้ ย โดยใหด้ ำเนินการดังนี้
๔.๑.๓.๑ หากกรณีปรากฏวา่ ในจังหวัดทห่ี นว่ ยจดั ซอื้ ตงั้ อยหู่ รอื จังหวัดท่พี น้ื ทีท่ จี่ ะใช้พสั ดุ
มรี ายซอ่ื ผูป้ ระกอบการ SMEs และมไี ม่น้อยกวา่ ๖ ราย ใหจ้ ัดซอ้ื จากผู้ประกอบการ SMEs ท่หี นว่ ยจดั ซือ้ ตัง้ อยู่
หรืออยู่ในพน้ื ทที่ ่จี ะใช้พสั ดุก่อน โดยเชญิ ไม่นอ้ ยกว่า ๖ ราย เช้ามาเสนอราคา
/ดวั อย่าง ...
- (si -
ตวั อย่าง
(๑) หน่วยงานของรัฐตั้งอยใู่ นจังหวัด ก. มคี วามประสงคจ์ ะจดั ซื้อโตะ๊ สำนักงาน
เมือ่ ตรวจสอบรายซื่อแล้วพบวา่ จงั หวดั ก. มรี ายซือ่ ผปู้ ระกอบการ SMEs ทอ่ี ยู่ในจงั หวดั ก. จำนวน ๘ ราย
ให้เชิญซวนผูป้ ระกอบการ SMEs จำนวน ๘ รายดงั กล่าวเข้ามาเสนอราคา โดยใช้วธิ คี ัดเลือก โดยเชิญไมน่ ้อยกวา่ ๖ ราย
(๒) หน่วยงานของรฐั ตงั้ อยใู่ นจังหวดั ก. มีความประสงคจ์ ะจดั ซื้อโต๊ะสำนักงาน
เม่อื ตรวจสอบรายซอ่ื แลว้ พบวา่ จังหวัด ก. ไมม่ ีรายซ่อื ผ้ปู ระกอบการ SMEs ท่ีอยูใ่ นจังหวดั ก. หรือมแี ต่ไมถ่ ึง
๖ ราย ให้ดำเนนิ การตามข้อ ๔.๑.๓.๒ ต่อไป
๔.๑.๓.๒ หากกรณีปรากฏว่า ในจงั หวัดทห่ี น่วยจัดซอ้ื ต้ังอยูห่ รือจงั หวัดท่ีพน้ื ทที่ ่ีจะใช้พัสดุ
ไม่มีรายซ่ือผูป้ ระกอบการ SMEs หรอื มีแตน่ อ้ ยกวา่ ๖ ราย ใหต้ รวจสอบบัญชีรายการพัสดแุ ละบัญชรี ายซ่ือ
ของ สสว. ทุกจังหวัดวา่ พสั ดทุ ป่ี ระสงค์จะจัดซอื้ นัน้ มรี ายซื่อผู้ประกอบการ SMEs หรือไม่ หากทุกจังหวัด
ในบญั ชรี ายการพัสดแุ ละบัญชีรายซ่ือของ สสว. มรี ายซ่อื ผ้ปู ระกอบการ SMEs ไม่น้อยกว่า ๖ ราย ใหจ้ ัดซือ้
จากผปู้ ระกอบการ SMEs ที่มรี ายซอื่ นนั้ โดยเชิญไม่น้อยกวา่ ๖ ราย เข้ามาเสนอราคา
หากในจังหวดั ท่หี นว่ ยจัดซอื้ ต้งั อยู่หรอื จงั หวดั ท่พี ้นื ทที่ ่ีจะใช้พัสดุ มรี ายซือ่
ผปู้ ระกอบการ SMEs นอ้ ยกวา่ ๖ ราย ให้หน่วยจดั ซ้อื เชิญซวนผปู้ ระกอบการ SMEs ที่มีรายซ่อื อยใู่ นจงั หวัด
ที่หน่วยจัดซ้อื ตงั้ อยูห่ รอื จังหวัดท่ีพืน้ ทท่ี ่ีจะใช้พัสดุ ให้เชญิ ในจงั หวัดท่หี นว่ ยจดั ซ้อื ตั้งอยหู่ รือจงั หวัด
ที่พื้นท่ที ี่จะใชพ้ สั ดกุ อ่ น แล้วจึงพจิ ารณ าจังหวดั อน่ื ๆ ตอ่ ไป แต่หากในจงั หวดั ท่หี นว่ ยจดั ซ้อื ตงั้ อยู่
หรือจังหวดั ทพ่ี ืน้ ท่ีท่จี ะใชพ้ ัสดุไม'มีรายซอ่ื ผู้ประกอบการ SMEs ใหเ้ ชิญผปู้ ระกอบการ SMEs ทม่ี รี ายซอ่ื
อยู่ในจงั หวัดอ่ืน ๆโดยเชิญไม่น้อยกว่า ๖ ราย
ตวั อย่าง
(๑) หน่วยงานของรัฐที่ดำเนนิ การจัดซื้อจัดจ้าง ต้ังอยใู่ นจังหวัด ก. จะจดั ซื้อโตะ๊
สำนกั งาน เมอ่ื ดำเนนิ การตามขอ้ ๔.๑.๓.๑ พบวา่ จงั หวดั ก. มรี ายซือ่ ผูป้ ระกอบการ SMEs ทอ่ี ย่ใู นจังหวัด ก.
จำนวน ๔ ราย ให้เชญิ ซวนผู้ประกอบการจาก ๔ รายดงั กล่าวเช้ามาเสนอราคา และให้เชญิ ผูป้ ระกอบการ SMEs
จากจงั หวดั อนื่ ๆ เชา้ มาเสนอราคา โดยเชิญไม่นอ้ ยกว่า ๖ ราย
(๒) หน่วยงานของรฐั ทดี่ ำเนินการจัดซือ้ จัดจา้ ง ต้ังอยูใ่ นจงั หวดั ก. จะจดั ซอื้ โต๊ะ
สำนักงาน เมื่อดำเนนิ การตรวจสอบรายซ่อื แล้วแล้วพบว่า จังหวัด ก. ไม'มีรายซื่อผู้ประกอบการ SMEs ทอี่ ยู่ใน
จังหวดั ก. ให้เชญิ ซวนผปู้ ระกอบการ SMEs จากจังหวดั อนื่ ๆ เชา้ มาเสนอราคาดว้ ย โดยเชิญไม่น้อยกวา่ ๖ ราย
๔.๑.๓.๓ หากกรณไี มเ่ ป็นไปตามข้อ ๔.๑.๓.๑ และขอ้ ๔๑.๓.๒ ให้หน่วยจัดซื้อดำเนินการจดั ซอื้
ตามวธิ ีการท่กี ำหนดในพระราขบญั ญัตฯิ หากหน่วยจดั ซือ้ ดำเนินการจดั ซ้ือโดยวิธีประกวดราคาอิเลก็ ทรอนิกส์
(Electronic Bidding : e - bidding) และใชเ้ กณฑร์ าคาในการพิจารณาคดั เลอื กผู้ฃนะ หากผู้ยน่ื ข้อเสนอซึ่งเปน็
ผู้ประกอบการ SMEs เสนอราคาสงู กว่าราคาตรสดุ ของผเู้ สนอราคารายอ่นื ไม’เกินรอ้ ยละ ๑ ๐ ใหจ้ ัดซอ้ื จาก
ผ้ปู ระกอบการ SMEs ดังกลา่ ว โดยจัดเรียงลำดบั ผเู้ สนอราคาซึง่ เป็นผ้ปู ระกอบการ SMEs ซึ่งเสนอราคาสูงกว่าราคา
ตาํ่ สดุ ซองผ้เู สนอราคารายอ่ืนไม'เกนิ ร้อยละ ๑๐ ทจี่ ะเรียกมาทำสญั ญาไม่เกิน ๓ ราย
ตวั อยา่ ง
การเสนอราคาครัง้ นี้มผี ู้เสนอราคา ๕ ราย ไดแ้ ก่ บรษิ ัท ก. บรษิ ทั ข. บรษิ ทั ค.
หา้ งหุ้นส่วนจำกดั A. และห้างหุ้นส่วนจำกัด B. โดยห้างห้นุ ส่วนจำกัด A. และหา้ งหุ้นสว่ นจำกัด B.
เป็นผปู้ ระกอบการ SMEs และบริษทั ก. บรษิ ัท ข. และบรษิ ทั ค. เปน็ ผปู้ ระกอบการทวั่ ไป ซง่ึ ผูเ้ สนอราคา
แตล่ ะรายเสนอราคาดงั นี้
/บริษัท ...
-๔-
บริษัท ก. ๕ ,0 0 0 ,0 0 0 บาท
บริษัท ข. ๒๐๐,๐๐๐ บาท
๕,
บรษิ ทั ค. ๕,๒๕๐,00๐ บาท
ห้างหนุ้ สว่ นจำกดั A. ๕,๓๐๐,๐๐๐
ห้างหุ้นส่วนจำกดั B. ๕,๔๐๐,๐๐๐ บาท
พจิ ารณาได้ว่าในการเสนอราคาคร้ังบี้ หา้ งหนุ้ สว่ นจำกดั A. และหา้ งหุ้นสว่ นจำกัด B. ขืง่ เป็นผูป้ ระกอบการ
SMEs ไดเ้ สนอราคาสงู กว่าผเู้ สนอราคารายอน่ื ทเี่ สนอราคาต่ําสดุ แตไ่ ม,เกินรอ้ ยละ ๑๐ ดังน้ัน ในการเสนอราคา
ครง้ั บี้ จงึ พจิ ารณาให้หา้ งห้นุ สว่ นจำกัด A. เปน็ ผู้เสนอราคารายตํา่ สดุ ลำดบั ท่ี ๑ หา้ งหนุ้ สว่ นจำกดั B.
เป็นผ้เู สนอราคารายต่ําสุดลำดับท่ี ๒ และบริษัท ก. เปน็ ผู้เสนอราคารายตา่ํ สดุ ลำดบั ท่ี ๓
๔.๑.๓.๔ ใหห้ นว่ ยงานของรัฐรายงานผลการจดั ซ้อื จดั จ้างกับผู้ประกอบการ SMEs ไปยัง สสว.
ภายใน ๖๐ วนั นบั ถดั จากวันสน้ิ ปีงบประมาณ (ตามภาคผนวก ๑)
สำหรับหนว่ ยงาน1ของรัฐทีม่ หี น่วยงานย่อย ให้รายงานไปที่หนว่ ยงานตน้ สงั กัด
และใหห้ นว่ ยงานด้นสงั กดั รายงานในภาพรวมทั้งหน่วยงานของรฐั ไปยัง สสว.
ตวั อย่าง
กรม ข. มหี น่วยงานในสังกัดทต่ี ้งั อยู่ในตา่ งจงั หวัด ให้หนว่ ยงาบในสังกัดสรุป
ผลการจัดซ้ือจดั จา้ งกับผปู้ ระกอบการ SMEs ไปยงั ส่วนกลาง เพื่อใหก้ รม ข. จดั ทำรายงานการจัดซื้อจดั จา้ ง
กบั ผู้ประกอบการ SMEs ในภาพรวมของกรม ข. ไปยัง สสว.
๔.๑.๔ การจดั ซอ้ื โดยวิธีประกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนิกส์
๔.๑.๔.๑ ให ห้ น ว่ ยงาน ของรัฐน ำรายละเอยี ดคณุ ลกั ษ ณ ะเฉ พ าะต าม ข ้อ ๔.๑.๑.๒
ไปตรวจสอบที่ wvwv.mitfti.or.th ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ว่าพสั ดุดังกล่าวมผี ปู้ ระกอบการ
มาขึ้นทะเบยี นว่าเป็นพัสดทุ ่ผี ลิตภายในประเทศหรือไม่ หากกรณปี รากฏดังบี้
(๑) มผี ู้ประกอบการท่ีไดร้ ับการรบั รองและออกเคร่ืองหมายสินค้าท่ีผลิต
ภายในประเทศไทย (Made in Thailand) ต้ังแต่ ๖ รายข้ึนไป ให้กำหนดในรายละเอยี ดคณุ ลกั ษณะเฉพาะ
วา่ เป็นพสั ดทุ ีผ่ ลิตภายในประเทศ ทไ่ี ดร้ บั การรบั รองจากสภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย
(๒) ไม่มผี ปู้ ระกอบการทไี่ ดร้ ับการรบั รองและออกเครอ่ื งหมายสินค้าทีผ่ ลิต
ภายในประเทศไทย (Made in Thailand) หรอื มีแต่นอ้ ยกว่า ๖ ราย ใหก้ ำหนดในรายละเอียดคุณลกั ษณะเฉพาะ
ว่าเปน็ พสั ดุทีผ่ ลติ ภายในประเทศ เวน้ แต่เป็นกรณีตามขอ้ ๔.๑.๑.๑ หรือกรณีทีห่ นว่ ยงานของรฐั ไดด้ ำเนินการ
ตามข้อ ๔.๑.๑.๓ แลว้
๔.๑.๔.๒ การกำหนดเง่ือนไขในเอกสารประกวดราคาซือ้ ดว้ ยวธิ ีประกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ดังบี้
(๑) ให้หน่วยงานของรัฐตรวจรายขื่อผปู้ ระกอบการท่ีได้รับการรับรองและออกเครอื่ งหมาย
สินค้าทผี่ ลิตภายในประเทศไทย (Made in Thailand) ไดท้ ี่ www.mit.fti.or.th ของสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย
หากปรากฏว่า มีผปู้ ระกอบการทีไ่ ด้รับการรบั รองและออกเครื่องหมายสนิ ค้าท่ผี ลติ ภายในประเทศไทย
(Made in Thailand) ต้งั แต่ ๖ รายข้นึ ไป ให้เพมิ่ เงื่อนไขในเอกสารประกวดราคาซอ้ื ฯ สว่ นที่ ๒ ดงั บี้ “ขอ้ ๓.๒
ลำเนาหนงั สือรบั รองสินค้า Made in Thailand ของสภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย”
(๒) กำหนดเงอื่ นไขในเอกสารประกวดราคาซื้อฯ สว่ นท่ี ๒ ดังบี้ “ข้อ ๓.๒ สำเนา
ใบข้ึนทะเบยี นผู้ประกอบวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) (ถ้าม)ี ”
/สำ,หรบั ...
-๖ -
สำหรบั การพจิ ารณาผลกรณกี ารกำหนดเงอ่ื นไขทใ่ี หผ้ ยู้ ่ืนขอ้ เสนอยนื่ สำเนา
ใบข้นึ ทะเบยี นผปู้ ระกอบวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) มวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อนำมาตรวจสอบ
คณุ สมบัตใิ นการใหแ้ ต้มต่อแก่ผปู้ ระกอบการ SMEs กรณีเสนอราคาสงู กวา่ ราคาตาํ่ สดุ ของผ้เู สนอราคารายอ่นื
ไม,เกินร้อยละ ๑๐ หากผู้ประกอบการ SMEs ไม่ยืน่ สำเนาใบขน้ึ ทะเบียนฯ ผปู้ ระกอบการ SMEs รายน้นั
ก็จะไมไ่ ต้รบั สทิ ธกิ ารได้แตม้ ตอ่ ในการเสนอราคาดงั กลา่ ว ด้งน้ัน กรณีทีผ่ ปู้ ระกอบการ SMEs ไม่ยืน่ สำเนา
ใบขึ้นทะเบยี นๆ ไมถ่ ือวา่ ผูย้ ื่นขอ้ เสนอรายนนั้ เป็นผูไ้ มผ่ านคุณสมบัตแิ ตอ่ ย่างใด
(๓) กำหนดเงือ่ นไขในเอกสารประกวดราคาข้อึ ๆ กรณใี ช้เกณฑร์ าคาในการพิจารณา
คดั เลอื กผชู้ นะดง้ น้ี
(๓.๑) ใหก้ ำหนดเงอื่ นไขการพจิ ารณาในขอ้ ๖ หลกั เกณฑ์และสิทธิในการพิจารณา
“๖.๘ หากผูย้ นื่ ข้อเสนอซึ่งเปน็ ผูป้ ระกอบการ SMEs เสนอราคาสงู กวา่ ราคาต่ําสุดของผ้ยู นื่ ขอ้ เสนอรายอน่ื
ท่ไี มเ่ กินรอ้ ยละ ๑๐ ให้หนว่ ยงานของรฐั จดั ซ้ือจดั จา้ งจากผู้ประกอบการ SMEs ดง้ กลา่ ว โดยจัดเรยี งลำดบั
ผยู้ นื่ ขอ้ เสนอซงึ่ เป็นผูป้ ระกอบการ SMEs ซ่ึงเสนอราคาสูงกวา่ ราคาตรสดุ ของผยู้ น่ื ขอ้ เสนอรายอ่ืนไมเ่ กนิ
รอ้ ยละ ๑๐ ท่จี ะเรียกมาทำสญั ญาไมเ่ กนิ ๓ ราย
ผยู้ ่นื ข้อเสนอที่เป็นกจิ การรว่ มค้าทจี่ ะไตส้ ทิ ธิตามวรรคหนึ่ง ผู้เข้ารว่ มค้าทุกราย
จะตอ้ งเปน็ ผปู้ ระกอบการ SMEs”
(๓.๒) ใหก้ ำหนดเงอ่ื นไขการพจิ ารณาในขอ้ ๖ หลักเกณฑ์และสิทธิในการ
พจิ ารณา “๖.๙ หากผยู้ ื่นข้อเสนอซ่งึ มิใขผ่ ูป้ ระกอบการ SMEs แต่เปน็ บคุ คลธรรมดาท่ถี อื สญั ชาติไทยหรือ
นิตบิ ุคคลทจ่ี ัดตั้งขึน้ ตามกฎหมายไทยเสนอราคาสูงกว่าราคาตํ่าสดุ ของผยู้ ื่นข้อเสนอซ่งึ เปน็ บคุ คลธรรมดา
ท่มี ไิ ตถ้ ือสัญชาตไิ ทยหรือนิติบคุ คลท่ีจดั ต้งั ข้ึนตามกฎหมายของต่างประเทศไม่เกนิ ร้อยละ ๓ ให้หนว่ ยงานของรฐั
จดั ซอ้ื หรือจดั จา้ งจากผู้ยื่นขอ้ เสนอซึง่ เป็นบคุ คลธรรมดาท่ถี อื สญั ชาติไทยหรือนิตบิ คุ คลทจ่ี ัดต้ังขน้ึ
ตามกฎหมายไทยด้งกลา่ ว
ผูย้ ่นื ขอ้ เสนอที่เปน็ กิจการร่วมค้าทจี่ ะไตส้ ิทธิตามวรรคหน่งึ ผเู้ ขา้ รว่ มค้าทกุ ราย
จะตอ้ งเป็นผู้ประกอบการทเี่ ป็นบุคคลธรรมดาทถ่ี ือสญั ชาติไทยหรือนติ บิ ุคคลทีจ่ ดั ต้ังข้ึนตามกฎหมายไทย”
อนง่ึ ให้น่าเงอ่ื นไขข้อ ๔.๑.๔.๒ (๒) (๓) (๓.๑) และ (๓.๒) มาใชก้ ับวธิ คี ดั เลอื กดว้ ย
๔.๒ การจดั จา้ งกอ่ สรา้ ง
๔.๒.® การจดั ทำแบบรปู รายการงานก่อสร้าง
๔.๒.๑.๑ หน่วยงานของรัฐตอ้ งกำห นดรายละเอียดในแบบรปู รายการงานกอ่ สรา้ ง
และกำหนดให้คสู่ ญั ญาตอ้ งใช้พัสดุประเภทวัสดุหรือครภุ ัณฑ์ทีจ่ ะใชใ้ นงานก่อสร้างเป็นพสั ดทุ ่ผี ลติ ภายในประเทศ
โดยตอ้ งใขไ้ มน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๖๐ ของมลู คา่ พสั ดทุ จ่ี ะใชใ้ นงานก่อสร้างทัง้ หมดตามสัญญา
ใหห้ น่วยงานของรฐั พจิ ารณาการใช้เหลก็ ในงานก่อสร้างกอ่ น โดยหน่วยงานของรัฐ
ตอ้ งกำหนดรายละเอยี ดในแบบรูปรายการงานก่อสรา้ ง ให้คูส่ ัญญาต้องใช้เหลก็ ท่ีผลติ ภายในประเทศไม่น้อยกว่า
ร้อยละ ๙๐ ของปริมาณเหล็กท่ตี อ้ งใชท้ ั้งหมดตามสญั ญา
๔.๒.๑.๒ กรณเี มือ่ หน่วยงานของรฐั ไตจ้ ดั ทำใบแจ้งปรมิ าณงานและราคา และใบบัญชรี ายการ
ก่อสรา้ งแลว้ ทราบวา่ พสั ดทุ ่จี ะใข้ในโครงการก่อสรา้ งนน้ั มีผลติ ภายในประเทศแตห่ น่วยงานของรฐั จะไม่ใชพ้ สั ดุ
ท่ีผลติ ภายในประเทศ หรือจะใชห้ รือใช้พัสดทุ ผี่ ลติ ภายในประเทศไมค่ รบร้อยละ ๖๐ หากกรณีเปน็ ด้งน้ี
(๑) กรณที รี่ าคาพสั ดุท่ีนา่ เขา้ จากตา่ งประเทศมีราคาตอ่ หนว่ ยไมเ่ กนิ ๒ ล้านบาท
ใหเ้ สนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐเพื่อขออนุมีตกิ อ่ น
/ (๒) ...
-๗ -
(๒) กรณีท่ีราคาพสั ดทุ ่นี ำเขา้ จากตา่ งประเทศมีราคาตอ่ หนว่ ยรายการใดรายการหนงึ่
เกิน ๒ ลา้ นบาท ใหเ้ สนอผ้มู อี ำนาจเหนอื ขนึ้ ไปหนึง่ ชั้นเพื่อขออนุมตั กิ ่อน
๔.๒.๑.๓ กรณีดงั ตอ่ ไปน้ไี มต่ ้องขออนมุ ัตจิ ากหวั หน้าหนว่ ยงานของรัฐหรือผู้มีอำนาจเหนอื ขึ้นไป
หนึง่ ชนั้ ขออนมุ ัติแต่อย่างใด โดยหนว่ ยงานของรัฐสามารถกำหนดแบบรปู รายการงานกอ่ สรา้ งไดต้ ามความต้องการ
(๑) กรณที ่หี น่วยงานของรัฐทราบตัง้ แต่ต้นว่าโครงการกอ่ สรา้ งน้นั ตอ้ งไขพ้ ัสดุ
ทนี่ ำเข้าจากประเทศและพสั ดดุ ังกล่าวน้นั ไมม่ ีผลติ ภายในประเทศ ซ่งึ ทำให้อตั ราการไขพ้ สั ดุทผี่ ลติ
ภายในประเทศน้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของมลู ค่าพสั ดทุ ีจ่ ะไข้ไนงานก่อสรา้ งทงั้ หมดตามสัญญา
(๒) กรณีเม่ือหน่วยงานของรฐั ได้จัดทำใบแจ้งปรมิ าณงานและราคา และใบบญั ชี
รายการก่อสร้างแล้ว ทราบว่าโครงการก่อสรา้ งนั้นตอ้ งใช้พสั ดทุ นี่ ่าเข้าจากตา่ งประเทศและพสั ดดุ งั กล่าวน้นั
ไมม่ ผี ลิตภายในประเทศ ซง่ึ ทำให้อัตราการใขพ้ ัสตุท่ผี ลติ ภายในประเทศน้อยกวา่ ร้อยละ ๖๐ ของมลู คา่ พัสดุ
ท่จี ะใชใ้ นงานก่อสร้างท้งั หมดตามสัญญา
๔.๒.๒ การกำหนดเงอ่ื นไขและคุณสมบตั ขิ องผูย้ น่ื ข้อเสนอ
หน่วยงานของรฐั ต้องกำหนดเง่อื นไขและคณุ สมบัตขิ องผู้ยนื่ ขอ้ เสนอ เซ่น กำหนดมูลคา่
ของผลงาน กำหนดเง่อื นไขเกย่ี วกับการขน้ึ ทะเบียนผปู้ ระกอบการงานก่อสร้าง เบีนต้น
๔.๒.๓ การตรวจสอบรายการสินค้าหรอื งานบริการและรายซื่อผูป้ ระกอบการ SMEs
เมอื่ ดำเนนิ การกำหนดเงือ่ นไขและคณุ สมบตั ิของผู้ยนื่ ขอ้ เสนอตามขอ้ ๔.๒.๒ แล้ว
ให้หนว่ ยงานของรัฐนา่ งานก่อสร้างทป่ี ระสงค์จะจดั จา้ งนน้ั ไปตรวจสอบท่ี www.thaismegp.com ว่า
งานจา้ งก่อสร้างท่หี น่วยงานของรัฐตอ้ งการจดั จ้างนนั้ มีผู้ประกอบการ SMEs มาขึ้นทะเบยี นงานกอ่ สรา้ งไว้
๓.ตรงตามคุณสมบตั ิและเง่ือนไขทห่ี นว่ ยงานของรัฐกำหนดไวห้ รอื ไม่ จากนั้นใหด้ ำเนินการดังนี้
๔.๒. ๑ หากตรวจสอบแล้วไมพ่ บว่ามีงานก่อสร้างท่ีตรงกับความต้องการของหน่วยงานของรฐั
ที่ตอ้ งการจัดจ้างก่อสรา้ ง กรณีนี้ก็ไม่ต้องจดั จา้ งกอ่ สรา้ งกบั ผู้ประกอบการ SMEs
๔.๒.๓.๒ หากตรวจสอบแลว้ พบวา่ มีงานก่อสร้างตรงกบั ความตอ้ งการของหนว่ ยงานของรฐั
ท่ตี อ้ งการจดั จ้างกอ่ สรา้ ง ให้ดำเนนิ การดงั น้ี
(๑) กรณ ที ีง่ านก่อสรา้ งดงั กล่าวมีผู้ประกอบการ SMEs มาข้ึนทะเบยี นไว้
และมตี ้ังแต่ ๖ รายข้ึนไป ให้หนว่ ยงานของรัฐดำเนนิ การจดั จา้ งกอ่ สรา้ งโดยวิธีคัดเลือกกับผู้ประกอบการ SMEs กอ่ น
(๒) กรณ ีท่งี านก่อสร้างดงั กลา่ วมผี ้ปู ระกอบการ SMEs มาข้ึนทะเบยี นไว้
แตม่ นี อ้ ยกว่า ๖ ราย ให้หนว่ ยงานของรัฐดำเนินการจดั จ้างก่อสร้างตามวิธกี ารทก่ี ำหนดในพระราชบญั ญัติฯ
๔.๒.๔ การจัดจ้างก่อสร้างโดยวิธคี ดั เลือก
เม่ือดำเนินการตามข้อ ๔.๒.๓ แล้ว ให้หนว่ ยงานของรฐั จดั ทำหนังสือเชญิ ขวน พร้อมทงั้
สง่ แบบรูปรายการงานกอ่ สร้าง เงอ่ื นไขและคุณสมบตั ิในการยืน่ ขอ้ เสนอไปใหผ้ ปู้ ระกอบการ SMEs ดว้ ย
โดยให้ดำเนินการดังนี้
๔.๒.๔.๑ หากกรณีปรากฏว่า ในจังหวดั ท่หี นว่ ยจดั จา้ งกอ่ สร้างตัง้ อยู่หรือจังหวดั ทพี่ น้ื ที่
ทจี่ ะไปดำเนนิ การก่อสร้างมรี ายซอื่ ผูป้ ระกอบการ SMEs และมไี มน่ ้อยกว่า ๖ ราย ให้จดั จ้างกอ่ สร้าง
จากผปู้ ระกอบการ SMEs ในจังหวดั ท่หี นว่ ยจัดจ้างก่อสรา้ งตั้งอยูห่ รอื จังหวัดทพ่ี นื้ ทีท่ จี่ ะไปดำเนนิ การกอ่ สรา้ งก่อน
โดยเชิญไม่นอ้ ยกวา่ ๖ ราย เข้ามาเสนอราคา
๔.๒.๔.๒ หากกรณีปรากฏวา่ ในจงั หวัดทห่ี นว่ ยจดั จา้ งกอ่ สรา้ งตง้ั อยหู่ รอื จงั หวดั ท่พี นื้ ท่ี
ที่จะไปดำเนินการกอ่ สร้างไม่มีรายซือ่ ผปู้ ระกอบการ SMEs หรือมีแต่นอ้ ยกว่า ๖ ราย ใหต้ รวจสอบบณั ฃีรายการ
/พัสดุ ...
-๘ -
พสั ดุและบญั ชรี ายขอ่ื ของ สสว. ทุกจังหวดั ว่า พัสดุทีป่ ระสงคจ์ ะจดั จ้างก่อสร้างน้ันมรี ายขือ่ ผ้ปู ระกอบการ
SMEs หรอื ไม่ หากทกุ จังหวัดในบญั ชรี ายการพัสดุและบญั ชรี ายขื่อของ สสว. มีรายขอ่ื ผปู้ ระกอบการ SMEs
ไม่นอ้ ยกวา่ ๖ ราย ใหจ้ ดั จา้ งก่อสร้างจากผูป้ ระกอบการ SMEs ท่มี ีราย'ขอื่ นนั้ โดยเชิญไมน่ ้อยกว่า ๖ ราย
เข้ามาเสนอราคา
หากในจงั หวัดทหี่ นว่ ยจัดจ้างก่อสรา้ งต้งั อยูห่ รือจงั หวดั ทีพ่ น้ื ทท่ี ่ีจะไปดำเนินการ
กอ่ สรา้ งมีรายขื่อผปู้ ระกอบการ SMEs นอ้ ยกว่า ๖ ราย ใหห้ น่วยจัดจ้างก่อสร้างเชิญซวนผู้ประกอบการ SMEs
ทีม่ รี ายขอ่ื อยใู่ นจงั หวดั ท่ีหน่วยจัดจ้างก่อสรา้ งตง้ั อยู่หรอื จังหวัดทพ่ี ้นื ทท่ี จ่ี ะไปดำเนนิ การก่อสรา้ ง
ใหเ้ ชิญ ในจงั หวดั ทหี่ น่วยจัดจ้างกอ่ สรา้ งตั้งอย่หู รอื จงั หวดั ท่ีพืน้ ท่ีท่จี ะไปดำเนินการกอ่ สร้างกอ่ น
แลว้ จึงพิจารณาจังหวัดอนื่ ๆ ต่อไป แตห่ ากในจังหวดั ทห่ี น่วยจดั จ้างกอ่ สร้างตัง้ อยหู่ รือจังหวดั ท่พี ื้นท่ี
ท่จี ะไปดำเนนิ การก่อสร้างไมม่ รี ายขื่อผปู้ ระกอบการ SMEs ใหเ้ ชญิ ผู้ประกอบการ SMEs ทีม่ ีรายขือ่ อยใู่ นจงั หวัดอ่ืน ๆ
โดยเชิญไม่น้อยกว่า ๖ ราย เข้ามาเสนอราคา
๔.๒.๔.๓ หากกรณไี ม,เปน็ ไปตามขอ้ ๔.๒.๔.๑ และข้อ ๔.๒.๔.๒ ให้หน่วยจดั จ้างกอ่ สรา้ ง
ดำเนนิ การจดั จา้ งกอ่ สรา้ งตามวิธกี ารท่กี ำหนดในพระราชบญั ญัติฯ หากหนว่ ยจัดจา้ งกอ่ สร้างดำเนินการ
จัดจ้างกอ่ สร้างโดยวธิ ปี ระกวดราคาอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Bidding : e - bidding) และใชเ้ กณฑ์ราคา
ในการพจิ ารณาคัดเลอื กผชู้ นะ หากผเู้ สนอราคาซ่ึงเป็นผู้ประกอบการ SMEs เสนอราคาสูงกวา่ ราคาตา่ํ สดุ
ชองผเู้ สนอราคารายอน่ื ไมเ่ กินร้อยละ ๑๐ ให้จดั ซอ้ื จากผูป้ ระกอบการ SMEs ดงั กล่าว โดยจดั เรียงลำดับผเู้ สนอราคา
ซ่ึงเป็นผปู้ ระกอบการ SMEs ซึ่งเสนอราคาสงู กว่าราคาต่ําสดุ ชองผเู้ สนอราคารายอ่นื ไม่เกนิ รอ้ ยละ ๑๐ ท่จี ะเรยี ก
มาทำสัญญาไมเ่ กิน ๓ ราย
๔.๒.๔ การจดั จา้ งก่อสร้างโดยวิธีประกวดราคาอิเลก็ ทรอนิกส์
๔.๒.๔.๑ เพม่ิ เงอ่ื นไชในเอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคาจา้ งก่อสร้างๆ “ขอ้ ๑.๙ แผนการใช้
พัสดทุ ผ่ี ลติ ภายในประเทศและแผนการใชเ้ หลก็ ท่ีผลิตภายในประเทศ” ทงั้ น้โี ดยให้แนบตารางภาคผนวก ๒
และภาคผนวก ๓ ไปด้วย เว้นแตก่ รณีท่รี ะยะเวลาดำเนินการตามสัญญาไมเ่ กนิ ๖๐ วัน
อน่ึง กรณที งี่ านก่อสรา้ งน้ันไม่มกี ารใชเ้ หล็กเปน็ สว่ นประกอบ จะไมก่ ำหนดใหย้ ืน่
แผนการใช้เหลก็ ทผ่ี ลิตภายในประเทศก็ได้
๔.๒.๔.๒ เพิ่มเง่อื นไขในเอกสารประกวดราคาจา้ งกอ่ สรา้ งฯ สว่ นที่ ๒ ดงั น้ี “ขอ้ ๓.๒
ลำเนาใบขึน้ ทะเบยี นผู้ประกอบวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) (ถ้าม)ี ”
อนง่ึ สำหรับการพิจารณาผลกรณกี ารกำหนดเงอ่ื นไฃทใ่ี ห้ผยู้ ่นื ข้อเสนอย่นื สำเนา
ใบขึน้ ทะเบียนผปู้ ระกอบวิสาหกิจชนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) มีวตั ถุประสงค์เพื่อนำมาตรวจสอบ
คุณสมบัตใิ นการใหแ้ ต้มต่อแก'ผูป้ ระกอบการ SMEs กรณีเสนอราคาสูงกว่าราคาต่ําสดุ ชองผูเ้ สนอราคารายอ่ืน
ไม่เกนิ ร้อยละ ๑๐ หากผูป้ ระกอบการ SMEs ไม่ยืน่ สำเนาใบขึ้นทะเบียนฯ ผู้ประกอบการ SMEs รายนัน้ กจ็ ะไม่ได้
รบั สิทธกิ ารได้แตม้ ตอ่ ในการเสนอราคาดังกลา่ ว ดังน้นั กรณที ี่ผปู้ ระกอบการ SMEs ไมย่ น่ื สำเนาใบข้นึ ทะเบียนฯ
ไม่ถือว่าผูย้ น่ื ขอ้ เสนอรายนน้ั เปน็ ผไู้ ม่ผ่านคณุ สมบตั แิ ตอ่ ย่างใด
๔.๒.๔.๓ เพม่ิ เงอ่ื นไขในเอกสารประกวดราคาจา้ งก่อสร้างฯ “ข้อ ๔.๙ ผูย้ ่นื ข้อเสนอ
ที่เป็นผูช้ นะการเสนอราคาต้องจัดทำแผนการใชพ้ ัสดุที่ผลติ ภายในประเทศและแผนการใชเ้ หล็กทีผ่ ลติ
ภายในประเทศ โดยยื่นให้หน่วยงานของรฐั ภายใน ๖๐ วนั นับถัดจากวันลงนามในสญั ญา”
๔.๒.๔.๔ กำหนดเง่อื นไขในเอกสารประกวดราคาจา้ งกอ่ สร้างฯ กรณใี ชเ้ กณฑ์ราคา
ในการพิจารณาคดั เลือกผูช้ นะดังน้ี
/ (๑) ...
(๑) ใหก้ ำหนดเงื่อนไขการพจิ ารณาในข้อ ๖ หลกั เกณฑ์และสทิ ธิในการพจิ ารณาวา่
“๖.๘ หากผู้ยน่ื ขอ้ เสนอซึง่ เปน็ ผู้ประกอบการ SMEs เสนอราคาสูงกว่าราคาต่ําสดุ ของผู้ย่ืนขอ้ เสนอรายอนื่ ทไ่ี ม,เกิน
ร้อยละ ๑๐ ให้หน่วยงานของรัฐจัดซ้ือจัดจา้ งจากผู้ประกอบการ SMEs ดังกล่าว โดยจัดเรียงลำดบั ผู้ย่ืนขอ้ เสนอ
ซึง่ เปน็ ผู้ประกอบการ SMEs ซง่ึ เสนอราคาสูงกว่าราคาต่ําสดุ ของผ้ยู ืน่ ข้อเสนอรายอ่นื ไม,เกินร้อยละ ๑๐ ที่จะเรยี ก
มาทำสญั ญาไม่เกิน ๓ ราย
ผู้ย่ืนข้อเสนอที่เปน็ กจิ การรว่ มค้าท่ีจะได้สิทธิตามวรรคหนึ่ง ผู้เข้าร่วมคา้ ทกุ ราย
จะตอ้ งเป็นผปู้ ระกอบการ SMEs”
(๒) ใหก้ ำหนดเงอ่ื นไขการพิจารณาในข้อ ๖ หลกั เกณฑแ์ ละสทิ ธิในการพจิ ารณาว่า
“๖.๙ หากผู้ย่นื ข้อเสนอซงึ่ มใิ ชผ่ ู้ประกอบการ SMEs แตเ่ ป็นบุคคลธรรมดาท่ีถอื สัญชาตไิ ทยหรอื นิตบิ คุ คล
ท่จี ดั ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยเสนอราคาสูงกว่าราคาตํ่าสุดของผยู้ ื่นขอ้ เสนอซ่งึ เปน็ บุคคลธรรมดาท่ีมิได้
ถือลัญฃาตไิ ทยหรอื นิตบิ คุ คลทจ่ี ดั ต้งั ขน้ึ ตามกฎหมายของต่างประเทศไม่เกินรอ้ ยละ ๓ ให้หน่วยงานของรฐั
จดั ซ้อื หรอื จัดจ้างจากผยู้ ื่นข้อเสนอซ่ึงเปน็ บคุ คลธรรมดาทถ่ี ือสญั ชาติไทยหรือนิติบคุ คลท่ีจัดต้งั ขึ้น
ตามกฎหมายไทยดังกลา่ ว
ผู้ย่นื ขอ้ เสนอท่เี ปน็ กิจการรว่ มค้าท่จี ะไดส้ ทิ ธติ ามวรรคหน่ึง ผูเ้ ข้าร่วมคา้ ทุกราย
จะต้องเปน็ ผูป้ ระกอบการท่เี ป็นบคุ คลธรรมดาท่ถี อื สัญชาตไิ ทยหรอื นติ ิบุคคลทจ่ี ัดตงั้ ขนึ้ ตามกฎหมายไทย”
อนึง่ (๑) ให้นำเงื่อนไขขอ้ ๔.๒.๔.๑ ข้อ ๔.๒.๔.๒ ขอ้ ๔.๒.๔.๓ และขอ้ ๔.๒.๔.๔ (๑) และ (๒)
มาใช้กบั วธิ คี ดั เลอื กดว้ ย
(๒) ใหน้ ำเงือ่ นไขขอ้ ๔.๒.๔.๑ และขอ้ ๔.๒.๔.๓ มาใช้กบั วธิ เี ฉพาะเจาะจงดว้ ย
เวน้ แต่กรณีท่วี งเงินการจัดจา้ งกอ่ สรา้ งไม'เกิน ๔๐๐,๐๐๐ บาท
๔.๓ การจดั จ้างทมี่ ิใชง่ านกอ่ สรา้ ง
๔.๓.® การจดั ทำรา่ งขอบเขตของงานและการกำหนดเงื่อนไขและคุณสมบตั ขิ องผู้ยน่ื ขอ้ เสนอ
๔.๓.๑.๑ หนว่ ยงานชองรฐั ตอ้ งกำหนดรา่ งขอบเขตของงานและกำหนดให้ค่สู ัญญาต้องใช้พัสดุ
ประเภทวัสดุหรอื ครภุ ณั ฑท์ ่ีจะใชใ้ นงานจา้ งเป็นพัสดุที่ผลติ ภายในประเทศ โดยต้องใข้ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๖๐
ของมูลค่าพัสดทุ ่จี ะใชใ่ นงานจ้างทีท่ ้ังหมดตามสัญญา
๔.๓.๑.๒ กรณีที่หนว่ ยงานของรัฐได้แจกแจงรายการพัสดทุ ่จี ะนำมาใชใ่ นงานจา้ งนนั้ แล้ว
ทราบวา่ งานนั้นเปน็ พัสดทุ ่ีไม่มีผลิตภายในประเทศ หนว่ ยงานของรฐั สามารถกำหนดรายละเอยี ด
คุณลักษณะเฉพาะชองพัสดไุ ดต้ ามวัตถปุ ระสงค์การใช้งาน โดยไม'ต้องกำหนดวา่ เป็นพสั ดทุ ่ีผลติ ภายในประเทศ
กรณนี ไ๋ี ม่ตอ้ งขออนุมติ ิจากหวั หนา้ หน่วยงานของรฐั หรือผมู้ ีอำนาจเหนอื ขึ้นไปหนง่ึ ชัน้
๔.๓ . ๑ . ๓ กรณเี มื่อหนว่ ยงานของรัฐได้แจกแจงรายการพสั ดุทจี่ ะนำมาใช่ในงานจ้างนน้ั แลว้
ทราบวา่ พัสดทุ ี่จะใช่ในงานจา้ งน้นั มีผลิตภายในประเทศแต่หนว่ ยงานของรฐั จะไมใ่ ชพ้ ัสดทุ ีผ่ ลิตภายในประเทศ
หรือจะใช้หรอื ใชพ้ ัสดุทผ่ี ลิตภายในประเทศไมค่ รบร้อยละ ๖๐ หากกรณีเปน็ ดงั นี้
(๑) กรณีทรี่ าคาพสั ดทุ น่ี ำเข้าจากต่างประเทศมีราคาต่อหน่วยไม่เกนิ ๒ ลา้ นบาท
ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานของรฐั เพ่ืออนมุ ติ ิกอ่ น
(๒) กรณีทีร่ าคาพสั ดุท่นี ำเขา้ จากต่างประเทศมีราคาต่อหน่วยรายการใดรายการหนึ่ง
เกิน ๒ ลา้ นบาท ให้เสนอผมู้ อี ำนาจเหนอื ขนึ้ ไปหนึง่ ชัน้ เพื่ออนมุ ัตเิ ห็นกอ่ น
๔.๓.๑.๔ กรณดี ังต่อไปนหี้ นว่ ยงานชองรัฐไมต่ ้องขออนุมตั ิจากหัวหนา้ หนว่ ยงานของรฐั
หรอื ผู้มอี ำนาจเหนือขึน้ ไปหนึ่งช้ันอนุมัติแตอ่ ยา่ งใด โดยหน่วยงานของรฐั สามารถกำหนดขอบเขตของงาน
หรอื รายละเอียดคุณลกั ษณะเฉพาะของพัสดุได้ตามความตอ้ งการ
/ (๑) ...
- ๑๐ -
(๑) กรณีที่หน่วยงานของรฐั ทราบต้งั แตต่ ้นวา่ งานจา้ งนัน้ ตอ้ งใช้พัสดุท่นี ำเขา้
จากตา่ งประเทศและพสั ดุดังกลา่ วน้นั ไม่มีผลติ ภายในประเทศ ซงึ่ ทำใหอ้ ตั ราการใชพ้ ัสดุทผี่ ลติ ภายในประเทศ
นอ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ ของมลู ค่าพัสดุทจี่ ะใช[้ นงานจ้างทง้ั หมดตามสัญญา
(๒) กรณเี มือ่ หน่วยงานของรฐั ไดแ้ จกแจงรายการพสั ดุที่จะนำมาใช้ในงานจ้างนน้ั
แลว้ ทราบวา่ งานจา้ งนัน้ ต้องใช้พัสดทุ น่ี ำเช้าจากต่างประเทศและพสั ดดุ ังกล่าวนนั้ ไมม่ ผี ลติ ภายในประเทศ ซึง่ ทำให้
อัตราการใชพ้ สั ดทุ ่ีผลิตภายในประเทศนอ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ ของมลู คา่ พัสดทุ จ่ี ะใชใ้ นงานจา้ งทัง้ หมดตามสัญญา
๔.๓.๒ การกำหนดเง่อื นไขและคณุ สมบตั ขิ องผ้ยู ืนข้อเสนอ
หนว่ ยงานของรัฐต้องกำหนดเงื่อนไขและคณุ สมบัติของผูย้ ่นื ข้อเสนอ ตามวัตถปุ ระสงค์การใช้งาน
และความตอ้ งการของหนว่ ยงานของรฐั เข่น กำหนดมลู ค่าของผลงาน เป็นตน้
๔.๓.๓ การตรวจสอบรายการสนิ คา้ หรืองานบรกิ ารและรายขอ่ื ผู้ประกอบการ SMEs
เมอื่ ดำเนนิ การกำหนดเงือ่ นไขและคณุ สมบัตขิ องผ้ยู นื่ ข้อเสนอตามข้อ ๔.๓.๒ แล้ว
ให้หนว่ ยงานของรัฐนำงานท่ีประสงค์จะจดั จา้ งน้ันไปตรวจสอบท่ี wvwv.thaismegp.com ว่า งานจา้ ง
ท่หี น่วยงานของรฐั ต้องการจดั จ้างนนั้ มีผูป้ ระกอบการ SMEs มาขน้ึ ทะเบยี นงานท่ีรบั จ้างไวต้ รงตามคุณสมบตั ิ
และเง่ือนไขทหี่ น่วยงานของรฐั กำหนดไว้หรอื ไม่ จากน้ันให้ดำเนินการดงั น้ี
๔.๓.๓.๑ หากตรวจสอบแลว้ ไมพ่ บว่ามงี านจา้ งทตี่ รงกบั ความต้องการของหน่วยงานของรัฐ
ท่ีต้องการจัดจ้าง กรณีน้ีกไ็ มต่ อ้ งจัดจ้างกับผู้ประกอบการ SMEs
๔.๓.๓.๒ หากตรวจสอบแล้วพบวา่ มีงานจา้ งตรงกบั ความต้องการของหน่วยงานของรัฐ
ทต่ี ้องการจัดจา้ ง ใหด้ ำเนินการดงั นี้
(๑) กรณที งี่ านจา้ งดังกล่าวมีผู้ประกอบการ SMEs มาข้นึ ทะเบียนไว้ และมีต้ังแต่
๖ รายขน้ึ ไป ใหห้ นว่ ยงานของรฐั ดำเนนิ การจัดจ้างโดยวิธีดดั เลอื กกบั ผ้ปู ระกอบการ SMEs ก่อน
(๒) กรณที งี่ านจา้ งดังกลา่ วมีผปู้ ระกอบการ SMEs มาขน้ึ ทะเบยี นไว้ แตม่ ีนอ้ ยกว่า
๖ ราย ให้หนว่ ยงานของรัฐดำเนนิ การจดั จา้ งตามวธิ ีการทกี่ ำหนดในพระราฃบัญญต้ ฯิ
๔.๓.๔ การจดั จา้ งโดยวธิ ีคดั เลือก
เมื่อดำเนนิ การตามข้อ ๔.๒.๓ แล้ว ให้หนว่ ยงานของรัฐจดั ทำหนงั สอื เฃญิ ซวน พร้อมทั้ง
ส ่งขอบ เขตของงาน เง่ือน ไขและคณุ ส มบ ัตใิ น การย่ืน ขอ้ เส น อไป ให ้ผู้ประกอบ การ SMEs ดว้ ย
โดยใหด้ ำเนินการดังนี้
๔.๓.๔.๑ ห ากก รณ ีป ราก ฏ ว่า ใน จังห วดั ท ห่ี น ว่ ยจดั จา้ งตั้งอยหู่ รือจงั ห วัดท พี่ ื้น ท ี่
ท่ีจะไปดำเนินการมีรายซื่อผปู้ ระกอบการ SMEs และมีไมน่ ้อยกวา่ ๖ ราย ให้จดั จา้ งจากผปู้ ระกอบการ SMEs
ในจงั หวัดทหี่ นว่ ยจัดจ้างตงั้ อยู่หรือจังหวัดท่ีพ้ืนท่ที ่จี ะไปดำเนนิ การก่อน โดยเชิญไมน่ ้อยกว่า ๖ ราย เขา้ มาเสนอราคา
๔.๓.๔.๒ ห าก ก รณ ปี ราก ฏ ว ่า ใน จังห วดั ท ี่ห น ่วยจดั จ้างตงั้ อยู่ห รอื จังห วดั ท ่พี น้ื ท ่ี
ทจ่ี ะไปดำเนินการไม,มีรายซ่ือผปู้ ระกอบการ SMEs หรือมีแตน่ ้อยกวา่ ๖ ราย ใหต้ รวจสอบบญั ชีรายการพสั ดุ
และบัญชีรายซ่ือของ สสว. ทุกจงั หวดั วา่ พัสดุท่ปี ระสงคจ์ ะจดั จ้างนน้ั มีรายซอ่ื ผ้ปู ระกอบการ SMEs หรอื ไม่
หากทกุ จงั หวดั ในบัญชีรายการพสั ดแุ ละบญั ชีรายซื่อของ สสว.มีรายซอื่ ผูป้ ระกอบการ SMEs ไม่นอ้ ยกว่า๖ ราย
ใหจ้ ดั จา้ งจากผปู้ ระกอบการ SMEs ท่มี รี ายซ่อื นน้ั โดยเชิญไม,นอ้ ยกว่า ๖ ราย เข้ามาเสนอราคา
หากในจงั หวัดที่ห น่วยจดั จา้ งต้ังอยูห่ รือจังหวดั ท่ีพ้ืนทีท่ ่จี ะไปดำเนนิ การ
มีรายชอ่ื ผูป้ ระกอบการ SMEs น้อยกวา่ ๖ ราย ใหห้ นว่ ยจัดจ้างเชญิ ชวนผ้ปู ระกอบการ SMEs ทม่ี ีรายซอ่ื
อยใู่ บจังหวัดทห่ี นว่ ยจัดจา้ งต้ังอยูห่ รือจังหวัดทีพ่ นื้ ท่ีที่จะไปดำเนินการ ใหเ้ ชญิ ในจังหวดั ท่ีหนว่ ยจัดจา้ งต้งั อยหู่ รอื
/จงั 'หวัด ...
- (ร)ิ (9) -
จงั หวดั ที่พ้นื ทีท่ ่จี ะไปดำเนนิ การก่อน แลว้ จึงพจิ ารณาจงั หวัดอืน่ ๆ ตอ่ ไป แตห่ ากในจังหวดั ท่ีหนว่ ยจดั จา้ งตงั้ อยู่
หรอื จังหวดั ท่พี ้ืนท่ีท่ีจะไปดำเนินการไม,มีรายซื่อผปู้ ระกอบการ SMEs ให้เชญิ ผู้ประกอบการ SMEs ท่มี ีรายซื่อ
อยู่ในจังหวดั อ่ืน ๆโดยเชญิ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๖ ราย เขา้ มาเสนอราคา
๔.๓.๔.๓ หากกรณไี ม่เปน็ ไปตามขอ้ ๔.๓.๔.๑ และขอ้ ๔.๓.๔.๒ ให้หน่วยจัดจา้ งดำเนนิ การ
จัดจา้ งตามวธิ ีการทีก่ ำหนดในพระราชบญั ญัตฯิ หากหนว่ ยงานของรฐั ดำเนนิ การจดั จา้ งโดยวิธีประกวดราคา
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Bidding: e - bidding) และใชเ้ กณ ฑ ร์ าคาในการพจิ ารณ าคัดเลอื กผชู้ นะ
หากผูเ้ สนอราคาซ่ึงเปน็ ผ้ปู ระกอบการ SMEs เสนอราคาสูงกว่าราคาตํา่ สดุ ชองผเู้ สนอราคารายอ่นื ไมเ่ กนิ ร้อยละ ๑๐
ใหจ้ ดั จา้ งจากผู้ประกอบการ SMEs ดังกล่าว โดยจัดเรยี งลำดบั ผู้เสนอราคาซึ่งเป็นผปู้ ระกอบการ SMEs
ซงึ่ เสนอราคาสงู กว่าราคาตํ่าสุดของผเู้ สนอราคารายอืน่ ไม่เกนิ รอ้ ยละ ๑๐ ท่จี ะเรียกมาทำสญั ญาไมเ่ กนิ ๓ ราย
๔.๓ ๕. การจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเลก็ ทรอนกิ ส์
๔.๓.๔.๑ เพิม่ เงอ่ื นไชในเอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคาจา้ งฯ ดงั น้ี “ขอ้ ๑.๗ แผนการใช้
พสั ดทุ ผ่ี ลติ ภายในประเทศ” ท้งั นี้โดยให้แนบตารางภาคผนวก๒ ไปดว้ ย เว้นแตก่ รณที ่รี ะยะเวลาดำเนินการ
ตามสัญญาไมเ่ กนิ ๖๐ วนั
๔.๓.๔.๒ เพ่มิ เง่ือนไขในเอกสารประกวดราคาจ้างฯ สว่ นที่ ๒ ดงั น้ี “ขอ้ ๓.๒ ลำเนา
ใบขน้ึ ทะเบียนผปู้ ระกอบวสิ าหกจิ ชนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) (ถา้ ม)ี ”
อนึง่ สำหรับการพจิ ารณาผลกรณกี ารกำหนดเง่อื นไฃท่ใี ห้ผู้ยนื่ ข้อเสนอยื่นลำเนา
ใบขึ้นทะเบยี นผูป้ ระกอบวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือนำมาตรวจสอบ
คุณสมบัตใิ นการให้แตม้ ตอ่ แก่ผ้ปู ระกอบการ SMEs กรณเี สนอราคาสูงกวา่ ราคาตํ่าสุดของผู้เสนอราคารายอืน่
ไม,เกินรอ้ ยละ ๑๐ หากผู้ประกอบการ SMEs ไมย่ น่ื สำเนาใบขน้ึ ทะเบียนๆ ผู้ประกอบการ SMEs รายน้นั ก็จะไม,ได้
รบั สทิ ธกิ ารได้แต้มตอ่ ในการเสนอราคาดังกล่าว ดังนนั้ กรณีที่ผปู้ ระกอบการ SMEs ไม,ยน่ื ลำเนาใบขึ้นทะเบยี นฯ
ไมถ่ อื ว่าผูย้ น่ื ขอ้ เสนอรายนัน้ เป็นผูไ้ มผ่ ่านคณุ สมบัติแต่อย่างใด
๔.๓.๔.๓ เพมิ่ เงือ่ นไชในเอกสารประกวดราคาจา้ งฯ “ขอ้ ๔.๙ ผู้ย่ืนขอ้ เสนอท่เี ปน็ ผชู้ นะ
การเสนอราคาตอ้ งจดั ทำแผนการใชพ้ สั ดทุ ีผ่ ลิตภายในประเทศ โดยยนื่ ใหห้ นว่ ยงานชองรัฐภายใน ๖๐ วัน
นับถัดจากวันลงนามในสัญญา”
๔.๓.๔.๔ กำหนดเงอื่ นไขในเอกสารประกวดราคาจา้ งๆ กรณใี ช้เกณฑ์ราคาในการพิจารณา
คดั เลอื กผชู้ นะดงั น้ี
(๑) ให้กำหนดเง่ือนไขการพจิ ารณาในขอ้ ๖ หลกั เกณฑแ์ ละสทิ ธใิ นการพจิ ารณาว่า
“๖.๘ หากผยู้ นื่ ข้อเสนอซึง่ เปน็ ผ้ปู ระกอบการ SMEs เสนอราคาสงู กวา่ ราคาตํา่ สดุ ชองผู้ยืน่ ข้อเสนอรายอ่ืนท่ไี ม,เกนิ
รอ้ ยละ ๑๐ ใหห้ น่วยงานชองรัฐจัดซอ้ื จัดจา้ งจากผ้ปู ระกอบการ SMEs ดงั กล่าว โดยจัดเรยี งลำดบั ผยู้ น่ื ขอ้ เสนอ
ซ่งึ เปน็ ผู้ประกอบการ SMEs ซ่ึงเสนอราคาสงู กว่าราคาต่ําสดุ ชองผ้ยู ืน่ ข้อเสนอรายอนื่ ไมเ่ กินร้อยละ ๑๐ ท่จี ะเรียก
มาทำสญั ญาไมเ่ กนิ ๓ ราย
ผู้ยืน่ ขอ้ เสนอท่ีเปน็ กิจการร่วมค้าที่จะได้สทิ ธิตามวรรคหนึง่ ผ้เู ข้ารว่ มคา้ ทุกราย
จะตอ้ งเป็นผปู้ ระกอบการ SMEs”
(๒) ให้กำหนดเงือ่ นไขการพจิ ารณาในข้อ ๖ หลักเกณฑแ์ ละสิทธิในการพิจารณาว่า
“๖.๙ หากผยู้ ่ืนขอ้ เสนอซงึ่ มิใชผ่ ู้ประกอบการ SMEs แตเ่ ป็นบุคคลธรรมดาที่ถอื สัญชาตไิ ทยหรือนิติบุคคลท่จี ดั ตง้ั ข้นึ
ตามกฎหมายไทยเสนอราคาสูงกว่าราคาตํ่าสดุ ของผู้ย่นื ข้อเสนอซง่ึ เป็นบคุ คลธรรมดาท่ีมิได้ถือสญั ชาตไิ ทย
หรอื นติ ิบุคคลทจ่ี ดั ตงั้ ข้ึนตามกฎหมายของต่างประเทศไม,เกินรอ้ ยละ ๓ ให้หนว่ ยงานชองรัฐจดั ซื้อหรอื จดั จา้ ง
จากผ้ยู น่ื ขอ้ เสนอซง่ึ เปน็ บุคคลธรรมดาทถี่ ือสัญชาติไทยหรอื นิตบิ ุคคลท่ีจัดตง้ั ข้ึนตามกฎหมายไทยดังกลา่ ว
- ๑๒ -
ผ้ยู ่ืนขอ้ เสนอท่ีเป็นกิจการรว่ มค้าท่จี ะไดส้ ทิ ธติ ามวรรคหน่ึง ผเู้ ข้าร่วมค้าทกุ ราย
จะตอ้ งเป็นผปู้ ระกอบการทเี่ ปน็ บุคคลธรรมดาทีถ่ ือสญั ชาตไิ ทยหรือนติ ิบคุ คลทจ่ี ดั ตง้ั ขึน้ ตามกฎหมายไทย”
อน่งึ (๑) ให้นำเงอ่ื นไขขอ้ ๔.๓.๕.๑ ข้อ ๔.๓.๕.๒ ขอ้ ๔.๓.๕.๓ และขอ้ ๔.๓.๕.๔ (๑) และ (๒)
มาใช้กับวธิ คี ดั เถือกด้วย
(๒) ใหน้ ำเงอ่ื นไขข้อ ๔.๓.๕.๑ และขอ้ ๔.๓.๕.๓ มาใช้กับวธิ ีเฉพาะเจาะจงด้วย
เวน้ แตก่ รณที ่วี งเงนิ การจัดจ้างไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
๔.๔ การกำหนดเงอื่ นไขเอกสารประกวดราคากรณีการใหแ้ ต้มตอ่
๔.๔.๑ การกำหนดเงือ่ นไขในเอกสารประกวดราคาซอ้ื ๆ เอกสารประกวดราคาจา้ งกอ่ สรา้ งฯ
เอกสารประกวดราคาจา้ งฯ กรณกี ารให้ผยู้ ืน่ ขอ้ เสนอซ่ึงเป็นผ้ปู ระกอบการ SMEs เสนอราคาสูงกว่าราคาตา่ํ สดุ
ของผ้ยู น่ื ขอ้ เสนอรายอ่นื ที่ไม่เกนิ ร้อยละ ๑๐ ให้หน่วยงานของรฐั จดั ซ้อื จดั จา้ งจากผู้ประกอบการ SMEs ดงั กล่าวน้ัน
หนว่ ยงานของรฐั จะตอ้ งกำหนดเงอ่ื นไขดงั กลา่ วไวใ้ นเอกสารประกวดราคาและหนงั สอื เชิญซวนทกุ ครงั้
แมว้ า่ หน่วยงานของรัฐจะไดด้ ำเนินการจัดซ้ือจดั จา้ งกบั ผูป้ ระกอบการ SMEs ครบร้อยละ ๓๐ ของงบประมาณ
ในการจดั ซือ้ จดั จ้างพสั ดทุ ี่อยู่ในบญั ชีรายซ่อื ผู้ประกอบวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
๔.๔.๒ การกำหนดเงอื่ นไขในเอกสารประกวดราคาซ้ือๆ เอกสารประกวดราคาจ้างก่อสรา้ งฯ
เอกสารประกวดราคาจ้างฯ กรณกี ารใหผ้ ู้ยน่ื ขอ้ เสนอซงึ่ เป็นผูป้ ระกอบการท่ีเปน็ บคุ คลธรรมดาทถ่ี อื สัญขาตไิ ทย
หรือนิตบิ ุคคลทจี่ ดั ต้ังข้นึ ตามกฎหมายไทย หนว่ ยงานของรัฐจะต้องกำหนดเงื่อนไขดังกล่าวไว้ในเอกสาร
ประกวดราคาและหนงั สอื เชิญซวนทกุ ครั้ง
๔.๕ การต่อรองราคากรณผี ู้ประกอบการ SMEs เสนอราคาเกนิ วงเงนิ งบประมาณท่จี ะจัดซอื้ จัดจา้ ง
กรณีผ้ยู น่ื ขอ้ เสนอทีเ่ ปน็ ผ้ปู ระกอบการ SMEs เสนอราคาสงู กว่าราคาตํ่าสุดของผ้ยู น่ื ขอ้ เสนอรายอื่น
ท่ไี มเ่ กนิ รอ้ ยละ ๑๐ แต่สงู กว่าวงเงนิ ทีจ่ ะจัดซอื้ หรอื จัดจ้าง ให้ดำเนินการตามระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ย
การจดั ซื้อจัดจา้ งและการบริหารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ข้อ ๕๗ ทั้งนี้ หน่วยงานของรัฐยงั ต้องน่าหลกั การ
การใหแ้ ตม้ ต่อดา้ นราคากับผปู้ ระกอบการ SMEs มาดำเนินการด้วย
ตวั อยา่ ง
หนว่ ยงานของรฐั มีงบประมาณในการจัดซอ้ื จัดจา้ ง ๕ ,๐ ๐๐ ,๐ ๐ ๐ บาท การเสนอราคาครงั้ นี้
มีผู้เสนอราคา ๕ ราย ไดแ้ ก่ บริษัท ก. บริษัท ข. บรษิ ทั ค. ห้างหุน้ สว่ นจำกัด A. และห้างห้นุ สว่ นจำกดั B.
โดยหา้ งหุน้ ส่วนจำกัด A. และหา้ งหุน้ ส่วนจำกดั B. เปน็ ผูป้ ระกอบการ SMEs และบริษัท ก. บริษัท ข.
และบรษิ ทั ค. เปน็ ผปู้ ระกอบการท่ัวไป ซง่ึ ผู้เสนอราคาแตล่ ะรายเสนอราคาดงั นี้
บรษิ ทั ก. ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท
บริษทั ข. ๕,๒๐๐,๐๐๐ บาท
บริษัท ค. ๕,๒๕๐,๐๐๐ บาท
ห้างหนุ้ สว่ นจำกัด A. ๕,๓๐๐,๐๐๐ บาท
หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด B. ๕,๔๐๐,๐๐๐ บาท
พจิ ารณาได้ว่า ในการเสนอราคาคร้งั น้ี ห้างหุ้นส่วนจำกดั A. และหา้ งหุ้นสว่ นจำกัด B. ซ่งึ เปน็
ผปู้ ระกอบการ SMEs ไดเ้ สนอราคาสูงกว่าผู้เสนอราคารายอ่ืนที่เสนอราคาต่าํ สุดแต่ไม่เกินรอ้ ยละ ๑๐ ดงั นนั้
ในการเสนอราคาครง้ั นี้ จงึ พจิ ารณาใหห้ า้ งห้นุ ส่วนจำกดั A. เป็นผู้เสนอราคารายตํา่ สุดลำดับท่ี ๑
หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด B. เปน็ ผ้เู สนอราคารายตรสุดลำดบั ที่ ๒ และบริษทั ก. เป็นผู้เสนอราคารายตํ่าสุดลำดับที่ ๓
แต่เน่ืองจากผู้เสนอราคาท่เี ป็นผูป้ ระกอบการ SMEs ซง่ึ เป็นผูช้ นะลำดบั ท่ี ๑ เสนอราคาเกนิ วงเงนิ ทีจ่ ะซอื้
หรือจ้าง ใหห้ น่วยงานของรัฐดำเนินการดงั นี้
/ (๑) ...
- ๑๓ -
(๑) ให้ต่อรองราคากบั ผู้ประกอบการ SMEs ใหต้ าํ่ ท่สี ุดเทา่ ทีจ่ ะทำได้ หากยอมลดราคาและราคา
ที่เสนอใหม่ไม่สงู กวา่ วงเงนิ ที่จะซอื้ หรือจา้ ง หรอื สูงกวา่ แตส่ ่วนที่สูงกวา่ นน้ั ไม่เกนิ ร้อยละ ๑๐ ของวงเงิน
ที่จะซอ้ื หรอื จา้ ง หรอื ต่อรองราคาแลว้ ไม่ยอมลดราคาลงอกี แต่สว่ นท่ีสูงกวา่ น้ันไมเ่ กินรอ้ ยละสบิ ของวงเงนิ
ที่จะซ้อื หรอื จ้าง ลา้ เหน็ วา่ ราคาดงั กล่าวเป็นราคาท่เี หมาะสม กใ็ ห้เสนอซอ้ื หรอื จ้างกับผู้ประกอบการ SMEs รายนัน้
(๒) ถา้ ดำเนนิ การตาม (๑) แลว้ ไมไ่ ดผ้ ล ให้แจง้ ผ้ทู ีเ่ สนอราคาทุกราย เพอื่ มาเสนอราคาใหมพ่ รอ้ มกัน
ภายในกำหนดระยะเวลาอนั สมควร หากรายใดไมย่ น่ื ใบเสนอราคาให้ถือว่ารายน้นั ยนื ราคาตามทเี่ สนอไวเ้ ดมิ
หากผทู้ ี่เสนอราคาตํา่ สดุ ในการเสนอราคาคร้ังนี้เสนอราคาไมส่ งู กว่าวงเงนิ ท่จี ะซ้อื หรือจ้าง หรือสูงกวา่
แตส่ ว่ นที่สูงกว่านน้ั ไม่เกินร้อยละสบิ ของวงเงินทจี่ ะซอ้ื หรอื จ้าง ถ้าเห็นว่าราคาดงั กลา่ วเป็นราคาทเ่ี หมาะสม
กใ็ หเ้ สนอซอ้ื หรือจ้างจากผูท้ ีเ่ สนอราคารายนั้น
ท้ังนี้ หนว่ ยงานของรฐั ยังตอ้ งนำหลักการการให้แตม้ ตอ่ ในการเสนอราคาสูงกว่าผู้เสนอราคารายอืน่
ที่เสนอราคาตํา่ สุดแตไ่ ม,เกินร้อยละ ๑๐ กับผปู้ ระกอบการ SMEs มาดำเนนิ การดว้ ย
(๓) ลา้ ดำเนินการตาม (๒) แลว้ ไม,ไดผ้ ล ให้หนว่ ยงานของรฐั ยกเลกิ การซือ้ หรอื จา้ ง และดำเนนิ การ
จัดซือ้ จดั จา้ งตามวิธกี ารที่กำหนดในพระราฃบัญญติๆ
๔.๖ การบริหารสญั ญาและการตรวจรบั พัสดุ
๔.๖.๑ การจดั ทำแผนการใชพ้ ัสดไุ ม,นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ และการใชเ้ หลก็ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐
ทผี่ ลิตภายในประเทศ สำหรบั การจัดจา้ งก่อสรา้ งและการจา้ งท่ีมใิ ชง่ านกอ่ สรา้ ง
๔.๖.๑.๑ งานจา้ งกอ่ สรา้ ง
(๑) หนว่ ยงานของรัฐจะต้องใหค้ ู่สัญญาจัดทำแผนการใชพ้ สั ดุทผ่ี ลติ ภายในประเทศ
ไม,น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของมลู คา่ พัสดทุ ีจ่ ะใชใ้ นงานก่อสรา้ งท้ังหมดตามสัญญา (ภาคผนวก ๒) โดยส่งให้
หน่วยงานของรัฐภายใน ๖๐ วนั นบั ถดั จากวนั ทไี่ ด้ลงนามสญั ญา
(๒) หนว่ ยงานของรฐั จะตอ้ งให้คู่สัญญาจัดทำแผนการใช้เหล็กทผี่ ลติ ภายในประเทศ
ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๙๐ ของปรมิ าณเหลก็ ทต่ี อ้ งใชท้ ั้งหมดตามสัญญา (ภาคผนวก ๓) โดยสง่ ใหห้ นว่ ยงานของรัฐ
ภายใน ๖๐ วนั นบั ถัดจากวันที่ได้ลงนามสัญญา
๔.๖.๑.๒ งานจา้ งท่มี ใิ ชง่ านก่อสร้าง
หน่วยงานของรัฐจะตอ้ งให้คสู่ ญั ญาจัดทำแผนการใชพ้ ัสดุทผ่ี ลติ ภายในประเทศ
ไม'น้อยกว่ารอ้ ยละ ๖๐ ของมูลคา่ พสั ดุทจี่ ะใช้ในงานจ้างท้งั หมดตามสัญญา (ภาคผนวก ๒) โดยสง่ ให้หน่วยงานของรัฐ
ภายใน ๖๐ วัน นับถัดจากวนั ท่ีไดล้ งนามสัญญา
กรณที ่งี านจา้ งก่อสรา้ งและงานจา้ งท่มี ใิ ช่งานก่อสร้าง ที่มสี ญั ญาอายุไม่เกิน ๖๐ วนั
หรอื กรณที ี่วงเงนิ การจัดจา้ งไมเ่ กิน ๔๐๐,๐๐๐ บาท หนว่ ยงานของรัฐไม่ต้องให้คสู่ ญั ญาจดั ทำแผนการใชพ้ ัสดุ
ทผ่ี ลติ ภายในประเทศและแผนการใชเ้ หลก็ ที่ผลติ ภายในประเทศ
หากมลู คา่ หรือปริมาณของพสั ดไุ ม่สามารถดำเนนิ การตามข้อ ๔.๖.๑.๑ และขอ้ ๔.๖.๑.๒
สามารถแกไ่ ขเปล่ยี นแปลงแผนฯ ไดโดยไม'ตอ้ งดำเนินการในรูปแบบการแก่ไขสญั ญา เป็นเพียงการดำเนินการ
ระหวา่ งคณะกรรมการตรวจรับพสั ดกุ บั คสู่ ญั ญากไ็ ด้ ท้งั น้ี เมอื่ คู่สัญญามคี วามประสงค์จะแกไ่ ขเปลย่ี นแปลงแผนฯ
เมอ่ื ดำเนนิ การเรียบร้อยแลว้ ใหค้ ู่สญั ญาสง่ แผนฯ ใหค้ ณะกรรมการตรวจรับพสั ดุกอ่ นการสง่ มอบงานในแต่ละงวด
๔.๖.๒ การตรวจรับพสั ดุ
๔.๖.๒.๑ ให้คณะกรรมการตรวจรับพสั ดตุ รวจสอบว่าพสั ดุท่สี ง่ มอบ เป็นพสั ดุที่ผลิต
ภายในประเทศตามเงือ่ นไขท่ีกำหนดไว้ในสัญญา
/ ๔.๖.๒.๒ ...
- <S)Gl -
๔.๖.๒.๒ การตรวจสอบพัสดุทผี่ ลติ ภายในประเทศ สามารถดำเนินการดังนี้
(๑) กรณีที่เปน็ พัสดทุ ผี่ ลติ ภายในประเทศทไี่ ด้รบั การรับรองจากสภาอุตสาหกรรม
แห่งประเทศไทย ให้ตรวจสอบรายการพัสดุท่ีไดร้ ับการรบั รองและออกเครอ่ื งหมายสินคา้ ทผี่ ลติ ภายในประเทศไทย
(Made in Thailand) จากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
(๒) กรณที ่เี ปน็ พัสดุทีไ่ ม่ใช่รายการพัสดตุ าม (๑) ให้ตรวจสอบจากข้อมลู ทป่ี รากฏ
บนฉลากของสินค้าทีต่ ิดบนบรรจุภัณฑ์ของสนิ ค้า
๔.๖.๓ การแก้ไขสัญญา
หากลงนามในสญั ญาแลว้ ปรากฏในภายหลงั วา่ ไม่สามารถสง่ มอบพัสดุทผ่ี ลติ ภายในประเทศ
ตามเง่ือนไขหรืออตั ราทกี่ ำหนดไวในสญั ญาได้ ให้พิจารณาแกไ้ ขสัญญาต่อไป ทัง้ นใ้ี ห้หน่วยงานของรัฐพิจารณา
แกไ้ ขสญั ญาให้เปน็ ไปตามหลักการของมาตรา ๙๗ แห่งพระราฃบัญญัตฯิ
๔.๖.๔ การจดั ทำรายงานผลการใขพ้ สั คุทผ่ี ลติ ภายในประเทศสำหรับงานจ้างกอ่ สรา้ งและงานจ้าง
ทม่ี 'ิ ใชง่ านกอ่ สรา้ ง
ใหค้ ณะกรรมการตรวจรบั พสั ดเุ ป็นผู้จัดทำรายงานผลการใชพ้ สั ดทุ ีผ่ ลิตภายในประเทศ
(ตามภาคผนวก ๔) เสนอหัวหนา้ หน่วยงานของรัฐเพื่อทราบพรอ้ มกับรายงานผลการตรวจรับงานงวดสดุ ทา้ ย
๔.๗ กรณีการจัดซ้ือจดั จา้ งครั้งหนง่ี ท่ีมวี งเงนิ ไม่เกนิ ๔๐๐,๐๐๐ บาท
หนว่ ยงานของรัฐสามารถจดั ซื้อจดั จ้างกบั ผู้ประกอบการรายใดรายหน่งึ โดยวธิ เี ฉพาะเจาะจง
ตามมาตรา ๔๖ วรรคหน่งึ (๒) (ข) แหง่ พระราชบัญญัตฯิ แต่การดำเนินการยงั ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎกระทรวงฯ
หมวด ๒ ขอ้ ๖ (๖) และหมวด ๗/๑
อน่งึ กรณีทห่ี นว่ ยงานของรฐั จัดซอื้ จัดจา้ งกบั ผ้ปู ระกอบการ SMEs ยังไม,ครบร้อยละ ๓๐ ของงบประมาณ
ตามแผน หนว่ ยงานของรฐั ตอ้ งจัดซ้อื จัดจ้างกับผูป้ ระกอบการ SMEs เพอื่ ให้ไต้อัตราครบร้อยละ ๓๐
ของงบประมาณตามแผน และหากดำเนนิ การจดั ซ้อื จดั จา้ งกบั ผู้ประกอบการ SMEs ครบรอ้ ยละ ๓๐ ตามแผนแล้ว
หนว่ ยงานของรฐั จะจัดซือ้ จดั จา้ งกบั ผ้ปู ระกอบการ SMEs อีกหรือ'ไมก่ ไ็ ต้
๔.๘ การให้สัตยาบนั
กรณีท่ีหน่วยงานของรฐั ไม่ดำเนินการขออนุญาตต,อผูม้ ีอำนาจเหนือข้ึนไปหนง่ึ ขน้ั หรือหัวหนา้
หนว่ ยงานของรัฐ หน่วยงานของรัฐสามารถใหผ้ ู้มีอำนาจพิจารณาใหส้ ตั ยาบันสำหรบั การดำเนินการ
ที่ไตด้ ำเนินการไปกอ่ นแล้วนัน้ ในภายหลังไต้
๔. แนวทางการดำเนนิ การตามกฎกระทรวงฯ ในหมวด ๒ ข้อ ๖ (๒) และ (๔)
๔.๑ กรณที ีห่ น่วยงานของรฐั ประสงคจ์ ะจดั ซอื้ จัดจา้ งผลิตภณั ฑย์ างพารา หนว่ ยงานของรฐั สามารถดำเนนิ การ
จัดซอื้ จดั จ้างตามหมวด ๒ ข้อ ๖ (๒) ผลติ กัณฑ์ของร้านค้าสหกรณ์หรอื สถาบันเกษตรกรที่กระทรวงเกษตร
และสหกรณร์ ับรอง โดยหน่วยงานของรัฐสามารถตรวจสอบรายซอ่ื รา้ นค้าสหกรณ์หรอื สถาบนั เกษตรกร
กับกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ โดยตรง ทงั้ น้ี หน่วยงานของรัฐจดั ซื้อจดั จ้างไคโ้ ดยวิธเี ฉพาะเจาะจง
๔.๒ กรณที ่ีหน่วยงานของรัฐประสงคจ์ ะจัดซอ้ื จัดจา้ งผลติ ภณั ฑ์ทผ่ี ลิตขน้ึ เองหรอื บริการขององค์กร
หรอื มูลนิธเิ พอ่ื คนพกิ ารท่ไี ดร้ ับการรับรองจากหนว่ ยงานของรัฐตามหมวด ๒ ขอ้ ๖ (๔) โดยหนว่ ยงานของรฐั
สามารถตรวจสอบรายซ่อื องค์กร มลู นิธิ หรือองค์การสงเคราะหค์ นพิการ กับกรมส่งเสรมิ และพฒั นาคุณภาพ
ชีวติ คนพิการ หรอื สำนกั งาบส่งเสรมิ วสิ าหกจิ เพ่ือสังคม โดยตรง ทังนื หนว่ ยงานของรฐั จัดซือจัดจา้ งได้
โดยวิธีเฉพาะเจาะจง
/อนิง ...
- ๑๕ -
อนึง่ การจดั ซ้อื จดั จ้างตามขอ้ ๕.๑ และขอ้ ๕.๒ หากหน่วยงานของรัฐไม่ประสงคจ์ ะจดั ซ้อื จัดจ้าง
โดยวธิ เี ฉพาะเจาะจง จะใขว้ ิธีคดั เลือก หรอื วธิ ีประกาศเชญิ ซวนทวั่ ไปกไ็ ด้
๖. แนวทางการดำเนนิ การตามกฎกระทรวงฯ ในหมวด ๗/๒ การจดั ซ้อื จัดจา้ งพัสดทุ ี่เปน็ มติ ร
กบั สงิ แวดลอ้ ม
๖.๑ หากหนว่ ยงานของรฐั ประสงคจ์ ะจัดซื้อจดั จ้างพัสดทุ ่ีเป็นมิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ใหห้ น่วยงานของรฐั
กำหนดรายละเอยี ดคณุ ลักษณะเฉพาะหรอื ร่างขอบเขตของงาน เปน็ พัสดทุ ่มี ีรายละเอียดหรือคณุ สมบัติ
ทเี่ ป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม
ตวั อย่าง
หนว่ ยงานของรฐั ตอ้ งการจดั ซ้ือกระดาษ A4 หากประสงคจ์ ะจดั ซอ้ื กระดาษที่มีคณุ สมบัติเปน็ กระดาษ
ทเี่ ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดล้อม ก็ให้หน่วยงานของรัฐกำหนดรายละเอียดคุณลกั ษณะเฉพาะไดต้ ามท่ีหนว่ ยงานของรฐั
ต้องการ แต่หากหน่วยงานของรัฐประสงคจ์ ะจดั ซอ้ื กระดาษ A4 ท่มี ีคุณลักษณะเฉพาะท่ัวไป กใ็ หห้ น่วยงานของรัฐ
กำหนดตามทห่ี น่วยงานของรัฐตอ้ งการ
๖.๒ เมอ่ื ดำเนนิ การตามข้อ ๖.๑ แลว้ ให้หนว่ ยงานของรัฐตรวจสอบรายซ่อื พัสดทุ เ่ี ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม
โดยตรวจสอบในฐานข้อมลู บญั ฃีรายซอื่ สินคา้ และบริการทเ่ี ปน็ มิตรกับส่ิงแวดลอ้ มของกรมควบคุมมลพษิ
ไต้ที่ http://gp.pcd.go.th
๖.๓ เม่ือตรวจสอบรายขอ่ื แลว้ ปรากฏว่า พัสดทุ ่ีจะจดั ซอื้ จดั จ้างตงั กลา่ วมผี ขู้ ายสนิ คา้ หรอื ผูใ้ หบ้ รกิ ารเพียงรายเดียว
ใหห้ นว่ ยงานของรฐั จดั ซอ้ื จัดจ้างโดยวธิ ีเฉพาะเจาะจงจากผู้ขายหรือผู้โหบ้ ริการโดยตรง หากพัสดทุ จี่ ะจดั ซอื้
จัดจ้างมผี ู้ขายสินค้าหรอื ผใู้ ห้บริการต้งั แต่ ๒ รายขึ้นไป ใหห้ นว่ ยงานของรฐั จัดซ้อื จัดจ้างโดยวิธคี ัดเลอื ก
หากดำเนนิ การตรวจสอบรายซ่ือแล้วไม,ปรากฏรายซอ่ื ผปู้ ระกอบการท่ไี ต้รับการรบั รองวา่ เปน็ พสั ดุ
ท่ีมเี คร่ืองหมายรบั รองว่าเปน็ พสั ดทุ ีเ่ ป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม ใหห้ น่วยงานของรัฐดำเนินการจดั ซือ้ จัดจ้าง
ตามวธิ ีการทก่ี ำหนดในพระราขบัญญ้ตา
อน่ึง หากหนว่ ยงานของรัฐไม่ประสงค์จะจัดซ้อื จัดจ้างพสั ดทุ ่เี ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม ใหห้ น่วยงานของรฐั
กำหนดรายละเอยี ดคณุ ลักษณะเฉพาะหรือร่างขอบเขตของงาน ใหเ้ ป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ของหนว่ ยงานของรัฐ
ภาคผนวก ๑
ตารางรายงานการจดั ซอื้ จัดจ้างกับผู้ประกอบการ SMEs
ซือ่ หน่วยงาน ........................................................................................
๑. รายการพัสดุทตี่ รงกับการข้นึ ทะเบียนสินคา้ หรอื บริการของผู้ประกอบการ SMEs
ลำดบั รายการพัสดุ งบประมาณ
- งบประมาณท้งั หมดทหี่ นว่ ยงานของรฐั ต้องจดั ซอื้ จดั จ้าง .........................................บาท
- คิดเบบี ร้อยละ ๓๐ ของงบประมาณสำหรบั การจดั ซอื้ จัดจ้างทห่ี นว่ ยงานของรัฐจะต้องจดั ซื้อจัดจา้ ง
บาท
๒. รายการพสั ดุท่ีหน่วยงานของรฐั จดั ซ้อื จัดจ้างกับผู้ประกอบการ SMEs
ลำดบั รายการพัสดุ งบประมาณ
- งบประมาณทหี่ น่วยงานของรฐั สามารถจัดซือ้ จัดจา้ งกับผปู้ ระกอบการ SMEs..........................................บาท
□ เปน็ ไปตามกฎกระทรวงกำหนดพสั ดุและวธิ ีการจ,ัด,ซอจ„ดั จ1,า้ งพvสั ดทุ .รัฐตr้องการส่งเสรมิ
หรือสนับสนุน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓ ร้อยละ ๓๐ ของงบประมาณสำหรบั การจดั ซื้อจัดจ้าง
จากพสั ดุทีห่ นว่ ยงานของรัฐประสงค์จะจัดซื้อจัดจ้างทอี่ ย่ใู นบญั ชรี ายการพัสดแุ ละบัญชรี ายซ่ือ
ผู้ประกอบการ SMEs
□ ไมเ่ ปน็ ไปตามกฎกระทรวงฯ
บีญหาอปุ สรรคท่หี น่วยงานของรฐั ไมส่ ามารถดำเนินการจดั ซอื้ ให้ครบรอ้ ยละ ๓๐
ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ
ภาคผนวก ๒
ตารางการจดั ทำแผนการใชพ้ ัสดุที่ผลิตภายในประเทศ
โครงการ ..............................................................................
รายการพัสดหุ รือครภุ ณั ฑ์ทใี่ ชใ้ นโครงการ
แผนการใช้พัสดุท่ีผลติ ภายในประเทศ
ลำดับ รายการ หน่วย ปริมาณ ราคาตอ่ หน่วย เปน็ เงิน พสั ดุ พัสดุ
(บาท) (รวม) ในประเทศ ตา่ งประเทศ
๑
๒
๓ XXX XXX XXX
๑0๐ ๗๐ ๓๐
(^
๕
รวม
อตั รา
(รอ้ ยละ)
ลงข่ือ (คู่สัญญาฝ่ายผรู้ ับจา้ ง)
)
ตารางการจดั ทำแผนการใช้เหล็กที่ผลิตภายในประเทศ ภาคผนวก ๓
โครงการ ...............................................................................
เหล็ก
รายการพสั ดหุ รอื ครุกัณฑท์ ใี่ ช้ในโครงการ ตา่ งประเทศ
แผนการใช้เหลก็ ท่ีผลติ ภายในประเทศ
ปริมาณเหล็กทัง้ โครงการ XXX (ตนั ) XXX
๑0
ลำตบั รายการ หนว่ ย ปรมิ าณ เหล็ก
ในประเทศ
๑ เหลก็ เส้น ตนั
๒ เหลก็ ข้องอ ตัน XXX
๓ เหล็กเส้นกรม ตัน ๙0
(
๕ XXX
รวม ๑00
อัตรา
(ร้อยละ)
ลงซื่อ (คู่สัญญาฝ่ายผู้รบั จ้าง)
)
การใชพ้ ัสดุทง้ั โครงการ ตารางรายงานผลการใชพ้ ัสดุทผ่ี ลิตภายในประเทศ ภาคผนวก ๔
รายการพสั ดุทัง้ โครงการ XXX รายการ
มลู คา่ พสั ดุทงั้ โครงการ XXX บาท อตั รา (รอ้ ยละ)
อตั รา (ร้อยละ)
มูลค่าการใช้พัสดุทีผ่ ลติ ภายในประเทศ
รายการ หน่วย จำนวนเงิน
(บาท)
มลู คา่ พัสดุทผ่ี ลติ ภายในประเทศ (บาท) (บาท)
มูลคา่ พสั ดุทผ่ี ลิตจากต่างประเทศ (บาท)
ปริมาณการใช้เหล็กทง้ั โครงการ
ปรมิ าณการใช้เหลก็ ท้ังโครงการ XXX ตนั มูลค่าเหลก็ ทั้งโครงการ XXX บาท
รายการ หน่วย จำนวน
ปรมิ าณการใชเ้ หลก็ ตน้ ตน้
□ เปน็ ไปตามกฎกระทรวงกำหนดพัสดแุ ละวิธีการจดั ซ้อื จดั จ้างพัสดุท่รี ฐั ต้องการส่งเสรมิ
หรอื สนับสนนุ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓
©. รอ้ ยละ ๖๐ พสั ดทุ ั่วไป (มลู ค่า)
๒. รอ้ ยละ ๙๐ เหล็ก (ปริมาณ)
|~ๅ ไมเ่ ปน็ ไปตามกฎกระทรวงกำหนดพัสดแุ ละวธิ ีการจดั ซือ้ จัดจา้ งพัสดุท่รี ัฐต้องการสง่ เสรมิ
หรอื สนับสนนุ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒<£๖๓
เหตุผล/ความจำเป็นท่ีหนว่ ยงานของรฐั ไม่สามารถดำเนินการได้
ลงขื่อ.......................................... (ประธานกรรมการตรวจรับพสั ด)ุ
()
การจัดฃอิ
การจัดจา้ งกอ่ สรา้ ง
การจดั จ้างทม่ี ใิ ชง่ านกอ่ สรา้ ง
จัดทำร่าง TOR
*---------- *----------- 1-------- *------------------- *