The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

049-ซีตีฟาตีม๊ะ-รายงานสหกิจศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by seeteefateemah.69, 2021-04-20 01:51:24

049-ซีตีฟาตีม๊ะ-รายงานสหกิจศึกษา

049-ซีตีฟาตีม๊ะ-รายงานสหกิจศึกษา

รายงานการปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศึกษา

ผลงานวารสารชือ่ “เร่อื งเลา่ ข่าวคณะแพทย์”
Portfolio of Journal Names "News Stories from the Medical Faculty"

โดย
นางสาวซีตีฟาตีมะ๊ หมานเหม
รหสั ประจำตัวนกั ศึกษา 160414770049

ปฏบิ ัติงาน ณ
คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์
ทอ่ี ยู่ เลขท่ี 15 ถนน กาญจนวณิชย์ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่

จังหวัดสงขลา รหัสไปรษณีย์ 90110

รายงานนี้เปน็ สว่ นหนึ่งของวิชาสหกจิ ศกึ ษา
สาขาเทคโนโลยสี ื่อสารมวลชน

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ยั
ปีการศกึ ษา 2563

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย
เลขท่ี 1 ถ.ราชดำเนนิ นอก ต.บ่อยาง
อ.เมือง จ.สงขลา 90000

วนั ท่ี 5 เมษายน พ.ศ. 2564

เร่อื ง ขอส่งรายงานการปฏบิ ัติงานสหกจิ ศึกษา
เรียน อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาสหกจิ ศึกษา สาขาเทคโนโลยีสอ่ื สารมวลชน อาจารย์ปิตพิ งศ์ เกิดทพิ ย์ และ
อาจารย์ขจรศักด์ิ พงศธ์ นา

ตามที่ข้าพเจ้า นางสาวซีตีฟาตีม๊ะ หมานเหม นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน คณะ
ครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ได้ไปปฏิบัติสหกิจ
ศึกษา ระหว่างวันที่ 7 ธันวามคม พ.ศ. 2563 ถึง 2 เมษายน พ.ศ. 2564 ณ คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ศึกษาและจัดทำรายงานผลงานวารสารชื่อ “เรื่องเล่าข่าวคณะ
แพทย”์ Portfolio of Journal Names "News Stories from the Medical Faculty"

บัดนี้ การปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศึกษาได้สน้ิ สดุ ลงแลว้ ข้าพเจา้ ถึงขอส่งรายงานดังกล่าวมาพรอ้ มกัน
นี้ จำนวน 1 เลม่ เพ่ือขอรบั คำปรกึ ษาต่อไป

จงึ เรียนมาเพื่อโปรดพจิ ารณา

ขอแสดงความนบั ถือ

(นางสาวซตี ีฟาตมี ๊ะ หมานเหม)



ช่อื รายงานปฏิบัติสหกิจศึกษา ผลงานวารสารชอ่ื “เรอื่ งเลา่ ข่าวคณะแพทย์”
ผู้รายงาน นางสาวซีตฟี าตีม๊ะ หมานเหม
คณะ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
สาขาวชิ า เทคโนโลยีสือ่ สารมวลชน

…………………………………………………………….
(ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์จักรกฤษฎ์ แก้วประเสริฐ)

หวั หน้าหลกั สูตร

…………………………………………………………….
(อาจารยป์ ิติพงศ์ เกิดทิพย)์
อาจารย์ท่ปี รึกษาสหกจิ ศกึ ษา

…………………………………………………………….
(อาจารยข์ จรศกั ด์ิ พงศธ์ นา)
อาจารย์ทปี่ รึกษาสหกิจศกึ ษา

…………………………………………………………….
(นางสาวอนงคน์ าถ ธนาจริยวงศ)์
พนกั งานทีป่ รึกษา

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั อนุมัติใหน้ ับรายงานการปฏบิ ตั ิงานสหกจิ ศกึ ษาฉบบั นี้
เปน็ ส่วนหนงึ่ ของการศึกษา ตามหลักสูตรคณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยี
สือ่ สารมวลชน

…………………………………………………………….
(…………………………………………………………)
คณบดคี ณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี



ชอื่ รายงาน ผลงานวารสารชือ่ “เร่ืองเล่าข่าวคณะแพทย์”
ชื่อนกั ศกึ ษา นางสาวซตี ฟี าตีม๊ะ หมานเหม
รหัสนักศกึ ษา 160414770049
สาขาวชิ า เทคโนโลยีส่อื สารมวลชน
อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา อาจารยป์ ิติพงศ์ เกิดทิพย์
อาจารยข์ จรศักด์ิ พงศธ์ นา
ปกี ารศกึ ษา 2563

บทคัดยอ่

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะที่ตั้งขึ้น เนื่องจากปัญหาทางด้าน
สาธารณสุขของภาคใต้ ความขาดแคลนบุคลากรทางด้านการแพทย์ และสาธารณสุขของประเทศ
รวมทั้งเพื่อให้ให้การดำเนินการเป็นไปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 3
คณะแพทย์ จงึ ไดร้ บั การจัดต้ังข้นึ เป็นคณะลำดับที่ 4 ของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์

สภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้เล็งเห็นความจำเป็นและมีมติเห็นควร ให้จัดตั้งคณะ
แพทยศาสตร์ในวันที่ 11 กันยายน 2511 แล้วดำเนินการในการ ขอจัดตั้งตามขั้นตอนของระบบ
ราชการ จนกระทั่งถึงวันที่ 17 สิงหาคม 2514 สภาการศึกษาแห่งชาติก็ได้อนุมัติให้จัดตั้งคณะ
แพทยศาสตร์เปน็ คณะหน่งึ ของมหาวทิ ยาลัย

จากการที่ได้เข้าฝึกปฏิบัติงานสหกิจ ณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานเปน็ ผู้ช่วยนักประชาสัมพันธ์ ฝ่ายองค์กรสัมพันธ์และกิจกรรมพิเศษ ซ่ึง
งานที่ตนได้รับมอบหมายนั้นเป็นงานเขียนบทความข่าว และออกแบบสื่อต่าง ๆ โดยมีเครื่องมอหลัก
ในการทำงานคือ Adobe Illustrator ใช้ในการออกแบบตัวชิ้นงาน ใช้ Adobe Photoshop ในการ
ออกแบบโปสเตอร์ และใช้ Adobe Lightroom ในการแต่งภาพทจี่ ะนำไปประกอบเป็นภาพขา่ ว



กติ ตกิ รรมประกาศ

การท่ีข้าพเจ้าได้มาปฏิบตั ิงานสหกจิ ศึกษา ณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์

ระหว่างวันที่ 7 ธันวามคม พ.ศ. 2563 ถึง 2 เมษายน พ.ศ. 2564 ส่งผลให้ข้าพเจ้าได้รับความรู้ และ

ประสบการณ์ต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานจริง ซงึ่ บดั นี้การปฏิบัติสหกิจไดส้ ำเรจ็ ลงด้วยดจี าก

1. นางสาวกนกวรรณ อินทรตั น์ ตำแหน่ง หัวหน้างานประชาสัมพันธ์

2. นางสาวอารนี ชุ นนั ทรตั น์วิบูล ตำแหนง่ ฝา่ ยธุรการ

3. นายเกาะวาร์ แซอ่ ยุ๋ ตำแหน่ง ฝา่ ยออกแบบสอ่ื สิ่งพมิ พ/์ กิจกรรมพเิ ศษ

4. นางสาวอนงค์นาถ ธนาจริยวงศ์ ตำแหนง่ ฝา่ ยองค์กรสัมพันธแ์ ละกจิ กรรมพเิ ศษ

5. นายชาคร นมิ่ นวล ตำแหนง่ ฝ่ายผลิตโทรทศั น์

6. นายวชิ ัย กาเล่ียง ตำแหนง่ ฝา่ ยผลติ โทรทัศน์

7. นางสาวกลั ยา ศภุ รพพิ ัฒน์ ตำแหน่ง ฝ่ายออกแบบเว็บไซต์

8. นายกอบกติ ต์ แซ่ลี ตำแหนง่ ฝ่ายออกแบบเว็บไซต์

และบุคลากรท่านอื่น ๆ ที่ไม่ได้กล่าวนามทุกท่าน ที่ได้ให้คำแนะนำช่วยเหลือในการจัดทำ

รายงาน ทัง้ นี้ ข้าพเจ้าใคร่ขอขอบพระคุณ ผมู้ สี ่วนเกี่ยวข้องทุกท่านท่ีมีส่วนร่วม ในการให้ข้อมูลเป็นท่ี

ปรกึ ษาในการทำรานงานฉบบั น้ีจนเสรจ็ สมบูรณ์ ตลอดจนให้การดูแล และให้ความเข้าใจเก่ียวกับชีวิต

ของการทำงานจริง ขา้ พเจา้ ขอขอบพระคุณไว้ ณ ที่นี้

นางสาวซีตฟี าตีม๊ะ หมานเหม
ผู้จดั ทำรายงาน
2 เมษายน 2564

สารบัญ จ

จดหมายนำสง่ หนา้
หนา้ อนมุ ตั ริ ายงาน
บทคดั ยอ่ ก
กติ ตกิ รรมประกาศ ข
สารบญั ค
สารบัญตาราง ง
สารบญั ภาพ จ
บทท่ี 1 บทนำ ฉ

1.1 บทนำ
1.2 รายละเอียดเกีย่ วกับองค์กร 1
1.3 พนักงานท่ีปรึกษา และตำเเหนง่ งานของพนักงานท่ีปรึกษา 2
1.4 ตำแหน่งงาน และขอบเขตงานที่รบั ผดิ ชอบ 8
1.5 วัตถุประสงค์ 8
1.6 ข้ันตอนการดำเนนิ งาน 9
1.7 ระยะเวลาท่ปี ฏบิ ัติ 9
1.8 ผลทคี่ าดว่าจะได้รบั 9
บทท่ี 2 ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง 9
2.1 โปรแกรม Adobe Photoshop
2.2 โปรแกรม Adobe Illustrator 10
2.3 โปรแกรม Adobe Lightroom 11
2.4 โปรแกรม Microsoft Word 12
2.5 วารสาร 14
2.6 ภาพข่าวเพื่อการประชาสมั พันธ์ 16
บทที่ 3 รายละเอยี ดของงานทปี่ ฏบิ ัติ 24
3.1 รายละเอยี ดงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย
3.2 รายละเอียด และขอบเขต ผลงานวารสาร 28
3.3 ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน 29
29

สารบัญ (ต่อ) จ

บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน หน้า
4.1 ผลการดำเนนิ งาน
4.2 ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับจากการปฏิบตั ิงานสหกจิ 30
4.3 วเิ คราะห์ SWOT Analysis (การวเิ คราะห์ตนเอง) 45
46
บทที่ 5 สรปุ ปัญหาและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผล 48
5.2 ปญั หาและอุปสรรค 48
5.3 ข้อเสนอแนะในการปฏบิ ัตงิ านสหกิจ 49
50
หนังสือยนิ ยอม 51
บรรณานกุ รม 53
ภาคผนวก

สารบัญตาราง ฉ
ตารางท่ี 1 การวิเคราะห์ SWOT ตนเอง
หน้า
46



สารบญั ภาพ

หน้า

ภาพที่ 1.1 ตราสญั ลักษณ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ท์ 3
ภาพที่ 1.2 ตราสญั ลักษณ์ PSU คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินท์ 3
ภาพที่ 1.3 แผนท่มี หาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 8
ภาพท่ี 2.1 สญั ลักษณ์ โปรแกรม Adobe Photoshop 10
ภาพท่ี 2.2 สญั ลกั ษณ์ โปรแกรม Adobe Illustrator 12
ภาพที่ 2.3 สัญลักษณ์ โปรแกรม Adobe Lightroom 13
ภาพท่ี 2.4 สญั ลกั ษณโ์ ปรแกรม Microsoft Word 14
ภาพที่ 2.5 วารสารวิชาการ 16
ภาพท่ี 2.6 วารสารเชงิ วจิ ารณ์หรอื วารสารปริทัศน์ 17
ภาพท่ี 2.7 วารสารบันเทิงหรือนติ ยสาร 17
ภาพท่ี 2.8 วารสารทว่ั ไป 18
ภาพที่ 2.9 วารสารวิชาการหรือวารสารเฉพาะวชิ า 18
ภาพที่ 2.10 วารสารท่มี ลี กั ษณะก่ึงวิชาการ หรือวารสารเชิงวจิ ารณ์ 19
ภาพท่ี 2.11 วารสารวเิ คราะห์วิจารณข์ า่ ว 19
ภาพท่ี 4.1 เรียบเรียงบทความข่าว เรอ่ื ง สง่ มอบเคร่ืองเอกซเรย์ CT Scan ให้ รพ. ม.อ. 30
ภาพท่ี 4.2 ไปสัมภาษณ์ข่าวเพ่มิ เติม เรื่อง ตังกวนชวนนับ CPR Helper 30
ภาพท่ี 4.3 เรียบเรียงบทความข่าว เรือ่ ง ตงั กวนชวนนบั CPR Helper 30
ภาพท่ี 4.4 ไปสัมภาษณข์ ่าว นักศึกษาแพทย์ ไปจัดกจิ กรรมท่เี กาะหมาก 31
ภาพท่ี 4.5 ถอดเทปที่ได้จากการสมั ภาษณ์ นักศกึ ษาแพทย์ ไปจดั กจิ กรรมทเ่ี กาะหมาก 31
ภาพท่ี 4.6 เรยี บเรียงบทความ เรื่อง นกั ศึกษาแพทยจ์ ดั โครงการทเ่ี กาะหมาก จ.พัทลงุ 31
ภาพที่ 4.7 ไปสัมภาษณ์แพทยท์ ่ีคิดค้น อปุ กรณถ์ า่ งลิ้น P-SURF-2 31
ภาพที่ 4.8 ถอดเทปจากการสัมภาษณ์ เร่ือง อุปกรณถ์ ่างลิ้น 32
ภาพที่ 4.9 เรยี บเรียงบทความข่าวท่ีได้จากการสัมภาษณ์ เร่อื ง อปุ กรณถ์ ่างลิ้น 32
ภาพที่ 4.10 เรยี บเรยี งเขียนบทความ คณะแพทย์จดั ประชมุ วิชาการ HA โรงพยาบาลภาคใต้ 32
ภาพท่ี 4.11 เตรียมข้อคำถามไปสัมภาษณ์ เรื่อง เครื่อง 3D Printer 32
ภาพท่ี 4.12 ถอดเทปจากการสัมภาษณ์ เรื่อง เคร่ือง 3D Printer 33
ภาพที่ 4.13 เรยี บเรยี งบทความขา่ วที่ไดจ้ ากการสัมภาษณ์ เรอ่ื ง เคร่ือง 3D Printer 33
ภาพที่ 4.14 ถอดเทปจากการสัมภาษณ์ เรอื่ ง Application Sleepmore 33



สารบญั ภาพ (ต่อ)

หน้า

ภาพท่ี 4.15 เรียบเรียงบทความข่าวที่ไดจ้ ากการสัมภาษณ์ เรือ่ ง Application Sleepmore 33
ภาพที่ 4.16 ถอดเทปจากการสัมภาษณ์ เร่อื ง เจ้าหนา้ ที่ดูแลอาคารเย็นศิระ 34
ภาพท่ี 4.17 เรียบเรียงบทความจากการสัมภาษณ์ เร่ือง เจ้าหนา้ ทด่ี ูแลอาคารเย็นศริ ะ 34
ภาพที่ 4.18 ถอดเทปวดี ิโอ สัมภาษณ์ รศ.พญ.รตั นา ลลี าวัฒนา 34
ภาพที่ 4.19 ถอดเทปวดี ิโอ สัมภาษณค์ นเลย้ี งอาคารอาคารเย็นศิระ เคสพหี่ ญงิ พีจ่ อม 34
ภาพที่ 4.20 เรียบเรียงบทความสมั ภาษณ์คนเล้ยี งอาคารอาคารเย็นศิระ เคสพีห่ ญิงพจี่ อม 35
ภาพที่ 4.21 ไปสัมภาษณ์เจ้าหนา้ ทด่ี แู ลอาคารเย็นศริ ะ 35
ภาพที่ 4.22 เรียนรู้การถา่ ยในสตู เพอื่ เตรยี มถ่ายภาพบคุ ลากรต่าง ๆ ทที่ ำผลงาน 35
ภาพที่ 4.23 ถ่ายภาพสนิ ค้าเพอื่ ลงขาย ของมูลนิธิโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 35
ภาพที่ 4.24 ตดั ต่อวดี โิ อสมั ภาษณ์เจ้าหนา้ ที่อาคารเย็นศิระ 36
ภาพท่ี 4.25 ภาพถา่ ยจากการเข้ารว่ มจดั แถลงขา่ ว MOU สง่ -มอบ เครื่องเอกซเรย์ศพ
36
CT Scan
ภาพท่ี 4.26 ไป Event จัดเตรยี มอปุ กรณ์ ป้ายหน้างาน MK จัดกิจกรรมให้โรงพยาบาล 36
37
สงขลานครินทร์ 37
ภาพที่ 4.27 เขา้ ร่วมงานแถลงขา่ ว งานเปิดตัวก่อสร้างโครงการอาคารเยน็ ศริ ะ 3 37
ภาพท่ี 4.28 เขา้ รว่ มงานจดั พิธีทำบญุ ใหก้ ับผูท้ ีเ่ สยี ชีวิตในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 38
ภาพท่ี 4.29 จัดเตรยี มอปุ กรณ์ต่าง ๆ ทใี่ ชใ้ นการ Live สด รายการ live สาระกับหมอ ม.อ. 38
ภาพที่ 4.30 ถอดเทปจากรายการ Live สาระกบั หมอ ม.อ. เรอื่ ง เดก็ นอนกรน 38
ภาพที่ 4.31 ถอดเทปจากรายการ Live สาระกบั หมอ ม.อ. เรอ่ื ง อ้วน 39
ภาพท่ี 4.32 ถอดเทปจากรายการ Live สาระกับหมอ ม.อ. เรอื่ ง กรดไหลย้อน
ภาพที่ 4.33 ผลงานอินโฟกราฟกิ ใหค้ วามรูจ้ ากรายการ Live สาระกับหมอ ม.อ. 39
ภาพท่ี 4.34 ผลงานทำการ์ดส่งปใี หม่ นำไปพมิ พก์ ระดาษสต๊กิ เกอรต์ ดิ ของมอบของขวัญ 39
40
สวสั ดีปีใหม่
ภาพท่ี 4.35 คีย์ข้อมูล การตอบแบบสอบถามของพยาบาล 40
ภาพท่ี 4.36 จดั ส่งวารสาร ขา่ วคณะแพทย์ให้กับโรงพยาบาลตา่ ง ๆ
ภาพที่ 4.37 จัดเตรยี มการ์ดส่งความสุขปใี หม่ให้บุคลากรในหน่วยงานต่าง ๆ ในโรงพยาบาล

สงขลานครนิ ทร์



สารบัญภาพ (ต่อ)

หน้า

ภาพท่ี 4.38 เตรียมป้าย สแกน PSU care เพือ่ เช็คอนิ เขา้ สถานทีโ่ รงพยาบาลสงขลานครินทร์ 40

ภาพท่ี 4.39 ออกแบบปกวารสาร 41

ภาพท่ี 4.40 ออกแบบปกหลงั วารสาร 41

ภาพท่ี 4.41 ออกแบบคอลัมน์ประวตั ิคณะแพทย์ 42

ภาพท่ี 4.42 ออกแบบคอลมั น์บทความขา่ ว เรื่อง สง่ มอบเครอ่ื งเอกซเรย์ CT scan ให้ รพ. ม.อ. 42

ภาพท่ี 4.43 ออกแบบคอลัมน์บทความ เร่ือง ตังกวนชวนนับ CPR Helper 42

ภาพที่ 4.44 ออกแบบคอลมั น์บทความ เร่ือง นกั ศึกษาแพทยจ์ ดั โครงการทเ่ี กาะหมาก จ.พทั ลงุ 43

ภาพที่ 4.45 ออกแบบคอลมั น์บทความ เรอื่ ง เรอ่ื ง อุปกรณ์ถ่างลิ้น 43

ภาพท่ี 4.46 ออกแบบคอลัมน์หนา้ Infographic 43

ภาพท่ี 4.47 ออกแบบคอลัมน์แสดงความยนิ ดี อาจารย์แพทย์ท่ไี ดร้ บั รางวลั 44

ภาพที่ 4.48 ออกแบบคอลมั น์เรอื่ ง การจัดประชุมวิชาการ HA โรงพยาบาลภาคใต้ 44

ภาพท่ี 4.49 ออกแบบคอลัมน์เพ่อื ผู้อน่ื บทความสัมภาษณเ์ จา้ หน้าที่อาคารเยน็ ศิระ 44

ภาพที่ 4.50 ออกแบบคอลมั น์ เรือ่ ง Application Sleepmore 45

ภาพที่ 4.51 ออกแบบคอลัมน์ เรือ่ ง คนเล้ียงอาหารที่อาคารเย็นศิระ 45

บทที่ 1
บทนำ

1.1 บทนำ
การปฏิบัติงานสหกิจศึกษา เป็นการศึกษาที่ให้นักศึกษาได้ออกไปปฏิบัติงานจริง กับองค์กร

หรือสถานประกอบการจริง โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์ในสถานประกอบการตรงตาม
สาขาวิชา หรือความถนัดของนักศึกษา ได้นำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ในหอ้ งเรียนมาประยุกตใ์ ช้กับ
การทำงานจริงจากภายในองค์กร ภายใต้การควบคุมดูแลของพนักงานที่ปรึกษาขององค์กร และจาก
อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา เพอื่ เพมิ่ ศกั ยภาพแกต่ นเอง สามารถเรยี นรแู้ ละปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ที ่ีได้รับมอบหมายอย่าง
เตม็ ความสามารถ ท้งั เป็นการพฒั นาตนเองเกยี่ วกับการอยรู่ ว่ มกบั บุคคลอ่ืนในสังคม ทำให้นักศึกษาท่ี
ปฏบิ ัตงิ านสหกจิ น้ันได้ทกั ษะความรู้ และประสบการณ์ สามารถแก้ปญั หาเฉพาะหน้าเพื่อเตรียมพร้อม
สู่การปฏิบัติงานจริงในอนาคต และพร้อมที่สามารถต่อยอดจากการได้ทำงานจากที่ฝึกสหกิจศึกษา
เสร็จ ต่อองค์กรหรือสถานประกอบการ อ่ืน ๆ ต่อไปได้

การประชาสัมพันธ์ (Public Relation) มีบทบาทและมีความสำคัญ ในการที่จะช่วยสร้าง
ภาพลักษณ์ที่ดีให้เกิดแก่หน่วยงาน องค์กร และสถาบัน ให้ความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนรายงาน
ข่าวสาร กิจกรรม และการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของหน่วยงาน องค์กร และสถาบัน ในขณะเดียวกัน
การประชาสัมพันธ์กเ็ ปรียบเสมือนประตูที่เปิดรับความคิดเหน็ ของประชาชนที่มตี ่อหน่วยงาน องค์กร
และสถาบันน้นั ๆ งานดา้ นการประชาสัมพนั ธ์จึงเป็นท่ียอมรับและได้จัดดำเนินการกันอย่างกว้างขวาง
ทั้งในหน่วยงานของรัฐและเอกชน จึงจำเป็นทีบ่ คุ ลากรในหน่วยงาน องค์กร และสถาบันต้องศกึ ษาถึง
การประชาสัมพันธ์ เพื่อที่จะรู้จัก เข้าใจ และสามารถนำการประชาสัมพันธ์ไปใช้เป็นเคร่ืองมือในการ
สรา้ งความสำเรจ็ ใหเ้ กิดแก่หนว่ ยงาน องคก์ ร และสถาบนั

จากการฝึกสหกิจศึกษาในส่วน นักประชาสัมพันธ์ ในองค์กรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ ซึ่งมีหน้าที่เป็นผู้นักประชาสัมพันธ์ ฝ่ายองค์กรสัมพันธ์และกิจกรรมพิเศษ จัด
ดำเนนิ งานและกจิ กรมต่าง ๆ จดั ทำบทความข่าวในรปู แบบต่าง ๆ เพื่อประชาสัมพนั ธ์ ทำใหไ้ ด้เรียนรู้
ถึงกระบวนการ และหลักการการต่าง ๆ เกี่ยวกับการเป็นนักประชาสัมพันธ์ ซึ่งทำให้นักศึกษามี
ประสบการณจ์ ริงเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ตอ่ ในอนาคตไดจ้ ริง

2

1.2 รายละเอยี ดเกี่ยวกับองค์กร
คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นคณะที่ตั้งขึ้นเนื่องจากปัญหาทางด้าน

สาธารณสุขของภาคใต้และความขาดแคลนบุคลากรทางด้านการแพทย์ และสาธารณสุขของประเทศ
รวมทั้งเพื่อให้ให้การดำเนินการเป็นไปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 3
คณะแพทย์จึงได้รับการจดั ตงั้ ขน้ึ เป็นคณะลำดบั ท่ี 4 ของมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์

สภามหาวิทยลัยสงขลานครินทร์ได้เล็งเห็นความจำเป็นและมีมติเห็นควรให้จัดตั้งคณะ
แพทยศาสตร์ในวันที่ 11 กันยายน 2511 แล้วดำเนินการในการ ขอจัดตั้งตามขั้นตอนของระบบ
ราชการจนกระทั่งถึงวันที่ 17 สิงหาคม 2514 สภาการศึกษาแห่งชาติก็ได้อนุมัติให้จัดตั้งคณะ
แพทยศาสตรเ์ ป็นคณะหนึง่ ของมหาวทิ ยาลยั

ในวนั ที่ 27 ธันวาคม 2514 สภาปฏิวัตไิ ดแ้ ต่งตง้ั คณะกรรมการจัดตัง้ คณะแพทยศาสตร์ โดยมี
ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นประธานและคณะกรรมการชุดนี้ได้แต่งตั้ง อนุกรรมการ วางแผนรวม
(Master Planning Subcommittee) เพื่อวางแผนการดำเนินงานของคณะแพทย์ในระยะต้น โดยมี
รองศาสตราจารย์นายแพทย์เกษม ลิ่มวงศ์ เป็นประธานนายแพทย์ปราโมทย์ วีรานุวัตติ์ เป็น
เลขานกุ าร

จนลุล่วงถึงวันที่ 6 ตุลาคม 2515 จึงได้มีประกาศราชกิจจานุเบกษา ให้คณะแพทยศาสตร์
เป็นหน่วยงานระดับคณะของมหาวิทยลัยสงขลานครินทร์ ตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน 2515 และได้รับ
ความอนุเคราะหจ์ ากมหาวทิ ยาลัยมหิดล ใหใ้ ช้สถานท่ีของคณะเภสัชศาสตรเ์ ป็นสำนักงานชั่วคราว
สภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีมติให้ตั้งคณะแพทยศาสตร์ ณ วิทยาเขตหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

เมือ่ วนั ท่ี 15 พฤศจกิ ายน 2515 ประกอบด้วยภาควิชา เรม่ิ แรก 11 ภาควิชา กบั 2 หนว่ ยงาน
คณะแพทยศาสตร์สามารถรับนักศึกษารุ่นแรกได้ จำนวน 35 คนในเดือนมิถุนายน 2516 โดยใช้
สถานที่ของคณะวิทยาศาสตร์เป็นที่เรียนภาคทฤษฎี และระยะแรกใช้โรงพยาบาลหาดใหญ่และ
โรงพยาบาลสงขลา เปน็ ทีเ่ รยี นภาคปฏบิ ัติ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถได้เสด็จ พระราช-
ดำเนินมาทรงวางศิลาฤกษ์โรงพยาบาลคณะแพทยศาสตร์ เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2519 เพื่อให้เป็น
สถาบันทางด้านการศึกษาวิจัย การรักษาพยาบาลและฝึกงานของบุคลากร ทางด้านการแพทย์ทุก
แขนงและได้พระราชทานนามของโรงพยาบาลในภายหลังว่าโรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์

ในเดือนมีนาคม 2520 คณะแพทยศาสตร์ก็ได้ย้ายสำนักงานคณบดีชั่วคราวจากคณะเภสัช
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลลงมาตั้งชั่วคราว ณคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
และในช่วง 2 ปีต่อมา คือ เดือนมีนาคม 2522 คณะแพทยศาสตร์ก็ได้บัณฑิตที่จบการศึกษารุ่นแรก
จำนวน 31 คน

3

โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ซึ่งเป็นโรงพยาบาลที่ใช้ในการเรียน การสอนและการ
รักษาพยาบาลของคณะ สามารถเปิดบริการรักษาพยาบาลแก่ประชาชนทั่วไปอย่างเป็นทางการ
จำนวน 100 เตียงแรกได้เมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2525 ทำให้ประชาชนผู้ป่วยไข้ ได้รับบริการทาง
การแพทยจ์ ากสถานบริการ ท่ีมีคุณภาพเพิม่ ขึ้นอกึ แห่งหนง่ึ ในภาคใต้

จนกระทั่งถึง 18 กันยายน 2529 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพ-
รัตนราชสุดาก็ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงกระทำพิธีเปิดโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ นับเป็น
ศิริมงคลและสร้างความซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณให้กับบุคลากรในคณะ มหาวิทยาลัย และ
ประชาชนชาวภาคใต้เปน็ อย่างยิง่

ทางด้านการวิจัยสมเด็จพระพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา เสด็จเปิดอาคารวิจัย รัตน์
ประธานราษฎร์นิกร ในวันที่ 18 กันยายน 2535 ซึ่งอาคารดังกล่าวใช้เป็นสถานที่ทำการภาควิชา
ชวี เวชศาสตร์และห้องปฏิบตั ิการสตั วท์ ดลอง

การให้บริการรักษาพยาบาลอย่างเร่งด่วนแก่ผู้ประสบอุบัติเหตุ ในวันที่ 21 กันยายน 2535
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินมาทรงวางศิลาฤกษ์อาคาร
อุบัติเหตุ และฉุกเฉินซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานนามว่า “อาคาร 100 ปี สมเด็จ
พระบรมราชชนก”

1.2.1 ชือ่ องคก์ ร
คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์

1.2.2 สัญลักษณข์ ององคก์ ร

ภาพท่ี 1.1 ตราสัญลกั ษณ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์

ภาพที่ 1.2 ตราสญั ลักษณ์ PSU คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์

4

1.2.3 วสิ ัยทศั น์
วิสยั ทศั นข์ องคณะแพทยศาสตร์มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทรน์ ั้นได้มหี ลกั คิดไวว้ ่า

''คณะแพทยศาสตรเ์ พ่อื เพ่ือนมนุษย์ (Dedicated & Excellent Medical School For
Mankind''

1.2.4 พนั ธกิจ

1. ผลิตและพัฒนาแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ คุณธรรมและ
จรยิ ธรรมโดยยดื ถอื ประโยชน์ของเพ่ือนมนษุ ย์เปน็ กจิ ทีห่ นึ่ง

2. ให้บริการด้านรักษาพยาบาลที่เป็นเลิศจนถึงระดับเหนือกว่าตติยภูมิ (Super
tertiary care) ด้วยจติ วิญญาณโดยคำนึงถงึ ศักดิศ์ รีแหง่ ความเปน็ มนุษย์

3. สร้างงานวิจัยที่มีคุณภาพได้รับการอ้างอิงระดับนานาชาติและสามารถนำไปใช้
ประโยชนใ์ นสังคมไทย

4. ให้บริการวิชาการที่ตอบสนองความต้องการของสังคมไทยและเชื่อมโยงสู่
เครอื ข่ายสากล

1.2.5 ปรชั ญาชี้นำ
หลกั ปรชั ญาชีน้ ำของคณะแพทย์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทรน์ น้ั ได้กล่าวไวด้ งั นี้

'' ประโยชน์ของเพอื่ นมนุษย์เปน็ กจิ ท่ีหนึ่ง ''

1.2.6 ค่านยิ ม
MANKIND – ถอื ประโยชน์เพื่อเพ่ือนมนุษย์
EXCELLENCE - มาตรฐานสงู สดุ เพอื่ ทกุ ชวี ติ
DEDICATION - อทุ ิศตนเพ่ือนงาน
PROFESSIONALISM - เชีย่ วชาญมจี รรยาบรรณ
SOCIAL RESPONSIBILITY - สร้างสรรคเ์ พอื่ สังคม
UNITY - ผสมผสานเป็นหนึ่งเดียว

1.2.7 วฒั นธรรมองค์กร
1. มุ่งเนน้ คณุ ภาพ
2. ยอมรบั การประเมิน
3. พร้อมรับการเปลีย่ นแปลง

5

1.2.8 โครงสรา้ งองค์กร
โครงสรา้ งรายนามผ้บู ริหารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

รศ.นพ.เรืองศักดิ์ ลีธนาภรณ์
คณบดีคณะแพทยศาสตร์

อ.นพ.กิตติพงศ์ เรียบร้อย รศ.นพ.รงั สรรค์ ภูรยานนทชยั ผศ.พญ.กนั ยกิ า ชำนิประศาสน์
รองคณบดีฝา่ ยการศึกษา
รองคณบดีฝา่ ยโรงพยาบาลและ รองคณบดฝี ่าบบริหาร

รองคณบดีฝ่ายบรหิ าร นโยบายและแผน

รศ.พญ.สุภาภรณ์ เตง็ ไตรสรณ์ รศ.นพ.จิตติ หาญประเสรฐิ พงษ์

รองคณบดีฝา่ ยการศกึ ษาหลัง รองคณบดีฝ่ายวิจยั

ปริญญา

6

ผศ.นพ.สิทธิโชค อนันตเสรี รศ.นพ.ธวชั ชาญชญานนท์ ผศ.นพ.บญุ ชัย หวังศุภดิลภ
รองคณบดีฝ่ายนวัตกรรม รองคณบดฝี า่ ยคุณภาพ รองคณบดีฝ่ายเวชสารสนเทศ

รศ.นพ.ธรี ะ พิรชั วิสทุ ธิ์ ผศ.นพ.เทอดพงศ์ ทองศรีราช ผศ.พญ.สุภาพร โรยมณี
รองคณบดฝี า่ ยวิเทศสัมพนั ธ์ รองคณบดีฝา่ ยทรัพยากรมนุษย์ รองคณบดีฝ่ายองค์กรสมั พนั ธ์

และกจิ กรรมพเิ ศษ

ผศ.นพ.อนพุ งศ์ นิติเรืองจรสั อ.ดร.นพ.ชนนท์ กองกมล รศ.นพ.ประสทิ ธ์ิ วฒุ ิสทุ ธิเมธาวี

รองคณบดีฝ่ายโครงสร้างกายภาพ รองคณบดฝี ่ายวเิ คราะห์ข้อมูล รองคณบดีฝา่ ยศนู ย์บริการพิเศษ และ

และสง่ิ แวดล้อม และนวัตกรรมดจิ ติ อล ผอู้ ำนวยกำรศนู ยบ์ รกิ ำรพเิ ศษ

7

โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของงานประชาสัมพนั ธ์ คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์

หวั หนา้ งานประชาสมั พันธ์
นางสาวกนกวรรณ อินทรัตน์

ภาระหน้าท่ีฝ่ายธรุ การ ภาระหนา้ ทฝ่ี า่ ยออกแบบ
นางสาวอารนี ุช นนั ทรัตน์วิบลู สือ่ สง่ิ พิมพ์ / กิจกรรมพิเศษ
นางสาวกนกวรรณ อินทรตั น์

นายเกาะวาร์ แซอ่ ุย๋

ภาระหน้าทฝ่ี ่ายองค์กรสมั พนั ธ์ ภาระหน้าท่ีฝ่ายออกแบบเว็บไซต์
และกจิ กรรมพิเศษ
นางสาวกัลยา ศภุ รพิพฒั น์
นางสาวอนงคน์ าถ ธนาจริยวงศ์ นายกอบกิตต์ แซ่ลี

ภาระหน้าท่ีฝ่ายผลติ โทรทศั น์
นายชาคร นิ่มนวล
นายวชิ ยั กาเลีย่ ง

8

1.2.9 สถานท่ีตง้ั แผนที่ตั้งองค์กร

15 ถ.กาญจนวนิช ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
โทรศัพท์ : 0-7428-2000 โทรสาร : 0-7455-8941
http://medinfo.psu.ac.th
www.facebook.com/prmedpsu

ภาพที่ 1.3 แผนท่มี หาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์

1.3 พนักงานท่ีปรึกษา และตำแหน่งงานของพนักงานท่ีปรึกษา
นางสาวอนงค์นาถ ธนาจรยิ วงศ์ ตำแหน่ง นักประชาสัมพนั ธ์ ฝ่ายองค์กรสมั พนั ธ์

และกิจกรรมพเิ ศษ

1.4 ตำแหน่งงาน และขอบเขตงานท่ีรบั ผิดชอบ
1.4.1 ตำแหน่ง
ผูช้ ว่ ยนกั ประชาสมั พันธ์ ฝ่ายข่าว งานประชาสมั พนั ธ์

1.4.2 ขอบเขตงานที่รบั ผดิ ชอบ
- เขียนข่าว/สมั ภาษณ/์ ถา่ ยรปู เพื่อการประชาสัมพนั ธ์
- รว่ มจดั กจิ กรรม (Event), จดั งานแถลงขา่ ว
- ออกแบบส่อื ให้ความรู้ในรปู แบบต่าง ๆ
- รว่ มจดั /เตรียมอปุ กรณ์ งานดา้ นการ Live สด

9

- ช่วยเหลอื งานอื่น ๆ ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

1.5 วัตถุประสงค์
1.5.1 เพอ่ื เข้าใจหลักการในการทำงานภายในองค์กร
1.5.2 เพอ่ื เรยี นรหู้ ลกั การผลิตสื่อเพ่ือการประชาสมั พันธ์ในรปู แบบต่าง ๆ
1.5.3 เพ่ือฝึกการทำงานร่วมกบั ผูอ้ น่ื และปรับตวั ในการทำงานในรูปแบบต่าง ๆ
1.5.4 เพือ่ ศึกษาหาความร้นู อกเหนอื จากในหอ้ งเรยี น
1.5.5 เพอื่ นำความร้ทู ่ีมมี าประยุกต์ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์
1.5.6 เพื่อเป็นแนวทางในการทำงานในอนาตคต่อไป

1.6 ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.6.1 เตรียมความพร้อมของโปรแกรมรวมถึงซอฟต์แวรท์ ตี่ อ้ งใชง้ านในคอมพวิ เตอร์
1.6.2 ศกึ ษาหาข้อมูลเพ่มิ เตมิ เกย่ี วกบั งานทไี่ ด้รับมอบหมาย
1.6.3 วางแผนงานทไี่ ด้รับมอบหมาย
1.6.4 ออกแบบงานตามทีว่ างแผนไว้
1.6.5 ปรกึ ษา ขอคำแนะนำเพิ่มเติตรวจสอบความถูกตอ้ ง
1.6.6 แกไ้ ข ปรบั แก้งาน และตรวจสอบความถูกต้องอีกคร้ัง
1.6.7 ส่งงาน

1.7 ระยะเวลาทป่ี ฏบิ ตั ิงาน
ระหวา่ งวนั ท่ี 7 ธนั วาคม พ.ศ. 2563 ถึง 2 เมษายน พ.ศ. 2564

1.8 ผลที่คาดวา่ จะไดร้ บั
1.8.1 มที ักษะในการทำงานเป็นทีมและมีความรับผดิ ชอบต่องานที่ไดร้ บั
1.8.2 มีทักษะการแกป้ ัญหาตอ่ งานท่ีเกิดขึ้น
1.8.3 มที ักษะในดา้ นการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรูใ้ นรปู แบบตา่ ง ๆ
1.8.4 มีทักษะ ความรู้ และเทคนิคกระบวนการออกแบบเพิ่มเตมิ จากการเรยี น
1.8.5 ฝกึ ระเบยี บวนิ ยั ในการปฏบิ ตั ิงานในองค์กร

บทท่ี 2
ทฤษฎที ่ีเกย่ี วข้อง

ในการสหกิจศึกษาครั้งนี้ นักศึกหาได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทีเกี่ยวข้องกับงาน
ทีไ่ ดร้ ับมอบหมายมีรายละเอยี ดดังต่อไปนี้

2.1 โปรแกรม Adobe Photoshop
โปรแกรม Adobe Photoshop หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า Photoshop คือ โปรแกรมแต่งรูป

(Photo Editing Software) ที่ให้คุณได้สามารถออกแบบและตกแต่งรูปภาพได้อย่างมืออาชีพ ไม่ว่า
จะเป็นงานดา้ นสิ่งพมิ พ์ หรอื ภาพสำหรับใชง้ านบนเว็บไซต์ เป็นตน้

ความสามารถของ โปรแกรม Adobe Photoshop นี้จะช่วยให้คุณได้ทำภาพให้คมชัด รวมทั้ง
รีทัช (Retouch) ปรับแสง ปรับสี และใส่ลูกเล่น (Effect) ต่าง ๆ ให้กับรูปภาพ โดยการแสดงผล
รูปภาพของโปรแกรมนี้จะเป็นแบบ Bitmap หรือที่เราเรียกว่าพิกเซล (Pixel) โดยไฟล์นี้จะมีจุดเรียง
กันแน่นจนเกิดเป็นภาพ หากเราขยายภาพมาก ๆ ภาพจะแตกไม่คมชัด ชนิดของไฟล์ประเภทนี้เรา
น่าจะคุ้นเคยกนั ดีเพราะเป็นไฟล์ภาพปกติ เชน่ ไฟล์ JPEG, PNG, GIF, PSD และไฟล์ BMP เป็นตน้

ภาพที่ 2.1 สญั ลักษณ์ โปรแกรม Adobe Photoshop

การเลอื กใช้สี
โปรแกรม Adobe Photoshop จัดเป็นโปรแกรมที่เหมาะกับการออกแบบและตกแต่งภาพ

โหมดสีที่เป็นที่นิยมใช้ในโปรแกรมนี้มี 5 โหมดซึ่งประกอบไปด้วย RGB, CMYK เหมือนกับของ
โปรแกรม Adobe Illustrator และยงั มีอีก 3 โหมด ได้แก่

11

1. Grayscale หรือโหมดขาวดำชว่ ยไลเ่ ฉดสที ำให้ภาพมคี วามคมชดั
2. Indexed Color สีมีจำกัดไว้เพียง 256 สี โดยจะปรับสีให้ใกล้เคียงกับสีที่กำหนดไว้ ซึ่งจะ
ทำใหข้ นาดของภาพไม่ใหญ่มาก คณุ สมบัตขิ องภาพยังเหมอื นเดิม
3. Lab Color เป็นโหมดสีที่ให้สีสมจริงที่สุดในการทำสื่อสิ่งพิมพ์ หรือหรือต้องการนำภาพ
ไปใชในเครือ่ งคอมพิวเตอรอ์ ืน่ ๆ เพ่ือคา่ สที แ่ี มน่ ยำ

ข้อดีของ โปรแกรม Adobe Photoshop
1. ใช้งานไดง้ า่ ยสำหรับมอื ใหม่
2. แก้ไขตกแตง่ รูปภาพได้หลากหลายแบบ
3. มเี ครื่องมอื ในการออกแบบสรา้ งสรรคผ์ ลงานใหเ้ ลอื กเยอะ
4. ใช้งานได้ในอปุ กรณ์พกพาไมว่ า่ จะเป็นใน iPhone หรอื iPad
5. สามารถนำรูปภาพไปตกแต่งหรอื แกไ้ ขเพ่ิมเติมในโปรแกรมอน่ื ของ Adobe ได้ เชน่
5.1. โปรแกรม Adobe Illustrator
5.2. โปรแกรม Adobe After Effects
5.3. โปรแกรม Adobe Premiere Pro

2.2 โปรแกรม Adobe illustrator
โปรแกรม Adobe Illustrator หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า Illustrator คือ โปรแกรมวาดรูป หรือ

ออกแบบงานด้านกราฟิก เป็นมาตรฐานในการออกแบบระดับสากลสามารถทำงานออกแบบได้
หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น สิ่งพิมพ์, บรรจุภัณฑ์ และยังออกแบบงานเพื่อใช้เป็นภาพประกอบในการ
ทำงานอ่ืน ๆ เช่น การ์ตนู หรอื ภาพประกอบหนังสอื

การทำงานของ โปรแกรม Adobe Illustrator ตัวนี้จะแสดงภาพเป็นเวกเตอร์ (Vector) ซึ่ง
เป็นไฟล์ท่ีประกอบด้วยจุดและเส้นสร้างขึ้นจากรูปทรงเรขาคณิต เมื่อขยายแล้วภาพจะไม่แตกและมี
ความคมชัดเหมือนเดิม ส่วนนามสกุลของไฟล์ Vector ที่เห็นได้บ่อย ๆ คือไฟล์ PDF ไฟล์ EPS ไฟล์
SVG และไฟล์ AI เป็นตน้

12

ภาพท่ี 2.2 สญั ลกั ษณ์ โปรแกรม Adobe Illustrator

การเลือกใชส้ ี
โปรแกรม Adobe Illustrator นอกจากจะวาดภาพ และพิมพ์ข้อความได้แล้ว การลงสียัง

สามารถทำได้หลายแบบ ไม่ว่าจะเป็นการลงสีเดียวหรือการลงแบบไล่ระดับสี โดยในโปรแกรมนี้จะมี
โหมดสที น่ี ิยมใช้ 2 โหมด คอื RGB และ CMYK จงึ ควรเลอื กโหมดสใี ห้เหมาะสมกับงาน

1. RGB (Red, Green, Blue) สีหลัก คือ สีแดง สเี ขียว และสนี ้ำเงนิ ซ่งึ ทง้ั 3 สผี สมกันจะได้
สีขาว โดยโหมดน้จี ะเหมาะสมกับงานกราฟกิ บนเว็บไซต์

2. CMYK (Cyan, Magenta, Yellow, Black) สีหลัก คือสีฟ้า สีแดงอมม่วง สีเหลือง และสี
ดำ งานท่เี หมาะสมกับสีนีค้ อื งานประเภทสิง่ พิมพ์

ขอ้ ดขี องโปรแกรม Adobe Illustrator
1. ใช้งานไดก้ บั ไฟล์ภาพทุกขนาดย่อ/ขยายภาพไม่แตก
2. ออกแบบสรา้ งสรรค์ข้อความได้หลากหลายรปู แบบ
3. ทำงานร่วมกบั โปรแกรมอ่นื ๆ ของ ผลิตภณั ฑ์ Adobe ได้ เชน่
3.1. โปรแกรม Adobe InDesign
3.2. โปรแกรม Adobe Premiere Pro

2.3 โปรแกรม Adobe Lightroom
Adobe Photoshop Lightroom เป็นโปรแกรมจัดการไฟลภ์ าพถา่ ยแบบครบวงจรจากค่าย

Adobe ท่ที กุ คนรู้จกั กนั ดี ปัจจุบนั ได้ออกมาถึงเวอรช์ ั่นที่ 6 จดุ เด่นของโปรแกรมนี้ก็คือความสามารถ
ในการทำงานที่หลากหลาย เริ่มตั้งแต่การจัดระเบียบให้ภาพถ่ายเพื่อให้ช่วยในการค้นหาคัดแยกได้
อย่างรวดเร็ว เป็นระเบียบไม่วุ่นวาย การปรับแต่งแก้ไขหรือที่เรียกว่าการโพรเซสไฟล์ภาพถ่าย

13

โดยเฉพาะไฟล์ RAW ซงึ่ รองรับไฟลจ์ ากกล้องแทบจะทุกรุน่ ทกุ ย่ีห้อทวี่ างขายอยู่ในตลาด ไปจนถึงการ
นำภาพถ่ายที่ปรับแต่งเสร็จแล้วออกไป พรีเซนต์ในรูปแบบของสไลด์โชว์ เว็บแกลลอรี่หรือพิมพ์
ภาพถ่ายออกมา ทั้งหมดนี้สามารถทำได้โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop Lightroom เพียงตัว
เดียวเทา่ นั้น

เหมาะสมกับใคร โปรแกรม Lightroom เป็นโปรแกรมที่ใช้งานง่าย การปรับแต่งไม่ซับซ้อน
วุ่นวายและไม่จำเปน็ ต้องมีความรู้ ด้าน Photoshop มาก่อนโปรแกรม Lightroom จึงเหมาะสำหรับ
ช่างภาพทุกคน โดยเฉพาะใครที่ชอบถ่ายภาพเป็นไฟล์ RAW ยิ่งต้องหัดใช้ Lightroom ให้คล่องจะ
ชว่ ยให้สามารถดึงประสทิ ธภิ าพของไฟล์ RAW ของกล้องออกมาใชไ้ ด้อยา่ งเต็มที่

ภาพท่ี 2.3 สญั ลกั ษณ์ โปรแกรม Adobe Lightroom

Adobe Photoshop Lightroom แบ่งส่วนการทำงานเป็นส่วน ๆ เรียกว่าโมดูล โดยแต่ละ
โมดูลจะทำหน้าท่ีในการจัดการภาพทแี่ ตกตา่ งกันไปคือ

1. โมดูล Library สำหรับการจัดระเบียบภาพถ่าย การแก้ไขข้อมูลเมตะดาต้าของภาพถ่าย
การจัดหมวดหมู่ ย้าย ลบ ค้นหา ภาพถ่ายและการปรบั แตง่ ภาพเบ้ืองต้น การตดั และปรับแต่งวดิ โี อ

2. โมดูล Develop สำหรับการโพรเซสไฟล์ล้วน ๆ ในโมดูลนี้จะมีเคร่ืองมือต่าง ๆ ที่จำเป็น
ในการโพรเซสไฟล์ RAW และ JPEG

3. โมดูล Map สำหรับใช้ติดข้อมูลพิกัด GPS ให้กับภาพถ่าย ต้องงเชื่อมอินเทอร์เน็ตด้วยจงึ
จะสามารถใช้งานได้ เนื่องจากโมดูลน้ีจะลงิ คข์ ้อมลู แผนที่จากทาง Google Maps ขึ้นมาใช้งานถา้ ไม่
ต่ออนิ เทอรเ์ น็ตด้วยจะทำอะไรไมไ่ ด้

4. โมดูล Book สำหรับออกแบบหนังสือภาพถ่ายของเราเอง (Photo Book) เมื่อทำเสร็จ
สามารถอัพโหลดไปที่เซิร์ฟเวอร์ของ Blurb ซึ่งเป็นผู้ให้บริการพิมพ์หนังสือภาพถ่ายได้ทันที หรือจะ
Export ให้เป็นไฟล์ PDF เพ่ือนำไปพมิ พเ์ องได้

14

5. โมดูล Slideshow สำหรับการนำภาพถ่ายมาทำเป็นสไลดโ์ ชว์ สามารถใส่ดนตรีประกอบ
ได้ หรือจะ Export สไลด์โชวท์ ีท่ ำเสร็จแลว้ ไปเป็นไฟล์วดิ โี อก็ได้

6. โมดูล Print สำหรับการพิมพ์ภาพถ่ายด้วยตัวเองในโมดูลนี้เราสามารถที่จะจัดการ
เลย์เอาทข์ องงานพมิ พไ์ ด้

7. โมดูล Web สำหรับออกแบบและสร้างเว็บแกลลอรี่ด้วยตัวเอง ในโมดูลนี้จะมีเทมเพลต
สำเรจ็ รปู สวย ๆ ให้เราเลอื กใช้งานพร้อมทง้ั บรกิ ารอัพโหลดไฟล์ทงั้ หมดข้นึ ไปยังเซิร์ฟเวอรไ์ ดท้ ันที
2.4 โปรแกรม Microsoft Word

โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด ซึ่งเป็นโปรแกรมประมวลผลคำแบบพิเศษ ช่วยให้สร้างเอกสาร
แบบมืออาชีพอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด เช่น เหมาะกับงานด้านการพิมพ์เอกสารทุกชนิด
สามารถพิมพ์เอกสารออกมาเป็นชุด ๆ ซงึ่ เอกสารอาจเป็นจดหมาย บนั ทึกขอ้ ความ รายงาน บทความ
ประวตั ยิ ่อ และยังสามารถตรวจสอบ ทบทวน แก้ไข ปรบั ปรุงความถูกตอ้ งในการพิมพ์เอกสารได้อย่าง
ง่ายดาย สามารถตรวจสอบ สะกดคำ และหลักไวยากรณ์ เพิ่มตาราง เพิ่มกราฟิก ในเอกสารได้อย่าง
งา่ ยดาย หรอื เพมิ่ เติมขอ้ มูลไดต้ ลอดเวลา สามารถใช้ลกั ษณะของการจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบต้ัง
โต๊ะ (Desktop Publishing) เพื่อสร้างโบชัวร์ (Brochures) ด้านสื่อโฆษณา (Advertisements) และ
จดหมายขา่ ว (Newsletters) ไดด้ ้วยโปรแกรมประมวลผลคำ (Word Processor)

ภาพท่ี 2.4 สญั ลกั ษณโ์ ปรแกรม Microsoft Word

15

ประโยชน์ของโปรแกรม Microsoft Word
1. มีระบบอัตโนมัติต่าง ๆ ที่ช่วยในการทำงานสะดวกขึ้น เช่น การตรวจคำสะกด การ

ตรวจสอบไวยากรณ์ การใส่ข้อความอตั โนมตั ิ เป็นตน้
2. สามารถใช้ Word สรา้ งตารางที่สลับซบั ซ้อนยา่ งไรกไ็ ด้
3. สามารถใช้สร้างจดหมายได้อย่างรวดเร็ว โดยสามารถกำหนดให้ผู้วิเศษ (Wizard) ใน

Word สรา้ งแบบฟอร์มของจดหมายไดห้ ลายรปู แบบตามต้องการ
4. ตกแต่งเอกสารได้ง่ายและรวดเร็ว สามารถตกแต่งเอกสารหรือเพื่อความสะดวกจะให้

Word ตกแต่งใหก้ ไ็ ด้ โดยที่สามารถเปน็ ผู้กำหนดรูปแบบของเอกสารเอง
5. สามารถแทรกรปู ภาพ กราฟ หรือผังองคก์ รลงในเอกสารได้
6. เป็นโปรแกรมที่ทำงานบนวินโดว์ ดังคุณสมบัติต่าง ๆ ของวินโดว์จะมีอยู่ใน Word ด้วย

เชน่ สามารถยอ่ ขยายขนาดหนา้ ตา่ งได้ สามารถเรยี กใชร้ ูปแบบอักษรทม่ี ีอยมู่ ากมายในวนิ โดวไ์ ด้
7. ความสามารถในการเชื่อมต่อกับโปรแกรมอื่น ๆ ในชุดโปรแกรม Microsoft Office

สามารถโอนย้ายขอ้ มูลตา่ ง ๆ ระหว่างโปรแกรมได้ เช่น สามารถดงึ ข้อมูลใน Excel มาใส่ใน Word ได้
8. อยากทราบอะไรเกี่ยวกับ Word ถามผู้ช่วยเหลือที่มีชื่อว่า " Office Assistance"

ตลอดเวลาขณะท่ใี ช้งาน Word
9. สร้างเอกสารใหใ้ ช้งานในอินเตอร์เน็ตไดอ้ ย่างง่าย ๆ

โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด ( Microsoft Word ) สามารถทำงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงาน
ประมวลคำไดด้ งั น้ี

1. สามารถพิมพ์และแก้ไขเอกสาร
2. สามารถลบ โยกย้าย และสำเนาข้อความ
3. สามารถพิมพ์ตัวอักษรประเภทต่าง ๆ
4. สามารถขยายขนาดตัวอกั ษร
5. สามารถจดั ตัวอกั ษรให้เป็นตวั หนา ตวั เอียง และ ขดี เสน้ ใต้ได้
6. สามารถใสเ่ คร่อื งหมายและตัวเลขลำดับหน้าหวั ขอ้
7. สามารถแบ่งคอลัมน์
8. สามารถตีกรอบและแรเงา
9. สามารถตรวจการสะกดและแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ ง
10. สามารถค้นหาและเปล่ียนแปลงข้อความทพี่ ิมพ์ผิด
11. สามารถจดั ขอ้ ความในเอกสารใหพ้ มิ พช์ ดิ ซา้ ย ชิดขวาและก่ึงกลางบรรทดั
12. สามารถใสร่ ปู ภาพในเอกสาร

16

13. สามารถประดิษฐ์ตัวอักษร
14. สามารถพมิ พต์ าราง
15. สามารถพิมพจ์ ดหมายเวียน ซองจดหมายและป้ายผนึก
2.5 วารสาร
วารสารคือสิ่งพิมพ์ที่จัดพิมพ์ออกมาเป็นรูปเล่ม ซึ่งองค์การจัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ข่าวสาร
เรื่องราวต่าง ๆ แก่สาธารณชน โดยมีกำหนดระยะเวลาออกที่แน่นอนและต่อเนื่องกันไป วารสาร
สามารถใส่เนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ ได้มากมายหลายประเภทตามความต้องการขององค์การ จึงเป็น
เครื่องมือหรือสื่อที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งโดยตรงต่อกลุ่มเป้าหมายที่
ต้องการ มเี นื้อหาที่น่าสนใจ น่าติดตามและสามารถ เผยแพรข่ า่ วสารไดเ้ ปน็ จำนวนมาก
ประเภทของวารสารมีดังนี้
1. วารสารวชิ าการ เปน็ วารสารทเ่ี นน้ การนำเสนอบทความทางวิชาการและองค์ความรู้ใหม่ ๆ
ในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ วารสารประเภทนี้ ได้แก่ วารสารที่ออกโดยหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือ
สถาบันการศึกษา เช่น รัฐสภาสาร ราชกิจจานุจัดทำบกษา วารสารธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ธุรกิจ
ปริทรรศนแ์ ละสุทธิปริทัศน์ วารสารทีอ่ อกโดยหน่วยงานทางธุรกจิ เช่น ความร้คู อื ประทีป วารสารนัก
บญั ชี วารสารกฎหมาย วารสารธรุ กจิ การท่องเที่ยว วารสารการเงินธนาคาร วารสารด้านคอมพวิ เตอร์

ภาพท่ี 2.5 วารสารวิชาการ

2. วารสารเชิงวิจารณ์หรือวารสารปรทิ ัศน์ เป็นวารสารที่เน้นการนำเสนอบทความเชิงวจิ ารณ์
วิเคราะห์ หรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องของการเมือง การปกครองวรรณกรรม ศิลปะ กีฬา ดนตรี

17

ฯลฯ วารสารประเภทน้ี เช่น วารสารสยามรัฐสปั ดาห์วิจารณ์ วารสารมติชนสุดสัปดาห์ วารสารเนชั่น
สุดสัปดาห์ วารสารอาทติ ย์วิเคราะห์ ฯลฯ

ภาพท่ี 2.6 วารสารเชงิ วิจารณ์หรอื วารสารปรทิ ศั น์
3. วารสารบันเทิงหรือนิตยสาร เป็นวารสารที่เน้นการนำเสนอเรื่องราวทางด้านบันเทิงโดย
อาจจะแทรกเรื่องราวทางวิชาการ เกร็ดความรู้ อาจแบ่งเป็นนิตยสารสำหรับผู้อ่านทั่วไปหรือผู้อ่าน
เฉพาะกลุ่ม เช่น นิตยสารสำหรับสตรี บุรุษ หรือสำหรับเด็กและครอบครัว นิตยสารรถ นิตยสารการ
ตกแต่งบ้าน นติ ยสารการท่องเที่ยวนติ ยสารวงการบันเทิงภาพยนตร์และโทรทัศน์ อาจมีนวนิยายเร่ือง
สนั้ หรอื เรอื่ งแปลสอดแทรกอยูภ่ ายในเล่มก็ได้

ภาพท่ี 2.7 วารสารบันเทิงหรือนติ ยสาร
4. วารสารทั่วไป คอื วารสารทีเ่ สนอเรือ่ งท่วั ไป ไมเ่ นน้ หนกั ด้านใดด้านหน่ึง มุ่งให้คนทั่วไปอ่าน
ได้ มกั เรยี กวา่ นติ ยสาร วารสารประเภทน้มี ุ่งทจ่ี ะให้ความบันเทงิ เป็นหลกั ดังนัน้ เร่อื งท่ีตีพิมพ์ส่วนใหญ่
จึงเป็นนวนิยายแตก่ ็มีคอลมั น์ที่ให้ความรู้ บทความเบ็ดเตล็ด สรุปข่าวความเคลื่อนไหวของเหตุการณ์
ตา่ ง ๆ ไว้ด้วย ตัวอยา่ งวารสารประเภทนี้ ได้แก่ สกลุ ไทย ขวญั เรอื น แพรวและดฉิ ัน เป็นตน้

18

ภาพที่ 2.8 วารสารทวั่ ไป
5. วารสารวิชาการหรือวารสารเฉพาะวิชา เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความทางวิชาการในสาขา
ใดสาขาหนึ่งโดยเฉพาะ ผู้เขียนและผู้อ่านประจำเป็นบุคคลที่อยู่ในวงการนั้นหรือมีความสนใจใน
สาขาวิชานั้น ตัวอย่างวารสารประเภทนี้ ได้แก่ วารสารการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา ข่าวสาร
การธรณีและวารสารสร้างเสรมิ สุขภาพ ของสำนกั งานกองทุนสนับสนนุ กรมสง่ เสริมสุขภาพนอกจากนี้
ยังอาจพบวารสารบางช่ือซึ่งมีจำวนหน้าน้อยกว่าวารสารส่วนใหญ่ มีลักษณะคล้ายจดหมายข่าว
(Newsletter) มีเนื้อหาเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวในวงวิชาการเฉพาะวิชา ใช้ชื่อว่า “จุลสาร” ได้ ดัง
ตัวอย่างของ จุลสารประชาคมประกันคุณภาพการศึกษาของ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ
คณุ ภาพการศกึ ษา

ภาพที่ 2.9 วารสารวิชาการหรือวารสารเฉพาะวิชา
6. วารสารทมี่ ีลกั ษณะกง่ึ วชิ าการ หรือวารสารเชงิ วจิ ารณ์ มลี กั ษณะผสมผสานระหว่างวารสาร
สองประเภท วารสารประเภทนี้มุ่งให้คนทั่วไปอ่านได้ ประกอบด้วยบทความหลายบทความ
แต่แตกต่างจากวารสารทั่วไปคือเน้นหนักไปในด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และใช้คำเรียกทั้งวารสาร
และนิตยสาร เช่น วารสารเมืองโบราณ นิตยสารสารคดี นิตยสารศิลปวัฒนธรรม อนุสาร อสท.
นติ ยสารชีวจติ นติ ยสารเนช่ันแนล จีโอกราฟกิ และใกล้หมอ เป็นตน้

19

ภาพที่ 2.10 วารสารท่มี ลี ักษณะกึ่งวิชาการ หรือวารสารเชิงวจิ ารณ์
7. วารสารวิเคราะห์วิจารณ์ข่าว คือ วารสารที่นำเสนอบทวิเคราะห์ข่าว วิจารณ์ข่าว เช่น
สยามรฐั สปั ดาหว์ จิ ารณ์ มติชนสดุ สปั ดาหว์ ิจารณ์ เปน็ ต้น

ภาพท่ี 2.11 วารสารวเิ คราะห์วจิ ารณ์ข่าว

20

รูปแบบการเขยี นบทความ

การพจิ ารณาบทความ
วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา มีนโยบายรับพิจารณาบทความหรือข้อเขียนใน

สาขานิเทศศาสตร์ การประชาสัมพันธ์และการโฆษณา การตลาดและการตลาดเพื่อสังคม หรือใน
สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง จากนักวิชาการนิเทศศาสตร์ สังคมศาสตร์ และบุคคลทั่วไป โดยไม่คำนึงถึง
สถานที่ทำงาน สถาบันการศึกษา หรือศาสนาของผูเ้ ขียน นอกจากนี้ ผลงานดังกล่าวต้องไดม้ าตรฐาน
ตามที่กองบรรณาธิการวารสารฯ ได้กำหนดไว้ โดยผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาท่ี
เกี่ยวข้องและกองบรรณาธิการ ทั้งนี้ วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา จะไม่พิจารณา
บทความหรือขอ้ เขยี นทไ่ี ด้รบั การตีพมิ พ์แลว้ ในที่อนื่ ๆ

เพื่อความสะดวกในการอ่านและให้ความเห็นของกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิขอให้
ผู้เขียนบันทึกต้นฉบับเป็นไฟล์ Microsoft Word (เวอร์ชั่น 97 ขึ้นไป) และใช้รูปแบบการเขียน
บทความตามท่ีวารสารกำหนด

กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตกแต่งต้นฉบับในด้านภาษาและตัวสะกดการันต์
เพื่อให้ถูกต้องตามหลักภาษาไทย สำหรับบทความหรือข้อความที่ส่งมาให้พิจารณา กองบรรณาธิการ
จะไม่ส่งไฟล์ต้นฉบับคืนไปยังผูเ้ ขียน จึงขอให้เจ้าของบทความหรือข้อเขียนโปรดเก็บต้นฉบับไว้อีกชดุ
หน่ึงดว้ ย

รปู แบบการเขยี นบทความ
กองบรรณาธิการอาจขอให้ผู้เขียนปรับเปลี่ยนรูปแบบการเขียนและการอ้างอิงหากพบว่า

ต้นฉบับไม่สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ และขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไข และ/หรือไม่พิจารณาให้ลง
ตพี ิมพ์ หากผู้เขยี นไม่ปรบั เปลี่ยนตามท่ีได้เสนอแนะ เพ่อื การรกั ษาความเป็นเอกภาพและคุณภาพของ
วารสารฯ

ผู้ที่ประสงค์จะส่งบทความมาเพื่อการพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารการประชาสัมพันธ์และการ
โฆษณา กรณุ าใชร้ ปู แบบการเขยี นและอ้างองิ ดังตอ่ ไปน้ี

1. รปู แบบการพิมพ์ (Format) เพ่ือความสะดวกในการจดั หน้าและเพื่อคงความสมบูรณ์ของ
เนือ้ หาในต้นฉบบั ขอให้ผูเ้ ขียนใช้รูปแบบการพมิ พ์ดังตอ่ ไปน้ี

- ต้นฉบับเป็นไฟล์ Microsoft Word (เวอร์ชนั่ 97 ขึน้ ไป) ความยาว 20-25 หนา้ กระดาษ
ขนาด A4

- ใช้ตัวอักษรฟอนต์ Th SarabunPSK ขนาด 16 Point ระยะห่างระหว่างบรรทัด 1 เท่า
(Single Paragraph Spacing) และจัดแนวข้อความให้ด้านหน้าและหลังเสมอกันแบบ Thai
Distributed เพ่อื ความสะดวกในการจัดหนา้

21

- มีเลขหน้ากำกับบทความ โดยวางตำแหน่งเลขหน้าที่กึ่งกลางด้านล่าง หรือมุมขวา
ด้านบน เพอ่ื ความสะดวกในการอา้ งอิงขอ้ เสนอแนะจากผทู้ รงคุณวฒุ แิ ละกองบรรณาธิการต่อไป

- การเว้นวรรคตอน ใช้การเวน้ วรรคตอนเล็ก คอื ชอ่ งว่างมีขนาดเท่า 1 ตัวอกั ษร หรือ 1
เคาะ

- สำหรับบทความภาษาไทย ไม่ใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่นระหว่างคำ แต่ใช้การเว้น
วรรคตอนเลก็ แทน

- สำหรับบทความภาษาไทย จำเป็นจะต้องมีขอ้ มูล
1) ชอ่ื บทความ
2) ชื่อและสงั กัดของผู้เขยี นบทความ (ตามฟอรม์ ในขอ้ 4)
3) บทคัดยอ่
4) คำสำคญั ทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษ

2. ช่อื บทความภาษาอังกฤษ
- ผู้เขียนจะต้องตั้งชื่อบทความเป็นภาษาอังกฤษด้วยเพื่อความสะดวกในการค้นหาและ

อา้ งอิง
- ใช ้ Title Case ตามรูปแบบกา รเ ขี ยนแ บบ APA (American Psychological

Association) คือ พยัญชนะตัวแรกของคำเท่านั้นที่เป็นตัวพิมพ์ใหญ่ (Uppercase) ส่วนพยัญชนะ
อื่น ๆ ในคำเป็นตัวพิมพ์เล็ก (lowercase) ส่วนคำบุพบท เช่น of, in, on, at, to, about, toward
คำนำหน้านาม เช่น a, an, the และคำสันธาน เชน่ and, or, between ให้ใชเ้ ปน็ ตัวพมิ พเ์ ลก็ ท้ังหมด
ยกเว้นกรณีท่คี ำเหลา่ น้ีเป็นคำเริม่ ตน้ ชือ่ เร่ือง

3. บทคัดย่อและคำสำคญั
- บทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ความยาวอยา่ งละไมเ่ กนิ 300 คำกรณุ าตรวจสอบ

ความถูกต้องของไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ และความสอดคล้องระหว่างบทคัดย่อภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษดว้ ย

- คำสำคญั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
- ควรเป็นคำที่บ่งชี้หัวข้อหรือประเด็นที่ศึกษา กลุ่มแนวคิดทฤษฎีที่เป็นกรอบการศึกษา
หรือระเบียบวิธีวจิ ยั (หากเป็นองค์ประกอบสำคัญของงานวจิ ยั ) อยา่ งชดั เจน เพื่อใหผ้ ูอ้ า่ นสบื ค้นได้งา่ ย
- ผู้เขียนสามารถระบุคำสำคัญได้ไม่เกิน 5 คำ และให้ใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่นคำ
สำคญั แตล่ ะคำ ทง้ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
4. รปู แบบการเขยี นข้อมูลเก่ียวกับผเู้ ขียน
- ในต้นฉบบั บทความท่ีสง่ มายังกองบรรณาธิการ ควรระบชุ ่ือผู้เขียนด้านล่างชื่อบทความ
และใสข่ ้อมลู เกย่ี วกับผู้เขยี นในเชิงอรรถท้ายหน้า

22

- กรุณาเรียบเรียงข้อมูลเกี่ยวกับผู้เขียนบทความตามรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งต่อไปน้ี การ
ใหข้ ้อมูลเกย่ี วกับผู้เขยี นที่ครบถว้ นจะเป็นประโยชน์ในการอ้างอิงและหากผู้อ่านต้องการติดต่อผู้เขียน
เพื่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมกรณีที่มีผู้เขียนมากกว่า 1 คน สามารถระบุเฉพาะอีเมลของผู้เขียนหลัก
หรือผ้ทู ี่ผู้อา่ นสามารถติดตอ่ ไดเ้ พียงทา่ นเดียวก็ได้

- ในกรณีเป็นบทความภาษาไทย ให้ใส่ข้อมูลผู้เขียนตามรูปแบบที่เลอื ก ทำเป็น 2 ภาษา
ทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
สำหรับบทความและข้อเขยี นทว่ั ไป

ชื่อ-นามสกุลผู้เขียน (วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุด, สถาบัน, ปีที่จบการศึกษา; อีเมล : xxxx) ปัจจุบันดำรง
ตำแหน่ง [ทางวิชาการ/อาชีพ เช่น อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย ฯลฯ] ประจำ
[หนว่ ยงานทีส่ ังกัด]

สำหรับบทความและข้อเขยี นจากโครงการวจิ ัย

ชื่อ-นามสกุลผู้เขียน (วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุด, สถาบัน, ปีที่จบการศึกษา; อีเมล : xxxx) ปัจจุบันดำรง
ตำแหน่ง [ทางวิชาการ/อาชีพ เช่น อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย ฯลฯ] ประจำ
[หน่วยงานท่สี ังกดั ]

บทความนี้เป็นส่วนหน่ึงของ/ปรับปรุงจากโครงการวิจัยเรื่อง [ชื่อโครงการวิจัย] ซึ่งได้รับงบประมาณ/
ทุนสนบั สนนุ จาก [ช่ือหน่วยงานที่ไดร้ บั ทนุ สนับสนุน]

สำหรบั บทความจากวทิ ยานิพนธ์

ชื่อ-นามสกุลผู้เขียนหลัก (วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุด, สถาบัน, ปีที่จบการศึกษา; อีเมล:xxxx) และ ชื่อ-
นามสกุลผู้เขียนร่วม (วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุด, สถาบัน, ปีที่จบการศึกษา) ปัจจุบันดำรงตำแหนง่ [ทาง
วิชาการ/อาชีพ เช่น อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย ฯลฯ] ประจำ [หน่วยงานที่
สงั กัด]

บทความน้ีเป็นสว่ นหน่ึงของ/ปรบั ปรุงจากวิทยานิพนธเ์ ร่ือง [ชอ่ื วทิ ยานพิ นธ์] ของ [ช่ือผู้เขียนหลัก] ซ่ึง
[ชื่อผู้เขียนรอง] เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา [อาจใส่รายละเอียดอื่น ๆ เช่น ผลการประเมินการสอบ
วทิ ยานพิ นธ์ การไดร้ ับทนุ สนบั สนุน หรอื รางวลั อืน่ ๆ ตามสมควร]

5. การเขยี นหัวขอ้ (Headings)
- หวั ขอ้ หลกั (Heading) กรณุ าพิมพด์ ้วยอกั ษรตวั เข้ม (Bold) และชดิ แนวพิมพ์ดา้ นซ้าย

23

- หัวข้อรอง (Sub-Heading) ผู้เขียนสามารถเลือกใช้รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งต่อไปนี้ เช่น
การย่อหนา้ ขดี เสน้ ใตห้ ัวขอ้ ยอ่ ย กำกับด้วยตวั เลขหรอื ตัวอักษรอย่างใดอย่างหนึ่งหรอื สลับกันระหว่าง
ตัวอกั ษรกบั ตวั เลขก็ได้ แต่ต้องใชร้ ปู แบบเดยี วกันตลอดทัง้ บทความ

6. การเขยี นคำอธบิ ายภาพประกอบและตาราง (Captions)
- ตาราง แผนภมู ิ รูปภาพ แผนที่ กราฟ หรือการนำเสนอข้อมูลด้วยภาพในรูปแบบอ่ืน ๆ

ต้องมีคำอธิบายประกอบ โดยระบุลำดับภาพเป็นตัวเลข ตามด้วยคำอธิบายที่พิมพ์ตัวหนา และวาง
คำอธิบาย (Caption) ไวเ้ หนือภาพ ชดิ แนวพมิ พด์ า้ นซา้ ย

- ระบุที่มาของข้อมูลด้านล่างภาพ โดยใช้ว่า ที่มา : (อ้างอิงแหล่งข้อมูลตามหลักการ
อ้างองิ )

- ผู้เขียนควรตรวจสอบให้แน่ใจว่า ตาราง แผนภูมิ กราฟ มีเนื้อหาครบถ้วนและถูกต้อง
หากเปน็ แผนภูมิที่ผู้เขยี นสรา้ งขึน้ เอง ควรจัดกลมุ่ รปู รา่ งหรือวัตถุ (Group) หรอื แปลงแผนภูมิเป็นไฟล์
ภาพ (.jpeg หรือ .tif) เพื่อให้มีเนื้อหาสมบูรณ์ ไม่มีส่วนใดขาดหายหรือเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการ
บรรณาธิกรณ์ตน้ ฉบบั หรือตีพิมพ์

- ภาพต้องมีความละเอียดสูง (300 dpi ขึ้นไป) และควรเป็นไฟล์ .jpeg หรือ .tif เพื่อให้
สามารถเห็นไดช้ ัดเจนเมื่อตีพิมพ์

รูปแบบการอา้ งองิ
วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณาใช้รูปแบบ APA ทั้งการอ้างอิงในเนื้อหาและการ

อ้างอิงท้ายบทความผู้เขียนสามารถศึกษารายละเอียดรูปแบบการอ้างอิงแบบ APA ได้ที่เว็บไซต์
www.apastyle.org

1. การอ้างอิงในเนอื้ หา (In-text Citations)
- ใช้การอ้างอิงแบบนาม-ปี (Author-Date) ตามรูปแบบ APA
- ชื่อหนังสือ วรรณกรรม ภาพยนตร์ โสตทัศน์วัสดุ (Audio-Visual Materials) ให้พิมพ์

ช่อื ด้วยตัวเอน ตามด้วยวงเลบ็ ปพี .ศ.หรอื ค.ศ.ของผลงานดังกล่าวหากจำเปน็ หากเป็นชอ่ื ภาษาอังกฤษ
ใหใ้ ชร้ ปู แบบ Title Case

- ชื่อบทความให้อยู่ในเครื่องหมายอัญประกาศ พร้อมทั้งใช้รูปแบบการอ้างอิงที่ถูกต้อง
หากเปน็ ชือ่ ภาษาองั กฤษ ใหใ้ ชร้ ปู แบบ Title Case

- ชื่อผู้แต่งภาษาต่างประเทศให้เลือกแบบใดแบบหนึ่งดังต่อไปนี้ และใช้รูปแบบเดียวกัน
ตลอดทั้งบทความ

24

ก.ระบุชื่อภาษาต่างประเทศในบทความ โดยจะใช้ทั้งชื่อและนามสกุล หรือเฉพาะนามสกุลก็ได้ ตาม
ด้วยวงเล็บปที พ่ี ิมพ์ และเลขหน้าหากจำเป็น เช่น Stuart Hall (1997: 23)
ข. ระบุชื่อเป็นภาษาไทยในเนือ้ ความ ตามด้วยชื่อภาษาต่างประเทศและปีที่พิมพ์ในวงเล็บ แต่ผู้เขียน
ต้องตรวจสอบว่า เป็นการแปลชื่อภาษาไทยที่ถูกต้องและใช้กันอย่างแพร่หลาย เช่น สจ๊วต ฮอลล์
(Stuart Hall, 1997: 23)

2. รายการอา้ งอิงท้ายบทความ (Reference list)
สำหรับบทความภาษาไทย ต้องมีรายการอ้างอิงแบบ 2 ภาษา เริ่มจากรายการอ้างอิง

ภาษาดั้งเดิม ไดแ้ ก่ ภาษาไทย ตามดว้ ยภาษาองั กฤษ และ/หรือภาษาต่างประเทศอืน่
3. การตรวจ แกไ้ ข และใหค้ วามเหน็ ในไฟล์ตน้ ฉบับบทความ
นอกจากผลการประเมนิ บทความจากผูท้ รงคณุ วุฒิแล้ว ในบางกรณี ผู้เขียนอาจได้รับไฟล์

ต้นฉบับที่มีการแก้ไขแนบกลับไปด้วย กองบรรณาธิการจะเรียบเรียงข้อความใหม่ พิสูจน์อักษร และ
นำความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิมาใส่กำกับในไฟล์ต้นฉบับบทความ โดยใช้ฟังก์ชั่น “การติดตามการ
เปล่ียนแปลง” (Track Changes) ซงึ่ เปน็ ฟงั กช์ ่ันพ้ืนฐานในโปรแกรม Microsoft Word จากน้ันจึงส่ง
ต้นฉบบั กลับไปให้ผูเ้ ขยี นพิจารณา และขอใหแ้ กไ้ ขบนไฟลท์ แ่ี ก้ไขแลว้ ดังกล่าว

ดังนั้น เมื่อได้รับไฟล์ต้นฉบับจากกองบรรณาธิการกลับไปพร้อมผลการประเมิน ผู้เขียน
ควรใช้ฟังก์ชั่น Track Changes เพื่อตรวจสอบว่ามีการแก้ไขต้นฉบับและให้ความเห็นเพิ่มเติมในจุด
ใดบา้ ง เพอื่ ทำใหก้ ารปรบั ปรุงบทความเป็นไปไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ครบถว้ น และรวดเรว็ ย่ิงข้ึน

ขอ้ ดีของวารสาร
1. สามารถเข้าถึงกลุม่ เปา้ หมายไดต้ ามความต้องการ
2. ดึงดูดความสนใจได้ดี
3. มคี วามยืดหยนุ่ สงู สามารถเปล่ียนแปลงเน้ือหาและรปู เล่มให้เป็นไปตามความต้องการและ
งบประมาณขององค์การได้
4. มคี วามต่อเน่ืองสูง สามารถใสร่ ายละเอียดท่ีต้องการสือ่ สารได้เปน็ จำนวนมาก

2.6 ภาพขา่ วเพ่ือการประชาสมั พันธ์
ภาพถ่ายช่วยให้ข่าวมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น เพราะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหา รายละเอียดของ

เรื่อง รวมทั้ง นิยมชมชอบต่อบุคคลและหน่วยงานได้ดียิ่งขึ้น ภาพถ่ายจึงเป็นสื่อที่มีบทบาทสําคัญใน
การประชาสมั พันธ์ ประเภทของภาพขา่ วเพ่อื การประชาสัมพันธ์

25

ความหมายของ ภาพขา่ วเพ่อื การประชาสมั พันธ์ คือภาพถา่ ยท่ชี ่วยใหข้ ่าวมคี วามสมบรู ณ์ย่ิงข้ึน
เพราะช่วยใหผ้ ู้อ่านเขา้ ใจเนื้อหา รายละเอียดของเร่ือง รวมท้งั นยิ มชมชอบต่อบุคคลและหน่วยงานได้
ดีย่งิ ขน้ึ ภาพถ่ายจงึ เป็นส่อื ที่มบี ทบาทสําคัญในการประชาสัมพนั ธ์

การถ่ายภาพในงานประชาสัมพันธ์มีหลายรูปแบบหลายลักษณะ ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราต้องการ
สื่อ ความหมายอะไร หรือประชาสัมพันธ์ไปเพื่ออะไร เพื่อสร้างภาพลักษณ์องค์กร เพื่อโฆษณาสินค้า
ผลิตภัณฑ์หรือบอกเล่า เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดในองค์กร ให้คนภายนอกได้รู้ โดยมีหลักง่าย ๆ ได้แก่
ภาพข่าวกิจกรรมองค์กร เรามักพบภาพ ลักษณะนี้ในคอลัมน์ข่าวหนังสือพิมพ์ หรือวารสารภายใน
องคก์ ร บุคคลในภาพ ส่วนใหญ่มกั เป็นผบู้ รหิ ารระดบั สงู ดงั น้ัน ขอแนะนําว่าการถ่ายภาพกจิ กรรมของ
องค์กรชา่ งภาพควรรู้จกั หนา้ ตาของผบู้ ริหารรวมทงั้ บคุ คลสาํ คัญขององคก์ รเปน็ อยา่ งดี และถ้าหากมี
การเชิญสื่อมวลชนมาร่วมงานเรา ควรให้การต้อนรับในฐานะเจ้าบ้านที่ดีคอยให้ความช่วยเหลือ
อาํ นวยความสะดวกให้กับสื่อมวลชน เช่น บอกชอ่ื ตําแหนง่ ของผู้บริหาร แนะนาํ วา่ มใี ครท่ีมาร่วมงาน
บ้าง และบอก กําหนดการของงานว่าจะมีอะไรบ้าง การให้การต้อนรับที่ดีโดย การผูกมิตร ทําความ
รูจ้ กั และแนะนําตัว จะชว่ ยลดความ ขดั แยง้ ในระหวา่ งถา่ ยภาพลงไดบ้ า้ ง

วตั ถุประสงคใ์ นการใชภ้ าพเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์
1. เพื่อแนะนํา
2. เพ่ือใหเ้ กิดทัศนคติทด่ี ี
3. เพือ่ ใหเ้ กดิ ภาพลักษณท์ ีด่ ี
4. เพอื่ ให้เกิดความนิยม ความศรัทธา
5. เพอื่ แก้ไขภาพพจน์ ปญั หาท่ีเกดิ ขึน้

ประเภทของภาพขา่ วเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ แบง่ เป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. ภาพบคุ คล เน้นบคุ คลสําคัญในเหตกุ ารณ์
2. ภาพกจิ กรรม เน้นกจิ กรรมท่ีนา่ สนใจ
3. ภาพสถานที่ เนน้ สถานที่สําคัญในขา่ ว
4. ภาพเหตกุ ารณ์ เน้นเหตุการณต์ ามธรรมชาติ

ขอ้ ควรพิจารณาในการถา่ ยภาพทาํ ข่าว
ในการถ่ายภาพเพอ่ื นําไปใชป้ ระกอบการทาํ ข่าว มีขอ้ ควรพิจารณาดังนี้
1. มีความสอดคล้องกับเนื้อหาข่าว โดยข่าวและภาพควรจะกลมกลืนกัน มีเนื้อหา มีชีวิตชีวา

มีความ ชัดเจน สามารถบอกเรื่องราวให้ผู้ดูรู้เรื่องและเข้าใจได้ชัดเจน และควรมีคำอธิบายภาพ ซึ่งมี

26

รายละเอียดว่าใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทําไม อย่างไร โดยพิมพ์ด้วยกระดาษต่างหากไว้ใต้ภาพ
ไมค่ วรเขียนขา้ งหลงั ภาพ

2. การถ่ายภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์ ต้องเลือกบุคคลที่น่าสนใจ จะตามใจผู้ที่ต้องการเป็น
ขา่ วไม่ได้ ต้องมีศลิ ปะและใช้วิจารณญาณในการถ่ายภาพและคัดเลือกภาพให้เหมาะสม หากภาพถ่าย
ไม่น่าสนใจไม่มคี วามแปลก ใหม่ อาจไม่ได้รับการตีพิมพ์

3. ภาพถ่ายประกอบข่าวของบุคคลผู้เป็นแหล่งขา่ วในภาพ ไม่ควรนั่งตัวตรง (แข็งเหมือนภาพ
จากบตั ร ประชาชน) ควรอยู่ในอิริยาบถต่าง ๆ เชน่ กอดอก กาํ ลงั จบั ปากกา กาํ ลังพดู อธิบาย ซึ่งทาํ ให้
ภาพขา่ วนา่ สนใจข้ึน

4. ถา้ ถ่ายภาพหมูอ่ ยา่ ใหค้ นเสมอกนั ควรมสี ูงต่ำสลับกนั
5. ระวังส่วนเกนิ ของภาพ เชน่ ต้นไมข้ ้นึ บนหัว
6. ควรนึกถึงความเป็นจริง เช่น อย่าให้ฟ้าเอียง หน้าตะแคง หรือถ้าวิ่งไปข้างหน้า ต้องเหลือ
ภาพข้างหนา้ ไว้ใหม้ าก
7. ควรเลือกระยะชัด (Focus) เฉพาะจุดที่ตอ้ งการเน้น
8. การจดั มุมกลอ้ งของภาพควรให้กล้องตำ่ กวา่ ตา
9. บรรยากาศของภาพควรกลมกลืนเปน็ ไปแบบเดยี วกัน
10. การถา่ ยภาพคน ควรใหด้ วงตามปี ระกาย (แต่ท้ังนต้ี อ้ งคํานึงถงึ เรื่องราวในภาพดว้ ย)
11. ควรใหภ้ าพเกดิ พลังในตัวเอง เช่น การตอ่ สู้การแขง่ ขัน
12. ควรคาํ นงึ ถงึ ฉากหนา้ ฉากหลัง เพ่อื ให้ภาพเด่นชดั มีความหมาย

วิธกี ารถ่ายภาพ
ภาพถ่ายที่จะนําไปประกอบข่าวนั้น ปัจจุบันมีความสะดวก รวดเร็วและง่ายขึ้น เพราะ

เทคโนโลยีของ กล้องถ่ายภาพระบบดิจิตอล ที่ใช้ระบบอัตโนมัติในการทำงาน ซึ่งมีข้อแนะนําในการ
ถ่ายภาพดังตอ่ ไปน้ี

1. วางนิ้วไวบ้ นปุ่มชัตเตอร์แล้วกดลงไปเบา ๆ ประมาณครึ่งทาง อย่าเพิ่งกดลงไปจนสุดกล้อง
จะเริ่ม โฟกัสภาพและคํานวณแสง จากนั้นค่อยกดปุ่มชัตเตอร์ลงไปอีกครึ่งหนึ่งจนสุด อย่างแผ่วเบา
กล้องกจ็ ะบันทกึ ภาพ ทันที ภาพทไ่ี ด้จะไม่สั่นและได้จงั หวะท่ีตอ้ งการ

2. การถ่ายภาพยอ้ นแสง สามารถเปดิ แฟลชชว่ ย เพอื่ ไม่ใหภ้ าพท่ีออกมามดื
3. การถา่ ยภาพบคุ คลครง่ึ ตวั ผถู้ า่ ยภาพควรยอ่ ตวั เลก็ นอ้ ย เนอื่ งจาก หากถ่ายจากสว่ นสูงปกติ
แลว้ ภาพท่ีอยู่ในมมุ ทก่ี ดลง จะทําใหศ้ รี ษะดูใหญ่ และช่วงตัวดูสน้ั เป็นสาเหตุให้ไดภ้ าพที่ลำตัวและขา
สน้ั แตศ่ ีรษะโต เม่อื ถา่ ยภาพบุคคลเต็มตัว

27

4. การถา่ ยภาพบคุ คล ตอ้ งคํานงึ ถงึ องค์ประกอบ ด้านแสง ฉากหนา้ ฉากหลัง โดยเฉพาะ ฉาก
หลังที่ดี ต้องไม่รกรุงรัง และรบกวนสายตาในการมอง เช่น มีใบไม้หรือเสาโผล่ขึ้นมาจากศีรษะต้อง
หลีกเลี่ยงฉากดงั กลา่ ว หรือถา่ ย ให้ฉากหลังเบลอ ด้วยการปรับรรู บั แสงให้กว้าง ความเรว็ ชัตเตอร์สูง
หลักการถา่ ยภาพ - วีดีโองานประชาสัมพันธ์ ตอ้ งมีองคป์ ระกอบใหค้ รบ ดงั นี้

1. กจิ กรรมหลัก What – When – Why – How
2. ภาพกลาง - ใกล้ บุคคลสาํ คญั ในกิจกรรม Who
3. ภาพสถานท่ี (ป้าย) Where
4. ภาพหมู่ (หน้าป้าย Backdrop)
5. ภาพบรรยากาศ
6. ถ่ายสิง่ ของตกแต่งในงาน (ปา้ ยต่าง ๆ )
7. ถา่ ยบรรยากาศการ (ลงทะเบยี น การเย่ียมชม)
8. ถ่ายคนมสี ่วนรว่ ม (Engagement)
9. ถ่ายเกบ็ อารมณข์ องผู้คน (Candid) (จะทําให้ภาพมีชวี ติ )

เคล็ดลบั ในการถ่ายภาพหมเู่ พ่อื นําไปเปน็ ภาพประกอบข่าว
ภาพข่าวประชาสัมพันธ์นั้นต้องใช้ภาพหมู่เพื่อประกอบในการเผยแพร่ข่าวค่อนข้างมาก

ซ่งึ มขี อ้ แนะนาํ ในการถ่ายภาพหมดู่ งั น้ี
1. พยายามให้น้ำหนักของภาพดูสมดุล ไม่หนักไปทางซ้ายหรือขวา ซึ่งเป็นหน้าที่ของช่างภาพ

เนอ่ื งจาก เป็นผทู้ ่เี หน็ องค์ประกอบท้ังหมด ผู้ทถ่ี กู ถา่ ยจะไมท่ ราบว่าภาพดสู มดลุ ดีหรือไม่
2. การถา่ ยภาพหมูบ่ อ่ ยครง้ั ตอ้ งถา่ ยในทม่ี แี สงน้อย ต้องใช้แฟลชชว่ ย ควรให้ภาพท่ีออกมาเห็น

ชดั เจน ทกุ คน
3. หากไม่ต้องการให้ผู้ถูกถ่ายภาพหมบู่ างคนหลบั ตา อาจใช้วธิ ี บอกใหท้ กุ คนหลับตาก่อนแล้ว

จงึ นบั 1 – 2 – 3 ใหเ้ ปิดตาได้ แล้วจงึ ทําการกดชตั เตอรถ์ า่ ยภาพ จะได้ภาพทีไ่ มม่ ีใครหลับตา
4. การถ่ายภาพหมู่ไม่จําเป็นต้องถ่ายภาพเมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรม อาจถ่ายตอนเริ่มต้นกิจกรรม

หรือ ระหวา่ งการทาํ กิจกรรม เพราะหากรอเสร็จส้นิ กิจกรรม สมาชิกอาจอยูไ่ ม่ครบหรอื ส่ือมวลชนบาง
ทา่ นไม่สามารถรอจน จบกจิ กรรม อาจกลับไปกอ่ นได้

บทที่ 3
รายละเอียดของงานท่ีปฏบิ ัติ

3.1 รายละเอียดงานท่ไี ด้รับมอบหมาย
3.1.1 เขียนข่าว/สัมภาษณ์/ถา่ ยรปู เพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์
- งานข่าวของคณะแพทย์ ม.อ. จะเป็นงานข่าวสำคัญ ๆ ต้องมีการประชาสัมพันธ์ เมื่อ

เราได้ข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวงานน้ัน ๆ แล้วก็นำมาเรียบเรียงเปน็ บทความในรปู แบบต่าง ๆ เช่น บางเรื่อง
จะเป็นบทความข่าว บางเรื่องจะเป็นบทความวิชาการ ซึ่งต้องจัดเรียบเรียงให้ถูกต้องโดยมีพี่ปรึกษา
เป็นผูค้ วบคุม ดแู ลและตรวจงานให้

- ในบางข่าว จะต้องไปสัมภาษณ์บุคคลเพิ่มเติม จะมีตั้งแต่สัมภาษณ์ กิจกรรมที่
นกั ศกึ ษาคณะแพทย์ จัดทำ สัมภาษณบ์ ุคลากรแพทย์ สมั ภาษณ์อาจารย์ เปน็ ตน้ เพ่ือให้ได้ข้อมูลให้ได้
มากที่สดุ และนำมาจัดเรยี บเรียงเป็นบทความตอ่ ไป

- ในข่าวต่าง ๆ จะตอ้ งมีภาพประกอบในบทความ ซ่ึงเราจะต้องถา่ ยภาพน่ิงด้วย ในการ
ถา่ ยภาพนิ่งจะต้องเตรียมความพรอ้ มในเร่ืองกลอ้ ง หามุมทเี่ หมาะสม เป็นตน้

3.1.2 ร่วมจดั กิจกรรม (Event), จัดงานแถลงข่าว
- ในกรณีบางข่าวจัดกรรม จะต้องมีสื่อมวลชนจากที่ต่าง ๆ ซึ่งทางงานประชาสัมพันธ์

จะต้องจัดการและประสานงานดงั กลา่ ว หากมขี อ้ มลู อะไรก็จะต้องแจง้ ใหถ้ ูกต้องเรยี บร้อย
3.1.3 ร่วมจัด/เตรยี มอุปกรณ์ งานด้านการ Live สด
- ก่อนที่จะถึงวันจัดรายการ Live สด ชื่อรายการว่า Live สาระกับหมอ ม.อ. โดยผ่าน

ทางเพจ Facebook โรงพยาบาลสงขลานครินทร์-Songklanagarind Hospital จดั เตรยี มห้องสตูถ่าย
ทำก่อน 1 วัน จัดเตรียมย้ายอุปกร์ดังนี้ ไฟ ขาตั้งหล้อง กล้อง เก้าอี้ โต๊ะ แล้วพร๊อบตกแต่งฉากหลัง
ของพธิ ีกรกับหมอ และทำการซ้อมหน้างานและเบอ้ื งหลงั ก่อนวนั ถ่ายจริง

3.1.4 ออกแบบสอ่ื ให้ความรใู้ นรูปแบบต่าง ๆ
- ออกแบบสื่ออินโฟกราฟิก โดยก่อนที่จะจัดทำจะต้องถอดเทปรายงาน Live สาระกับ

หมอ ม.อ. และสรุปข้อมูลให้ถูกต้อง หาข้อมูลดูตัวอย่างผลงาน ได้จาก เพจ โรงพยาบาลสงขลา
นครินทร์-Songklanagarind Hospital เพื่อเป็นแนว และทำการแบบงานอินโฟกราฟิกเพื่อ
ประชาสมั พนั ธ์

3.1.5 ชว่ ยเหลอื งานอ่นื ๆ ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
- ช่วยเหลืองานด้านจิตอาสา ในช่วงปีใหม่ จัดนำชิ้นงานที่เป็น วารสารข่าวคณะแพทย์

จัดส่งใหก้ ับโรงพยาบาลต่าง ๆ ท่วั ประเทศ โดยพี่ที่ปรึกษาพ่ีจะมขี อ้ มลู ทอี่ ยู่ของแต่ละสถานที่มาให้

29

- จัดเตรียมการ์ดส่งความสุข ในช่วงปีใหม่ให้บุคลากรในหน่วยงานต่าง ๆ ของ
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

- คีย์ข้อมูล การตอบแบบสอบถาม เรื่อง ช่องทางการรับข้อมูลข่าวสารของบุคลากรใน
คณะแพทยศาสตร์

3.2 รายละเอียด และขอบเขต ผลงานวารสาร
ผลงานวารสาร เป็นวารสารประเภทขา่ ว เพอ่ื การประชามสัมพนั ธ์ชอ่ื “เรื่องเล่าข่าวคณะแพทย์”

โดยจดั ทำเปน็ รูปแบบออนไลน์ มเี นือ้ หาในวารสารจะมีดงั น้ี
- ประวตั คิ วามเป็นมาของคณะแพทย์ ม.อ.
- คอลัมน์ขา่ วทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั คณะแพทย์
- อนิ โฟกราฟกิ (Infographic)
- ภาพถา่ ยกจิ กรรมต่าง ๆ ท่ไี ดเ้ ขา้ ร่วม

3.3 ขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน
3.2.1 ทำความเขา้ ใจเก่ียวกบั งานที่ได้รบั มอบหมาย
3.2.2 ศกึ ษาตวั อยา่ งงานและวางแผนก่อนลงมือทำ กำหนดระยะเวลาในการทำงาน
3.2.3 ลงมือปฏบิ ัติงานท่ีได้รับมอบหมาย
3.2.4 ตรวจสอบความถูกต้องของงาน
3.2.5 แกไ้ ขงาน หากมีข้อบกพร่องหรือผดิ พลาด เพ่ือให้งานออกมาสมบรู ณ์

บทท่ี 4
ผลการดำเนินงาน

4.1 ผลการทำเนินงาน
3.1.1 เขียนขา่ ว/สมั ภาษณ/์ ถา่ ยรูป เพ่ือการประชาสัมพันธ์

ภาพท่ี 4.1 เรียบเรียงบทความข่าว เรื่อง ส่งมอบเคร่ืองเอกซเรย์ CT Scan ให้ รพ. ม.อ.

ภาพท่ี 4.2 ไปสัมภาษณข์ า่ วเพ่ิมเติม เรื่อง ตงั กวนชวนนบั CPR Helper

ภาพที่ 4.3 เรยี บเรยี งบทความข่าว เรอ่ื ง ตังกวนชวนนบั CPR Helper

31
ภาพท่ี 4.4 ไปสัมภาษณข์ ่าว นักศกึ ษาแพทย์ ไปจัดกิจกรรมท่เี กาะหมาก
ภาพท่ี 4.5 ถอดเทปที่ไดจ้ ากการสัมภาษณ์ นกั ศึกษาแพทย์ ไปจัดกิจกรรมทีเ่ กาะหมาก
ภาพที่ 4.6 เรียบเรยี งบทความ เร่อื ง นกั ศึกษาแพทย์จัดโครงการทีเ่ กาะหมาก จ.พทั ลุง

ภาพท่ี 4.7 ไปสัมภาษณ์แพทยท์ ่คี ดิ คน้ อปุ กรณถ์ า่ งลนิ้ P-SURF-2

32
ภาพท่ี 4.8 ถอดเทปจากการสัมภาษณ์ เรือ่ ง อุปกรณถ์ ่างลนิ้
ภาพท่ี 4.9 เรยี บเรียงบทความข่าวท่ีได้จากการสมั ภาษณ์ เรื่อง อปุ กรณถ์ ่างล้ิน
ภาพที่ 4.10 เรียบเรยี งเขยี นบทความ คณะแพทยจ์ ัดประชุมวิชาการ HA โรงพยาบาลภาคใต้
ภาพท่ี 4.11 เตรยี มขอ้ คำถามไปสัมภาษณ์ เร่ือง เคร่ือง 3D Printer

33
ภาพท่ี 4.12 ถอดเทปจากการสัมภาษณ์ เรื่อง เครื่อง 3D Printer
ภาพท่ี 4.13 เรยี บเรียงบทความขา่ วท่ีได้จากการสัมภาษณ์ เรอ่ื ง เครื่อง 3D Printer
ภาพท่ี 4.14 ถอดเทปจากการสัมภาษณ์ เรอื่ ง Application Sleepmore
ภาพที่ 4.15 เรียบเรียงบทความข่าวที่ได้จากการสัมภาษณ์ เรือ่ ง Application Sleepmore

34
ภาพที่ 4.16 ถอดเทปจากการสมั ภาษณ์ เร่อื ง เจ้าหนา้ ท่ีดูแลอาคารเย็นศริ ะ
ภาพท่ี 4.17 เรยี บเรียงบทความจากการสมั ภาษณ์ เร่ือง เจ้าหนา้ ท่ดี แู ลอาคารเยน็ ศริ ะ

ภาพท่ี 4.18 ถอดเทปวดี ิโอ สัมภาษณ์ รศ.พญ.รตั นา ลีลาวัฒนา
ภาพท่ี 4.19 ถอดเทปวีดิโอ สัมภาษณ์คนเลี้ยงอาคารอาคารเย็นศริ ะ เคสพีห่ ญิงพีจ่ อม

35
ภาพท่ี 4.20 เรียบเรียงบทความสัมภาษณ์คนเลี้ยงอาคารอาคารเยน็ ศิระ เคสพ่หี ญิงพ่จี อม

ภาพท่ี 4.21 ไปสัมภาษณ์เจา้ หนา้ ท่ีดแู ลอาคารเยน็ ศริ ะ
ภาพท่ี 4.22 เรยี นร้กู ารถ่ายในสตู เพื่อเตรียมถา่ ยภาพบุคลากรตา่ ง ๆ ท่ที ำผลงาน
ภาพที่ 4.23 ถ่ายภาพสนิ ค้าเพอ่ื ลงขาย ของมูลนธิ โิ รงพยาบาลสงขลานครินทร์

36

ภาพท่ี 4.24 ตดั ต่อวีดโิ อสมั ภาษณ์เจ้าหนา้ ท่ีอาคารเยน็ ศริ ะ
3.1.2 รว่ มจดั กจิ กรรม (Event), จดั งานแถลงข่าว

ภาพที่ 4.25 ภาพถา่ ยจากการเขา้ รว่ มจดั แถลงข่าว MOU ส่ง-มอบ เครื่องเอกซเรย์ศพ CT Scan

ภาพที่ 4.26 ไป Event จดั เตรียมอุปกรณ์ ปา้ ยหน้างาน MK จดั กิจกรรมให้โรงพยาบาลสงขลา
นครินทร์

37

ภาพที่ 4.27 เข้ารว่ มงานแถลงขา่ ว งานเปดิ ตัวก่อสร้างโครงการอาคารเย็นศริ ะ 3
ภาพท่ี 4.28 เข้าร่วมงานจดั พิธีทำบุญให้กับผู้ทเ่ี สยี ชีวิตในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
3.1.3 รว่ มจัด/เตรียมอุปกรณ์ งานด้านการ Live สด
ภาพท่ี 4.29 จัดเตรยี มอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ท่ีใชใ้ นการ Live สด รายการ live สาระกับหมอ ม.อ.

38

3.1.4 ออกแบบส่ือใหค้ วามรใู้ นรูปแบบต่าง ๆ

ภาพท่ี 4.30 ถอดเทปจากรายการ Live สาระกบั หมอ ม.อ. เร่อื ง เดก็ นอนกรน

ภาพท่ี 4.31 ถอดเทปจากรายการ Live สาระกับหมอ ม.อ. เร่ือง อว้ น

ภาพที่ 4.32 ถอดเทปจากรายการ Live สาระกบั หมอ ม.อ. เรื่อง กรดไหลย้อน

39

ภาพที่ 4.33 ผลงานอินโฟกราฟิก ให้ความรูจ้ ากรายการ Live สาระกับหมอ ม.อ.
ภาพที่ 4.34 ผลงานทำการด์ ส่งปีใหม่ นำไปพิมพก์ ระดาษสต๊ิกเกอร์ติดของมอบของขวัญสวสั ดปี ใี หม่

3.1.5 ชว่ ยเหลอื งานอ่ืน ๆ ที่ได้รบั มอบหมาย
ภาพที่ 4.35 คยี ์ข้อมูล การตอบแบบสอบถามของพยาบาล


Click to View FlipBook Version