The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by eartzamafia2002, 2020-02-26 00:14:31

หน้าปก-ผสาน

หน้าปก-ผสาน

มลพษิ ทางอากาศนา้ และปา่ ไม้

มลพิษทางอากาศ

โลกของเรามชี ้ันของบรรยากาศหอ่ หุ้มอยู่โดยรอบหนาประมาณ 15 กโิ ลเมตร ชัน้ ของ
บรรยากาศดงั กลา่ วนป้ี ระกอบด้วย กา๊ ซไนโตรเจน ออกซิเจน ฝนุ่ ละอองไอน้า และเช้อื จลุ นิ ทรยี ์
ต่าง ๆ ในจ้านวนกา๊ ซเหล่านี้ กา๊ ซท่ีส้าคัญทสี่ ุดต่อการดา้ รงอยู่ของ ส่ิงมีชีวติ ในโลก คือ ก๊าซ
ออกซิเจนและชนั้ ของบรรยากาศทมี่ กี ๊าซออกซิเจนเพยี งพอ ตอ่ การดา้ รงชวี ติ มีความหนาเพียง 5 -
6 กิโลเมตรเทา่ น้ัน ซ่งึ ปกติจะมีส่วนประกอบ ของก๊าซต่าง ๆ ค่อนขา้ งคงท่ี คอื ก๊าซไนโตรเจน
78.09% กา๊ ซออกซเิ จน 20.94% กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละก๊าซเฉอื่ ย 0.97%ในปรมิ าณคงท่ี
ของกา๊ ซดงั กลา่ วนี้ เราถอื วา่ เป็นอากาศบริสุทธแ์ิ ตเ่ ม่ือใดก็ตามท่ีสว่ นประกอบของอากาศ
เปลยี่ นแปลงไปมีปริมาณ ของฝุ่นละออง ก๊าซ กลนิ่ หมอกควนั ไอ ไอน้า เขมา่ และ
กัมมนั ตภาพรังสีอยใู่ นบรรยากาศมากเกนิ ไป เราเรียกสภาวะดังกลา่ วว่า “อากาศเสีย” หรอื
“มลพษิ ทางอากาศ”

ความหมาย ของ มลพษิ ทางอากาศ

ภาวะอากาศทมี่ ีสารเจอื ปนอยใู่ นปริมาณท่ีสูงกว่าระดบั ปกตเิ ป็นเวลา นานพอที่จะท้าให้
เกิดอันตรายแกม่ นษุ ย์ สัตว์ พืช หรือทรัพย์สินตา่ ง ๆ อาจเกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ เช่น ฝ่นุ ละออง
จากลมพายุ ภเู ขาไฟระเบิด แผน่ ดินไหว ไฟไหม้ป่า ก๊าซธรรมชาติอากาศเสยี ท่ีเกิดข้ึน โดย
ธรรมชาตเิ ป็นอันตรายตอ่ มนุษยน์ อ้ ยมาก เพราะแหล่งกา้ เนดิ อยู่ไกลและปรมิ าณที่เข้าสสู่ ภาพ
แวดลอ้ มของมนษุ ย์และสตั ว์มีน้อย กรณีทีเ่ กิดจากการกระท้าของมนุษย์ ไดแ้ ก่ มลพษิ จากทอ่ ไอ

เสยี ของรถยนต์จากโรงงานอุตสาหกรรมจากขบวนการผลติ จากกจิ กรรมดา้ นการเกษตรจากการ
ระเหย ของกา๊ ซบางชนิด ซึ่งเกิดจากขยะมูลฝอยและของเสีย เป็นตน้

แหลง่ กาเนดิ สารมลพษิ ทางอากาศ

แหล่งก้าเนิดมลพษิ ทางอากาศทีส่ า้ คญั ของประเทศไทย แบง่ เปน็ 2 กลุ่มใหญ่ ๆ

ยานพาหนะ

โรงงานอุตสาหกรรม

ยานพาหนะกอ่ ให้เกิดปัญหามลพษิ ทางอากาศจ้ากดั เฉพาะในเขตชุมชนขนาดใหญ่ เช่น
กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล แตป่ ัญหามลพษิ ทางอากาศจากโรงงานอตุ สาหกรรม เปน็ ปัญหา
เฉพาะพ้ืนทีก่ ระจายอยู่ทว่ั ประเทศไทยท้ังในเขตชนบทและเขตเมอื ง

แหลง่ กาเนดิ จากยานพาหนะ

การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจอยา่ งรวดเรว็ ของประเทศจากภาคเกษตรกรรม มาเปน็
ภาคอตุ สาหกรรมท้าให้กรุงเทพมหานครซ่งึ เปน็ ศูนย์กลางของแหล่งธุรกจิ และความเจรญิ มีจ้านวน
ประชากรเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเรว็ ท้าใหเ้ กิดความตอ้ งการในการเดินทางและการขนสง่ มากยิ่งข้ึน
ส่งผลให้เกดิ ปญั หาจราจรติดขัดเข้าขัน้ วิกฤต และนบั วันจะทวคี วามรนุ แรงมากขึ้นเรือ่ ยๆ
การจราจรท่ตี ดิ ขดั ทา้ ใหร้ ถเคลือ่ นตวั ไดด้ ้วยความเร็วต่า้ มีการหยุดและออกตัวบ่อยครั้ง ขน้ึ น้ามัน
ถูกเผาผลาญมากข้ึน การสันดาปของนา้ มันเชือ้ เพลงิ ไม่สมบรู ณ์ และมกี ารระบายสารมลพษิ ทางทอ่
ไอเสียในสดั ส่วนทเ่ี พิ่มมากขน้ึ ดังน้นั บริเวณท่ใี กลถ้ นนที่มกี ารจราจรตดิ ขัด จะมีปัญหามลพิษทาง
อากาศท่ีรุนแรงกวา่ ในบริเวณทมี่ กี ารจราจรคลอ่ งตัว สารมลพิษท่รี ะบายเข้าสู่บรรยากาศท่ีเกดิ
จาก การคมนาคมขนสง่ ได้แก่ กา๊ ซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน สารประกอบ
ไฮโดรคารบ์ อน ฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ กว่า 10 ไมครอน สารตะกั่วและก๊าซซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์

แหล่งกาเนิดจากโรงงานอตุ สาหกรรม

 ชอื้ เพลิงที่เปน็ ของแข็ง
 เชื้อเพลิงท่ีเป็นของเหลว ได้แก่ น้ามันเตา และน้ามันดเี ซล
 เชือ้ เพลิงท่ีเปน็ ก๊าซ ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ และก๊าซ LPG

มลพษิ ทางนา

1. ธรรมชาติ แหลง่ น้าต่างๆ อาจเกิดจากการเน่าเสียไดเ้ องเม่ืออยู่ในภาวะทีข่ าดออกซิเจน ส่วน
ใหญ่มสี าเหตุเกิดจากการเพม่ิ จ้านวนอยา่ งรวดเรว็ ของแพลงค์ตอน แลว้ ตายลงพร้อม ๆ กนั เม่อื
จลุ ินทรีย์ทา้ การยอ่ ยสลายซากแพลงค์ตอนทา้ ใหอ์ อกซเิ จนในนา้ ถูกน้าไปใชม้ าก จนเกดิ การขาด
แคลนได้ นอกจากน้กี ารเน่าเสยี อาจเกิดได้อกี ประการหน่งึ คือ เม่ือน้าอย่ใู นสภาพนิ่งไม่มีการ
หมนุ เวยี นถ่ายเท

2. น้าทิง้ และสิง่ ปฏิกลู จากแหล่งชุมชน ได้แก่ อาคาร บา้ นเรือน ส้านักงาน อาคารพาณชิ ย์
โรงแรม เปน็ ตน้ ส่ิงปะปนมากับน้าทิ้งประกอบดว้ ยสารอินทรยี ์ซึง่ จะถกู ย่อยสลายโดยผยู้ ่อยสลาย
สาร อนิ ทรีย์ที่ส้าคญั คอื แบคทเี รีย ซง่ึ มที ้ังแบคทเี รียแอโรบกิ (aerobic bacteria) เป็นแบคทเี่ รยี ท่ี
ต้องใชอ้ อกซเิ จนอสิ ระในการยอ่ ยสลายสารอินทรยี ์ กับแบคทีเรียแอนาโรบิก (anaerobic
bacteria) เปน็ แบคทีเรียที่ยอยสลายสารอินทรีย์ได้โดยไม่ตอ้ งอาศัยออกซเิ จนอิสระ

ผลกระทบของมลพิษทางนา
1. การประมง น้าเสียท้าใหส้ ตั วน์ ้าลดปรมิ าณลง น้าเสยี ที่เกิดจากสารพิษอาจท้าให้ปลาตายทนั ที
ส่วนน้าเสียท่ีเกดิ จากการลดตา่้ ของออกซิเจนละลายในนา้ ถึงแมจ้ ะไม่ทา้ ให้ปลาตายทันที แตอ่ าจ
ท้าลายพืชและสัตวน้าเลก็ ๆ ทเี่ ป็นอาหารของปลาและตัวอ่อน ท้าให้ปลาขาดอาหาร กอ่ ให้เกิดผล
เสียหายต่อการประมงและเศรษฐกจิ ปริมาณออกซเิ จนละลายในน้าถ้าหารลด จ้านวนลงมาก ๆ
ในทนั ทกี อ็ าจท้าให้ปลาตายได้นอกจากนี้น้าเสยี ยังท้าลายแหลง่ เพาะวางไข่ ของปลาเนอื่ งจากการ
ตกตะกอนของสารแขวนลอยในนา้ เสยี ปกคลุมพื้นทวี่ างไขข่ องปลา ซึง่ เป็นการหยุดย้ังการแพร่พันธุ์
ท้าให้ปลาสญู พันธุ์ได้
2. การสาธารณสุข นา้ เสยี เปน็ แหล่งแพร่เช้ือโรค ทา้ ใหเ้ กิดโรคระบาด เช่น โรคอหวิ าตกโรค
ไทฟอยด์ บดิ เปน็ แหลง่ เพาะเชื้อยุงซ่ึงเปน็ พาหะของโรคบางชนดิ เช่น มาเลเรยี ไข้เลอื ดออก และ
สารมลพษิ ทป่ี ะปนในแหลง่ นา้ ถา้ เราบรโิ ภคท้าให้เกิดโรคต่าง ๆ เชน่ โรค มนิ ามาตะ เกดิ จากการ
รับประทานปลาทมี่ สี ารปรอทสงู โรคอิไต-อไิ ต เกดิ จากการไดร้ ับสาร แคดเมียม

มลพิษทางนา เปน็ ปญั หาทางน้ามีสาเหตุส้าคัญมาจากการนา้ ทิง้ จากโรงงานอตุ สาหกรรม ซึง่ เปน็
น้าเสียจากขนั้ ตอนและกระบวนการผลติ การล้าง ขบวนการ หลอ่ เย็น เป็นต้น แมว้ า่ จะมีกฎหมาย
บังคบั ให้โรงงานอตุ สาหกรรมต้องบ้าบัดนา้ ทิ้งเหล่าน้ีกอ่ นปลอ่ ยออกสแู่ หลง่ น้าธรรมชาติก็ แต่
ในทางปฏบิ ตั ิรฐั บาลไม่สามารถควบคุมได้อย่างทั่วถึง การก่อสร้างอาคารบ้านเรือนและชุมชน
โดยเฉพาะในชมุ ชนเขตเมอื งเช่น กรงุ เทพมหานคร ทมี่ ีประชากรอาศยั อยหู่ นาแน่นทุกครวั เรือน
ปล่อยนา้ ทิง้ สแู่ หลง่ น้าธรรมชาตโิ ดยตรง มไิ ด้ผ่านขบวนการก้าจดั ใดๆ นอกจากน้ี ยังมกี ารทงิ้ ขยะ
มูลฝอยและส่งิ ปฏิกลู ต่างๆ ลงสู่แม่น้าลา้ คลองอนั เป็นการเพ่ิมความสกปรกใหก้ บั แหล่งน้าต่างๆ อีก
ด้วย

รวมทั้งการเพาะปลูกและเลีย้ งสตั ว์ ในกระบวนการเพาะปลูกมักมกี ารใช้ปุ๋ยและสารเคมี
ป้องกัน ก้าจดั ศตั รพู ืชและสัตวซ์ ง่ึ เกษตรกรส่วนใหญ่ใชอ้ ย่างขาดความระมดั ระวัง ท้าให้สารเคมี
แพร่กระจายสแู่ หลง่ นา้ ซง่ึ อาจเกดิ ข้ึนไดใ้ นระหวา่ งการฉดี พน่ สาร การชะล้างโดยฝน การล้าง
ภาชนะทบ่ี รรจุหรืออปุ กรณก์ ารฉีดพน่ ในแหลง่ น้า วิธกี ารแกไ้ ขปัญหา ไม่ท้งิ ขยะ ลดการใช้
พลาสติกใหน้ ้อยลง

มลพษิ ทางป่าไม้

ปา่ ไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติท่มี ีความส้าคญั อย่างย่ิงตอ่ ส่ิงมชี ีวิต ไม่ว่าจะเปน็ มนษุ ย์หรอื
สตั ว์อ่ืน ๆ เพราะป่าไมม้ ีประโยชน์ท้งั การเป็นแหลง่ วัตถดุ ิบของปัจจยั
สี่ คือ อาหาร เคร่อื งนงุ่ หม่ ทอ่ี ยู่อาศัยและยารกั ษาโรคสา้ หรบั มนุษย์ และยังมปี ระโยชนใ์ นการ
รกั ษาสมดุลของสิ่งแวดล้อม ถ้าป่าไมถ้ ูกทา้ ลายลงไปมาก ๆ ย่อมสง่ ผลกระทบต่อสภาพแวดลอ้ ม
ทเี่ กี่ยวขอ้ งอืน่ ๆ เช่น สัตว์ปา่ ดิน นา้ อากาศ ฯลฯ เมื่อปา่ ไม้ถกู ทา้ ลาย จะสง่ ผลไปถึงดิน
และแหลง่ นา้ ด้วย เพราะเมอ่ื เผาหรือถางปา่ ไปแล้ว พ้นื ดนิ จะโล่งขาดพชื ปกคลมุ เม่อื ฝนตกลงมา
กจ็ ะชะล้างหน้าดนิ และความอุดมสมบูรณ์ของดินไป นอกจากนนั้ เมอื่ ขาดตน้ ไม้คอยดดู ซับน้าไวน้ า้
กจ็ ะไหลบา่ ทว่ มบ้านเรือน และท่ลี มุ่ ในฤดนู า้ หลากพอถงึ ฤดแู ลง้ ก็ไมม่ ีน้าซมึ ใตด้ ินไวห้ ลอ่ เลี้ยงตน้
น้าลา้ ธารท้าให้แม่นา้ มนี ้าน้อย สง่ ผลกระทบตอ่ มาถึงระบบเศรษฐกิจและสงั คม เช่น การขาด
แคลนนา้ ในการการชลประทานทา้ ให้ท้านาไม่ได้ผลขาดนา้ มาผลิตกระแสไฟฟา้

1. ปา่ ดงดิบ (Tropical Evergreen Forest or Rain Forest)

ปา่ ดงดิบทม่ี อี ยู่ท่วั ในทุกภาคของประเทศ แตท่ ่มี ีมากท่สี ุด ได้แก่ ภาคใตแ้ ละภาค
ตะวันออก ในบริเวณนีม้ ฝี นตกมากและมคี วามช้ืนมากในทอ้ งทีภ่ าคอืน่ ป่าดงดิบมกั
กระจายอยู่บริเวณท่ีมีความชุ่มช้นื มาก ๆ เชน่ ตามหบุ เขาริมแมน่ ้าล้าธาร หว้ ย แหล่ง
นา้ และบนภูเขา
2. ป่าสนเขา (Pine Forest)

ปา่ สนเขามักปรากฎอยู่ตามภูเขาสงู สว่ นใหญ่เปน็ พน้ื ท่ซี ่ึงมีความสงู ประมาณ 200-1800
เมตร ขึ้นไปจากระดบั นา้ ทะเลในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ บางทอี าจ
ปรากฎในพืน้ ที่สูง 200-300 เมตร จากระดับนา้ ทะเลในภาคตะวนั ออกเฉยี งใต้ ป่าสนเขามี
ลักษณะเป็นป่าโปรง่ ชนิดพันธ์ไุ ม้ท่สี ้าคญั ของปา่ ชนิดน้คี อื สนสองใบ และสนสามใบ สว่ นไม้ชนิด
อ่นื ที่ขึน้ อยูด่ ้วยไดแ้ กพ่ ันธ์ุไมป้ ่าดบิ เขา เชน่ กอชนิดต่าง ๆ หรอื พนั ธุไ์ ม้ป่าแดงบางชนดิ คือ
เตง็ รงั เหยี ง พลวง เป็นต้น

ประโยชน์ทางตรง

1. จากการน้าไม้มาสร้างอาคารบ้านเรือนและผลิตภัณฑต์ า่ ง
ๆ เช่น เฟอร์นิเจอร์ กระดาษ ไมข้ ดี ไฟ ฟนื เป็นต้น
2. ใช้เปน็ อาหารจากส่วนตา่ ง ๆ ของพชื และผล
3. ใช้เสน้ ใย ทไ่ี ด้จากเปลือกไมแ้ ละเถาวลั ย์มาถักทอ เปน็ เครื่องน่งุ หม่ เชือกและอ่ืน ๆ
4. ใชท้ ้ายารกั ษาโรคต่าง ๆ

ประโยชนท์ างออ้ ม

1. ปา่ ไม้เป็นเป็นแหล่งกา้ เนิดต้นน้าลา้ ธารเพราะตน้ ไม้จ้านวนมากในป่าจะทา้ ให้น้าฝนท่ี
ตกลงมาค่อย ๆ ซึมซับลงในดิน กลายเปน็ น้าใต้ดนิ ซึ่งจะไหลซมึ มาหล่อเลยี้ งใหแ้ ม่นา้ ล้า
ธารมนี า้ ไหลอยู่ตลอดปี
2. ปา่ ไมท้ ้าให้เกิดความชุ่มชืน้ และควบคุมสภาวะอากาศ ไอน้าซง่ึ เกดิ จากการหายใจของ
พชื ซึ่งเกดิ ข้ึนอยมู่ ากมายในปา่ ท้าให้อากาศเหนอื ป่ามีความชนื้ สูงเมอ่ื อุณหภูมิลดต้่าลงไอ
น้าเหลา่ น้นั กจ็ ะกลัน่ ตวั กลายเปน็ เมฆแลว้ กลายเป็นฝนตกลงมา ทา้ ให้บริเวณที่มพี ื้นป่าไม้
มคี วามชุ่มชื้นอยูเ่ สมอ ฝนตกตอ้ งตามฤดูกาลและไม่เกดิ ความแหง้ แลง้
3. ปา่ ไม้เปน็ แหลง่ พกั ผอ่ นและศึกษาความรู้ บริเวณป่าไม้จะมีภมู ิประเทศท่ีสวยงามจาก
ธรรมชาตริ วมทัง้ สตั วป์ ่าจงึ เปน็ แหล่งพักผ่อนหย่อนใจได้ดี นอกจากน้นั ปา่ ไมย้ งั เป็นที่รวม
ของพนั ธ์ุพชื และพนั ธ์ุสตั ว์จ้านวนมาก จงึ เป็นแหล่งใหม้ นุษยไ์ ดศ้ กึ ษาหาความรู้
4. ปา่ ไมช้ ว่ ยบรรเทาความรุนแรงของลมพายุและปอ้ งกนั อทุ กภัย โดยช่วยลดความเร็ว
ของลมพายุท่พี ัดผ่านได้ตัง้ แต่ ๑๑-๔๔ % ตามลกั ษณะของป่าไมแ้ ต่ละชนดิ จึงช่วยให้
บ้านเมืองรอดพ้นจากวาตภัยได้ซ่งึ เปน็ การปอ้ งกันและควบคุมน้าตามแม่น้าไม่ให้สงู ขน้ึ มา
รวดเร็วลน้ ฝ่งั กลายเป็นอุทกภัย
5. ปา่ ไม้ช่วยปอ้ งกนั การกัดเซาะและพดั พาหนา้ ดนิ จากน้าฝนและลมพายโุ ดยลดแรง
ปะทะลงการหลุดเลือนของดินจงึ เกิดข้ึนน้อย และยังเป็นการช่วยใหแ้ ม่นา้ ล้าธารต่าง ๆ ไม่
ตนื้ เขินอีกดว้ ย นอกจากน้ีปา่ ไมจ้ ะเปน็ เสมือนเครอ่ื งกดี ขวางตามธรรมชาติ จงึ นบั ว่ามี
ประโยชน์ในทางยุทธศาสตรด์ ว้ ยเช่นกัน



จัดทาโดย

นายเจตพฒั น์ ปาณราตรี
นายธนบดี คาประชา


Click to View FlipBook Version