The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sassy_mam, 2018-09-02 23:34:24

งาน แฟ้ม 2018

งาน แฟ้ม 2018

รายงานประวตั แิ ละผลงาน
ในการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน

ของครูอตั ราจา้ ง ประจาปีการศกึ ษา 2560

โดย
นางสาวศศธิ ร งามแพง

ตาแหน่ง ครอู ัตราจา้ ง
แผนกสามัญสมั พนั ธ์ ภาษาอังกฤษ

วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง

ตาบลทา่ ประดู่ อาเภอเมือง จังหวดั ระยอง
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

แบบรายงานผลการปฏิบัติงานของครูพิเศษ
วิทยาลัยเทคนิคระยอง

………………………………………….



สาขาวชิ า ...ภาษาองั กฤษ...........................................ประเภทวชิ า ...........สามญั สมั พันธ์...................

๑. ข้อมลู ผู้ขอรายงานผล
๑.๑ ชอื่ -สกุล นางสาวศศธิ ร งามแพง อายุ ๓๐ ปี วัน เดือน ปี (เกิด).วนั ท่ี ๒๑ มีนาคม ๒๕๓๑.................
หมโู่ ลหิต...เอบี.................
เรม่ิ ทางานต้ังแตว่ นั ท่ี ...........๒๓............เดอื น....พฤษาคม.....พ.ศ..๒๕๕๖ . รวมระยะเวลาการทางาน ๔ ปี

เดือน
๑.๒. คณุ วฒุ ทิ างการศึกษา

๑ ๒.๑วุฒปิ ริญญาตรีครศุ าสตร์บัณฑติ (คบ.๕ป)ี วชิ าเอกภาษาอังกฤษ
จากสถาบันการศึกษา สถาบันมหาวทิ ยาลัยราชภัฎสรุ นิ ทร์.

ตาแหน่ง ครพู ิเศษ สถานศึกษา วิทยาลยั เทคนิคระยอง อาเภอ เมืองระยอง จังหวัด ระยอง .
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา - ส่วนราชการ สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา .
รับเงินเดอื นในอัตรา ๘,๓๔๐ บาท
๑.๓.ประวตั ิการหยดุ ราชการ
ที่ วดป. ลาป่ วย ลากจิ ลาคลอด/ ลาเข้ารับ ลาศึกษา ขาด หมายเหตุ

อปุ สมบท การคัดเลอื ก ต่อ ราชการ
คร้ั วนั คร้ั วนั คร้ั วนั คร้ัง วนั คร้ัง วนั คร้ัง วนั
งงง
๑ ๑ตุลาคม ๒ ๒
๒๕๖๐
ถึง ๓๑
มีนาคม๖๑
๒ ๓๐เมษายน- ๑ ๑
๒๔
สิงหาคม
๒๕๖๑





๒. การปฏบิ ัติงานในปที ี่รายงานผลการปฏิบัตงิ าน
สายงานการสอน
๒.๑ การปฏบิ ตั ิการสอน ( ชนั้ /ระดบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้/สาขา หรือรายวิชาตามท่สี อน )



ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.)

ลาดับที่ รายวิชา/รหัสวิชา จานวนคาบ/ ระดับช้นั สาขางาน
สปั ดาห์ ปวช.๑
ปวช.๑/,๓ บช.,ปวช.๑/๓,๔ชย.
๑ ภาษาองั กฤษในชวี ติ จรงิ ๑(๒๐๐๐ ๑๒๐๑) ๑๘ ปวช.๒ ,ปวช. ๑/๑กร,ปวช๑ ๗,๘ชอ.
ปวช.๒ ปวช ๑/๑, ๒ชก.ปวช.๑/๑ เลขา.
๒ ภาษาองั กฤษฟังพดู ๑ (๒๐๐๐-๒๑๐๓) ๑๔ ,ปวช ๑/๑คอม , ปวช.๑/๑,๒
๒ ชช
๓ ภาษาองั กฤษการเขียนในชีวติ ประจาวนั
(๒๐๐๐ ๑๒๐๖) ๓๒ คาบ ปวช๓ คอม
รวม

๒.๑.๕กระบวนการจัดการเรียนการสอน

ขา้ พเจา้ ไดจ้ ดั กระบวนการเรียนรู้ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั โดยส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนไดพ้ ฒั นาตนเองตาม

ธรรมชาติและเตม็ ตามศกั ยภาพ ในปี การศึกษา ..................ดงั น้ี

คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  หนา้ ( ) ที่ท่านไดป้ ฏิบตั ิในการจดั กระบวนการเรียนรู้

1) จดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย สอดคลอ้ งกบั สาระมาตรฐานและผเู้ รียน โดยมีวธิ ีการสอน

ภาคทฤษฎี ดงั น้ี

( ) แบบบรรยาย ( ) แบบสาธิต ( ) แบบบรู ณาการ ( ) แบบอ่ืนๆ ...............................

2) จดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่เนน้ การปฏิบตั ิจริง และเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ดงั น้ี

( ) ปฏิบตั ิในช้นั เรียน ( ) ปฏิบตั ิในหอ้ งปฏิบตั ิการ ( ) ปฏิบตั ิในโครงการอาชีวบริการฯ

3) ใชส้ ่ือ นวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษา เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ตามศกั ยภาพของตนเอง

ดงั น้ี

( ) ใบความรู้ ( ) ใบงาน ( ) แผน่ ภาพ ( ) แผน่ ใส

( ) อื่นๆ ......................................................................................

4) การวดั ผลและประเมินผลที่สอดคลอ้ งกบั สมรรถนะทางวชิ าชีพแต่ละสาขาวชิ าชีพ ดงั น้ี

( ) การทดสอบทดสอบภาคฤทษฎี ( ) การทดสอบภาคปฏิบตั ิ ( ) การสังเกต

( ) การสมั ภาษณ์ ( ) การรายงาน ( ) แฟ้ มสะสมงาน

( ) การรายงานผลงาน ( ) การถาม-ตอบ

( ) การตรวจผลงาน



๓. ด้านวินัย
ขา้ พเจา้ นางสาวศศิธร งามแพง ตาแหนง่ ครูพเิ ศษ ไดป้ ฏิบตั งิ านโดยยดึ ม่นั ระเบียบวนิ ัยฯ ควบคุมพฤติกรรมตนเองให้อยู่
ในกฎระเบียบ ปฏิบัติตาม ข้อบังคับ กฏิกาของสังคม ในการปฎิบัติหน้าที่ในการสอนข้าพเจ้าได้ปลูปฝังให้นักเรียน
นักศึกษาเห็นคุณค่าในระเบียบวินัยเพ่ือความสุขของตนเองและสังคมหากแต่มีวินัยในตนเองแล้วก็จะนาไปสู่การมีวินัย
ในสังคมที่อยู่ร่วมกัน ดังน้ันหากคนในสังคมมีระเบียบวินัยในตนเองแล้วยังสามารถพัฒนาให้อยู่อย่างป็นระเบียบ
เรยี บรอ้ ยดว้ ย
๑.๑มีวินัยในตนเอง
๑.๑.๑ ขา้ พเจ้ามาปฎิบัติหนา้ ท่ีทุกวนั
๑.๑.๒ ขา้ พเจ้าได้ปฎิบตั ิตนโดยปฏิบัตติ ามกฎระเบียบ ข้อบงั คับ กฏิกาของสังคม
๔. ด้านการครองตนการปฏิบตั ิตน

ข้าพเจ้าได้ยดึ หลักการคลองตนการปฎบิ ตั ิตนใหเ้ ปน็ แบบอยา่ งที่ดีแก่นักเรยี น นกั ศกึ ษา โดยยึดหลกั ดังนี้
คณุ ธรรม หรอื เป็นสภาพคณุ งามความดีท่ีอยูป่ ระจาใจของแต่ละคน เป็นความรสู้ ึกผดิ ชอบชั่วดี ที่เกิดขน้ึ จาก
การเรยี นรู้ การวิเคราะห์ พิจารณาไตร่ตรองแลว้ พบวา่ สิ่งใดดี สิง่ ใดไม่ดี สิ่งใดควรปฏิบตั ิ ส่ิงใดไม่ควรปฏบิ ตั ิ ส่งิ ใด
ถูกต้อง ส่ิงใดไม่ถูกต้อง เปน็ ต้น เม่อื พิจารณาไตร่ตรองแล้วจงึ นามาปฏบิ ัติในชวี ติ ประจาวนั เพอ่ื ให้ชวี ติ ดาเนนิ ไปอยา่ ง
ถูกต้อง มีความสุข และยุติธรรม เรามักพบเสมอว่า คนท่มี ีคุณธรรมจะรักษาความยตุ ธิ รรม และมีเมตตาต่อคนอนื่ เสมอ

ครูที่จะเป็นครอู าชีพ เป็นผู้ให้ ผเู้ ติมเตม็ และผมู้ เี มตตา ทาหนา้ ทอ่ี บรม ส่งั สอน ฝึกฝน ศษิ ยใ์ ห้เป็นคนดี มี
ความรู้ อย่ใู นสงั คมได้อยา่ งมีความสุขน้นั จาเปน็ ต้องมคี ุณธรรมประจาตน ใน เรือ่ ง คณุ ธรรม ๔ ประการ ฆราวาสธรรม
๔ สปั ปรุ สิ ธรรม ๗ และหริ ิ โอตตปั ปะ ดงั นี้

๑. คุณธรรม ๔ ประการ
ผู้ทป่ี ระกอบอาชีพครตู ้องน้อมนาพระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เมอ่ื คราวเสด็จพระราชดาเนิน
ทรงประกอบพระราชพิธบี วงสรวงสมเด็จพระบรู พมหากษัตริยาธริ าช พระราชพิธีฉลองสริ ริ าชสมบตั ิครบ ๖๐ ปี เมือ่
วันที่ ๙ มถิ ุนายน ๒๔๔๕ ความว่า “...คุณธรรม ซึง่ เป็นท่ีต้งั ของความรักความสามัคคี ทีท่ าใหค้ นไทย เราสามารถ
ร่วมมือร่วมใจกันรักษา และพัฒนาชาตบิ า้ นเมอื งให้เจริญ รุ่งเรืองสืบต่อกนั ไปได้ตลอดรอดฝั่ง ประการแรก คอื การท่ีทุก
คนคิด พดู ทา ด้วยความเมตตามุ่งดมี ุ่งเจริญต่อกนั ประการทีส่ อง คือการที่ แตล่ ะคนตา่ งช่วยเหลือเกื้อกลู กัน
ประสานงาน ประสานประโยชนก์ นั ให้งานทท่ี าสาเรจ็ ผล ทัง้ แกต่ น แกผ่ ู้อื่น และกับประเทศชาติ ประการทสี่ าม คือ
การที่ทุกคนประพฤติปฏบิ ตั ติ นอยใู่ นความสุจรติ ในกฎกติกาและในระเบียบแบบแผน โดยเทา่ เทียมเสมอกัน ประการที่
สี่ คือการท่ตี า่ งคนตา่ งพยายามทาความคิด ความเห็นของ ตนให้ถูกต้องเที่ยงตรง และมนั่ คงอยใู่ นเหตุในผล หาก
ความคดิ จิตใจ และการประพฤตปิ ฏิบัตทิ ล่ี งรอยเดยี วกนั ในทางทด่ี ี ท่เี จริญนี้ ยงั มี พรอ้ มมูลในกายในใจของคนไทย ก็
ม่นั ใจไดว้ า่ ประเทศชาติไทย จะ ดารงม่ันคงอย่ตู ลอดไปได้ ...จึงขอใหท้ ่านทัง้ หลายในมหาสมาคมน้ี ทง้ั ประชาชนชาว
ไทยทุกหมู่เหลา่ ไดร้ ักษาจติ ใจและคณุ ธรรมนี้ไวใ้ ห้ เหนยี วแนน่ และถา่ ยทอดความคิดจิตใจนี้กันต่อไปอย่าให้ขาดสาย
เพอ่ื ให้ประเทศชาตขิ องเราดารงยืนยงอยู่ด้วยความร่มเย็นเปน็ สุข ทัง้ ในปัจจบุ นั และในภายหนา้ ”
๒. ฆราวาสธรรม ๔
หลกั ธรรมสาหรับผู้ประกอบวชิ าชีพครูทจี่ ะใช้ยดึ ถือเปน็ คุณธรรมพ้นื ฐานของจิตใจ ในการครองชีวติ ครอง
เรอื นใหป้ ระสบความสุขสมบรู ณ์ และเปน็ แบบอย่างท่ดี ีแก่บุคคลทงั้ หลาย ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ คือ
๑) สจั จะ หมายถึง ความซ่ือสตั ย์ จริงใจตอ่ กัน ผูป้ ระกอบวิชาชีพครจู าเปน็ ต้อง อย่รู ว่ มกบั บุคคลอ่ืนในสังคม
การทีจ่ ะใหผ้ ูร้ ่วมงานเกดิ ความไว้วางใจ และมีไมตรจี ิตสนทิ ตอ่ กัน จาเป็นตอ้ งเป็นคนที่มีความซ่ือสตั ย์ จรงิ ใจตอ่ กัน ถ้า
ไมม่ สี จั จะเมอื่ ใดย่อมเปน็ เหตใุ ห้เกิดความ หวาดระแวงแคลงใจกัน เปน็ จุดเริ่มต้นแห่งความรา้ วฉาน ซ่งึ ยากนักทจี่ ะ
ประสานใหค้ นื ดีได้ ดงั เดิม



๒) ทมะ หมายถึง การร้จู ักบงั คบั ควบคุมอารมณ์ ขม่ ใจระงบั ความรู้สึกตอ่ ความ ผิดพลาด ความบกพร่องของ
ตนเองและผู้อนื่ ผูท้ จ่ี ะเปน็ ครูทีด่ ีตอ้ งร้จู ักฝกึ ฝน แก้ไขข้อบกพร่อง ปรับปรงุ ลักษณะนสิ ัยสว่ นตน ไม่เปน็ คนด้ือดา้ นเอา
แตใ่ จและอารมณต์ นเองเป็นสาคัญ ถา้ ผู้ท่ี ประกอบวิชาชีพครขู าดหลกั ธรรมขอ้ นี้ จะกลายเป็นคนท่ีไมส่ ามารถควบคุม
ตนเองได้ เป็นผทู้ ่ีไม่ มีความฉลาดทางอารมณ์ ไม่สามารถจัดการอารมณ์ ความร้สู ึกของตนเอง ทาใหข้ าดสัมพันธภาพที่
ดตี อ่ ผูร้ ว่ มงาน

๓) ขนั ติ หมายถึง ความอดทน อดกลัน้ ต่อความยากลาบาก ความเลวร้ายอุปสรรค ท้ังปวง ทเี่ กดิ ขน้ึ ท้ังตอ่ ตนเอง
และการปฏบิ ัติงานในหนา้ ท่ี การอยู่รว่ มกับคนหมู่มากย่อมมีการ กระทบกระท่ังกันบา้ ง ทั้งเร่ืองความคิด ความเชอ่ื
ทัศนคติ การกระทาต่าง ๆ มีเหตลุ ่วงเกินกัน อย่างรุนแรง ซ่ึงอาจจะเปน็ ถ้อยคาหรือกริ ยิ าอาการ จะโดยต้งั ใจหรอื ไม่ก็
ตาม ก็ต้องร้จู ักอดกลั้น ระงบั ใจ ไม่ก่อเหตุให้เรื่องลุกลามกวา้ งขยายต่อไป นอกจากน้ี ยังตอ้ งมีความอดทนต่อความยาก

ลาบากในการประกอบงานอาชพี โดยเฉพาะเม่อื เกดิ ความผดิ พลาด ความบกพร่อง ความไมเ่ ข้าใจ ไม่ก้าวหน้า
ก็ต้องไมต่ โี พยตีพาย แต่มสี ติอดกลั้น คิดหาอบุ าย ใชป้ ัญญาหาทางแก้ไขสถานการณ์ เหตุการณต์ ่าง ๆ ใหล้ ุลว่ งไปด้วยดี

๔) จาคะ หมายถึง ความเสียสละ มีนา้ ใจ เอื้อเฟ้อื เผ่ือแผ่ แบง่ ปนั กนั การอยู่ ร่วมกนั ในสงั คมถ้าครมู ี
ความเหน็ แก่ตวั คอยจ้องแต่จะเปน็ ผรู้ บั เอาแตป่ ระโยชน์ใส่ตวั โดยไม่คานึง

ถึงคนอน่ื กจ็ ะเปน็ คนที่ไม่มีความสุข ไม่มเี พอ่ื น ไม่มีคนคบคา้ สมาคมด้วย การจะเป็นคนท่ไี ด้รับ การยอมรับ
เปน็ ทรี่ ักของเพอื่ น ๆ จะต้องรู้จกั ความเป็นผใู้ ห้ดว้ ย การให้มใิ ชห่ มายถึงแตเ่ พยี ง การเอ้ือเฟื้อ เผ่ือแผ่ แบ่งปันทรัพย์
สงิ่ ของซ่ึงมองเห็นและเขา้ ใจไดง้ า่ ยๆ เทา่ นั้น แต่ยังหมายถงึ การใหน้ ้าใจแกก่ นั และกนั ดว้ ย

๓. สปั ปุรสิ ธรรม ๗ คุณธรรมนี้เหมาะสาหรับครเู ปน็ อย่างย่ิง เพราะจะชว่ ยให้เปน็ คนสมบรู ณแ์ บบ หรือคนที่
สมบรู ณพ์ ร้อม ส่งผลใหม้ คี วามเช่อื มนั่ เปน็ ผูน้ า สอนสั่งลูกศษิ ย์ใหม้ ชี วี ิตทเี่ ป็นสุขได้ นอกจากนีย้ งั ใช้เปน็ หลักชว่ ยในการ
พิจารณาว่าบุคคลใดเปน็ คนดีหรอื ไมด่ ีได้อกี ด้วย คนดีตอ้ งมี คุณสมบตั ิ ๗ ประการ ดงั นี้

๑) รหู้ ลักและรจู้ กั เหตุ (ธมั มญั ญตุ า) คือ ร้หู ลักการและกฎเกณฑข์ องสง่ิ ทั้งหลาย ท่ตี นเขา้ ไปเก่ยี วข้องใน
การดาเนนิ ชวี ิต ในการปฏบิ ัติหนา้ ทีแ่ ละดาเนนิ กจิ การตา่ ง ๆ รู้เข้าใจสิง่ ทตี่ นจะต้องประพฤติปฏบิ ตั ิตามเหตผุ ล เช่น รู้
ว่าตาแหน่ง ฐานะ อาชพี การงานของตนเองเปน็ อยา่ งไร มีหนา้ ทแ่ี ละความรับผิดชอบอยา่ งไร นอกจากนยี้ งั ต้องรหู้ ลัก
ความจรงิ ของธรรมชาตวิ า่ ของหลักการทต่ี นปฏบิ ตั ิ เข้าใจวตั ถปุ ระสงคข์ องงานที่ตอ้ งปฏิบัติ รูว้ า่ สิ่งท่ีตนทาอยู่ ดาเนิน
ชวี ิต อย่นู ั้น เพ่อื ประโยชนอ์ ะไร หรือควรจะได้รบั อะไร การทางานตามหน้าท่ี ตาแหน่ง ฐานะการงาน อย่างน้ัน ๆ เขา
กาหนดวางกนั ไว้เพ่ือความมุ่งหมายอะไร งานทต่ี นทาอยู่ขณะนีเ้ มื่อทาไปแลว้ จะ บังเกิดผลอะไรบ้างเป็นผลดหี รือผลเสยี
อย่างไรเปน็ ต้น

๓) ร้ตู น (อตั ตญั ญตุ า) คือ รจู้ กั และเข้าใจตนเองว่าเป็นใคร มีความรู้ ความถนดั ความสามารถพเิ ศษอะไร
เมื่อรูแ้ ลว้ จะไดน้ าไปประพฤติปฏิบัตใิ หเ้ หมาะสม ให้สอดคลอ้ งกับบุคลิกลักษณะ ของตนเองรู้จกั ปรบั ปรุงพฒั นาตนเอง
ให้มีความสมบูรณพ์ ร้อมย่ิงข้นึ ไป

๔) รปู้ ระมาณ (มัตตัญญตุ า) คือ รู้จักความพอดี ความพอประมาณ เชน่ ร้จู กั ประมาณในการบรโิ ภค การใช้
จา่ ยทรัพย์ รจู้ ักความพอเหมาะพอดใี นการพูด การปฏบิ ัติหน้าที่ การงานต่าง ๆ ตลอดจนการพักผ่อนนอนหลับ และ
การสนุกสนานรนื่ เริง เป็นต้น ผูเ้ ปน็ ครตู อ้ ง ไมท่ าการทุกอย่างตามความชอบใจหรือเอาแต่ใจของตนเปน็ หลัก แตต่ ้องทา
ตามความพอดีแหง่ เหตปุ ัจจัยหรอื องค์ประกอบทงั้ หลายท่ีจะลงตัวให้เกิดผลดีงามตามที่มองเห็นดว้ ยปัญญา

๕) รกู้ าลเวลาอนั เหมาะสม (กาลญั ญตุ า) คือต้องรูร้ ะยะเวลาท่ีพึงใช้ในการ ปฏิบตั หิ น้าทก่ี ารงานต่าง ๆ เชน่
รวู้ ่าเวลาไหน ควรทาอะไร อยา่ งไร และทาให้ตรงเวลา ให้เป็น เวลา ให้ทนั เวลา ใหพ้ อเวลา ให้เหมาะเวลา ใหถ้ ูกเวลา
ตลอดจนรู้จกั บรหิ ารเวลาการใชเ้ วลา ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ



๖) รู้ชมุ ชน (ปริสญั ญตุ า) คือ รู้จักถิน่ รู้จักทชี่ ุมนุม และชมุ ชน รกู้ ารอันควร ประพฤติปฏบิ ัติตอ่ ชุมชนนน้ั ว่า
คนในชมุ ชนทเ่ี ราอยู่หรือเข้าไปอยู่ เราควรต้องทากิรยิ าหรือ ปฏบิ ตั ติ นอย่างนี้ สว่ นอีกชมุ ชนหน่ึงถา้ เราเขา้ ไปควรตอ้ งทา
กริ ยิ าหรอื ปฏบิ ัติอย่างน้ัน เพราะแต่ละ

ชุมชนมรี ะเบียบวนิ ยั ธรรมปฏบิ ตั ิ วัฒนธรรมประเพณีแตกตา่ งกนั การทเ่ี ราเรยี นร้ชู มุ ชนก็เพ่ือ เขา้ ใจ เขา้ ถึง
เขา้ กบั ชุมชนได้ จนสามารถช่วยเหลือ สัง่ สอน แนะนา และพัฒนาชุมชน

๗) ร้บู คุ คล (ปคุ คลัญญุตา) คือ รจู้ กั และเขา้ ใจความแตกต่างระหว่างบุคคลว่า แตล่ ะคนมคี วามรู้
ความสามารถ ความถนัด ความสนใจ แตกตา่ งกัน เม่ือแต่ละคนแตกตา่ งกัน ดงั น้ันเราจึงตอ้ งรูจ้ ักท่จี ะปฏบิ ตั ติ ่อบุคคล
อ่ืน ๆ ใหเ้ หมาะสมดว้ ย การสั่งสอนฝกึ อบรมก็ต้องให้ พอดี พอเหมาะ พอควร ให้ถกู กับจรติ หรือลักษณะของแต่ละคน
เพราะคนเรามลี ีลาการเรยี นรู้ แตกต่างกัน

๔. หริ ิ โอตตปั ปะ หลกั ธรรมน้เี มอ่ื ผู้ที่ประกอบอาชพี ครปู ฏบิ ตั ิแล้ว จะชว่ ยให้อยรู่ ว่ มกนั ในสังคม โลกไดอ้ ย่าง
สันติสขุ ถอื วา่ เปน็ คุณธรรมท่ีใช้ค้าจุน คุ้มครองโลกใหม้ ีความสขุ ไดน้ นั่ เอง ก่อนอนื่ คงต้องทาความเข้าใจความหมาย
ของคาสองคานก้ี ่อน คือ

หริ ิ แปลวา่ ความละอายแก่ใจ, ความละอายในการประพฤติชว่ั โอตตปั ปะ แปลว่า ความเกรงกลวั ตอ่ ผล
การทาช่ัว, ความหวาดกลัว ตอ่ ผลชว่ั ไมก่ ลา้ ทาเหตชุ ัว่ ตอ่ ไปอกี

เกษม วฒั นชยั (๒๕๔๙, ๑๖๗) เสนอแนะเงือ่ นไขสกู่ ารมี หริ ิ โอตตปั ปะไว้ ดังน้ี
๑) ต้องรู้จกั แยก “ผดิ ชอบช่วั ดี” ๒) ชอื่ ในผลของความผิด-ชัว่ ชอบ-ดี ๓) จกั เลือก “ทางทชี่ อบ-ทด่ี ี” และ
ยดึ ม่ัน ปกป้องในความถูกตอ้ งเทีย่ งธรรม
๔) ปฎเิ สธและไมย่ อมรับ “ทางผิด-ทางช่วั ” ๕) หริ ิ-โอตตัปปะเป็นหลกั คิด เปน็ แนวทางในการตดั สินใจอยา่ ง
มีสติ
สมศักดิ์ ดลประสทิ ธ์ิ (อา้ งใน ปราชญา กล้าผจญั . ๒๕๔๙, ๔๐) ไดเ้ สนอแนะเส้นทางท่ี จะพฒั นาจิตใจสู่
คณุ ธรรมอย่างแท้จริง ไวด้ ังน้ี
๑. ประกอบอาชพี สุจรติ (เป็นมืออาชีพ)
๒. ฝกึ นิสยั การประหยัด อดออม ท้งั คนจน คนรวย และคนเคยรวย
๓. ปรบั พฤตกิ รรมการบรโิ ภค โดยเนน้ จติ สานึกในการใช้ทรัพยากรอย่าง ประหยัด โดยเฉพาะสาธารณูปโภค
๔. เสียภาษี และรว่ มกิจกรรมพัฒนาชุมชนของตนเอง
๕. เผยแพรว่ ฒั นธรรมไทย เอื้อเฟื้อ และสร้างความประทบั ใจแก่ผมู้ าเยือน
๖. อดทน และมุ่งมน่ั ในการประกอบอาชีพอย่างสจุ ริต
๗. บรโิ ภคแตส่ ่งิ ทจี่ าเปน็ ตอ่ รา่ งกาย และออกกาลงั กายด้วยการเลน่ กีฬาทีป่ ระหยดั
๘. ปฏิบัติตนใหส้ อดคลอ้ งกับบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนญู
ดังน้นั การแสดงถึงความเป็นผทู้ ีม่ คี ณุ ธรรมของผูป้ ระกอบวิชาชพี ครูจงึ ต้องมคี วามมงุ่ มั่น ในการประกอบอาชีพ
อยา่ งซื่อสัตย์ สจุ รติ อดทนอดกลั้น คดิ พิจารณาและตดั สนิ ใจอยา่ งมสี ติ

จรยิ ธรรมสาหรบั ครู

จรยิ ธรรม เปน็ เรอื่ งของความรู้สึก เป็นจติ สานกึ ของบคุ คล เป็นพฤตกิ รรมท่ี ถูกต้องดีงาม ท้ังทางกาย วาจา
และใจ เปน็ ปฏสิ ัมพนั ธ์ที่เหมาะสมทางสังคม เปน็ รากฐานของ สนั ติสุขท่ียง่ั ยืน คนเปน็ ครูจงึ ควรต้องสร้างจติ สานึกที่ดี
งามให้เกิดข้ึนในตนเอง ในสังคม ต้อง ซ่ือสัตย์สจุ รติ ตอ่ วชิ าชพี ของตนเอง มกี ารประพฤตปิ ฏิบตั ทิ แี่ สดงถึงความเปน็ ผู้มี



ธรรมะในใจ และ ต้องมีพนั ธสัญญา ตอ่ ตนเอง ตอ่ เพื่อนร่วมงาน ตอ่ หน่วยงานท่สี งั กดั และต่อ ประเทศชาติ เชน่ มี
เมตตากรุณา ซ่อื สัตย์สุจรติ เสียสละ รบั ผดิ ชอบ ยตุ ธิ รรม เปน็ ตน้ จรยิ ธรรมมที ่มี าจากแหล่งตา่ งๆกันกลา่ วคือ

๑. จริยธรรมเปน็ หลักการของธรรมชาตทิ ปี่ รากฏทวั่ ไป มีขอบเขตกว้างขวาง ครอบคลมุ สสารสิ่งแวดลอ้ มสภาพ
ธรรมชาติทั่วไปท่ีเป็นรูปธรรม

๒. จริยธรรมมาจากปรชั ญา คอื วิชาท่วี ่าด้วยหลักแห่งความร้แู ละความจรงิ สาระ ของปรัชญาจะกลา่ วถงึ
ลักษณะชีวติ ทีพ่ งึ ปรารถนาควรเปน็ อยา่ งไร ธรรมชาติของมนุษย์ สภาพ สังคมท่ีดี ความคิดเชงิ ปรชั ญาจะเปน็ ความเชือ่
อย่างมีเหตผุ ล ปรัชญาจะกล่าวถงึ ความดี ความงาม ค่านยิ มเพื่อจะไดย้ ึดถือเป็นหลกั ปฏิบัตติ อ่ ไป

๓. จริยธรรมเปน็ ข้อกาหนดทางศาสนา เรยี กวา่ ศีลธรรม เพราะ ศาสนาทกุ ศาสนาได้กาหนดหลักปฏบิ ัติไว้
เพ่ือใหม้ นษุ ย์อยรู่ ่วมกนั ในสงั คมอยา่ งมีความสุข โดย มติ อ้ งเบยี ดเบียนหรือทาร้ายซึง่ กนั และกัน

๔. จริยธรรมมาจากค่านิยมต่าง ๆ ซงึ่ แตล่ ะสังคมจะมคี า่ นิยมที่แตกตา่ งกันได้ เนื่องจากแตล่ ะสงั คมมีความ
แตกต่างในเร่อื งเชื้อชาติ ศาสนา ความเช่อื วฒั นธรรม และประวตั ิ ความเปน็ มา

๕. จริยธรรมมาจากสังคมแต่ละสังคมท่ีกาหนดข้อบังคบั วิธปี ฏบิ ัตขิ องสมาชิกไว้ เนือ่ งจากพฤติกรรมหรือการ
กระทาของมนษุ ย์มีทัง้ ดีและไม่ดี ซึง่ อาจสัมผสั ไดด้ ว้ ยประสาทสัมผัส ท้ังห้า การกาหนดกฎขอ้ บังคับข้ึนมาก็ เพื่อใช้
ควบคมุ ให้สมาชกิ อย่รู ่วมกนั ได้อย่างสันติสุข เม่ือ สมาชิกในสังคมยอมรับ และปฏบิ ัติตดิ ตอ่ กันนานเข้า จนไดร้ ับการ
ยอมรับสืบทอดกนั มาเป็น ขนบธรรมเนียมประเพณีตา่ งๆน่ันเอง

๖. จรยิ ธรรมมาจากวรรณคดี วรรณคดีเป็นหนงั สอื ทม่ี ีมาตรฐานทง้ั ดา้ นเนือ้ หา สาระและคณุ คา่ ชาติทเี่ จรญิ
แลว้ จะมีวรรณคดเี ป็นของตนเอง หนังสือวรรณคดจี ะมีคาสอนที่เป็น
ประโยชนข์ องจรยิ ธรรม

๑. ดา้ นตนเอง การปฏบิ ตั ติ ามหลกั จริยธรรมทาใหค้ นเราเป็นคนดี คนดยี ่อมมคี วาม สบายใจ อมิ่ เอิบใจ เพราะ
ได้ทาความดี จึงเป็นที่รักใคร่ชอบและชอบพอของคนอ่นื นอกจากนี ้ หลกั ธรรม เชน่ ความเพียร ความอดทน ความมี
วินัย ยงั ช่วยให้ประสบความสาเร็จในการงานดว้ ย

๒. ดา้ นสงั คม คนดีย่อมทาประโยชนแ์ ก่ตนเอง และคนอนื่ ด้วย การไม่ทาชวั่ เปน็ การลดภาระของสังคมทไ่ี ม่
ต้องแกป้ ญั หา การทาดจี งึ เป็นประโยชน์แก่สงั คม และช่วยให้สงั คม พัฒนาไปสคู่ วามเจริญ และเป็นตัวอยา่ งทดี่ ใี ห้แกค่ น
อนื่ ๆ คนดี จึงเปน็ ทรัพยากรบคุ คลท่ีมีคุณคา่

๓ . ด้านการรักษาจรยิ ธรรม จรยิ ธรรมเปน็ สิ่งท่ีดมี ีคุณคา่ ทั้งแกบ่ ุคคลและสังคม จะรักษาไว้ดว้ ยการปฏบิ ตั ิ
เพราะถา้ ไม่ปฏิบัติก็จะเป็นเพียงคาพูด หรือตวั หนงั สอื ทเี่ ขียนไว้ จะช่วยใคร ไม่ไดท้ งั้ สนิ้ ดงั นั้นการศกึ ษาจรยิ ธรรมและ
นาไปปฏิบตั ดิ ี จึงเป็นการรักษาจริยธรรมใหค้ งอยเู่ ช่นเดียวกับ พระภิกษุสงฆส์ บื ต่อพระพุทธศาสนาได้ดว้ ยการปฏิบัติดี
ปฏิบตั ิชอบ ตามคาสง่ั สอนของพระพุทธเจา้ พระพุทธศาสนาจงึ ดารงมาไดจ้ นถงึ ปัจจบุ ัน คนทัว่ ไปก็สามารถรักษา
จรยิ ธรรมของศาสนาไดด้ ว้ ยการ ปฏบิ ตั ิเช่นเดียวกนั การปฏิบัตจิ ึงให้คุณแกต่ น แก่สังคม และเป็นการรักษาจรยิ ธรรมไว้
ให้เป็นประโยชน์ แกอ่ นชุ นสืบ

๔. การพัฒนาบ้านเมือง ต้องพัฒนาจติ ใจก่อน หรืออย่างน้อยกต็ ้องควบคไู่ ปกบั การพัฒนาเศรษฐกจิ สังคม
และอน่ื ๆ ด้วย เพราะการพัฒนาที่ไมม่ ีมีจรยิ ธรรมเป็นแกนนาก็จะสูญเปล่า เพราะทาให้บคุ คลลมุ่ หลงในวัตถุ และ
อบายมุขมากขน้ึ การท่เี ศรษฐกิจตอ้ งเสื่อมโทรม ประชาชน ยากจน สาเหตหุ นึ่งก็คอื คนในสังคมละเลยจริยธรรม ม่งุ แต่
จะกอบโกยผลประโยชน์สว่ นตน ขาด ความเมตตาปราณี แล้งนา้ ใจ เหน็ แก่ตวั โดยไม่คานงึ ถึงคนอ่ืนและสงั คมโดย
สว่ นรวม การพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมรวมทัง้ การเมืองจึงไม่ประสบความสาเรจ็ เท่าที่ควร

๕. จริยธรรมชว่ ยควบคุมมาตรฐาน รบั ประกนั คุณภาพและปริมาณที่ถกู ต้องในการ ประกอบอาชพี ในการผลิต
และในการบรกิ าร ถา้ ผ้ผู ลิตมีจรยิ ธรรมก็จะผลิตสนิ ค้าท่ีมีคุณภาพไม่ ปลอมปน อะไรไม่ดกี บ็ อกวา่ ไม่ดี อะไรว่าดีก็บอก
ว่าดี จรยิ ธรรม จงึ เปน็ เรื่องของความซอ่ื สัตย์ สจุ รติ ยตุ ธิ รรม ชว่ ยให้มาตรฐานสินคา้ ดีมีคณุ ภาพ ลดปัญหาการคดโกง
ฉอ้ ฉล เอารัดเอาเปรยี บ เหน็ แกต่ ัวเหน็ แก่ไดต้ ลอดจนความใจแคบไมย่ อมเสียสละ ผู้ท่ปี ระกอบอาชีพครูต้องอยรู่ ว่ มกัน



ในสงั คมรว่ มกับบคุ คลอนื่ ซึ่งมอี าชีพแตกตา่ งกนั ซง่ึ แต่ละคน แต่ละอาชพี ล้วนมีบทบาท มหี น้าที่การงานทีต่ ้องปฏบิ ัติ
แตกตา่ งกัน แต่สิง่ ที่ทุกคน

ตอ้ งมีเหมอื นกัน คือ ทกุ คนมีจรยิ ธรรมประจาตน หากทุกคนรับรู้บทบาทหนา้ ท่ขี องตน และมี จริยธรรมตาม
บทบาทหนา้ ทนี่ ้ัน ๆ เปน็ อยา่ งดี สังคมกส็ งบสุข อยรู่ ่วมกันไดอ้ ย่างรม่ เยน็ เป็นสขุ เป็นสงั คมทีด่ ี มีคุณภาพ ครอบครวั
อบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง จรยิ ธรรมของผู้ประกอบอาชพี ครูมดี ังนี้

๑. จริยธรรมตอ่ ตนเอง ประกอบอาชพี ครูต้องปฏิบัตติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดี มีคุณธรรมจริยธรรมเป็นหลกั ยดึ
ประจาตน เชน่ รู้รักสามคั คี ซ่ือสัตย์สุจริต เสียสละ มนี ้าใจ เมตตากรุณา ยุตธิ รรม กตัญญูกตเวที รักษาระเบยี บวนิ ัย มี
ความอุตสาหะ รู้จักความพอเพียง พอประมาณ มีเหตมุ ีผล มจี ิตสานกึ สาธารณะ เปน็ ต้น

๒. จรยิ ธรรมต่อบตุ รธิดา บิดามารดามหี น้าท่ีเลี้ยงดูบุตรธิดาให้มคี วามสุข พอเหมาะกับฐานะของตนเอง
นอกจากน้ี ยงั ต้องให้การอบรม ส่ังสอน ชแ้ี นะแนวทางท่ีถูกท่ีควร ทเี่ หมาะสม เพ่ือให้เป็นคนดีมี คณุ ธรรมอยูใ่ นสังคม
อยา่ งมีความสุข

๓. จริยธรรมต่อภริยาหรอื สามี บคุ คลที่ไดช้ ่ือว่าเป็นภรยิ า หรอื สามถี ือวา่ เปน็ บคุ คลคนเดยี ว ดังน้นั จึงต้องมี
ความรักใคร่ ปรองดองกนั ให้เกียรตซิ ง่ึ กนั และกนั ภาระงานในบา้ นก็ไม่ควรเกย่ี งกนั ต้องช่วยกันทา แบ่งเบาภาระซ่ึง
กนั และกนั ภรรยาก็ไม่วา่ หรอื นนิ ทาสามี สามีก็ไม่นนิ ทาวา่ ร้ายภรรยา ท้งั ในและ นอกบ้านดังคาที่วา่ “ความในไมใ่ หน้ า
ออกความนอกไมใ่ ห้นาเขา้ ”

๔. จรยิ ธรรมต่อบิดามารดา บิดามารดาเปน็ บุพการีผใู้ ห้กาเนดิ บุตรจึงมหี นา้ ท่ีตอบแทนพระคุณท่านในขณะ
ที่มชี วี ิตอยู่ เชน่ เล้ียงดูท่านให้มคี วามสุขสบาย สมฐานะ ชว่ ยทาธรุ การงานให้ท่านรักษาพยาบาล เม่อื เจบ็ ป่วย พูดคุย
พาเทย่ี วเมื่อมีโอกาส ฯลฯ และเมื่อทา่ นล่วงลบั ไปแลว้ ก็ทาบญุ อุทิศส่วนกุศล ให้ท่านกล่าวถงึ พระคุณท่านใหบ้ ุตรหลาน
รบั รเู้ ป็นตน้

๕.จริยธรรมต่อลกู ศษิ ย์ ครูตอ้ งให้ความรักต่อลูกศษิ ยเ์ หมือนกบั บุตรของตนเอง เพราะครเู ปรยี บเหมือนกับ
บดิ ามารดาคนท่ีสองของศษิ ย์ ดังนัน้ ครูตอ้ งมอบความรักใหก้ ับศษิ ย์ มีเมตตากรุณา มีความ ยุตธิ รรม ว่ากลา่ วตกั เตอื น
เมอ่ื ศิษยก์ ระทาผิด ไม่เปิดเผยความลบั ของศิษย์ เปน็ ตน้ ๖. จรยิ ธรรมต่อชุมชน สงั คม และประเทศชาติ ครูต้อง
ปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมืองดขี องชาติ เคารพกฎหมาย ปฏิบัติงานอาชีพด้วย ความสจุ รติ เสยี ภาษอี ากรอย่างถูกต้อง ไมม่ ัว
เมาหลงใหลในยศ ตาแหนง่ ใชจ้ า่ ยอย่างประหยดั ไม่ฟงุ้ เฟ้อ ไม่มัวเมาล่มุ หลงในอบายมุข หรือทางท่นี าไปสคู่ วามเสื่อม
เป็นตน้

นอกจากจรยิ ธรรมสาหรบั อาชีพครูดังกล่าวขา้ งตน้ แลว้ ขา้ พเจ้าพฤติกรรมตา่ ง ๆ ทแ่ี สดง ถงึ ความเป็นผู้มีความ
ยึดม่ันในวชิ าชพี ด้วย ดังนี้

๑. ประพฤติตนดสี ม่าเสมอ เป็นแบบอยา่ งท่ีดีของเพ่อื นรว่ มงาน ผ้รู บั บริการ
๒. มีความละอายต่อบาป สะดุง้ กลัวต่อการทาความช่วั ท้ังปวง ไม่ปฏิบตั ิทุจรติ ตา่ ง ๆ ท้ังต่อตนเอง ต่อเพื่อน
ร่วมงาน และต่อผู้บงั คับบัญชา หมายรวมไปถงึ ประเทศชาติดว้ ย
๓. มคี วามอดทนอดกล้นั ตอ่ ความยากลาบากต่าง ๆ อดทนต่องานที่ร้อน หนัก ทนทุกข์ทรมาน ตลอดทง้ั อดทน
ตอ่ คาดุด่า ว่ากลา่ ว การกล่าวหา การเข้าใจผิด ของผู้อ่นื ฯลฯ
๔. รกั ษาคาพดู เป็นคนมีศลี มีสัตย์ คงเส้นคงวา ตรงต่อเวลา
๕. รกั ษาช่อื เสยี ง และคา่ นยิ มของหนว่ ยงาน พยายามเผยแพร่ชื่อเสียงของ หนว่ ยงานของตนเอง ใหเ้ กียรติคณุ
ชือ่ เสยี งนน้ั ขจรขจายออกไป
๖. มคี วามสามารถในการส่งเสริมการทางานเป็นทีม เป็นหมคู่ ณะได้ดี
๗. เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดรี ะหว่างผู้บงั คับบญั ชา เพื่อนรว่ มงาน และชมุ ชน ๘. วางตนเหมาะสม เขา้ กบั
ชนทกุ ชนั้ ไดด้ ี ถ้อยทีถ้อยปราศรยั อ่อนโยน นมุ่ นวล เอาใจเขามาใส่ใจเรา รู้จักกาลเทศะ หนกั แน่น ไม่เย่อหย่ิง ไมถ่ ือตัว



๙. รจู้ กั อปุ การะ คือทาคณุ ประโยชนแ์ กบ่ ุคคลอน่ื ทาบุญ บรจิ าคทาน ชว่ ยเหลอื สงั คม คนตกทุกข์ไดย้ าก คน
พกิ าร

๑๐. ไม่มีอคติใด ๆ ในการปฏบิ ัติงานกบั ผอู้ น่ื ไม่ว่าจะเปน็ ผู้บรหิ าร เพ่อื นรว่ มงาน หรือผรู้ บั บริการ

๕.ด้านการเรยี นการสอน
ดา้ นของการจดั ทาการเรยี นการสอนข้าพเจา้ ไดม้ ีการปฏิบตั หิ น้าทดี่ งั น้ี
๕.๑. การจัดการเรียนรู้

๑. ๑. การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ และการเรยี นรู้ท่ีคาดหวังสาระการเรียนรู้ระดับคุณภาพ
ระดบั ๑ มีความร้คู วามเข้าใจเร่ืองมาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและสาระการเรียนรู้
ระดับ ๒ สามารถวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวังและสาระการเรียนรู้
ระดับ ๓ นาผลการวิเคราะห์ไปใชใ้ นการวางแผนจดั การเรียนรู้
๕.๒. การออกแบบการเรียนรู้

ระดับคุณภาพ
ระดับ ๑ มีความร้คู วามเขา้ ใจเรื่องการออกแบบการเรยี นรู้
ระดบั ๒ สามารถออกแบบการเรยี นรู้
ระดบั ๓ นาผลการออกแบบการเรยี นรู้ไปใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ได้
๕.๓. การวิจัยและแกป้ ัญหาและพัฒนาผู้เรียน

ระดบั คณุ ภาพ
ระดับ ๑ มคี วามร้คู วามเขา้ ใจเรื่องการวจิ ยั เพ่อื การเรยี นรู้และพฒั นาผู้เรยี น
ระดบั ๒ ทาวิจัยเพื่อแกป้ ัญหาและพัฒนาผูเ้ รยี นได้
ระดับ ๓ มกี ารรายงานการวิจัยท่ีแสดงถึงการแก้ปญั หาและพฒั นาผู้เรยี น
๕.๔. การรายงานผลการเรียนรู้
ระดบั คุณภาพ
ระดบั ๑ มคี วามรู้ความเข้าใจเร่ืองการรายงานผลการเรยี นรู้
ระดับ ๒ สามารถจดั ทารายงานผลการเรยี นรขู้ องผู้เรียนได้
๕๕.การพฒั นาความสามารถในทางวชิ าการ

๕.๕.๑การพัฒนาสอื่ นวตั กรรมในการจัดการเรยี น
๕.๕.๒.การพัฒนาสถานศกึ ษา

๕.๕.๓ ปฏบิ ัตงิ านบรหิ ารทวั่ ไปตามที่ไดร้ ับมอบหมาย
๕.๕.๔ กระตือรือรน้ ในการปฏิบตั งิ านบริหารท่วั ไปตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
๕.๕.๖ปฏิบตั ิงานบรหิ ารท่วั ไปตามท่ีได้รบั มอบหมายจนเกิดผลสาเร็จและทนั เวลาที่กาหนด
๕.๕.๗ ปฏบิ ัติงานโครงการหรือกจิ กรรมพฒั นาสถานศึกษาและสังคม
๖.ดา้ นการเขา้ ร่วมกิจกรรม
ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมกิจกรรมกับทางสถานศึกษาไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมที่ร่วมกับชุมชน หรือกิจกรรมภายใน
สถานศกึ ษา ดงั กจิ กรรมดังกล่าวตอ่ ไปน้ี
๖.๑ กิจกรรมหนา้ เสาธง
๖.๒ ตอนรับนกั เรียนนักศึกษาตอนตามตารางเวรท่ีรับมอบหมาย
๖.๓ กจิ กรรมทาบุญตกั บาตรทุกเทศการสาคญั ทางพระพุทธศาสนา
๖.๔ กิจกรรมวนั ไหวค้ รู ไหวอ้ งพระวิษณุกรม
๖.๔ กจิ กรรมกฬี าภายในสถาบนั

๑๐

๖.๕ กจิ กรรมช่วยเหลือสงั คม
๖.๖ กจิ กรรมการเข้าค่ายภาษาองั กฤษทที่ างหมวดวชิ าภาษาตา่ งประเทศไดจ้ ัดขน้ึ ในทกุ ๆปี
๖.๗ ร่วมกจิ กรรมสนั ทนาการตา่ งๆท่ที างวทิ ยาลยั จดั ขึน้ เป็นตน้
รวมถงึ กจิ กรรมอืน่ ๆอกี มากมาย ทั้งหมดนี้ข้าพเจ้ายินดีร่วมกิจกรรมและต้ังใจปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ
ของขา้ พเจา้ โดยหวังใหเ้ กดิ ผลสาเรจ็ กับนกั เรียนนกั ศกึ ษาและสถานศึกษา

๗. ดา้ นหนา้ ท่ีทไี่ ด้รับมอบหมาย
นอกจากภาระหนา้ ที่การสอนในช้นั เรียนแลว้ น้นั ขา้ พเจา้ ยงั พฒั นาทางวิชาการ เช่น

๗.๑ การจัดทาแผนการสอนในแต่ละปีการศึกษา
๗.๒การพฒั นาสือ่ นวัตกรรมในการจดั การเรยี น
๗.๓.การพัฒนาสถานศึกษา
๗.๔ ปฏิบัตงิ านบรหิ ารท่ัวไปตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
๗.๕ กระตือรอื รน้ ในการปฏิบัตงิ านบรหิ ารทัว่ ไปตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
๗.๖ปฏิบตั ิงานบริหารทวั่ ไปตามที่ได้รับมอบหมายจนเกดิ ผลสาเรจ็ และทันเวลาท่ีกาหนด
๗.๗ ปฏิบัตงิ านโครงการหรอื กจิ กรรมพัฒนาสถานศกึ ษาและสังคม

๘. ด้านผลงานดีเดน่
๘.๑ เป็นผูช้ ว่ ยฝกึ สอนนกั ศกึ ษาเข้าแขง่ ขนั ทักษะทางวิชาการ

๙.ดา้ นความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์
๙.๑ ข้าพเจา้ ได้จัดทาแผนการเรยี นการสอน
๙.๒ จดั ทาโครงการสอน
๙.๓ จัดทาวิจยั ในช้นั เรยี น

ขอรบั รองว่าขอ้ มลู ดังกล่าวข้างตน้ ถกู ตอ้ ง และเป็นความจรงิ

(ลงชอ่ื ) ผ้ขู อรับการประเมนิ
(นางสาวศศธิ ร งามแพง)
ตาแหนง่ ครูพิเศษ

วนั ท่ี เดอื น เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑

การตรวจสอบและรบั รอง
การตรวจสอบและรับรองของหัวหน้าแผนกวิชา
ไดต้ รวจสอบแลว้ รับรองวา่ ขอ้ มลู ถูกต้อง และเปน็ ความจรงิ

ลงช่ือ

๑๑

( นางสาวอญั ชลี ภญิ โญพรสวัสด์ิ)
ตาแหนง่ หัวหนา้ แผนกวชิ าภาษาต่างประเทศ

วันที่ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑


Click to View FlipBook Version