The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ksr120267, 2024-04-25 03:50:43

ภาวะมีบุตรยาก

ภาวะมีบุตรยาก

การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 99 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 3.3 ตรวจประเมินสภาพท่อนําไข่ในกรณี ที่มีความจําเป็น 4. ประเมินสภาพแวดล้อมของผู้ขอรับบริการ หญิงที่รับตั้งครรภ์แทนและผู้บริจาคอสุจิ/ไข่ เช่นปัจจัยด้านครอบครัวด้านเศรษฐานะ อาชีพเป็นต้น 5. ตรวจประเมินความพร้อมทางด้านสภาพจิตใจ ของผู้ขอรับบริการหญิงที่รับตั้งครรภ์แทน และผู้บริจาคอสุจิ/ไข ่เพื่อประเมินสภาพ จิตใจด้านต่างๆของผู้รับบริการเทคโนโลยี ช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์อย่างน้อย โดยการสัมภาษณ์และสังเกตพฤติกรรมการ แสดงออกในด้านต่างๆเพื่อค้นหาความ ผิดปกติหากกรณีมีข้อบ ่งชี้ควรผ ่านการ ตรวจสอบจากจิตแพทย์ ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


| 100 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 7.1.1 การใช้ไข่บริจาคผู้รับบริการ ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 36 ต้องเป็น สามีและภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 36ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน3ปีหรือปรับไม่เกิน 60,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 51) ผู้ให้บริการ : ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 35ห้ามมิให้ ผู้ใดซึ่งมิใช่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมให้บริการ เกี่ยวกับการรับบริจาคไข่ : ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42 และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 ผู้ดําเนินการ สถานพยาบาลต้องดําเนินการให้เป็นไปตาม กฎหมายและต้องกระทําภายใต้การกํากับดูแล ของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่มีคุณสมบัติตาม พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 15และประกาศ แพทยสภาที่ 95(1)/2558และมีบุคลากร เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ตามพรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 15และประกาศแพทยสภาที่ 95 (2)/2558 กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 35ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน10ปีหรือปรับไม่เกิน 200,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 50) กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42ให้ ถือว ่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 15ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน1ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 46) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 101 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ การบริการ 1. ห้ามซื้อเสนอซื้อขายนําเข้า หรือส่งออกไข่ ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 41 2. ห้ามโฆษณาว่ามีไข่เพื่อให้หรือเพื่อการบริจาค 3. ผู้บริจาคไข ่ลงนามในหนังสือแสดงความ ยินยอมบริจาคไข่ 4. มีการตรวจประเมินผู้บริจาคไข่เพื่อป้องกัน การถ่ายทอดโรคติดต่อเช่นเอชไอวีตับ อักเสบและซิฟิลิสเป็นต้น 5. ห้ามนําไข่ไปใช้เพื่อประโยชน์ทางการค้า 6. ผู้บริจาคไข่ต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 6.1 อายุ20-35ปี 6.2 อายุ20-40ปีกรณีเป็นญาติสืบสาย โลหิตของภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย โดยที่มีหลักฐานทางกฎหมาย กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 41ต้อง ระวางโทษจ�ำคุกไม ่เกิน3ปีหรือปรับไม ่เกิน 60,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 51) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


| 102 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 6.3 ผ่านการตรวจประเมินความพร้อม ทางด้านร่างกายจิตใจและสภาพ แวดล้อมและต้องได้รับค�ำปรึกษา เกี่ยวกับความเสี่ยงในการบริจาคไข่ ก่อนเริ่มด�ำเนินการ 6.4 มีหรือเคยมีสามีที่ชอบด้วยกฎหมาย กรณีมีสามีที่ชอบด้วยกฎหมายต้อง มีหนังสือยินยอมจากสามีเป็นลาย ลักษณ์อักษรซึ่งไม่รวมถึงในกรณี ผู้บริจาคไข่ที่เป็นญาติสืบสายโลหิต ของภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย 6.5 บริจาคไข่ได้ไม่เกิน3ครั้ง 6.6 ห้ามมิให้บุคคลที่มีความสัมพันธ์ ใกล้ชิดทางพันธุกรรมกับฝ่ายสามีหรือ เป็นมารดาหรือเป็นบุตรของภริยาที่ชอบ ด้วยกฎหมายเป็นผู้บริจาคไข่ 6.7 ห้ามมิให้บุคลากรที่อยู่ในทีมงานที่ให้ บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ทางการแพทย์เป็นผู้บริจาคไข่ ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 103 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 7. สามีหรือภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายที่รับ บริจาคไข่ต้องเป็นผู้ที่มีหรือเคยมีสัญชาติ เดียวกันกับผู้บริจาคไข ่และต้องได้รับ ค�ำปรึกษาแนะน�ำเกี่ยวกับความเสี่ยงของ อุบัติการณ์ของทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติ 8. สามีและภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายที่ขอรับ บริจาคไข่ต้องลงนามในหนังสือแสดงความ ยินยอมในการขอรับไข่บริจาค 9. ห้ามรับบริจาคไข่จากผู้บริจาคมากกว่า 1คน ในแต่ละรอบการรักษา 10. การเก็บรักษาข้อมูลการบริจาคไข ่ให้ สามารถตรวจสอบได้ไม่น้อยกว่า 20ปี 11. กรณีที่มีการตั้งครรภ์ที่เกิดจากไข ่บริจาค ต้องเก็บรักษาเอกสารไว้ไม่น้อยกว่า 20ปี นับแต่วันที่เด็กคลอดและอยู่รอดเป็นทารก ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


| 104 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 12. การให้บริการโดยการใช้ไข่บริจาคต้องได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการควบคุม คุณภาพและจริยธรรมของสถานพยาบาล ก่อน * ข้อ2-10ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 * ข้อ11และ12ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 15 และประกาศแพทยสภาที่ 95(2)/2558 สิทธิเด็กที่เกิดจากไข่ของผู้บริจาค เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของสามีและภริยา ที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งประสงค์จะมีบุตรหญิง ที่บริจาคไข ่และเด็กที่เกิดไม ่มีสิทธิและหน้าที่ ระหว่างกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยครอบครัวและมรดกตามพรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 29 ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 105 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 7.1.2 การใช้อสุจิบริจาคผู้รับบริการ ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 36 ต้องเป็น สามีและภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 36ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน3ปีหรือปรับไม่เกิน 60,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 51) ผู้ให้บริการ ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 35ห้ามมิให้ ผู้ใดซึ่งมิใช่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมให้บริการ เกี่ยวกับการรับบริจาคอสุจิ กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 35ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน10ปีหรือปรับไม่เกิน 200,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 50) : ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558ผู้ดําเนินการ สถานพยาบาลต้องดําเนินการให้เป็นไปตาม กฎหมายและต้องกระทําภายใต้การกํากับดูแล ของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่มีคุณสมบัติตาม พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 15และประกาศ แพทยสภาที่ 95(1)/2558และมีบุคลากร เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ตามพรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 15และประกาศแพทยสภาที่ 95(2)/2558 กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42ให้ ถือว ่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 15ต้อง ระวางโทษจําคุกไม ่เกิน1ปีหรือปรับไม ่เกิน 20,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 46) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


| 106 | ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ) ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ การบริการ 1. ห้ามซื้อเสนอซื้อขายนําเข้า หรือส่งออก อสุจิตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 41 2. ห้ามโฆษณาว ่ามีอสุจิเพื่อให้หรือเพื่อการ บริจาค 3. ต้องมีข้อบ ่งชี้และมีหนังสือแสดงความ ยินยอมของผู้รับบริจาคอสุจิทั้งสามีและ ภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย 4. มีการตรวจประเมินผู้บริจาคอสุจิ 5. ห้ามนําอสุจิไปใช้เพื่อประโยชน์ทางการค้า 6. ผู้บริจาคอสุจิต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 6.1 อายุ20-45ปี 6.2 ผ่านการตรวจประเมินความพร้อม ทางด้านร่างกายจิตใจและสภาพ แวดล้อม 6.3 ในกรณีที่ผู้บริจาคอสุจิมีภริยาที่ชอบ ด้วยกฎหมายจะต้องได้รับความยินยอม จากภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายด้วย กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 41ต้อง ระวางโทษจ�ำคุกไม ่เกิน3ปีหรือปรับไม ่เกิน 60,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 51)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 107 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 6.4 มีสุขภาพแข็งแรงทั้งทางร่างกายและ จิตใจ 6.5 ไม่มีประวัติความเสี่ยงของโรคทาง พันธุกรรมโรคติดต่อร้ายแรงเช่น เอชไอวีเป็นต้น 6.6 ไม่มีประวัติการใช้ยาหรือสารเสพติด 6.7 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 6.8 ห้ามผู้ที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดทาง พันธุกรรมกับฝ่ายภริยาเป็นผู้บริจาค อสุจิ 6.9 ห้ามบิดาหรือบุตรของสามีที่ชอบ ด้วยกฎหมายเป็นผู้บริจาคอสุจิ 6.10 ห้ามผู้ที่อยู ่ในองค์ประกอบของ บุคลากรเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ทางการแพทย์เป็นผู้บริจาคอสุจิแก่ ผู้ขอรับบริการ 6.11 ผู้บริจาคอสุจิสามารถบริจาคอสุจิได้ เฉพาะกรณีที่เมื่อบริจาคแล้วมีการ ตั้งครรภ์จนได้บุตรไม่เกิน10ครอบครัว ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


| 108 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 7. อสุจิจากผู้บริจาคต้องเก็บไว้อย ่างน้อย 6เดือนเพื่อติดตามประเมินสุขภาพและ ความเสี่ยงของโรคติดต่อในผู้บริจาค 8. การเก็บรักษาข้อมูลการบริจาคอสุจิให้ สามารถตรวจสอบได้ไม่น้อยกว่า 20ปี 9. กรณีที่มีการตั้งครรภ์ที่เกิดจากอสุจิบริจาค ต้องเก็บรักษาเอกสารไว้ไม่น้อยกว่า 20ปี นับแต่วันที่เด็กคลอดและอยู่รอดเป็นทารก * ข้อ2-5, 6.1-6.3, 6.11, 8ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42 และประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 * ข้อ6.4-6.10ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 19และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(6)/2558 * ข้อ7ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 20 และประกาศ แพทยสภาที่ 95(7)/2558 * ข้อ9ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 15และประกาศ แพทยสภาที่ 95(2)/2558 กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 19 มาตรา 20ให้ถือว่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรม แห ่งวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมายว ่าด้วย วิชาชีพเวชกรรม(พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 109 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ สิทธิเด็กที่เกิดจากอสุจิของผู้บริจาค เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของสามีและภริยา ที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งประสงค์จะมีบุตรชาย ที่บริจาคอสุจิและเด็กที่เกิดไม่มีสิทธิและหน้าที่ ระหว่างกันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยครอบครัวและมรดกตามพรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 29 7.1.3 การใช้ตัวอ่อนบริจาคผู้รับบริการ ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 36 ต้องเป็น สามีและภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 36 ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน3ปีหรือปรับไม่เกิน 60,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 51) ผู้ให้บริการ : ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 35ห้ามมิให้ ผู้ใดซึ่งมิใช่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมให้บริการ เกี่ยวกับการรับบริจาคตัวอ่อน กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 35ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน10ปีหรือปรับไม่เกิน 200,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 50) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


| 110 | ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ) ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ : ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558ผู้ดําเนินการ สถานพยาบาลต้องดําเนินการให้เป็นไปตาม กฎหมายและต้องกระทําภายใต้การกํากับดูแล ของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่มีคุณสมบัติตาม พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 15และประกาศ แพทยสภาที่ 95(1)/2558 และมีบุคลากร เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ตามพรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 15 และประกาศแพทยสภาที่ 95 (2)/2558 กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42 ให้ถือว่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 15ต้อง ระวางโทษจําคุกไม ่เกิน1ปีหรือปรับไม ่เกิน 20,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็ก ฯ มาตรา 46) การบริการ 1. ห้ามซื้อเสนอซื้อขายนําเข้า หรือส่งออก ตัวอ่อนตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 41 2. ห้ามโฆษณาว่ามีตัวอ่อนเพื่อให้หรือเพื่อการ บริจาค กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 41ต้อง ระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน3ปีหรือปรับไม่เกิน 60,000บาทหรือทั้งจ�ำทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 51)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 111 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 3. เนื่องจากตัวอ่อนถือเป็นสิทธิของสามีและ ภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายร ่วมกันการ บริจาคตัวอ่อนจึงเป็นการตัดสินใจของสามี และภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายนั้นร่วมกัน เว้นแต่จะมีข้อตกลงเป็นอย่างอื่นที่ชอบด้วย กฎหมาย 4. มีการตรวจประเมินผู้บริจาคตัวอ ่อนเพื่อ ป้องกันการถ่ายทอดโรคติดต่อเช่นเอชไอวี ตับอักเสบและซิฟิลิสเป็นต้น 5. ห้ามนําตัวอ่อนไปใช้เพื่อประโยชน์ทางการค้า 6. ผู้บริจาคตัวอ่อนต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 6.1 อายุ20-35ปีขณะทําการปฏิสนธิ ตัวอ่อน 6.2 ผู้บริจาคตัวอ่อนต้องมีสามีและภริยา ที่ชอบด้วยกฎหมายและมีหนังสือ ยินยอมจากทั้ง2ฝ ่ายเป็นลาย ลักษณ์อักษร ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


| 112 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 7. ผู้รับบริจาคตัวอ่อนต้องมีสัญชาติเดียวกัน กับผู้บริจาคตัวอ่อนและมีสามีหรือภริยาที่ ชอบด้วยกฎหมาย 8. ห้ามผู้รับบริจาคตัวอ ่อนใช้ตัวอ ่อนจาก ผู้บริจาคมากกว่า 1คนในแต่ละรอบการรักษา 9. การเก็บรักษาข้อมูลการบริจาคตัวอ่อนให้ สามารถตรวจสอบได้ไม่น้อยกว่า 20ปี 10. กรณีที่มีการตั้งครรภ์ที่เกิดจากตัวอ ่อนที่ บริจาคให้เก็บเอกสารไว้ไม่น้อยกว่า 20ปี นับแต่วันที่เด็กคลอดและอยู่รอดเป็นทารก * ข้อ2ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42และประกาศ แพทยสภาที่ 95(9)/2558 * ข้อ3-9ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 17และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(4)/2558 * ข้อ10ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 15 และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(2)/2558 กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 17ให้ ถือว ่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 113 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ สิทธิเด็กที่เกิดจากตัวอ่อนของผู้บริจาค เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของสามีและภริยา ที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งประสงค์จะมีบุตรผู้ที่บริจาค ตัวอ่อนและเด็กที่เกิดไม่มีสิทธิและหน้าที่ระหว่าง กันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วย ครอบครัวและมรดกตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 29 7.1.4 การแช่แข็งไข่ผู้รับบริการ ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 1. ลงนามในหนังสือแสดงความยินยอม 2. มีการตรวจผู้รับบริการเพื่อป้องกันการ ถ่ายทอดโรคติดต่อเช่นเอชไอวีตับอักเสบ และซิฟิลิสเป็นต้น 3. การเก็บแช่แข็งไข่ของตนเองเพื่อการนําไข่ ไปปฏิสนธิกับอสุจิของสามีที่ชอบด้วย กฎหมาย กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42ให้ ถือว ่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


| 114 | ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ) ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 4. การเก็บแช่แข็งไข่ของตนเองก่อนการรักษา ด้วยเคมีบําบัดหรือการรักษาอื่นที่อาจเป็น อันตรายต่อรังไข่ ผู้ให้บริการ : ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 35 ห้ามมิให้ ผู้ใดซึ่งมิใช่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมให้บริการ เกี่ยวกับการแช่แข็งไข่ กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 35ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน10ปีหรือปรับไม่เกิน 200,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 50) : ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558ผู้ดําเนินการ สถานพยาบาลต้องดําเนินการให้เป็นไปตาม กฎหมายและต้องกระทําภายใต้การกํากับดูแล ของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่มีคุณสมบัติตาม พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 15 และประกาศ แพทยสภาที่ 95(1)/2558และมีบุคลากร เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ตามพรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 15และประกาศแพทยสภาที่ 95(2)/2558 กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42ให้ ถือว ่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 15ต้อง ระวางโทษจําคุกไม ่เกิน1ปีหรือปรับไม ่เกิน 20,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 46)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 115 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ การบริการ ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 1. มีระบบการเก็บรักษาแยกกันชัดเจนในกรณี ที่มีการติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ 2. กําหนดระยะเวลาการเก็บแช่แข็งไม่ตํ่ากว่า 5ปียกเว้นมีข้อตกลงเป็นหนังสือไว้เป็น อย่างอื่น 3. กรณีผู้รับบริการประสงค์จะขอย้ายไข่ให้ สถานพยาบาลที่ขอย้ายและรับย้ายไข ่ ดําเนินการตามแบบฟอร์มขอย้ายเซลล์ สืบพันธุ์ตามแบบคทพ.14 กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42ให้ ถือว ่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมาย(พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


| 116 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ กรณีผู้รับบริการตาย ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 43 และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(10)/2558 1. ห้ามนําไข่ที่แช่แข็งไว้มาใช้เว้นแต่มีการให้ ความยินยอมเป็นหนังสือไว้ก่อนตายและ ต้องใช้เพื่อบําบัดรักษาภาวะมีบุตรยากของ สามีที่ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้น 2. ไข่ที่นํามาใช้ต้องมีอายุไม่เกิน5ปีหลังจาก เจ้าของไข่ตาย 3. ต้องมีหนังสือแสดงความยินยอมของ เจ้าของไข่ก่อนการเริ่มการแช่แข็งไข่ 4. สามีที่ชอบด้วยกฎหมายของภริยาที่เป็น เจ้าของไข่ต้องได้รับคําแนะนําให้มีการระบุ การตัดสินใจในการใช้ไข่หลังจากผู้ฝากตาย ในหนังสือแสดงความยินยอมตั้งแต่ก่อนจะ เริ่มการรักษา กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 43ต้องระวางโทษจําคุกไม ่เกิน3ปีหรือ ปรับไม ่เกิน60,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 51) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 117 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 5. ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องรักษาความลับ ของเจ้าของไข่เฉพาะสามีที่ชอบด้วยกฎหมาย ของผู้เสียชีวิตเป็นผู้มีสิทธิรับทราบข้อมูล รายละเอียดของไข่ที่แช่แข็งไว้ 6. กรณีนําเอาไข่ของผู้ตายไปใช้เพื่อให้หญิงอื่น ตั้งครรภ์แทนต้องปฏิบัติตามขั้นตอนการ ตั้งครรภ์แทนตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 23 7. ให้ผู้รับผิดชอบในการดําเนินการจัดทํา รายงานการใช้ไข่หลังจากเจ้าของตายทั้งหมด ที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านมา ตามแบบคทพ. 17ส่งไปยังส�ำนักสถานพยาบาลและการ ประกอบโรคศิลปะกรมสนับสนุนบริการ สุขภาพกระทรวงสาธารณสุขภายในวันที่ 31มีนาคมของปีถัดไป กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 23ต้อง ระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน6เดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000บาทหรือทั้งจ�ำทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯมาตรา 47) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


| 118 | ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ) ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ กรณียุติการให้บริการของสถานพยาบาล ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 ผู้อ�ำนวยการ โรงพยาบาล/ผู้ด�ำเนินการสถานพยาบาลต้อง แจ้งให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกระทรวง สาธารณสุขทราบภายใน15วันนับแต่วันที่ทราบ เหตุที่ท�ำให้ไม ่สามารถด�ำเนินการได้ตามแบบ คทพ.18และติดต่อส่งมอบไข่ที่แช่แข็งไว้ไปยัง สถานพยาบาลอื่นที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ให้แล้วเสร็จ ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ทราบเหตุและรายงาน ผลการด�ำเนินการต่อกคทพ.ทราบต่อไป กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42ให้ ถือว ่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมาย (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 119 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 7.1.5 การแช่แข็งอสุจิผู้รับบริการ ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 1. ลงนามในหนังสือแสดงยินยอม 2. มีการตรวจผู้รับบริการเพื่อป้องกันการ ถ่ายทอดโรคติดต่อเช่นเอชไอวีตับอักเสบ และซิฟิลิสเป็นต้น 3. อสุจิจากผู้บริจาคต้องเก็บแช่แข็งไว้อย่าง น้อย6เดือนเพื่อติดตามประเมินสุขภาพ และความเสี่ยงของโรคติดต่อในผู้บริจาค กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42ให้ ถือว ่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) ผู้ให้บริการ : ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 35ห้ามมิให้ ผู้ใดซึ่งมิใช่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมให้บริการ เกี่ยวกับการแช่แข็งอสุจิ กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 35ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน10ปีหรือปรับไม่เกิน 200,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 50) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


| 120 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ : ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42 และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 ผู้ดําเนินการ สถานพยาบาลต้องดําเนินการให้เป็นไปตาม กฎหมายและต้องกระทําภายใต้การกํากับดูแล ของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่มีคุณสมบัติ ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 15และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(1)/2558และมี บุคลากรเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการ แพทย์ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 15 และประกาศแพทยสภาที่ 95(2)/2558 กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42ให้ ถือว ่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 15ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน1ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 46) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 121 | ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ) ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ การบริการ ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 1. มีระบบการเก็บรักษาแยกกันชัดเจนในกรณี ที่มีการติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ 2. กําหนดระยะเวลาการเก็บแช่แข็งไม่ตํ่ากว่า 5ปียกเว้นมีข้อตกลงเป็นหนังสือไว้เป็น อย่างอื่น 3. กรณีผู้รับบริการประสงค์จะขอย้ายอสุจิให้ สถานพยาบาลที่ขอย้ายและรับย้ายอสุจิ ดําเนินการตามแบบฟอร์มขอย้ายเซลล์ สืบพันธุ์ตามแบบคทพ.14 กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42ให้ ถือว ่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) กรณีผู้รับบริการตาย ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 43 และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(10)/2558 1. ห้ามนําอสุจิที่แช่แข็งไว้มาใช้เว้นแต่มีการให้ ความยินยอมเป็นหนังสือไว้ก่อนตายและ ต้องใช้เพื่อบําบัดรักษาภาวะมีบุตรยากของ ภริยาที่ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้น กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 43ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน3ปีหรือปรับไม่เกิน 60,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 51)


| 122 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 2. อสุจิที่นํามาใช้ต้องมีอายุไม่เกิน5ปีหลัง จากเจ้าของอสุจิตาย 3. ต้องมีหนังสือแสดงความยินยอมของ เจ้าของอสุจิก่อนการเริ่มการแช่แข็งอสุจิ 4. ภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายของสามีที่เป็น เจ้าของอสุจิต้องได้รับคําแนะนําให้มีการระบุ การตัดสินใจในการใช้อสุจิหลังจากผู้ฝาก ตายในหนังสือแสดงความยินยอมตั้งแต ่ ก่อนจะเริ่มการรักษา 5. ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องรักษาความ ลับของเจ้าของอสุจิเฉพาะภริยาที่ชอบด้วย กฎหมายของผู้เสียชีวิตเป็นผู้มีสิทธิรับทราบ ข้อมูลรายละเอียดของอสุจิที่แช่แข็งไว้ 6. ให้ผู้รับผิดชอบในการดําเนินการจัดทํา รายงานการใช้อสุจิหลังจากเจ้าของตาย ทั้งหมดที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านมา ตามแบบ คทพ.17ส่งไปยังส�ำนักสถานพยาบาลและ การประกอบโรคศิลปะกรมสนับสนุนบริการ สุขภาพกระทรวงสาธารณสุขภายในวันที่ 31มีนาคมของปีถัดไป ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 123 | ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ) ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ กรณียุติการให้บริการของสถานพยาบาล ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 ผู้อ�ำนวยการ โรงพยาบาล/ผู้ด�ำเนินการสถานพยาบาลต้อง แจ้งให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกระทรวง สาธารณสุขทราบภายใน15วันนับแต่วันที่ทราบ เหตุที่ท�ำให้ไม่สามารถด�ำเนินการได้ตามแบบ คทพ.18และติดต ่อส ่งมอบอสุจิที่แช ่แข็งไว้ไป ยังสถานพยาบาลอื่นที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ให้แล้ว เสร็จภายในหนึ่งปีนับแต ่วันที่ทราบเหตุและ รายงานผลการด�ำเนินการต่อกคทพ.ทราบ ต่อไป กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42ให้ ถือว ่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมาย(พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45)


| 124 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 7.1.6 การแช่แข็งตัวอ่อนผู้รับบริการ ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(4)/2558 1. ลงนามในหนังสือแสดงความยินยอม 2. มีการตรวจผู้รับบริการเพื่อป้องกันการ ถ่ายทอดโรคติดต่อเช่นเอชไอวีตับอักเสบ และซิฟิลิสเป็นต้น 3. การเก็บแช ่แข็งตัวอ ่อนของตนเองเพื่อ วัตถุประสงค์ในการรักษาภาวะมีบุตรยาก 4. การเก็บแช่แข็งตัวอ่อนของตนเองก่อนการ รักษาด้วยเคมีบําบัดหรือการรักษาอื่นที่อาจ เป็นอันตรายต่อรังไข่ คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42ให้ถือว่ากระทําการ ฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพเวชกรรมตาม กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 45) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 125 | ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ) ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ ผู้ให้บริการ : ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 35ห้ามมิให้ ผู้ใดซึ่งมิใช่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมให้บริการ เกี่ยวกับการแช่แข็งตัวอ่อน กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 35ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน10ปีหรือปรับไม่เกิน 200,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 50) : ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42 และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558ผู้ดําเนินการ สถานพยาบาลต้องดําเนินการให้เป็นไปตาม กฎหมายและต้องกระทําภายใต้การกํากับดูแล ของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่มีคุณสมบัติ ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 15และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(1)/2558และมี บุคลากรเทคโนโลยีช ่วยการเจริญพันธุ์ตาม พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 15 และประกาศ แพทยสภาที่ 95(2)/2558 กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42ให้ ถือว ่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 15ต้อง ระวางโทษจําคุกไม ่เกิน1ปีหรือปรับไม ่เกิน 20,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 46)


| 126 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ การบริการ ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 1. มีระบบการเก็บรักษาแยกกันชัดเจนในกรณี ที่มีการติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ 2. กําหนดระยะเวลาการเก็บแช่แข็งไม่ตํ่ากว่า 5ปียกเว้นมีข้อตกลงเป็นหนังสือไว้เป็น อย่างอื่น 3. กรณีผู้รับบริการประสงค์จะขอย้ายตัวอ่อน ให้สถานพยาบาลที่ขอย้ายและรับย้าย ตัวอ่อนดําเนินการตามแบบฟอร์มขอย้าย ตัวอ่อนตามแบบคทพ.15 กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42ให้ ถือว ่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 127 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ กรณีผู้รับบริการตาย ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 43และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(10)/2558 1. ห้ามนําตัวอ่อนที่แช่แข็งไว้มาใช้เว้นแต่มีการ ให้ความยินยอมเป็นหนังสือไว้ก่อนตายและ ต้องใช้เพื่อบําบัดรักษาภาวะมีบุตรยากของ สามีหรือภริยาที่ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้น 2. ตัวอ่อนที่นํามาใช้ต้องมีอายุไม่เกิน5ปีหลัง จากเจ้าของตัวอ่อนตาย 3. ต้องมีหนังสือแสดงความยินยอมของเจ้าของ ตัวอ่อนก่อนการเริ่มการแช่แข็งตัวอ่อน 4. สามีและภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายต้องได้ รับคําแนะนําให้มีการระบุการตัดสินใจใน การใช้ตัวอ่อนหลังจากผู้ฝากตายในหนังสือ แสดงความยินยอมตั้งแต ่ก ่อนจะเริ่มการ รักษา กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 43ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน3ปีหรือปรับไม่เกิน 60,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 51) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


| 128 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ 5. ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องรักษาความ ลับของเจ้าของตัวอ ่อนเฉพาะสามีหรือ ภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้เสียชีวิตเป็น ผู้มีสิทธิรับทราบข้อมูลรายละเอียดของ ตัวอ่อนที่แช่แข็งไว้ 6. กรณีนําเอาตัวอ่อนของผู้ตายไปใช้เพื่อให้ หญิงอื่นตั้งครรภ์แทนต้องปฏิบัติตามขั้นตอน การตั้งครรภ์แทนตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 23 7. ให้ผู้รับผิดชอบในการดําเนินการจัดทํา รายงานการใช้ตัวอ่อนหลังจากเจ้าของตาย ทั้งหมดที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านมาตามแบบ คทพ.17ส ่งไปยังส�ำนักสถานพยาบาล และการประกอบโรคศิลปะกรมสนับสนุน บริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ภายในวันที่31มีนาคมของปีถัดไป กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 23ต้อง ระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน6เดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000บาทหรือทั้งจ�ำทั้งปรับ (พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 47) ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 129 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทก�าหนดโทษ กรณียุติการให้บริการของสถานพยาบาล ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 42 และ ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558ผู้อ�ำนวยการ โรงพยาบาล/ผู้ด�ำเนินการสถานพยาบาลต้องแจ้ง ให้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกระทรวง สาธารณสุขทราบภายใน15วันนับแต ่วันที่ ทราบเหตุที่ท�ำให้ไม่สามารถด�ำเนินการได้ตาม แบบคทพ.18และติดต ่อส ่งมอบตัวอ ่อนที่ แช่แข็งไว้ไปยังสถานพยาบาลอื่นที่ได้ขึ้นทะเบียน ไว้ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ทราบเหตุ และรายงานผลการด�ำเนินการต่อกคทพ.ทราบ ต่อไป กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 42ให้ ถือว ่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห ่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) * IVF: Invitrofertilization, ICSI: Intracytoplasmic sperm injection, GIFT: Gameteintrafallopiantransfer, ZIFT: Zygoteintrafallopiantransfer. ตารางที่ 2 การใช้ไข่/อสุจิ/ตัวอ่อนบริจาคและการแช่แข็งไข่/อสุจิ/ตัวอ่อน(ต่อ)


| 130 | เอกสารอ้ างอิง 1. พรบ.คุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์พ.ศ. 2558 2. พรบ.สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 3. พรบ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขในการให้หญิงอื่นที่มิใช่ ญาติสืบสายโลหิตของ สามีหรือภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายรับตั้งครรภ์แทน พ.ศ.2558 5. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับข้อตกลงการ ตั้งครรภ์แทนและค ่าใช้จ ่าย ในการบํารุงรักษาสุขภาพของหญิงที่รับตั้งครรภ์แทนในขณะ ตั้งครรภ์การยุติการตั้งครรภ์แทน การคลอด และ หลังคลอด รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการดูแล สุขภาพของเด็กที่เกิดจากการตั้งครรภ์แทนหลังคลอดเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน พ.ศ.2558 6. ประกาศคณะกรรมการคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ผู้ให้บริการเกี่ยวกับ เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ดําเนินการให้มีการตั้งครรภ์แทน พ.ศ.2558 7. ประกาศคณะกรรมการคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ผู้ให้บริการเกี่ยวกับ เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ดําเนินการให้มีการตั้งครรภ์แทน (ฉบับที่2) พ.ศ.2562 8. ประกาศคณะกรรมการคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ผู้ประกอบวิชาชีพ เวชกรรมใช้ตัวอ่อนที่เหลือใช้จากการบําบัดรักษาภาวะการมีบุตรยากของสามีและภริยาที่ ชอบด้วยกฎหมายเพื่อการศึกษาวิจัย พ.ศ.2558 9. ประกาศแพทยสภาที่95(1)/2558เรื่องคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ประกอบวิชาชีพ เวชกรรมซึ่งเป็นผู้ให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ 10. ประกาศแพทยสภาที่ 95(2)/2558 เรื่อง มาตรฐานในการให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วย การเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ 11. ประกาศแพทยสภาที่ 95(3)/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขสําหรับการตรวจ และประเมินความพร้อมทางด้านร่างกายจิตใจและสภาพแวดล้อมของผู้ขอรับบริการ หญิงที่ รับ ตั้งครรภ์แทน และผู้บริจาคอสุจิหรือไข่ที่จะนํามาใช้ดําเนินการให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยี ช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 2 | 131 | 12. ประกาศแพทยสภาที่ 95(4)/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการสร้าง การเก็บรักษา การใช้ประโยชน์จากตัวอ่อน หรือการทําให้สิ้นสภาพของตัวอ่อน 13. ประกาศแพทยสภาที่95(5)/2558เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการให้บริการเกี่ยวกับ เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ในการตรวจวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรมในตัวอ่อน 14. ประกาศแพทยสภาที่95(5)/2558เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการให้บริการเกี่ยวกับ เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ในการตรวจวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรมในตัวอ่อน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564 15. ประกาศแพทยสภาที่ 95(6)/2558 เรื่อง มาตรฐานการให้บริการเกี่ยวกับการผสมเทียม 16. ประกาศแพทยสภาที่95(7)/2558เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขในการให้ความยินยอม เป็นหนังสือจากสามีและภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายที่ประสงค์ให้มีการผสมเทียมโดยใช้อสุจิของ ผู้บริจาค 17. ประกาศแพทยสภาที่ 95(8)/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการยุติการ ตั้งครรภ์แทน 18. ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการรับฝาก การรับบริจาค การใช้ประโยชน์จากอสุจิไข่ หรือตัวอ่อนที่รับฝากหรือรับบริจาค หรือการทํา ให้สิ้นสภาพของตัวอ่อนที่รับฝากหรือรับบริจาคเนื่องมาจากการดําเนินการใช้เทคโนโลยีช่วย การเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ 19. ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการรับฝาก การรับบริจาค การใช้ประโยชน์จากอสุจิไข่ หรือตัวอ่อนที่รับฝากหรือรับบริจาค หรือการทํา ให้สิ้นสภาพของตัวอ่อนที่รับฝากหรือรับบริจาคเนื่องมาจากการดําเนินการใช้เทคโนโลยีช่วย การเจริญพันธุ์ทางการแพทย์(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 20. ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการรับฝาก การรับบริจาค การใช้ประโยชน์จากอสุจิไข่ หรือตัวอ่อนที่รับฝากหรือรับบริจาค หรือการทํา ให้สิ้นสภาพของตัวอ่อนที่รับฝากหรือรับบริจาคเนื่องมาจากการดําเนินการใช้เทคโนโลยีช่วย การเจริญพันธุ์ทางการแพทย์(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 21. ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการรับฝาก การรับบริจาค การใช้ประโยชน์จากอสุจิไข่ หรือตัวอ่อนที่รับฝากหรือรับบริจาค หรือการทํา


| 132 | ให้สิ้นสภาพของตัวอ่อนที่รับฝากหรือรับบริจาคเนื่องมาจากการดําเนินการใช้เทคโนโลยีช่วย การเจริญพันธุ์ทางการแพทย์(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2563 22. ประกาศแพทยสภาที่ 95(9)/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการรับฝาก การรับบริจาค การใช้ประโยชน์จากอสุจิไข่ หรือตัวอ่อนที่รับฝากหรือรับบริจาค หรือการทํา ให้สิ้นสภาพของตัวอ่อนที่รับฝากหรือรับบริจาคเนื่องมาจากการดําเนินการใช้เทคโนโลยีช่วย การเจริญพันธุ์ทางการแพทย์(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2564 23. ประกาศแพทยสภาที่95(10)/2558เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการให้ความ ยินยอมให้นําอสุจิไข่หรือตัวอ่อนของผู้ฝากนําไปใช้ได้หลังจากผู้ฝากตาย 24. ประกาศแพทยสภาที่95(10)/2558เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการให้ความ ยินยอมให้นําอสุจิไข่หรือตัวอ่อนของผู้ฝากนําไปใช้ได้หลังจากผู้ฝากตาย(ฉบับที่2) พ.ศ.2562 25. ประกาศสํานักทะเบียนกลาง เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขการแจ้งการเกิดของเด็กที่ เกิดจากการตั้งครรภ์แทนโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์พ.ศ. 2558 26. แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การดูแลรักษาภาวะมี บุตรยาก พ.ศ. 2565


-กรณีละเมิด พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 40จําคุกไม่เกิน 5 ปีหรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 49) 7.2 การผสมเทียม 7.2.1 การผสมเทียมโดยใช้อสุจิสามี - ผู้รับบริการ ตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 19 และประกาศแพทยสภาที่ 95(6)/2558 1. ต้องเป็นสามีและภริยา ที่ชอบด้วยกฎหมาย 2. มีข้อบ่งชี้สําหรับการรักษาด้วยการผสมเทียม ดังต่อไปนี้ -กรณีละเมิด พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 19ให้ถือว่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม | 133 |


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 3 แนวทางเวชปฏิบัติของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทยแห์ ่ งประเทศไทย เรื่อง การให้ บริการเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุ ่ทางการแพทย์ ์ ตามพระราชบัญญัติคุ้ มครองเด็กทีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ ่ ์ ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที 3่ RTCOG Clinical Practice Guideline Assisted Reproductive Technology Practice in Protection of a Child Born by Medically Assisted Reproductive Technology Act, B.E. 2558 (Part 3) เอกสารหมายเลข GY 66-028 จัดท�าโดย คณะอนุกรรมการเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์พ.ศ. 2565-2567 วันทีอนุมัติต่้ นฉบับ 26 พฤษภาคม 2566 ค�าน�า แนวทางการให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ฉบับนี้จะกล่าวถึงประเด็น ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย และก�ำหนดล�ำดับหัวข้อต่อเนื่องจากฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2 ได้แก่ การตั้งครรภ์แทน การตรวจวินิจฉัยทางพันธุกรรมของตัวอ่อนก่อนการฝังตัวการศึกษาวิจัยตัวอ่อน การควบคุมการดําเนินการอื่น ๆ เกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์และการ ผสมเทียม เป็นต้น โดยระบุข้อก�ำหนดตามกฎหมาย และบทลงโทษกรณีละเมิดในแต่ละประเด็น รวมทั้งแผนภาพขั้นตอน การขออนุญาตการด�ำเนินการตั้งครรภ์แทน อนึ่งส�ำหรับแนวทางการให้บริการเทคโนโลยีช ่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ฉบับนี้ เนื่องจากเป็นแนวปฏิบัติตามที่กฎหมายก�ำหนดจึงไม่ได้ระบุLevel of Evidence และ Level of Recommendation ตามที่ Evidence Base Clinical Practice Guideline ก�ำหนด | 135 |


| 136 | ตารางที่ 3 การตั้งครรภ์แทนการตรวจวินิจฉัยทางพันธุกรรมของตัวอ่อนก่อนการฝังตัวการศึกษาวิจัยตัวอ่อนการควบคุมการดําเนินการอื่นๆ ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทกำหนดโทษ 7.1.7 การตั้งครรภ์แทนตามพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 15, 16, 21, 22, 23, 24, 25, 26, 27, 28, 29, 30, 31, 32, 33, 34, 35, 42, 56 ประกาศคณะกรรมการคุ้มครองเด็กที่เกิดโดย อาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการ แพทย์ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ผู้ให้ บริการเกี่ยวกับ เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ ทางการแพทย์ ดําเนินการให้มีการตั้งครรภ์แทน พ.ศ.2558และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการให้หญิงอื่นที่มิใช่ญาติ สืบสายโลหิตของสามีหรือภริยาที่ชอบด้วย กฎหมายรับตั้งครรภ์แทน พ.ศ.2558และ


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 3 | 137 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทกำหนดโทษ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับข้อตกลงการตั้งครรภ์ แทนและค่าใช้จ่ายในการบํารุงรักษาสุขภาพของ หญิงที่รับตั้งครรภ์แทนในขณะตั้งครรภ์ การยุติ การตั้งครรภ์แทน การคลอด และหลังคลอด รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของเด็กที่เกิด จากการตั้งครรภ์แทนหลังคลอดเป็นเวลาไม่น้อย กว่าสามสิบวัน พ.ศ.2558และ ประกาศแพทยสภาที่ 95 (1) /2558, ที่ 95(2)/2558, ที่ 95(3)/2558, ที่ 95(4)/2558, ที่ 95(8)/2558, ที่ 95(9)/2558 และที่ 95(10)/2558 ตารางที่ 3 การตั้งครรภ์แทนการตรวจวินิจฉัยทางพันธุกรรมของตัวอ่อนก่อนการฝังตัวการศึกษาวิจัยตัวอ่อนการควบคุมการดําเนินการอื่นๆ(ต่อ)


| 138 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทกำหนดโทษ ผู้รับบริการ (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 21) 1. สามีและภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งภริยา ไม่อาจตั้งครรภ์ได้ที่ประสงค์จะมีบุตรโดยให้ หญิงอื่นตั้งครรภ์แทนต้องมี 1.1 สัญชาติไทย 1.2 กรณีที่สามีหรือภริยามิได้มีสัญชาติไทย ต้องจดทะเบียนสมรสมาแล้วไม่ น้อยกว่า 3ปี 1.3 ภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายต้องมีอายุ ไม่เกิน55ปีบริบูรณ์นับแต่วันที่ได้ ยื่นขอและเอกสารถูกต้องครบถ้วน เว้นแต่กรณีที่ได้รับอนุญาตดำเนิน การให้มีการตั้งครรภ์แทนแล้วแต่ไม่ ประสบผลสำเร็จโดยใช้ตัวอ่อนชุดเดิม ที่ผ่านการพิจารณาอนุญาต(ประกาศ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กที่เกิดโดย อาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 21ให้ ถือว่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 16ให้ ถือว่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) ตารางที่ 3 การตั้งครรภ์แทนการตรวจวินิจฉัยทางพันธุกรรมของตัวอ่อนก่อนการฝังตัวการศึกษาวิจัยตัวอ่อนการควบคุมการดําเนินการอื่นๆ(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 3 | 139 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทกำหนดโทษ ทางการแพทย์เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตและ การอนุญาตให้ผู้ให้บริการเกี่ยวกับ เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ทางการ แพทย์ ดำเนินการให้มีการตั้งครรภ์ แทน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562) 1.4 ผ่านการตรวจประเมินความพร้อม ทางร่างกายจิตใจและสภาพแวดล้อม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 16) 1.5 มีหนังสือแสดงความยินยอมให้มีการ ตั้งครรภ์แทนตามแบบ คทพ.4 2. หญิงที่รับตั้งครรภ์แทนมีได้2กรณี(พรบ. คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 21) 2.1 กรณีที่เป็นญาติสืบสายโลหิตของสามี หรือภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายมี หลักเกณฑ์ดังนี้ 2.1.1 ต้องมิใช่บุพการีหรือผู้สืบสันดานของ สามีหรือภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย ตารางที่ 3 การตั้งครรภ์แทนการตรวจวินิจฉัยทางพันธุกรรมของตัวอ่อนก่อนการฝังตัวการศึกษาวิจัยตัวอ่อนการควบคุมการดําเนินการอื่นๆ(ต่อ)


| 140 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทกำหนดโทษ 2.2 กรณีที่ไม่มีญาติสืบสายโลหิตของสามี หรือภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายให้หญิง อื่นตั้งครรภ์แทนได้โดยมีหลักเกณฑ์ ของหญิงที่รับตั้งครรภ์แทนดังนี้ 2.2.1 มีสัญชาติเดียวกันกับสามีหรือภริยาที่ ชอบด้วยกฎหมายที่ประสงค์จะมีบุตร 3. คุณสมบัติของหญิงที่รับตั้งครรภ์แทนต้องมี ดังนี้ 3.1 อายุ20-40ปี 3.2 เคยมีบุตรมาแล้วโดยคลอดตาม ธรรมชาติไม่เกิน3ครั้งหรือในกรณี ที่ผ่าคลอดไม่เกิน1ครั้ง 3.3 เป็นผู้มีสุขภาพร่างกายและจิตใจ แข็งแรงสมบูรณ์และผ่านการตรวจ ประเมินความพร้อมทางด้านร่างกาย จิตใจและสภาพแวดล้อม (พรบ. คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 16) ตารางที่ 3 การตั้งครรภ์แทนการตรวจวินิจฉัยทางพันธุกรรมของตัวอ่อนก่อนการฝังตัวการศึกษาวิจัยตัวอ่อนการควบคุมการดําเนินการอื่นๆ(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 3 | 141 | ตารางที่ 3 การตั้งครรภ์แทนการตรวจวินิจฉัยทางพันธุกรรมของตัวอ่อนก่อนการฝังตัวการศึกษาวิจัยตัวอ่อนการควบคุมการดําเนินการอื่นๆ(ต่อ) ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทกำหนดโทษ 3.4 ได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจาก สามีที่ชอบด้วยกฎหมายหรือชายที่ อยู่กินกันฉันสามีภริยา 3.5 ต้องชี้แจงและทําความเข้าใจกับบุตร ของตนเองเพื่อให้รับทราบข้อเท็จจริง ในการรับตั้งครรภ์แทนดังกล่าว 3.6 มีหนังสือแสดงความยินยอมให้มีการ ตั้งครรภ์แทนตามแบบ คทพ.1 3.7 จะรับตั้งครรภ์แทนจนได้คลอดบุตร ไม่เกิน2ครั้ง 3.8 ระบุความสัมพันธ์ในทางสังคมกับ สามีหรือภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย ตามแบบ คทพ.1 ผู้ให้บริการ (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 15) 1. ผู้รับผิดชอบในการให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยี ช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์และ กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 15ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน1ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 46)


| 142 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทกำหนดโทษ 2. ผู้ให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ทางการแพทย์ซึ่งทั้งข้อ1และข้อ2ต้องมี คุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามประกาศ แพทยสภาที่ 95(1)/2558 การบริการ 1. การดําเนินการให้มีการตั้งครรภ์แทนกระทํา ได้2วิธีดังต่อไปนี้(พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 22) 1.1 ใช้ตัวอ่อนที่เกิดจากอสุจิของสามีและ ไข่ของภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายที่ ประสงค์จะให้มีการตั้งครรภ์แทน 1.2 ใช้ตัวอ่อนที่เกิดจากอสุจิของสามีหรือ ไข่ของภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายที่ ประสงค์จะให้มีการตั้งครรภ์แทน กับไข่หรืออสุจิของผู้อื่นทั้งนี้ห้ามใช้ไข่ ของหญิงที่รับตั้งครรภ์แทน กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 22ให้ ถือว่ากระทําการฝ่าฝืนจริยธรรมแห่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 45) ตารางที่ 3 การตั้งครรภ์แทนการตรวจวินิจฉัยทางพันธุกรรมของตัวอ่อนก่อนการฝังตัวการศึกษาวิจัยตัวอ่อนการควบคุมการดําเนินการอื่นๆ(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 3 | 143 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทกำหนดโทษ 2. มีข้อบ่งชี้ที่ภริยาไม่สามารถตั้งครรภ์เองได้ ได้แก่ 2.1 ไม่มีมดลูกตั้งแต่กําเนิด 2.2 ได้รับการผ่าตัดมดลูกออก 2.3 มดลูกมีความผิดปกติได้แก่ 2.3.1 เนื้องอกมดลูก 2.3.2 พังผืดในโพรงมดลูก 2.3.3 ความผิดปกติของมดลูกตั้งแต่กําเนิด 2.3.4 อื่นๆ 2.4 มีโรคประจําตัวที่ตั้งครรภ์แล้วจะเกิด อันตราย(ให้แนบความเห็นผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะโรคด้วย) 2.4.1 โรคหัวใจ(ระบุโรค) 2.4.2 โรคไต(ระบุโรค) 2.4.3 อื่นๆ(ระบุโรค) 2.5 มีภาวะที่จะมีการแท้งหรือทารกใน ครรภ์เสียชีวิตเมื่อตั้งครรภ์เอง 2.6 ข้อบ่งชี้อื่นๆ ตารางที่ 3 การตั้งครรภ์แทนการตรวจวินิจฉัยทางพันธุกรรมของตัวอ่อนก่อนการฝังตัวการศึกษาวิจัยตัวอ่อนการควบคุมการดําเนินการอื่นๆ(ต่อ)


| 144 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทกำหนดโทษ 3. การดำเนินการตั้งครรภ์แทนต้องผ่านความ เห็นชอบจากคณะกรรมการควบคุมคุณภาพ และจริยธรรมของสถานพยาบาล(ประกาศ แพทยสภาที่ 95(2)/2558) 4. ผู้ให้บริการจะดําเนินการให้มีการตั้งครรภ์ แทนต้องได้รับอนุญาตจากกคทพ.ก่อน โดยต้องมีเอกสารดังต่อไปนี้(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 23) 4.1 แบบหนังสือแสดงความยินยอมให้มี การตั้งครรภ์แทนของหญิงอื่นที่รับ ตั้งครรภ์แทน(แบบ คทพ.1) 4.2 แบบข้อตกลงการรับตั้งครรภ์แทน (แบบ คทพ.2) 4.3 แบบคําขออนุญาตดําเนินการให้มีการ ตั้งครรภ์แทน(แบบ คทพ.3) 4.4 แบบหนังสือแสดงความยินยอม ให้มีการตั้งครรภ์แทนของสามีและ ภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย(แบบ คทพ.4) กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 23ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกิน6เดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 47) ตารางที่ 3 การตั้งครรภ์แทนการตรวจวินิจฉัยทางพันธุกรรมของตัวอ่อนก่อนการฝังตัวการศึกษาวิจัยตัวอ่อนการควบคุมการดําเนินการอื่นๆ(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 3 | 145 | ตารางที่ 3 การตั้งครรภ์แทนการตรวจวินิจฉัยทางพันธุกรรมของตัวอ่อนก่อนการฝังตัวการศึกษาวิจัยตัวอ่อนการควบคุมการดําเนินการอื่นๆ(ต่อ) ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทกำหนดโทษ 4.5 หนังสือแต่งตั้งให้เป็นผู้รับผิดชอบ ในการให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยี ช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ จากผู้อํานวยการโรงพยาบาลหรือ ผู้ดําเนินการสถานพยาบาล 5. ยื่นต่อสํานักสถานพยาบาลและการประกอบ โรคศิลปะกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขหรือสํานักงาน สาธารณสุขจังหวัดที่สถานพยาบาลตั้งอยู่ หากไม่สามารถมายื่นด้วยตนเองให้ทํา หนังสือมอบอํานาจให้ผู้อื่นมายื่นแทนพร้อม นําสําเนาบัตรประชาชนของผู้รับอํานาจ มาเสนอต่อเจ้าหน้าที่หรืออาจยื่นคําขอผ่าน ทางอิเล็กทรอนิกส์ได้(พรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 23)


| 146 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทกำหนดโทษ 6. การพิจารณาคําขออนุญาตจะมีกําหนดแล้ว เสร็จภายใน60วันทํา การนับตั้งแต่วันที่ กคทพ.ได้รับคําขอและเอกสารถูกต้อง ครบถ้วน หากไม่แล้วเสร็จจะขยายเวลาได้ ครั้งละไม่เกิน30วันทํา การโดยสามารถขยาย เวลาได้ไม่เกิน 2ครั้งโดยกรมสนับสนุนบริการ สุขภาพกระทรวงสาธารณสุขจะแจ้งเป็น หนังสือแก่ผู้ยื่นคําขออนุญาต 7. ในแต่ละรอบการตั้งครรภ์แทน สามีและ ภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายที่ประสงค์จะให้มี การตั้งครรภ์แทน สามารถให้หญิงอื่นตั้งครรภ์ แทนได้ครั้งละ1คนจนสิ้นสุดการตั้งครรภ์ 8. การย้ายฝากตัวอ่อนในหญิงที่รับตั้งครรภ์ แทนกระทําได้ครั้งละ1ตัวอ่อน 9. การยุติการตั้งครรภ์แทน(พรบ.คุ้มครอง เด็กฯ มาตรา 26) 9.1 ต้องกระทําโดยผู้ประกอบวิชาชีพ เวชกรรม กรณีละเมิดพรบ.คุ้มครองเด็กฯ มาตรา 26ให้ถือ ว่ากระทํา การฝ่าฝืนจริยธรรมแห่งวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม (พรบ.คุ้มครองเด็กฯมาตรา 45) ตารางที่ 3 การตั้งครรภ์แทน การตรวจวินิจฉัยทางพันธุกรรมของตัวอ่อนก่อนการฝังตัว การศึกษาวิจัยตัวอ่อน การควบคุมการดําเนินการอื่นๆ(ต่อ)


การให้บริการเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง เด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 3 | 147 | ตารางที่ 3 การตั้งครรภ์แทนการตรวจวินิจฉัยทางพันธุกรรมของตัวอ่อนก่อนการฝังตัวการศึกษาวิจัยตัวอ่อนการควบคุมการดําเนินการอื่นๆ(ต่อ) ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทกำหนดโทษ 9.2 ได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจาก สามีและภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายที่ ประสงค์ให้มีการตั้งครรภ์แทนและ หญิงที่รับตั้งครรภ์แทน 9.3 กรณีหญิงที่รับตั้งครรภ์แทนไม่ยินยอม ให้ถือว่า ข้อตกลงการตั้งครรภ์แทน เป็นอันยุติและหญิงที่รับตั้งครรภ์แทน ไม่ต้องชดใช้ค่าใช้จ่ายตามข้อตกลง ดังกล่าว 9.4 เงื่อนไขการอนุมัติยุติการตั้งครรภ์แทน มีดังนี้(ประกาศแพทยสภาที่ 95(8)/2558) 9.4.1 จําเป็นต้องทําเนื่องจากปัญหาสุขภาพ ทางกายหรือจิตใจอย่างรุนแรงของ หญิงที่รับตั้งครรภ์แทน 9.4.2ทารกในครรภ์มีความเสี่ยงสูงที่จะมี ความพิการหรือเป็นโรคพันธุกรรม อย่างรุนแรงและยังส่งผลกระทบต่อ สุขภาพทางกายหรือจิตใจของหญิง ที่รับตั้งครรภ์แทน


| 148 | ประเด็น/กิจกรรมกฎหมายบทกำหนดโทษ 9.4.3 ทั้งข้อ9.4.1และ9.4.2ต้องมี ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมซึ่งไม่อยู่ ในองค์ประกอบของบุคลากรเทคโนโลยี ช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญดําเนินการตรวจ ยืนยันผลและส่งความเห็นสอดคล้อง กันอย่างน้อย2ท่าน 9.5 ต้องกระทําในสถานพยาบาลดัง ต่อไปนี้ 9.5.1 สถานพยาบาลของรัฐหรือสถานพยาบาล ประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนตาม พรบ.สถานพยาบาล 9.5.2 คลินิกเวชกรรมตามพรบ.สถานพยาบาล โดยสามารถปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการ ตั้งครรภ์ทางการแพทย์ที่อายุครรภ์ ไม่เกิน12สัปดาห์ ตารางที่ 3 การตั้งครรภ์แทนการตรวจวินิจฉัยทางพันธุกรรมของตัวอ่อนก่อนการฝังตัวการศึกษาวิจัยตัวอ่อนการควบคุมการดําเนินการอื่นๆ(ต่อ)


Click to View FlipBook Version