The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ลักษณะอาการโรคเกลื้อน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Natthatika Natwan, 2024-01-31 07:04:25

โรคเกลื้อน

ลักษณะอาการโรคเกลื้อน

โรคเกลื้อน โดย นางสาวศศิธร สวยกลาง 65110594 เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 830162 จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยาสำ หรับสาธารสุข


โรคเกลื้อน เกิดจากเชื้อรา Malassezia furfur เป็นเชื้อราที่พบบ่อยในประเทศภูมิอากาศร้อนชื้น ซึ่งพบได้ ตามผิวหนังของคนทั่วไป (บริเวณหนังกำ พร้า) เชื้อราชนิดนี้ พบได้บ่อยในบริเวณผิวหนังที่มีต่อมไขมันมาก เช่น หน้า ต้นคอ หน้าอก และ หลัง เป็นต้น


โรคเกลื้อนเป็นโรคติดต่อ ซึ่งคุณสามารถเป็นโรคได้โดยการ สัมผัสใกล้ชิดกับวัตถุที่มีเชื้อราที่ก่อโรคนี้ เช่น ผ้าปูที่นอน หวี หรือผ้าขนหนู รวมถึงสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ที่กำ ลังติดเชื้อสัตว์ หรือจากดินที่มีเชื้อ อาการของโรคเกลื้อน มีดวงขึ้นเป็นสีขาว ชมพู แดง หรือน้ำ ตาล โดยจะมีสีเข้มหรืออ่อน กว่าผิวหนังปกติบริเวณรอบ อาจขึ้นเป็นดวงเดียวหรือหลายดวงก็ได้ สามารถเกิดบนร่างกายทุกส่วน แต่มักพบบริเวณลำ ตัว คอ ต้นแขน และหลัง ดวงเกลื้อนอาจจางลงหรือหายไปเมื่อสภาพอากาศเย็น หรือ อาการอาจแย่ลงหากอากาศร้อนหรือชื้น


การป้องกันโรคเกลื้อน -เลี่ยงการทำ ให้เหงื่อออกมาก -เลี่ยงการเผชิญแสงแดดเท่าที่จะทำ ได้ เนื่องจากจะ กระตุ้นให้อาการแย่ลงและเห็นเกลื้อนชัดขึ้น อาจใช้ หมวกหรือผ้าคลุมกันแดดควรทาครีมกันแดดทุกวัน เลือกใช้สูตรที่มีความมันน้อย และมี SPF 30 ขึ้นไป -เลี่ยงการใช้ผลิตภัณฑ์ทาผิวที่เป็นน้ำ มันหรือมีส่วน ผสมของน้ำ มัน -เลือกสวมเสื้อผ้าที่ระบายความร้อนและความชื้น เพื่อ ลดเหงื่อออก เช่น ผ้าฝ้าย -หลีกเลี่ยงการใส่เสื้อผ้าที่รัดแน่นจนเกินไป


วิธีรักษาเโรคกลื้อน 1.ชำ ระล้างร่างกายให้สะอาดเสมอ เลี่ยงความอับชื้น 2.เช็ดตัวให้แห้งทุกครั้ง อาจใช้ไดร์เป่าแห้ง หรือทาแป้งได้ ในบริเวณที่คาด ว่า อับชื้นได้ง่าย 3.เปลี่ยนเสื้อผ้าใหม่เป็นประจำ รวมทั้งซักให้สะอาดและตากให้แห้ง เพื่อลด การสะสมเหงื่อ 4.เลือกใส่เสื้อผ้าและถุงเท้าที่ระบายเหงื่อได้ดี ไม่หนา ไม่คับ หรือรับริเวณที่ เป็นผื่นจนแน่นเกินไป


Click to View FlipBook Version