The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เป็นเรื่องเล่าที่ได้จากการสัมภาษณ์คนในชุมชนบ้านกือเต ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อาอีซ๊ะ บาสอ013, 2023-03-16 13:56:35

บูกูบาฮาซา "ยะหารูเมาะห์กีตอ"

เป็นเรื่องเล่าที่ได้จากการสัมภาษณ์คนในชุมชนบ้านกือเต ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

Keywords: เรื่องเล่า,นิทาน

ยะหา อาอีซ๊ อี ะ ซ๊ บาสอ


ยะหา


หนังสือเล่มล่นี้... เป็นหนังสือที่มีที่คุมีคุณค่า เพราะกว่าว่ที่นัที่นักศึกษาจะเรียรีบเรียรีง เรื่อรื่งราว บันบัทึกทึภาพ และจัดจัทำ เป็นรูปเล่มล่ ได้ ต้อต้งอาศัยความมุมมุานะ อุตสาหะ ความเพียรพยายามในการจัดจัทำ อย่าย่งมาก ในฐานะของครู... ที่เที่ห็นกระบวนการทำ นวัตวักรรมชิ้นชิ้นี้ของนักศึกษาทุนทุ ครูรักรั (ษ์)ถิ่นถิ่รุ่นรุ่ที่ 1 ตั้งตั้แต่เต่ริ่มริ่ต้นต้จนเป็นรูปเล่มล่ สมบูรบูณ์ รู้สึรู้ สึกภาคภูมิภูใมิจในตัวตั นักศึกษาที่มีที่คมีวามมุ่งมุ่มั่นมั่ตั้งตั้ ใจ เรียรีงร้อร้ยตัวตัอักอัษร เรื่อรื่งราว และภาพประทับทั ใจ ที่เที่กิดกิขึ้นขึ้ ในภูมิภูลำมิ ลำเนาของตนเอง ทุกทุ ๆตัวตัอักอัษร และทุกทุ ๆเรื่อรื่งราวที่นัที่นักศึกษา ถ่าถ่ยทอด ล้วล้นมีคมีวามหมาย เพราะได้เด้ห็นถึงถึวิถีวิชีถีวิชีตวิของชุมชุชนที่นัที่นักศึกษาอาศัย อยู่ ขอให้นวัตวักรรมชิ้นชิ้นี้... เป็นจุดจุเริ่มริ่ต้นต้ของการเรียรีนรู้ เป็นบทเรียรีน เป็นความภาคภูมิภูใมิจและเป็นเสมือมืนหนึ่งตัวตัแทนของความตั้งตั้ ใจ ขอให้ นักศึกษาจดจำ เรื่อรื่งราวการได้มด้าซึ่งซึ่หนังสือเล่มล่นี้จะเป็นเครื่อรื่งเตือตืนใจให้ นักศึกษารู้ว่รู้าว่คุณค่าของการเรียรีนรู้มัรู้กมัจะสำ เร็จ ร็ เสมอ บูกู บู กู บาฮาซา ยะหารูเมาะห์กีต กี อ ก อาจารย์ ดร. สมฤดี ปาละวัล วั ประธานหลักลั สูตสูรสาขาการประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทวิยาลัยลัราชภัฏภัยะลา ด้วด้ยความภูมิภูใมิจในตัวตั ศิษย์รัย์กรัทุกทุคน อ.ดร. สมฤดี ปาละวัลวั


บูกู บู กู บาฮาซา ยะหารูเมาะห์กีต กี อ ข หนังสือเล่มล่นี้... เป็นหนังสืออ่าอ่นเสริมริเพื่อเสริมริ สร้าร้งทักทัษะการอ่าอ่นให้ กับกันักเรียรีน เป็นเรื่อรื่งที่อ้ที่าอ้งอิงอิจากเรื่อรื่งจริงริซึ่งซึ่การอ่าอ่นช่วช่ยพัฒนาผู้คผู้นให้มี คุณภาพ สามารถไตร่ตร่รองเท่าท่ทันทั สังคม หนังสือเล่มล่นี้... เป็นหนังสือที่จที่ะช่วช่ยเสริมริ สร้าร้งนักเรียรีนให้เกิดกิทักทัษะการ อ่าอ่น การเขียขีน และนำ ไปสู่กสู่ระบวนการเรียรีนรู้อื่รู้นอื่ๆ และที่สำที่สำคัญ หนังสือเล่มล่นี้ เป็นหนังสือที่ถ่ที่าถ่ยทอดความเป็นอยู่ วิถีวิชีถีวิชีตวิของคนในชุมชุชน เพื่อให้นักเรียรีนได้ รับรัรู้แรู้ละเข้าข้ ใจบริบริทชุมชุชนของตนเองที่อที่าศัยอยู่ นวัตวักรรมชิ้นชิ้นี้... เป็นเครื่อรื่งมือมือย่าย่งหนึ่งในการจัดจัการเรียรีนการสอน หวังวัเป็นอย่าย่งยิ่งยิ่ว่าว่... หนังสือเล่มล่นี้มีคมีวามสอดคล้อล้งกับกัความต้อต้งการของ คนในชุมชุชน ช่วช่ยเสริมริ สร้าร้งทักทัษะการอ่าอ่นการเขียขีน และคิดไตร่ตร่รองได้อด้ย่าย่ง มีปมีระสิทธิภธิาพ นางสาวอาอีซ๊ะซ๊บาสอ นักศึกษาทุนทุครูรักรั (ษ์)ถิ่น รุ่นรุ่ที่ 1 สาขาการประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา


บูกู บู กู บาฮาซา ค ยะหารูเมาะห์กีต กี อ เรื่อ รื่ งที่ 1 กาปงยะหา เรื่อ รื่ งที่ 2 แกงขี้เ ขี้ หล็ก ล็ เรื่อ รื่ งที่ 3 นะคอมิสมิ เรื่อ รื่ งที่ 4 ศาลาชมจัน จั ทร์ เรื่อ รื่ งที่ 5 บ้า บ้ นกือ กื เต เรื่อ รื่ งที่ 6 รัก รั จัง จั รัต รั นา เรื่อ รื่ งที่ 7 น้ำ ตกบาตูพ ตู ะ เรื่อ รื่ งที่ 8 ขนมซือ ซื มือ มื เละ เรื่อ รื่ งที่ 9 การละเล่น ล่ เรื่อ รื่ งที่ 10 ใจกลางอำ เภอ 1-2 3-5 6-8 9-11 12-14 15-16 17-18 19-20 21-23 24-25 เรื่อ รื่ ง หน้า


เช้าช้วันหนึ่ง ซึ่งซึ่เป็นวันพฤหัสบดี สองพี่น้องชื่อนูมากับนูมี ซึ่งเป็นฝาแฝดกัน นูมาได้ชวนนูมีไปเที่ยวที่กาปงยะหา ยะหาเป็นตำ บลหนึ่งที่อยู่ใยู่นอำ เภอยะหา จังหวัดยะลา นูมากับนูมีได้ปั่นจักรยานและมองไปรอบ ๆ เห็นบรรยากาศสวยงาม ท่ามกลางอากาศเย็น ย็ สบาย แดดเจิดจ้า ท้องฟ้าฟ้แจ่มใส ชวนให้เด็กน้อยทั้งสอง อารมณ์ดีณ์ ดีสักสัพักพันูมาได้พูดพูคุยกับนูมีเกี่ยวกับบรรยากาศที่นี่ นูมี : พี่ ! บรรยากาศที่นี่ดีจังเลยเนอะ น่าน่อยู่จัยู่ จัง นูมา :ใช่ ๆ บรรยากาศที่นี่เย็น ย็ สบายมาก เราน่าน่จะมาเที่ยวบ่อบ่ย ๆ เนอะ นูมี : แต่ว่า เอ๊ะ ! น้องรู้สึกอยากรู้ประวัติความเป็นมาที่นี่จัง ทำ ไมถึงเรียกว่า กาปงยะหา พี่พพี่อจะรู้ไรู้หมคะ นูมา : พี่ก็พี่ ก็ไม่รู้ม่รู้เรู้หมือนกันน้อง เอาอย่าย่งงี้ไหม เราขับไปเรื่อรื่ย ๆ ไปถามคนที่นี่กัน ดีไหม เขาอาจจะให้ข้อมูลที่ถูกต้องกับเรา นูมี : ก็ดีน่ะน่พี่ ไป ! ไปหากัน หลังจากสนทนาจบ นูมาก็ได้ขับเรื่อย ๆ ไปหา ปราชญ์ชาวบ้าน ที่อยู่ใยู่นกาปง ยะหา เขาขับขั ไปเรื่อรื่ย ๆ พร้อร้มกับมองบรรยากาศรอบ ๆ อย่าย่งสบายใจ บูกู บู กู บาฮาซา ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


นูมี : พี่ ! นั่นไง ปราชญ์ชาวบ้านที่เราตามหา นูมาก็ได้จอดจักรยานแล้วเข้าไปสลามกับปราชญ์ชาวบ้านคนนั้น นูมาและนูมี : อัสลามมูอาลัยกุมกุค่ะ อาเย๊าย๊ะ (ขอความสันสัติสุขสุจงมีแด่ท่าน) อาเย๊าะ : วาอาลัยกูมุกู มุสสลามจ้ะหลาน (ขอความสันสัติสุขจงมีแด่ท่านเช่นช่กัน) อาเด๊ะมาจากไหนกัน มาทำ อะไรที่นี่เอ่ย นูมา : พวกหนูกำ ลังจะไปเที่ยวกาปงยะหา แล้วปั่นจักรยานไปเรื่อย ๆ เห็น บรรยากาศที่นี่สวยจัง และเกิดข้อสงสัยสัว่า สมัยก่อนที่นี่เป็นอย่าย่งไรกันนะ มีประวัติ ความเป็นมาอย่าย่งไร แล้วทำ ไมถึงได้เรียรีกว่า “กาปงยะหา” คะ อาเย๊าะ : อ๋อ ! สมัยก่อนบริเริวณเขตเทศบาลตำ บลยะหา มีต้นขี้เหล็กอยู่เยู่ ป็น จำ นวนมาก แล้วคนสมัยก่อนก็ถางขี้เหล็กเพื่อมาปักหลักตั้งถิ่นฐานที่นี่ ซึ่งคำ ว่า “ยะหา” เป็นคำ ในภาษามลายู มีความหมายว่า “ต้นขี้เหล็ก” จึงได้ตั้งชื่อว่ากาปง ยะหา คำ ว่า “กาปง” มีความหมายว่า “ชุมชน” และ คำ ว่า “ยะหา” มีความหมายว่า “ต้นขี้เหล็ก” นูมาและนูมี : อ๋อ ! เข้าใจแล้ว นูมี : อาเย๊าย๊ะคะ แล้วปัจจุบันบัที่นี่ยังมี ต้นขี้เขี้หล็กอีกไหมคะ อาเย๊าะ : ปัจจุบันที่นี่ก็ยังมีต้นขี้เหล็ก แต่มีน้อยมาก ส่วส่นใหญ่คญ่นที่นี่ส่วส่นใหญ่ เขาจะเอามาทำ แกงขี้เขี้หล็ก บูกู บู กู บาฮาซา 2 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


บูกู บู กู บาฮาซา หลังจากที่อาเย๊าย๊ะได้พูดถึง แกงขี้เหล็ก ทั้งคู่ก็คิดไม่ออกว่า หน้าตาแกงขี้เหล็กนี้ มีลักษณะ อย่าย่งไร ด้วยความที่อยากรู้ ทั้งสอง เลยถามอาเย๊าย๊ะ นูมา : อาเย๊าย๊ะ แล้วแกงขี้เหล็ก นี้มีลักษณะหน้าตาอย่าย่งไรคะ พวกหนูนึกภาพ ไม่ออกเลย อาเย๊าะ : แกงขี้เขี้หล็กนี้เป็นการนำ ใบอ่อน ดอกและยอดของต้นขี้เหล็ก มาปรุง เป็นอาหาร รสชาติของมันก็จะมีรสชาติหวาน มัน มีความเผ็ดเล็กน้อยและ ขมปลาย ๆ ขึ้นกับการปรุงของแต่ละคน อีกอย่าย่งมันยังมีสรรพคุณด้วยนะ นูมี : มันมีสรรพคุณอะไรคะ หนูอยากรู้ อาเย๊าะ : เยอะแยะเลยหลานเอ้ย ไม่ว่าจะด้านการขับถ่าย ช่วช่ยให้หลับสบาย เป็นยาระบายอ่อน ๆ ทำ ให้สุขภาพดี ส่วส่นยอดอ่อนและใบขี้เหล็ก จะประกอบด้วย เบตาคาโรทีน ใยอาหาร แคลเซียม ฟอสฟอรัสรัธาตุเหล็ก โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ในปริมริาณที่สูงสูกว่าผักชนิดอื่น ๆ การรับรั ประทาน แกงขี้เขี้หล็ก จึงเหมือนกับรับ ประทานยา ด้วยเช่นช่กัน ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


บูกู บู กู บาฮาซา 4 นูมา : โอโฮ้ ! แบบนี้เราต้องหามากินกัน บ้าบ้งแล้วแหละน้อง นูมี : ใช่แช่ล้วพี่ ว่าแต่เราจะไปหาที่ไหนล่ะ เราไม่คุ้ม่ คุ้นที่นี่ อาเย๊าะ : เองอย่าย่งงี้ไหม เดี๋ยวพวกเราไป หาผู้เชี่ยชี่วชาญที่จะมาทำ แกงขี้เหล็กกันไหม เราจะได้เห็นขั้นขั้ตอนการทำ ของมัน นูมา : ก็ดีนะคะ เราจะได้เห็นขั้นตอน การทำ แกง ได้สูตรมา สามารถมาทำ ให้กับพ่อพ่ แม่เม่ราได้ด้วย น้องคิดว่าดีไหม นูมี : ดีเลยพี่ ! ไปกันพี่ อาเย๊าะ ! และแล้วอาเย๊าะก็ได้พาทั้งคู่ไปหาผู้เชี่ยวชาญ มาทำ แกงขี้เหล็ก ซึ่งซึ่คนนั้นเป็นภรรยาของอาเย๊าะ เอง อาเย๊าะ : นี่เป็นภรรยาของอาเย๊าะเอง เรียรีกว่า “มะ” ก็ได้ นูมาและนูมี : อัสลามมูอาลัยกุมค่ะ มะ (ขอ ความสันติสุขสุจงมีแด่ท่าน) มะ : วาอาลัยกูมุสสลามจ้ะหลาน (ขอความสันติสุขจงมีแด่ท่านเช่นช่กัน) หลาน ๆ มาทำ อะไรกันจ้ะ หลังจากนั้น มะก็สาธิตธิ ไปพร้อม ๆ กับอธิบธิาย วิธีกธีารทำ ในแต่ละขั้นขั้ตอน ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


ซึ่งซึ่จะต้มใบขี้เหล็กและมะเขือให้สุกสุ จากนั้นให้กรองเอาน้ำ ออก แล้วพักใบขี้เหล็กไว้ก่อน ตั้งหม้อใส่หัส่ หัวกะทิลงไป จากนั้นใส่พส่ริกริแกงเหลือง ลงไป คนให้พริกแกงละลายและจนกะทิแตกมัน เมื่อเสร็จ ร็ แล้วให้ใส่ใส่บขี้เหล็กลงไป ใส่ไส่ก่ลงไป ปรุงรสด้วยน้ำ ตาลปี๊บ และกะปิ คนให้เข้ากัน เสร็จ ร็ แล้วโรยใบมะกรูดลงไป ต้มต่อสักพักพั เสร็จ ร็ แล้วก็ตักใส่ถ้ส่ ถ้วยเสิร์ฟ นูมา : สวยจังเลยมะ หน้าตาน่าน่ทานมาก นูมี : ใช่มช่ะ น่าน่ทานมากเลย ชิมชิเลยได้ไหมมะ มะ : ชิมชิ ได้เลยจ้ะหลาน นูมาและนูมี : หู้วว อร่อร่ยมากเลยมะ มะ : ชมเก่งจังหลาน มะเขินแล้ว แฮร่ ๆ นูมี : พวกหนูต้องขอบคุณ มะกับอาเย๊าะมาก ๆ นะคะ ที่ให้ความรู้กัรู้ กับพวกหนู มะและอาเย๊าะ : ยินดีจ้ะหลาน อาเย๊าะ : หลังจากนี้หลานจะไปไหนต่อจ้ะ นูมา : พวกหนูคิดว่าจะไปซื้อของที่ตลาด พอตกเย็นคิดว่าจะไปค้างคืนที่ศาลา ชมจันทร์ค่ร์ ค่ะ อาเย๊าะ : อ๋อ ! งั้นก็ขอให้ปลอดภัย อัลลอฮฺคุ้มครองนะหลาน มะ : มะก็ขอให้หลานทั้งสอง เดินทางโดยสวัสดิภาพนะ จากนั้น นูมาและนูมีก็ได้สลามมะก่อนที่จะออกเดินทาง บูกู บู กู บาฮาซา 5 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


บูกู บู กู บาฮาซา ยะหารูเมาะห์กีต กี อ หลังจากที่ทั้งคู่ได้พูดพูคุยกับอาเยาะและมะ ทั้งคู่ก็ปั่นจักรยานเพื่อพื่มาที่ตลาด แห่งห่หนึ่งในกาปงยะหา และแล้วทั้งคู่ก็เดินทางถึงตลาด นูมี : เย้ ! ถึงตลาดแล้ว นูมาก็จอดจักรยานแล้วทั้งคู่ก็เดินเข้าไปในตลาด และมองไปรอบ ๆ ด้วยความสงสัยสัว่าทำ ไมคนขายน้อยจัง มันเป็นปกติของที่นี่ หรือรืว่ามีอะไรหรือเปล่า นูมา : น้อง ! น้องคิดเหมือนพี่ไหมว่าทำ ไมคนขายน้อยจัง เห็นพื้นที่เยอะ นูมี : หนูก็คิดเหมือนกันว่าทำ ไมคนขายน้อยจัง เราเข้าไปถามพ่อพ่ค้า แม่ค้า แถว นี้ดีไหมพี่ นูมา : ก็ดีเหมือนกันนะ พี่ก็อยากรู้เหมือนกัน พี่รู้สึกสึว่ามันน่าจะมีอะไรสักอย่าย่ง ที่ทำ ให้ตลาดนี้ดูเดูงียบเหงา ไม่ครึกรึครื้น และแล้ว ทั้งคู่ก็เดินไปถามแม่ค้าคนหนึ่ง ด้วยความสงสัยสั ในเรื่องต่าง ๆ พร้อม ทั้งอยากรู้ว่รู้ว่าตลาดที่นี่เขาเรียกว่าอะไร นูมาและนูมี : อัสลามมูอาลัยกุมค่ะ กะ (ขอความสันติสุขสุจงมีแด่ท่าน) แม่ค้ม่ ค้า : วาอาลัยกูมุสสลามจ้ะอาเด๊ะ (ขอความสันติสุขสุจงมีแด่ท่านเช่นช่กัน) เอาอะไรดีจ้ะอาเด๊ะ นูมา : เอาข้าวเหนียวไก่ 2 ห่อค่ะ


แม่ค้ม่ ค้า : นี่ค่ะ ! 40 บาทค่ะ (ยื่นยื่ ให้กับนูมาพร้อร้มบอกราคา) นูมา : (ยื่นยื่ ใบ 100 ไป และรับข้าข้วนั้น) แม่ค้ม่ ค้า : (รับเงินนั้นและทอนเงินให้กับนูมา) นี่ค่ะ ! เงินทอน 60 บาท นูมา : กะคะ หนูขออนุญาตสอบถามหน่อยได้ไหมคะ แม่ค้ม่ ค้า : ได้ซิจ้ะอาเด๊ะ มีอะไรว่ามา... นูมี : คือ... หนูอยากรู้ว่รู้ว่าทำ ไมวันนี้คนน้อยจัง ทั้งคนขายและคนซื้อ แม่ค้ม่ ค้า : อ๋อ ! ช่วช่งนี้เป็นช่วช่งสถานการณ์โควิดกำ ลังระบาด ก่อนหน้านี้ที่นี่ก็ ปิดตัวลงสักสัพักพัและตอนนี้เพิ่งเปิด พ่อพ่ค้าแม่ค้าบางคนก็ไปเปิดร้านของตัวเอง ในช่วช่งที่เขาปิดตัวลง ด้วยความที่ตอนนี้เพิ่งเปิดมันก็จะเงียบเหงาแบบนี้จ้ะอาเด๊ะ นูมา : แล้วก่อนหน้านี้การค้าขายที่นี่เป็นอย่าย่งไรบ้างคะ ผู้คนที่มาซื้อมาจาก ที่ไหนกันบ้าบ้ง แม่ค้ม่ ค้า : ถ้าเป็นช่วช่งก่อนหน้าที่ ตลาดนัดที่นี่มีคนมาซื้อเยอะมาก ครึกครื้นกัน เลยเชียชีว คนที่มาซื้อซื้ของที่นี่มาหลากหลายมาก ไม่ว่าจะเป็นในตำ บลปะแต กาบัง บันบันังสตา และยะหาเองด้วย และมีบางคนในบางพื้นที่ที่อยู่ใยู่กล้กาบังในจังหวัด สงขลาก็มาซื้อซื้ที่นี่เช่นช่กัน และเช่นช่เดียวกับ พ่อพ่ค้า แม่ค้ม่ ค้า ก็มาจากหลากหลายเช่นช่กัน นูมาและนูมี : ว้าว ! เยอะจริง ๆ อยากให้ตลาดนี้อยู่ใยู่นช่วช่ง สถานการณ์ปกติมากเลย บูกู บู กู บาฮาซา 7 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


แม่ค้ม่ ค้า : ใช่แช่ล้ว พวกกะ ๆ ทั้งหลาย ก็อยากให้อยู่ใยู่นสถานการณ์ปกติเหมือนกัน สักสัพักพันูมีได้ยินยิเสียงจากคนคุยโทรศัพท์กับ ได้ยินแว่ว ๆ ในคำ ว่า นะคอมิส เลยไปถามแม่ค้ม่ ค้า นูมี : กะคะ เมื่อกี้หนูได้ยินยิแว่ว ๆ ว่า นะคอมิส มันคืออะไรหรอคะ แม่ค้ม่ ค้า : มันคือตลาดนัดที่นี่แหละ คนส่วส่นใหญ่ที่ญ่ที่นี่มักจะเรียรีกว่า นะคอมิส เพราะเปิดเฉพาะวันพฤหัสบดีวันเดียว มันเลยเป็นที่มาของคำ ว่า “นะคอมิส” นูมี : อ๋อ ! ในระหว่างที่นูมีถามแม่ค้ม่ ค้า นูมาก็ได้มองไปถึงอาคารหนึ่งซึ่งมีลักษณะเหมือนที่ ทำ งานเลยถามแม่ค้ม่ ค้า นูมา : กะคะ นั่นมันคืออาคารอะไรคะ แม่ค้ม่ ค้า : อ๋อ ! นั่นอ่ะ เป็นที่ทำ งานของเทศบาลตำ บลยะหา ที่นี่เป็นเขตปกครอง ของเขตเทศบาลตำ บลยะหา ถ้าหากหนูเข้าไปในชุมชนก็เป็นเขตปกครององค์การ บริหริารส่วส่นท้องถิ่น (อบต.) นูมา : อ๋อ ! น้องมีอะไรจะถามอีกไหม นูมี : ไม่มีแล้วจ้ะพี่ นูมา : งั้นเราเดินไปซื้อซื้ของกันต่อไหม นูมี : ได้ค่ะพี่ นูมาและนูมี : พวกหนูขอบคุณกะมากนะ หลังจากนั้นทั้งคู่ก็เดินไปซื้อของ ซึ่งที่นี่มีของมากมายหลายประเภท ไม่ว่าจะ เป็น ของกิน ของใช้ เครื่องประดับ และพวกยาสมุนไพรต่าง ๆ สักพักพัทั้งคู่ก็ซื้อของ เสร็จ ร็ เรียรีบร้อร้ยแล้วเดินทางออกจากตลาด บูกู บู กู บาฮาซา 8 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


บูกู บู กู บาฮาซา ยะหารูเมาะห์กีต กี อ หลังจากที่ทั้งคู่เดินไปซื้อซื้ของกินที่ตลาดนัด (นะคอมิส) ทั้งคู่ก็หาที่พักไป ตั้งแคมป์ ซึ่งซึ่เกิดความคิดว่าหากมีเพื่อพื่นมาด้วยก็จะดีนะ ด้วยความที่บ้านเพื่อน อยู่ใยู่กล้กัน เลยไปหาเพื่อน ชวนเพื่อพื่นมาตั้งแคมป์ นูมา : น้อง พี่ว่าถ้าเราชวนเพื่อนมาด้วยน่าจะสนุกนะ แคมป์นี้ นูมี : ดีเลยพี่ คิดถึงเพื่อนอยู่พยู่อดีเลย นูมา : ไป ! ไปกัน นูมี : ไปกันเลย ! และแล้วทั้งคู่ก็ปั่นจักรยานไปบ้านเพื่อน เพื่อพื่ชวนเพื่อนไปตั้งแคมป์ เมื่อถึงบ้าบ้นเพื่อน นูมา : ซูไรดา เธอสนใจไปตั้งแคมป์กับพวกเราไหม ซูไรดา : ที่ไหนอ่ะ นูมา : นั่นสิ ที่ไหน ฮ่าๆๆๆ นูมี : น้องว่าแถวยะหาดีไหม เมื่อกี้น้องเล่นเฟสเจอเขาแชร์ศาลาดูดวงจันทร์ วิวสวยมากเลยน่ะน่พี่ นูมา : เราจะไปชมจันทร์กันหรอ? (นูมาและซูไรดาทำ สีหสีน้าครุ่นรุ่คิด) นูมี : ที่นี่เขาดูหมอกก็ได้น่ะพี่ ไหน ๆ เราก็จะตั้งแคมป์แล้ว เราไปค้างคืนที่นั่น สักสัคืน ตื่นเช้าช้มาดูหดูมอกน่าน่จะดีนะ ซูไรดา : ความคิดดีเลย ช่วช่งเวลาแบบนี้หมอกเยอะน่าน่ดู


นูมา : ก็ไม่เม่ลวน่ะ ว่าแต่เราจะชวนใครอีกไหม นูมี : ชวนเพื่อพื่นน้องไปด้วยได้ไหม นูมีแ มี ละซูไรดา : ได้ซิ ชวนเลย ! นูมี : เดี๋ยวน้องโทรหาเพื่อพื่นแปบนึง บุสรอ เธอจะไปตั้งแคมป์กับพวกเราไหม บุสรอ : ที่ไหนอ่ะ นูมี : ยะหา บุสรอ : อ๋อได้ ๆ แล้วไปกับอะไรนั่น ขึ้นรถจักรยานยนต์กันไหม ไปกันที่คน นูมี : ได้ ๆ ไปกัน 4 คน บุสรอ : โอเค แล้วเจอกันที่ไหน นูมี : มาเจอกันที่บ้านพี่ซูพี่ซูไรดา บุสรอ : โอเค นูมี : (เมื่อวางสายเสร็จนูมีก็ได้คุยกับพี่ ๆ ทั้งสอง) น้องชวนบุสรอไปด้วย เดี๋ยวเขาจะมากับรถจักรยานยนต์ ซูไรดา : โอเค งั้นเราขึ้นขึ้รถจักรยานยนต์กัน 2 คน ขึ้นกับบุสรอ 1 คน นูมาและนูมี : โอเค ได้ ๆ เมื่อบุสรอมาถึง พวกเราก็เดินทางไปศาลาดูดวงจันทร์ เมื่อถึงศาลาดูดวงจันทร์ จุดแรก พวกเขาก็สงสัยว่าทำ ไมไม่เหมือนกับในรูปและพูดคุยกัน นูมา : เอ๊ะ ! ทำ ไมไม่เหมือนในรูปที่น้องให้พี่ดูพี่ดูเลย นูมี : นั่นสิ หรือรืว่าเราไปยังไม่ถึง ซูไรดา : มันมีทางขึ้นขึ้อีกนะ บุสรอ : ลองขึ้นขึ้เลยไหม หรือรืว่าจะมาถ่ายรูปที่นี่ก่อน ซูไรดา : เรามาถ่ายรูปที่นี่ก่อนดีกว่า วิวก็สวยอยู่ บูกู บู กู บาฮาซา 10 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


บูกู บู กู บาฮาซา 11 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ หลังจากนั้นพวกเราก็ได้ถ่ายรูปแล้วเดินทางต่อไปถึงศาลาดูดวงจันทร์ด้านบน ซูไรดา : ว้าวว ! สถานที่สวยมาก เป็นวงกลม บุสรอ : ใช่เช่ลย สวยงามมาก นูมา : ไปถ่ายรูปกัน ก่อนแสงจะหมด นูมี บุสรอและซูไรดา : ไป ๆ ! นูมี : ไปกางเต้นท์กันเถอะ นูมา : ไป ๆ ซูไรดา : คืนนี้เรามาชมจันทร์ก่อน จากศาลาดูดวงจันทร์ เราต้องเปลี่ยนเป็น ศาลาชมจันทร์แร์ล้วซินซิะ ฮ่า ๆ (พวกเราทั้ง 4 คนก็หัวเราะ) บุสรอ : พรุ่งรุ่นี้พวกเราต้องตื่นเช้ามาดูหมอก อย่าย่ลืมปลุกลุกันบ้างนะ ฮ่า ๆ นูมี : ใครตื่นก่อนคนนั้นปลุกลุเพื่อพื่นด้วย นูมา : สุดสุท้ายทุกทุคนตื่นสายกัน ฮ่า ๆ เมื่อตกดึกก็เห็นพระจันทร์และดวงดาวระยิบระยับสวยงามมาก และหลังจากที่ พวกเราดูพดูระจันทร์ พวกเราก็นอนหลับไป นูมา : ตื่นกันทุกคน ตี 5 แล้ว เดี๋ยวไม่ทัม่ ทันดูหมอก หลังจากนั้นทุกคนตื่นกันแล้วไปละหมาดก่อนที่จะไปดูหมอก เมื่อเห็นหมอก ชัดชัเจนพวกเราก็ไปถ่ายรูป นั่งจิบกาแฟยามเช้า บรรยากาศดีสุดสุ ๆ เมื่อถึงเวลา 8:00 น. พวกเราก็เดินทางกลับ ระหว่างนั้นพวกเราก็ได้คุยกันว่าจะ ไปหมู่บ้มู่าบ้นแห่งห่หนึ่งในยะหา


หลังจากนั้นพวกเราทั้ง 4 คนก็ได้ไปหมู่บ้านแห่งหนึ่งในยะหา ซูไรดา : ที่นี่หรอ ! นูมา : ใช่ ที่นี่แหละ หมู่บ้าบ้นกือเต นูมี : ชื่อชื่หมู่บ้าบ้นเพราะจัง น่าจะเป็นคำ ที่มาจากภาษามลายูเหมือนกับชื่อตำ บล บุสรอ : น่าน่จะใช่น่ช่ะน่ ซูไรดา : เราไปถามคนในชุมชนดีไหม นูมี : ดี ๆ นูมา : กะ ชื่อชื่ของชุมชนที่นี่ มีประวัติความเป็นมาอย่าย่งไรคะ ชาวบ้าบ้น : กะก็ไม่รู้ม่รู้เรู้หมือนกัน เพราะกะเพิ่งย้ายมา เดี๋ยวเดะลองไปถามโตะแช บ้าบ้นเขาอยู่ถัยู่ ถัดจากบ้าบ้นกะไป 5 หลังนะ พวกเรา : ค่ะกะ ขอบคุณนะคะ พวกเราก็เดินทางไปบ้านหลังนั้นเพื่อไปหาโตะแช มาไขข้อสงสัยสั ให้กับเราได้ บูกู บู กู บาฮาซา ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


พวกเรา : อัสลามมูอาลัยกุมค่ะ (ขอความสันติสุขสุจงมีแด่ท่าน) โตะแช : วาอาลัยกูมุสสลามจ้ะอาเด๊ะ (ขอความสันสัติสุขสุจงมีแด่ท่านเช่นช่กัน) มาทำ อะไรกันจ๊ะ นูมา : พอดีพวกเราอยากทราบประวัติเกี่ยวกับชุมชนบ้านกือเต ว่ามีที่มาที่ไป อย่าย่งไร โตะแช : คำ ว่า กือเต มาจากต้นไม้ต้นหนึ่ง เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีน้ำ มันใน ลำ ต้น เรียรีกว่า ต้นกือเต ต้นนี้สามารถใช้สช้ร้าร้งบ้านได้ อีกอย่าย่งต้นนี้มีสรรพคุณใน การรักรัษาบาดแผล โดยใช้น้ำ มันจากต้นกือเต ซูไรดา : แล้วปัจจุบันต้นนี้ยังมีอยู่อียู่ อีกไหมคะ โตะแช : ปัจจุบันต้นนี้ไม่มีม่ มีแล้ว ถูกตัดไปแล้ว ถ้าเป็นเมื่อก่อนต้นนี้จะอยู่ใยู่กล้กับ บ้าบ้นครูคนนึงที่สอนที่โรงเรียรีนบ้านรัตนา ซึ่งที่นี่ไม่ใช่คช่นยะหามาปักหลักตั้งถิ่นฐาน แต่เป็นคนบาโงยซิแซิน ซึ่งอยู่ใยู่กล้กัน ซูไรดา : อ๋อ ! แล้วคนที่มาอยู่แยู่รก ๆ นี่คือใครคะ โตะแช : คนที่มาตั้งรกรากที่นี่แรก ๆ ก็พ่อพ่กับแม่ของโตะแชที่แหละ พ่อพ่ของ โตะแชเคยเป็นอดีตกำ นันที่นี่ เป็นคนเจาะปูนา อยู่ใยู่นเขตของบาโงยซิแน พวกเรา : อ๋อ ! บุสรอ : แล้วมัสยิดปัจจุบันบันี้ก็อยู่บ้ยู่ บ้านกือเตใช่ไช่หม โตะแช : ใช่ แต่ถ้าพูดถึงมัสยิดยินั่น สมัยก่อนไม่ไม่ด้อยู่บ้ยู่าบ้นกือเต บูกู บู กู บาฮาซา 13 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


บูกู บู กู บาฮาซา 14 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ โตะแช : ใช่ แต่ถ้าพูดพูถึงมัสยิดยินั่น สมัยก่อนไม่ได้อยู่บ้ยู่ บ้านกือเต นูมา : แล้วมันอยู่ใยู่นหมู่บ้มู่ บ้านอะไรคะ โตะแช : สมัยก่อนมัสยิดยินั่นจะอยู่ใยู่นหมู่บ้มู่ บ้านญอซือปาฮง นูมี : ญอซือปาฮง มันคืออะไรคะ ไม่เม่คยได้ยินเลย โตะแช : ญอซือปาฮง เนี้ยะ มันเป็นชื่อเรียรีกหมู่บ้านแห่งหนึ่งปัจจุบันเป็นมัสยิด กือเต ซึ่งซึ่เขาเล่ามาว่า สมัยก่อนเนี้ยะ ที่นั่นจะมีสนาม เรียรีกว่า ปาแดโตะแน แล้ว สมัยก่อนมีช้าช้งหลายเชือชืก คนที่นี่เลยปลูกลูต้นมะพร้าร้วล้อมรอบสนาม แต่เขาผูก เชือชืกเฉพาะลูกลูช้าช้ง พ่อพ่ช้างกับแม่ช้างเขาปล่อย ทำ ให้ช้าช้งไปกินต้นกล้า แต่เหลือเพียพีงต้นเดียว สมัยก่อนเลยเรียรีกว่า "ญอซือซืปาฮง" พวกเรา : (ยิ้มยิ้ ) อ๋อ ! แล้วทุกทุคนก็คุยกันเรื่อรื่ย ๆ ตามประสา


หลังจากที่ทุกทุคนได้คุยกัน นูมาได้เกิดข้อสงสัยสัเกี่ยวกับโรงเรียรีนในชุมชน บ้าบ้นกือเต นูมา : โตะแช แล้วโรงเรียรีนนี่มีที่มาที่ไปยังไง โตะแช : ก่อนที่จะบอกที่มาที่ไปของโรงเรียรีนต้องบอกก่อนว่า บ้านกือเตสมัย ก่อนมีพื้นพื้ที่เยอะมากก่อนที่จะมีการแบ่งบ่แยกที่ ในสมัยก่อนโรงเรียนนี้ยังไม่เกิดขึ้น คนในพื้นพื้ที่ส่วส่นใหญ่ไญ่ ปเรียนในโรงเรียรีนบ้านยะหา และก็ไปละหมาดวันศุกร์กันที่ ยะหา ระยะทางประมาณ 2 กิโล ก็เดินไป เพราะสมัยก่อนยังไม่มีรถ นูมี : โอโฮ้ ! เดินเท้า 2 กิโลเลยหรอคะ ไม่เหนื่อยแย่เย่ลยหรอ โตะแช : สมัยก่อนเขาไม่มีรถเหมือนสมัยนี้ ก็เดินไปเรื่อรื่ย ๆ ซูไรดา : แล้วโรงเรียรีนบ้าบ้นรัตรันานี้ เมื่อก่อนยังไม่มีใช่ไช่หมคะ โตะแช : ใช่จ้ช่ จ้ะ เมื่อก่อนยังไม่มีม่ มีโรงเรียรีนนี้อีก แล้วมีคนไปเรียรีนบ้านยะหาเยอะ ด้วยความที่คนสนใจที่จะเรียนหลายคน ก็จะมีครูคนนึง ชื่อ ครูเฉลียว กัณหะ เขาเป็นครูคนแรกที่มาบรรจุที่นี่ ซึ่งตอนนั้นเขาจะเรียนกันที่สุเสุหร่าร่ ประจำ หมู่บ้าน จะมีการเปิดเรียนชั่วคราวในขณะที่กำ ลังหาสถานที่เปิดโรงเรียรีน และยังไม่ตั้งชื่อ โรงเรียรีน คนสมัยก่อนก็ถามว่า กอเลาะฮฺกาปอ ซึ่งเป็นคำ ถามที่ถาม แต่ก็ไม่มีใคร ตอบ เขาเลยคิดว่า ชื่อชื่ โรงเรียนว่าโรงเรียนกาปอ หลังจากนั้นก็มีการเพี้ยนในการ เขียขีนจาก ป. ปลา เป็น บ.ใบไม้ ก็เลยเป็นโรงเรียนบ้านอาบอ พวกเรา : อ๋อ ! ฮ่า ๆ ตลกดี บูกู บู กู บาฮาซา ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


บูกู บู กู บาฮาซา 16 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ โตะแช : ช่วช่งนั้นผู้ใหญ่บ้ญ่ บ้านคนแรกของหมู่บ้าน ชื่อ นายคอเดร์ สาเมาะ มีความพยายามที่จะให้มีโรงเรียนแห่งนี้ให้ได้ ก็มีผู้ใหญ่ใญ่จดีมอบที่ดินที่นี่ให้กับ โรงเรียรีน เพื่อพื่สร้าร้งโรงเรียนขึ้นขึ้มา จนตอนนี้มีการพัฒพันาจากแต่ก่อนเยอะมาก นูมา : โตะแชคะ พวกเราอยากเห็นโรงเรียนมากเลยค่ะ โตะแชพาพวกหนูไป หน่อน่ยได้ไหมคะ โตะแช : ได้ซิจ้ะ หลังจากนั้นโตะแชก็นำ ทางพวกเราไปดูโรงเรียรีน นูมา : บริบริทโรงเรียรีนที่นี่น่าอยู่มยู่าก เหมือนรีสอร์ทเลย โตะแช : คนที่มาส่วส่นใหญ่บญ่อกว่าที่นี่เหมือนรีสอร์ท แฮร่ ๆ บุสรอ : บรรยากาศที่นี่น่าอยู่จยู่ริงริๆ เหมือนอยู่บ้ยู่ บ้านเลย นูมี : หนูชอบที่นี่จัง หลังจากนั้นพวกเราก็ได้เยี่ยมชมโรงเรียน ถ่ายรูปเล่น และเดินทางไปใน หมู่บ้มู่าบ้น เพื่อพื่หาสถานที่เที่ยว


บูกู บู กู บาฮาซา ยะหารูเมาะห์กีต กี อ บุสรอ : โตะแชคะ ที่นี่มีสถานที่ ท่องเที่ยวอะไรไหมคะ โตะแช : ไม่มีน่ะ นูมี : น้ำ ตกหรือคลองอะไรแบบนี้ มีไหมคะ โตะแช : อ๋อ ! มีอยู่ที่ยู่ที่นึง เป็นน้ำ ตก บาตูพะ พวกเรา : ห้ะ ! บาตูพะ ซูไรดา : บาตูพะ คืออะไรหรอคะ โตะแช : เดี๋ยวโตะแชเล่าให้ฟังฟัใน ขณะที่พวกเราเดินไปนะ เพราะใกล้เอง พวกเรา : ได้ค่ะ ในขณะที่กำ ลังเดินนั้น โตะแชก็เล่า เรื่องให้ฟัง หลังจากที่ทุกทุคนเดินทางเข้าหมู่บ้มู่ บ้าน เพื่อพื่หาสถานที่ท่องเที่ยว แต่ยังยัไม่รู้ม่รู้ว่รู้ว่าอยู่ที่ยู่ที่ไหนมีสถานที่ท่องเที่ยวอะไรในชุมชน


โตะแช : โตะแชก็ได้ยินจากที่เขาเล่ามาอีกทีนะว่า เมื่อก่อนมีบ้านหลังนึง อยู่ ใกล้กับน้ำ ตกแห่งนี้ คืนหนึ่งลูกของเขานอนไม่ได้ นอนไม่หลับ เพราะได้ยินเสียง น้ำ ตกเสียสีงดังมาก พ่อพ่ของเขาอดสงสารลูกไม่ได้เลยนำ ก้อนหินก้อนหนึ่งไปสกัด เพื่อพื่ ไม่ใม่ห้ได้ยินยิเสียงดังเกินไป ทำ ให้น้ำ ที่ไหล ไหลอย่าย่งสะดวก หลังจากนั้นลูกของ เขาก็ได้นอนหลับสบายตลอดมา พวกเรา : อ๋อ ! อย่าย่งนี้นี่เอง และแล้วทุกคนก็ได้เดินทางไปน้ำ ตก แห่งห่นั้น บรรยากาศเย็นสบาย น่าพักผ่อน นูมา : พวกเรามาพักผ่อนที่นี่ กันสักสัพักพั ไหม ก่อนที่จะออกเดินทาง พวกเรา : ได้ ๆ หลังจากนั้นทุกคนก็พักพัผ่อนที่นี่ อย่าย่งสบายใจ บรรยากาศเงียบสงบ เย็น ย็ สบาย บูกู บู กู บาฮาซา 18 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


หลังจากที่พวกเราได้พักผ่อนที่น้ำ ตกอย่าย่งสบายใจ ทุกคนก็เริ่มริ่หิว ซูไรดา : ทุกทุคน หิวจัง ไปหาอะไรกินกันไหม นูมา : ได้น่ะน่ฉันฉัก็หิวเหมือนกัน โตะแช : แถวนี้มีขนมโบราณนะ หนู ๆ กินได้ไหมจ้ะ พวกเรา : กินได้ค่ะ นูมี : ว่าแต่มันเป็นขนมอะไรคะ โตะแช : มันเป็นขนมซือมือเละจ้ะ บุสรอ : เอ๊ะ ! แปลกจัง ไม่เม่คยได้ยินเลย โตะแช : ขนมนี้เป็นขนมโบราณทำ มาจากใบเหลียง หนู ๆ รู้จัรู้ จักใบเหลียงไหมจ้ะ พวกเรา : อ๋อ ! รู้จักค่ะ โตะแช : นั่นแหละ ที่เขาไว้ผัดกับไข่นั่ข่นั่แหละ ซึ่งจะมีส่วส่นผสมเป็นใบเหลียง มะพร้าร้วอ่อน ข้าวสาร และแป้งข้าวเจ้า นูมา : แล้วมันมีวิธีกธีารทำ อย่าย่งไรบ้างคะ โตะแช : เขาจะนำ ข้าข้วสารมาแช่น้ำช่ น้ำ สัก 3-4 ชั่วโมง แล้วมะพร้าวอ่อนมาขูด จากนั้นหั่นใบเหลียงเป็นเส้น ๆ เมื่อเสร็จ ร็ แล้วจะนำ ข้าวสารที่แช่น้ำช่ น้ำไปปั่นพร้อมกับ ใบเหลียงที่หั่นเป็นเส้นส้ๆ จากนั้นนำ ออกมาตำ ในครกให้ละเอียด แล้วไปใส่ใส่น มะพร้าร้วที่เราขูดไว้ ใส่แส่ ป้งข้าข้วจ้าวลงไป แล้วใส่เส่กลือกับน้ำ ตาลตามชอบ ผสมให้ เข้าข้กัน จากนั้นเรามาวางไว้ในใบตอง และห่อให้สวยงาม แล้วไปนึ่งให้สุก เป็นอัน เสร็จ ร็ สิ้นสิ้ บูกู บู กู บาฮาซา ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


บูกู บู กู บาฮาซา 20 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ นูมี : พวกเราอยากกินแล้ว น่าน่อร่อร่ยจัง โตะแช : ไป ! เราไปซื้อกินกัน หลังจากนั้น โตะแชก็ได้พา พวกเราไปซื้อซื้ขนมโบราณนั่น ซึ่งซึ่ระหว่างทางเขาได้เล่าว่า ขนมซือซืมือเละ บางพื้นพื้ที่จะเรียกว่า ขนมนีเล็ง ซึ่งซึ่มันคืออันเดียวกัน แต่ละพื้นพื้ที่ก็มีกรรมวิธีที่ธีที่แตกต่างกัน ไม่ว่ม่ ว่าจะเป็นด้านขั้นขั้ตอนการทำ หรือรืการห่อห่ขนมให้น่าน่รับประทาน


หลังจากที่พวกเรารับรั ประทานขนมโบราณ ก็ได้พูดพูคุยกับชาวบ้านเกี่ยวกับ การละเล่นในสมัยก่อน ซูไรดา : คุณป้าคะ ในสมัยก่อนมีการละเล่นอะไรบ้างคะในชุมชนแห่งนี้ ป้าป้ฮุสนา : เยอะแยะเลย ไม่ว่าจะเป็นเล่นว่าว ตกปลา เล่นลูกลูข่าข่ง (นายู) มีการรวมกลุ่มลุ่เล่น ตี นูมี : แล้วอุปกรณ์การละเล่นเขาไปซื้อซื้กันที่ไหนคะ ป้าป้ฮุสนา : ก็ประดิษฐ์ขึ้ฐ์ขึ้นมาเองเลย บางครอบครัวลูกลูเขาจะประดิษฐ์ขึ้ฐ์ขึ้นมาเอง บางครอบครัวก็ร่วร่มกันทำ กับพ่อพ่เป็นความทรงจำ ที่ดีมากเลย ความสัมพันธ์ก็ธ์ ก็ จะดี ตามไปด้วย บุสรอ : ดีจังเลย ได้มีความทรงจำ แบบนั้น ต่างจากสมัยนี้ส่วส่นใหญ่ซื้ญ่ซื้อมาแล้วไปเล่นกับเพื่อน บูกู บู กู บาฮาซา ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


นูมา : แต่ช่วช่งนี้นี่ซิ เสียดายเวลาจังเลย ไม่ค่อยได้มีโอกาสได้ร่วร่มเล่นกับเพื่อน เพราะโควิดกำ ลังระบาด ซูไรดา : แล้วตกปลานี้สมัยก่อนเขาใช้อะไรในการตกปลาคะ ป้าป้ฮุสนา : ขึ้นขึ้อยู่กัยู่ กับแต่ละคนจ้ะหลาน บางคนก็ตกปลาด้วยมือ บางคนก็สาน ที่จับปลา นูมา : แล้วเขาสานด้วยอะไรคะ เหมือนสมัยนี้เขาจะทอดแหกัน เมื่อจับปลาให้ ได้เยอะ ๆ ป้าป้ฮุสนา : อ๋อ ! เขาจะทำ การจักรสานด้วยไม้ไผ่ ซึ่งความคงทนก็ขึ้นอยู่กัยู่ กับชนิด ของไม้ไผ่นี่แหละ การจักรสานที่จับปลาเนี้ยะ เขาจะเรียกว่า บาโละตีโดกับ บาโละดีรี ในภาษามลายูถิ่น บุสรอ : แล้วในแต่ละครั้งที่เขาตั้งที่จับปลานั้นได้เยอะเหมือนการทอดแหใน ปัจจุบันบั ไหมคะ ป้าป้ฮุสนา : ไม่เม่ยอะเหมือนที่ทอดแหหรอกจ้ะหลาน แต่มันขึ้นอยู่กัยู่ กับสถานที่ ว่า มีปลาเยอะหรือไม่ ส่วส่นใหญ่แญ่ล้วเขาจะจับกันไม่เยอะ ใช้ใช้นการทำ อาหารเป็นมื้อ ๆ ในแต่ละวัน บุสรอ : อ๋อ ! ซูไรดา : ปลาคงสดดีสิน่ะน่ ป้า ป้าป้ฮุสนา : ใช่ ๆ สดมาก อร่อร่ยเลยแหละ บูกู บู กู บาฮาซา 22 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


นูมา : ลูกลูข่าข่ง (นายู) นี่มันต่างจากปัจจุบันอย่าย่งไรบ้างคะ ป้าป้ฮุสนา : ลูกลูข่าข่ง (นายู) เนี้ยะ คนสมัยก่อนเขาจะทำ เอง ทำ จากไม้ เหล่าให้เป็นลูกข่าข่ง มีลักษณะคล้าย ๆ กับลูกลูข่าข่งของ ปัจจุบันบันี่แหละ นูมี : อ๋อ ! ป้าป้ฮุสนา : เพียพีงแต่ว่าลูกข่าข่งปัจจุบันบัทำ จาก พลาสติกและมีตะปู เขาจะเรียกว่า ลูกลูข่าข่ง (ซีแย) พวกเรา : อ๋อ ! นูมา : ใกล้ตกเย็นแล้ว พวกเราต้องรีบรีกลับแล้วแหละ นูมี : ใช่ ๆ คุยเพลินเลย แฮร่ ๆ ป้าป้ฮุสนา : งั้นเดินทางปลอดภัยนะจ๊ะหลาน ๆ บูกู บู กู บาฮาซา 23 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ พวกเรา : ขอบคุณมากค่ะ ป้า ที่ให้ความรู้กับพวกเรา มัน เป็นเรื่องที่น่าน่จดจำ มากเลยค่ะ หลังจากนั้นพวกเราก็ได้ ไปสลามกับป้าฮุสนาและ เดินทางกลับไปบ้านซูไรดา


และแล้วพวกเราก็เดินทางกลับบ้านซูไรดา เพื่อไปเอารถจักรยานของตนเอง และเดินทางกลับบ้าบ้น บุสรอก็มาส่งส่นูมีที่บ้านซูไรดา และกลับบ้านตนเองไป นูมา กับนูมีก็ขึ้นขึ้จักรยานของตนเองพร้อมกล่าวขอบคุณเพื่อนทั้งสองคนที่ให้พวกเราขึ้น รถไปด้วย ระหว่างนูมาและนูมีเดินทางกลับบ้าบ้น ก็ได้ผ่านตำ บลยะหา ซึ่งเป็นใจกลาง อำ เภอ นูมา : น้องมองบรรยากาศรอบ ๆ ซิ สวยไหม นูมี : สวยมากเลยพี่ เป็นตำ บลที่อยู่ใยู่จกลางอำ เภอเลย มีการร้าร้นค้าเยอะมาก นูมา : ใช่ ๆ มีทั้งร้าร้นสะดวกซื้อซื้หลากหลายในตำ บล มีร้านขายของทำ เบเกอรี่ และมีตลาดหลายที่ นูมี : ใช่พี่ช่พี่ ! หนูรู้สึกว่าที่นี่เจริญอยู่ใยู่นระดับนึงแล้วน่ะ นูมา : เนอะ ! คิดเหมือนพี่เพี่ลย หลังจากที่พวกเขาคุยกันจบ ทั้งคู่ก็ได้เจอร้าร้นขายขนมมากมาย ทั่งคู่ก็นึกถึง ครอบครัวรัพ่อพ่แม่ พี่น้อง นูมา : น้อง เราแวะไปซื้อของไปฝากที่บ้านกันไหม นูมี : ได้ค่ะพี่ บูกู บู กู บาฮาซา ยะหารูเมาะห์กีต กี อ


บูกู บู กู บาฮาซา 25 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ หลังจากนั้นทั้งคู่ก็ได้แวะไปซื้อซื้ ของฝากให้กับที่บ้าน ทั้งที่เป็นของ โปรดที่พ่อพ่แม่ชม่อบ และเป็นของที่ ตนเองอยากซื้อกลับที่บ้าน ระหว่าง ทางกลับบ้านพวกเขาก็ได้โทรศัพท์ หาแม่ บอกให้ที่บ้านรู้ว่ากำ ลังจะ กลับบ้าน เมื่อถึงบ้าบ้นทั้งคู่ก็ได้กล่าวสลามก่อนเข้าบ้านและเข้าไปกอดพ่อพ่กับแม่ ด้วยความที่คิดถึง พร้อร้มทั้งเล่าเรื่องต่าง ๆ ที่ได้เจอมา ทั้งสุขสุทุกข์ ระหว่างที่ทั้งคู่ เล่าให้ฟังฟัแม่ก็ม่ ก็ได้นำ ของต่าง ๆ ที่ทั้งคู่พากลับบ้านมาจัดจาน และจัดอาหารเย็นมา รับรั ประทานพร้อร้มหน้าพร้อร้มตากัน บรรยากาศเต็มไปด้วยความรัก ความอบอุ่น ความห่วห่งใย ความคิดถึง เป็นภาพที่น่าน่จดจำ เป็นอย่าย่งมาก


บูกู บู กู บาฮาซา 26 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ ที่ปที่ รึก รึ ษา : ดร.สมฤดี ปาละวัล นางสาวอุชุพร บถพิบูล บู ย์ นายวราห์ เทพณรงค์ นางสาวฮูดาย์ ดูมีแด นางสาววิศวินีย์ ผดุง ผศ.ดร.จันจัจลี ถนอมลิขิตวงศ์ นางสาวพุมพนิต คงแสง นายบดินทร์ ดือราฮิง นายคอเล็บ กือนางอ บรรณาธิก ธิ ารอำ นวยการ : ดร.สมฤดี ปาละวัลวันางไซหนับ เอสเอ บรรณาธิก ธิ าร : นางสาวอารีน รี า เจะแต นางสาวจุฬ จุ าวรรณ บัวบัหลวง นางสาวพลอยไพลินลิลิ้มลิ้พงศ์พันพัธ์ นางสาวนุริ นุ ซริา ศรีเ รี กษม นางสกุล กุ ตา บาโง นางสาวซุล ซุ ฮา หมัดมัเล๊า ล๊ ะ ออกแบบเนื้อหา : นางสาวอาอีซ๊ อี ะ ซ๊ บาสอ ออกแบบรูปเล่มล่: นางสาวอาอีซ๊ อี ะ ซ๊ บาสอ


บูกู บู กู บาฮาซา 27 ยะหารูเมาะห์กีต กี อ ชื่อ-สกุล กุ : นางสาวอาอีซ๊ะ ซ๊ บาสอ กำ ลัง ลัศึกษา : สาขาการประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทวิยาลัยลัราชภัฏภัยะลา ที่อที่ยู่ : ตำ บลยะหา อำ เภอยะหา จังจัหวัดวัยะลา คติปติ ระจำ ใจ : ความสำ เร็จ ร็ ไม่ทม่รยศต่อต่ความพยายาม G-mail : 406318013@yru.ac.th นางสาวอาอีซ๊ อี ซ๊ ะ บาสอ ผู้เผู้ขียน ความสำ เร็จ... ไม่ทรยศต่อความพยายาม


บูกู บู กู บาฮาซา ยะหารูเมาะห์กีต กี อ ยะหา


ยะหา


Click to View FlipBook Version