การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สาระวิชาภูมิศาสตร์เรื่อง ภัยพิบัติ ในประเทศไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) Developing academic achievement Geography subject: Disasters in Thailand of students in grade 6 Using an inquiry-based learning plan (5E) เบญจวรรณ เหล่าพิไล Benjawan Laophilai บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ การสอนแบบสืบเสาะค้นหา (5E) รายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้แผนการ จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนชุมชนบ้านถ่อน อ าเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย จ านวน 1 ห้องเรียน จ านวนนักเรียน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1) แผนการ จัดการเรียนรู้สาระภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย จ านวน 8 แผน คาบละ 1 ชั่วโมง รวม ทั้งสิ้น 8 คาบ และ 2) แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ภูมิศาสตร์ผลวิจัยพบว่า 1) การจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะ ค้นหา (5E) รายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า มีประสิทธิภาพเท่ากับ 95/83.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ 80/80 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดย ใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทยของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ได้คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 14.13 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 52.92 คะแนน เฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 16.44 คิดเป็นร้อยละ 82.22 ซึ่งผลสัมฤทธิ์การเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค าส าคัญ : ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน,แผนการจัดการเรียนรู้
ABSTRACT This research study The objectives are 1) to develop a learning management plan using the inquiry-based teaching model (5E) for the geography subject on disasters in Thailand. of students in Grade 6 to have efficiency according to the criterion 80/80 2) To compare learning achievement in geography subject on disasters in Thailand of students in Grade 6 using the inquiry-based learning plan (5E) after learning was higher than before learning. The target group is 6th grade students, academic year 2023, Ban Thon Community School, Tha Bo District, Nong Khai Province, 1 classroom, 22 students. The tools used in this research include: 1) 8 learning plans for geography on disasters in Thailand, 1 hour per lesson, totaling 8 lessons, and 2) pre- and post-study tests to measure learning achievement in geography. The research found that 1) creating plans Organizing learning using the inquiry-based teaching model (5E) in the geography subject on disasters in Thailand for grade 6 students. It was found that 1) Creating a learning management plan using the inquiry-based teaching model (5E) in the Geography subject: Disasters in Thailand for Grade 6 students found that the efficiency was 95/83.33, which is higher than the specified criteria. Keep it 80/80 The average score before studying was 14.13 points, accounting for 52.92 percent. The average score after studying was 16.44. Representing 82.22 percent, the academic achievement after studying was higher than before studying. Statistically significant at the .05 level. Keywords: academic achievement, learning management plan
ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยได้ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมุ่งพัฒนาให้ ผู้เรียนมีความรู้ทักษะการเรียนรู้ การคิด และทักษะการมีชีวิต โดยจะมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้กว้าง และลีกในหลายเรื่อง รวมทั้งมีทักษะในการจ าแนกแยกแยะข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบการ คิดที่ดี มีการตัดสินใจอย่างสมเหตุสมควร มีจิตแห่งความเคารพ มีจิตแห่งจริยธรรม เพื่อความเป็น พลเมืองที่ดีของประเทศและของโลก โดยในศตวรรษที่ 21 ครูผู้สอนเป็นเพียงแค่โค้ชหรือเป็นผู้แนะน า ในชั้นเรียน ซึ่งแตกต่างจากการจัดการเรียนรู้ในสมัยอดีต ซึ่งจะเน้นครูเป็นศูนย์กลางมีหน้าที่เป็น ผู้บรรยายหรือควบคุมชั้นเรียนเป็นส่วนใหญ่ และเน้นการจัดการเรียนรู้แบบท่องจ าขาดการคิด วิเคราะห์เพื่อการน าไปใช้ ซึ่งการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ครูจะต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนร่วมกัน ท างานเป็นทีมของนักเรียน มีการจัดสภาพแวดล้อมในการเรียน เพื่อความสะดวกในห้องเรียนต่อการ จัดการเรียนรู้ด้วยตนเองมากกว่าเน้นเนื้อหาซึ่งนักเรียนจะสามารถแสดงศักยภาพที่แท้จริงของเขา ออกมารวมทั้งผู้เรียนสามารถน าองค์ความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตจริงได้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก าหนดให้กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้พื้นฐานที่ผู้เรียนต้องเรียนตั้งแต่ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และเป็น 1 ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ก าหนดไว้ใน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยได้ก าหนดสาระต่าง ๆ ไว้คือ สาระ ศาสนาศีลธรรม จริยธรรม สาระหน้าที่พลเมืองวัฒนธรรมและการด าเนินชีวิตในสังคมสาระ เศรษฐศาสตร์ สาระประวัติศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน, 2552: 132) ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจการด ารงชีวิตของมนุษย์ทั้งในฐานะ ปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างจ ากัด เข้าใจถึงการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยกาลเวลาตามเหตุปัจจัยต่าง ๆ เกิดความ เข้าใจในตนเองและผู้อื่น มีความอดทน ยอมรับในความแตกต่างและมีคุณธรรม สามารถน าความรู้ไป ปรับใช้ในการด าเนินชีวิต เป็นพลเมืองของประเทศชาติและสังคมโลก สาระภูมิศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องทั้งวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา สามารถบูรณาการกับ ศาสตร์อื่น ๆ ได้ เช่น ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ปัจจุบันโลกเกิด ภาวะวิกฤตด้านกายภาพ ด้านสิ่งแวดล้อม ที่มีผลกระทบอย่างรุนแรงมากขึ้น ความทันสมัยของ วิทยาการและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์มีมากขึ้นสาระ ภูมิศาสตร์ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลก ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถีการด าเนินชีวิต เพื่อให้รู้เท่าทันปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงของ สิ่งแวดล้อม ตลอดจนสามารถใช้ทักษะ กระบวนการ ความสามารถทางภูมิศาสตร์ และเครื่องมือทาง ภูมิศาสตร์ ซึ่งสาระการเรียนรู้ภูมิศาสตร์เป็นเนื้อหาที่ยากสลับซับซ้อน ต้องใช้การคิดวิเคราะห์และ
ตัดสินใจในปัญหาต่าง ๆ ที่มีผลต่อสังคม คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม ต้องใช้เทคนิคและวิธีการ เทคโนโลยี สื่อการเรียนรู้นวัตกรรม โดยจ าเป็นอย่างยิ่งที่ครูผู้สอนจะต้องเลือกกิจกรรมการเรียนการ สอนที่มีประสิทธิภาพ เทคนิคและวิธีการสอนแบบใหม่ ๆ เพื่อให้ผู้เรียนสนใจบทเรียนมากยิ่งขึ้นการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปัจจุบันส่วนใหญ่จะใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย นักเรียนมีส่วนร่วมกับ กิจกรรมการเรียนการสอนน้อย และครูผู้สอนจะพยายามป้อนความรู้ให้กับผู้เรียนมากเกินไปจนท าให้ สมองเกิดความเหนื่อยล้า ความเครียด และรู้สึกเบื่อหน่ายต่อการจัดกิจกรรม ท าให้นักเรียนไม่สนใจใน บทเรียนและพูดคุยหยอกล้อกันในขณะที่จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียนส่งผลกระทบต่อการ พัฒนาการของผู้เรียนเป็นอย่างมาก (ทรงภพ เตชะตานนท์, 2551: 2) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนภูมิศาสตร์ให้ผู้เรียนเกิดการคิดอย่างเป็นระบบเข้าใจและมีความรู้อย่างถูกต้องชัดเจน ผู้สอน อาจจะใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method)เป็นตัวกระตุ้นผู้เรียน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2560 : 2-5) แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบวัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้ (5E) บรูเนอร์ (Bruner, 1968 :159) เป็นการเรียนรู้ที่นักเรียนค้นพบด้วยตนเอง ซึ่งจะช่วยเพิ่มแรงจูงใจภายในมากกว่าการเรียนแบบ ท่องจ าท าให้ปัญญาของนักเรียนฉลาดยิ่งขึ้น เป็นนักสร้างสรรค์ เป็นผู้ที่สามารถจัดระเบียบสิ่งที่ พบ เห็นได้อย่างเหมาะสม ฝึกฝนให้เกิดเทคนิคในการสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง และช่วยให้นักเรียน สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพและการเรียนด้วยวิธีนี้จะช่วยให้นักเรียนจดจ าความรู้ได้ดีกว่า การเรียนด้วยวิธีอื่น จากแนวคิดดังกล่าวจะเห็นว่าการจัดการเรียนรู้ในวิชาภูมิศาสตร์มีส่วนส าคัญที่จะเสริมสร้าง ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักร การสืบเสาะหาความรู้ (5E) ท าให้ผู้วิจัยสนใจที่จะน าแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบ เสาะหาความรู้ (5E) มาพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพต่อไป วัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะค้นหา (5E) รายวิชา ภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) หลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียน
สมมติฐานการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะค้นหา (5E) รายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติ ในประเทศไทย โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ขอบเขตการวิจัย 1. เนื้อหาในการวิจัยในครั้งนี้ คือ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 รอบรู้ภูมิศาสตร์เรื่อง ภัยพิบัติใน ประเทศไทย สาระภูมิศาสตร์กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ประกอบด้วยสาระการ เรียนรู้ ดังนี้หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 รอบรู้ภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2566 มีจ านวนนักเรียนทั้งหมด 22 คน จ านวน 1 ห้อง 3. ตลอดปีการศึกษา 2566 วิธีด าเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ก าลังศึกษาในปี การศึกษา 2566 มีจ านวนนักเรียนทั้งหมด 22 คน จ านวน 1 ห้อง ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยใช้การ เลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะค้นหา (5 E) รายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จ านวน 8 แผน เวลา 8 ชั่วโมง ซึ่ง ประกอบด้วย 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ รายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 30 ข้อ การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ชี้แจงให้กับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียน จ านวน 22 คน ให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลการศึกษา จากนั้นให้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียนท าแบบทดสอบ ก่อนเรียนจ านวน 30 ข้อ ระยะเวลา 60 นาที ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แล้วบันทึกผลการสอบไว้เป็นคะแนนก่อนเรียน
2. ด าเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยจัดท าขึ้น ซึ่งผู้วิจัยด าเนินการสอนเอง โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) ที่ผ่านการหาประสิทธิภาพเรียบร้อยแล้ว จ านวน 8 แผน เวลา 8 ชั่วโมง และให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมแบบทดสอบย่อยทุกครั้ง เริ่มจากแบบทดสอบ ย่อยที่ 1 จนถึงแบบทดสอบย่อยที่ 8 ตามล าดับ 3. ให้กลุ่มตัวอย่างท าแบบทดสอบหลังเรียน ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จ านวน 30 ข้อ เวลา 60 นาที โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชุดเดียวกับแบบทดสอบ ก่อนเรียน แล้วบันทึกผลการสอบไว้เป็นคะแนนหลังเรียน 4. เก็บรวบรวมข้อมูลการท าแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ไปท าการวิเคราะห์และ เปรียบเทียบความก้าวหน้าทางการเรียน และน าคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนและคะแนน แบบทดสอบย่อยหลังเรียนไปวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ การวิเคราะห์ข้อมูล 1. หาค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยจากการท าแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ 80 ตัวแรก 2. หาค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยจากการท าแบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียนเพื่อ เปรียบเทียบกับเกณฑ์ 80 ตัวหลัง 3. วิเคราะห์หาค่าความเที่ยงตรงของแบบประเมินคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน โดยใช้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) 4. วิเคราะห์ค่าความยากง่าย (p) และค่าอ านาจจ าแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ซึ่งผู้วิจัยวิเคราะห์ความยากง่าย (p) อยู่ระหว่าง 0.20 - 0.80 และค่าอ านาจจ าแนก (I) อยู่ระหว่าง 0.35 - 0.70 5. วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้วิธีของคูเด อร์ริชาร์ดสัน (Kuder-Richardson) สูตร KR-20 โดยมีค่าความเชื่อมั่นอยู่ที่ 0.80 6. หาประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) ซึ่งก าหนดตาม เกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 7. หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละที่ได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย โดยใช้ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่องภัยพิบัติในประเทศ ไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) มี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะค้นหา (5E) รายวิชา ภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติใน ประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) ก่อนเรียนและหลังเรียน ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอน แบบสืบเสาะค้นหา (5E) รายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่องภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบและวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่องภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบ สืบเสาะค้นหา (5E) ก่อนเรียนและหลังเรียน ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการ สอนแบบสืบเสาะค้นหา (5E) รายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่องภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ผู้วิจัยได้น าแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะค้นหา (5 E) รายวิชา ภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามเกณฑ์ 80/80 ท า การทดลองกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดยน าแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะ ค้นหา (5E) รายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประกอบด้วยเนื้อหาสาระ จ านวน 8 เรื่อง คือ 1) เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย 2) เรื่อง การเกิดภัย พิบัติ และการเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ 3) เรื่อง อุทกภัย 4) เรื่อง วาตภัย 5) เรื่อง แผ่นดินไหว 6) เรื่อง สึนามิ 7) เรื่อง ภัยแล้ง และ 8) เรื่อง ดินถล่มและโคลนถล่ม มาใช้สอนจนครบทุกแผนและท า การประเมินผู้เรียนโดยใช้ชิ้นงานที่ท าในกิจกรรมการเรียนการสอนและให้ท าแบบทดสอบหลังเรียน จ านวน 20 ข้อ จากนั้นผู้วิจัยได้น าผลการทดสอบของนักเรียนรายบุคคลมาวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ ของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะค้นหา (5E) แสดงผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ดังตารางที่ 4
ตารางที่4 ผลรวมของคะแนนก่อนเรียน ระหว่างเรียน และคะแนนหลังเรียนด้วยการพัฒนาแผนการ จัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะค้นหา (5E) เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เลขที่ ผลการวัด ก่อนเรียน (30) ผลการวัดระหว่างเรียน ผลการวัด หลังเรียน (30) เรื่องที่ 1 (5) เรื่องที่ 2 (5) เรื่องที่ 3 (5) เรื่องที่ 4 (5) เรื่องที่ 5 (5) เรื่องที่ 6 (5) เรื่อง ที่7 (5) เรื่อง ที่8 (5) รวม (40) 1 13 5 4 3 4 4 5 5 5 35 25 2 15 5 5 5 5 5 5 5 5 40 26 3 15 5 5 5 5 5 5 5 5 40 26 4 10 4 4 5 4 5 4 5 5 36 24 5 13 5 5 5 5 4 5 5 5 39 24 6 15 5 5 5 5 5 5 5 5 40 25 7 15 5 5 5 5 5 5 5 5 40 26 8 10 4 4 5 4 5 5 5 5 37 24 9 11 5 5 5 5 4 4 4 5 37 24 10 8 4 4 5 5 5 5 5 4 37 22 11 15 4 4 5 5 5 5 4 5 37 23 12 13 5 4 4 5 5 5 5 5 38 25 13 17 4 4 5 5 5 5 5 5 38 26 14 18 5 4 4 5 5 5 5 5 38 25 15 14 5 4 4 5 5 5 5 5 38 23 16 15 5 3 4 5 5 5 5 5 37 23 17 17 5 5 5 5 5 5 5 5 40 25 18 15 4 5 4 5 4 4 5 5 36 21
ตารางที่ 4 ผลรวมของคะแนนก่อนเรียน ระหว่างเรียน และคะแนนหลังเรียนด้วยการพัฒนาแผนการ จัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะค้นหา (5E) เรื่องภัยพิบัติในประเทศไทย ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ต่อ) เลขที่ ผลการ วัด ก่อน เรียน (20) ผลการวัดระหว่างเรียน ผลการ วัด หลัง เรียน (20) เรื่องที่ 1 (5) เรื่องที่ 2 (5) เรื่องที่ 3 (5) เรื่องที่ 4 (5) เรื่องที่ 5 (5) เรื่องที่ 6 (5) เรื่องที่ 7 (5) เรื่องที่ 8 (5) รวม (40) 19 16 5 4 5 5 5 5 5 5 39 23 20 16 5 5 5 4 5 5 5 5 39 23 21 15 5 5 5 4 4 5 5 5 38 24 22 15 4 5 5 5 5 4 5 4 37 22 ∑ 311 103 98 103 105 105 106 108 108 836 550 (X̅) 14.13 4.68 4.45 4.68 4.77 4.77 4.81 4.90 4.90 38.00 47.82 S.D. 1.43 0.47 0.59 0.56 0.42 0.42 0.39 0.29 0.29 1.48 2.49 % 47.12 93.63 89.09 93.63 95.45 95.45 96.36 98.18 98.18 95.00 83.33 ประสิทธิภาพ (E1) = 95.00 (E2) = 83.33 จากตางรางที่ 4 พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้คะแนนเฉลี่ยจากการท าใบงานระหว่างการ เรียนรู้ทั้ง 8 แผน คะแนนเต็ม 40 คะแนน เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย เท่ากับ 38.00 คิดเป็นร้อยละ 95.00 และท าคะแนนเฉลี่ยจากการท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เท่ากับ 47.28 คิดเป็นร้อยละ 83.33 และคะแนนเฉลี่ยของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.49 ดังนั้น แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะค้นหา (5E) เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์80/80 ตารางที่ 5 ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะ ค้นหา (5E) เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จ านวน นักเรียน (N) คะแนนระหว่างเรียน (E1) คะแนนวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน (E2) คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย (X̅) ร้อยละ (%) คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย (X̅) ร้อยละ (%) 22 40 38.00 95.00 30 47.82 83.33
จากตารางที่ 5 พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะค้นหา (5 E) เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 95.00/83.33 และคะแนนเฉลี่ยของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.48 แสดงว่า แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะค้นหา (5E) เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นมามีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่ได้ตั้งไว้ ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบและวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะค้นหา (5E) ก่อนเรียนและหลังเรียน ผู้วิจัยได้น าคะแนนผลสัมฤทธิ์ ก่อนเรียนและผลสัมฤทธิ์หลังเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะค้นหา (5 E) เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จ านวน 22 คน คะแนนเต็ม 20 คะแนน มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดังแสดงในตารางที่ 5 ตารางที่ 6 คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและผลสัมฤทธิ์ หลังเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทยของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เลขที่ คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน D D 2 1 13 25 9 81 2 15 26 11 121 3 15 26 11 121 4 10 24 14 154 5 13 24 11 121 6 15 25 10 100 7 15 26 11 121 8 10 24 14 154 9 11 24 12 144 10 8 22 14 154 11 15 23 8 64 12 13 25 9 81 13 17 26 9 81
เลขที่ คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลังเรียน D D 2 14 18 25 4 16 15 14 23 9 81 16 15 23 8 64 17 17 25 5 25 18 15 21 6 36 19 16 23 7 49 20 16 23 7 49 21 15 24 9 81 22 15 22 7 49 ∑ 311 550 - - X̅ 14.13 47.82 - - S.D. 2.49 1.43 - - ร้อยละ 47.12 83.33 ∑ =205 ∑ 2 =1947 จากตารางที่ 6 พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้แผนการ จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย พบว่า ก่อนเรียนผลรวมคะแนน เท่ากับ 311 ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 14.13 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.49 คิดเป็นร้อยละ 47.12 หลัง เรียนผลรวมคะแนนเท่ากับ 550 ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 47.82 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.43 คิดเป็น ร้อยละ 83.33 มีความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนเท่ากับ 93 ซึ่งคะแนนเฉลี่ยหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียน ตารางที่ 7 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบ สืบเสาะค้นหา (5E) เรื่องภัยพิบัติในประเทศไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเรียนและ หลังเรียน การทดสอบ N X̅ S.D. df T Sig.(2-tailed) ก่อนเรียน 22 14.13 1.43 22 17.54* 0.00 หลังเรียน 22 47.82 2.49 *มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
จากตารางที่ 7 พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทย มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปผลการวิจัย 1. การจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะค้นหา (5E) รายวิชา ภูมิศาสตร์ เรื่อง ภัยพิบัติในประเทศไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 95/83.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) เรื่อง ภัย พิบัติในประเทศไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 14.13 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 52.92 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ16.44 คิดเป็นร้อยละ 82.22 ซึ่ง ผลสัมฤทธิ์การเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อภิปรายผล การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E รายวิชาภูมิศาสตร์ นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 สามารถอภิปรายผลการวิจัย ดังนี้ 1) การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E รายวิชาภูมิศาสตร์ นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 โดยรวมอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด อาจเนื่องมาจาก แผนการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ที่สร้างขึ้น 8 แผน จ านวน 8 ชั่วโมง มีความเหมาะสมมากที่สุดทั้งในด้าน สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านใบกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านจุดประสงค์การ เรียนรู้ ด้านการวัดและประเมินผลเรียนรู้ และด้านสาระส าคัญ/สาระการเรียนรู้ เหมาะสมอยู่ในระดับ มากที่สุด ซึ่งในด้านกิจกรรมการเรียนรู้ที่ต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E รวมทั้ง ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ และจุดเด่นของการกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้5E คือ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ผู้เรียนเป็นผู้ค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเองท าให้เกิดเป็นการจ าที่ยั่งยืน ผู้วิจัย จะใช้เทคนิคการตั้งถาม 5W1H ได้แก่ What (อะไร) When (เมื่อไหร่) Where (ที่ไหน) Who (ใคร) Why (ท าไม) How (อย่างไร) แทรกเข้าไปในแต่ละขั้น เนื่องจากกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ 5E จ าเป็นต้องมีการใช้ถามเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ และเกิด ความรู้ได้ด้วยตนเอง หากผู้วิจัยมีการใช้ค าถามที่ดีจะยิ่งช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ที่ เป็นเหตุเป็นผล และแยกแยะองค์ประกอบต่าง 1 ได้ดีมากขึ้น โดยในกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 สร้าง ความสนใจ (Engagement) เป็นขั้นของการน าเข้าสู่บทเรียน ซึ่งท าให้นักเรียนเกิดความสนใจ ผู้วิจัยมี
การใช้ค าถามในการกระตุ้นความอยากรู้อยากเห็นให้แก่นักเรียน และพบว่านักเรียนมีความสนใจและ มีความกระตือรือร้นในการท ากิจกรรมในขั้นนี้เป็นอย่างดี ขั้นที่ 2 ส ารวจและค้นหา (Exploration) ผู้วิจัยจะให้นักเรียนจับกลุ่มแล้วร่วมกันศึกษาค้นคว้าในประเด็นต่าง ๆ เปิดโอกาสให้นักเรียนท า กิจกรรมด้วยตนเองจากใบความรู้ แหล่งเรียนรู้สารสนเทศ และใบกิจกรรม ผู้วิจัยจะคอยดูแลและ ชี้แนะ ให้เวลานักเรียนอย่างเหมาะสม ในขั้นนี้จะเป็นขั้นที่ท าให้นักเรียนเกิดการค้นพบความรู้ได้ด้วย ตนเอง ท าให้จ าเนื้อหาต่าง ๆ ได้ ในขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) เป็นขั้นที่นักเรียน จะต้องออกมาน าเสนอความรู้ที่ได้ศึกษาค้นคว้ามาหน้าชั้นเรียน เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่าง สมาชิกในห้องเรียน และผู้วิจัยจะมีการใช้ค าถามเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถพิจารณาแยกแยะองค์ประกอบ ความเป็นเหตุเป็นผล ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration) ผู้วิจัยจะตั้งค าถามจากเนื้อหาที่สอนในแผนการจัดการเรียนรู้นั้น แล้วประยุกต์กับการด าเนิน ชีวิตประจ าวัน จากนั้นจะให้นักเรียนฝึกตอบค าถามว่าเราสามารถน าไปใช้ในชีวิตได้อย่างไร และขั้นที่ 5 ประเมินผล (Evaluation) ในขั้นนี้ผู้วิจัยจะตรวจสอบความรู้ของนักเรียนว่าการสอนตามแผนการ จัดการเรียนรู้ของผู้วิจัยบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ นักเรียนได้รับความรู้มากน้อยเพียงใด โดยการ ตรวจสอบจากการตอบค าถามของนักเรียน การแลกเปลี่ยนความรู้ในห้องเรียน การใช้เครื่องมือทาง ภูมิศาสตร์ และ แบบประเมินต่าง ๆ ได้แก่ แบบประเมินใบงาน แบบประเมินพฤติกรรมการท างาน กลุ่ม และแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์สอดคล้องกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (2546, น. 34-36) ที่ได้ก าหนดรูปแบบของกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ได้ 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นสร้างความสนใจเป็นการน าเข้าสู่บทเรียน ซึ่งอาจเกิดขึ้นเองจากความสนใจ เรื่องที่น่าสนใจ เป็นตัวกระตุ้น ครูอาจให้ศึกษาจากสื่อต่าง ๆ หรือเป็นผู้กระตุ้นด้วยการเสนอประเด็น หรือการใช้ค าถามกระตุ้น เมื่อมีค าถามที่น่าสนใจจะช่วยให้น าไปสู่ความเข้าใจเรื่องหรือประเด็นที่จะ ศึกษามากขึ้น ขั้นส ารวจและค้นหาเป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาหาข้อมูลจาก เอกสารอ้างอิงหรือจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลอย่างเพียงพอที่จะใช้ในขั้นต่อไป ขั้น อธิบายและลงข้อสรุปเมื่อได้ข้อมูลอย่างเพียงพอจากการส ารวจตรวจสอบแล้ว จึงน าข้อมูลมาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผลและน าเสนอผลที่ได้ในรูปแบบต่าง ๆ ขั้นขยายความรู้ เป็นการน าความรู้ไปใช้อธิบาย สถานการณ์หรือเหตุการณ์อื่น ๆ และขั้นประเมิน เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่านักเรียนมีความรู้อะไรบ้าง อย่างไร และมากน้อยเพียงใด และปิยะพร พรประทุม และวัลลภา อารี รัตน์(2556, น. 65-76) ที่พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ที่เน้นทักษะการคิด วิเคราะห์ พบว่า เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมและส ารวจค้นหา ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีการปฏิบัติงานกลุ่มที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นเกิดการแลกเป็น
เรียนรู้ และช่วยส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ รวมทั้งมีการใช้เทคนิคการตั้งค าถามแบบ 5W1H ใน แผนการจัดการเรียนรู้ อย่างไรก็ตาม จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผู้วิจัยพบว่าในขั้น ที่ 3 อธิบาย และลงข้อสรุป (Explanation) นักเรียนบางคนขาดการกล้าแสดงออกเมื่อต้องออกมาน าเสนอหน้าชั้น เรียน แม้ว่าเวลาปกติจะเป็นคนที่ช่างพูดช่างคุย แต่เมื่อต้องออกมาท ากิจกรรมหน้าชั้นเรียนจะเขินอาย ไม่กล้าพูด 2) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E รายวิชาภูมิศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ อาจเนื่องมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ในขั้นที่ 2 ส ารวจและค้นหา (Exploration) เป็นขั้นที่ช่วยส่งเสริมและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเองซึ่งประกอบด้วยการสังเกต การตั้งค าถาม การตรวจสอบหนังสือ และเอกสารต่าง ๆ ช่วยให้นักเรียนได้ค้นพบความจริงต่าง ๆ ด้วยตนเอง มีประสบการณ์ตรงในการ เรียนรู้เนื้อหาวิชา อาศัยการแลกเปลี่ยนรู้ระหว่างกัน โดยครูผู้สอนจะท าหน้าที่ในการเป็นผู้อ านวย ความสะดวกและจัดการเตรียมสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ และในขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) จะเป็นขั้นที่ช่วยให้นักเรียนเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน รวมทั้งการที่ นักเรียนพอใจกับกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมการเรียนการ สอน ข้อค าถามของครูผู้สอน และการเปิดโอกาสในการวางแผนในการปฏิบัติในกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผล ให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เพิ่มมากขึ้น สอดคล้องกับ สาริศา บุญแจ่ม และคณะ(2558, น. 147-158 ที่ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนรู้ด้วยกิจกรรม การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ที่พบว่านักเรียนเรียนรู้อย่างเป็นอิสระ มีชีวิตชีวาและสนุกกับ การเรียนรู้ มีความสุขในการท างานกลุ่ม นักเรียนได้เรียนรู้วิธีค้นหาความรู้และการแก้ปัญหาด้วย ตนเอง นักเรียนมีนักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น และ ชวกร จันทร์ทอง (2558, น. 89-95) ที่ได้พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E พบว่านักเรียนมีคะแนน ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียนเพิ่มขึ้นกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้ พิมพ์ชนก มณีทัพ (2560, น. 69-73) ได้พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E พบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E เรื่อง ภูมิศาสตร์ ทวีปอเมริกาใต้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญ ที่ระดับ .05 และ ชูไรดา จารง และคณะ (2560 , น. 164-173) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระเศรษฐศาสตร์ เรื่อง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการ
เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น (5E) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมี นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อย่างไรก็ตาม ในส่วนของการกระจายของคะแนนของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน พบว่า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้น แสดงว่าการกระจายของคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อาจเนื่องมาจากนักเรียนยังไม่ได้รับความรู้ ในเนื้อหานั้น ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนไม่แตกต่างกันมากหรือการกระจายของ คะแนนน้อย ส่วนหลังจากจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนแตกต่างกันหรือมี การกระจายของคะแนนมากกว่าก่อนเรียน อาจเป็นผลมาจากกิจกรรมการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นไม่น่าสนใจ ท าให้นักเรียนบางคนเบื่อหน่าย และการที่นักเรียนมีระดับสติปัญญาต่ าและเนื้อหาค่อนข้างยาก ท าให้ อาจจะไม่สามารถศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองได้ และนักเรียนบางคนขาดแรงจูงใจที่จะศึกษาปัญหา รวมถึงนักเรียนบางคนมีความกระตือรือร้นในการเรียนอาจจะพอตอบค าถามได้ แต่ไม่ประสบ ความส าเร็จในการเรียนด้วยวิธีนี้เท่าที่ควร 3) นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์โดยกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Eรายวิชา ภูมิศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ0.5 ซึ่ง เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ อาจเนื่องมาจากว่าหลักการส าคัญของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ 5E คือ กระบวนการการใช้ค าถาม และการตอบค าถามต่าง ๆ ซึ่งเป็นหัวใจส าคัญที่จะช่วย ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์มากที่สุดในขั้นที่ 1 ถึงขั้นที่ 4 คือ ขั้นที่ 1 สร้างความ สนใจ (Engagement) ครูผู้สอนใช้ค าถามเพื่อให้นักเรียนได้ใช้ความคิด สร้างความอยากรู้อยากเห็น ให้แก่นักเรียน ขั้นที่ 2 ส ารวจและค้นหา (Exploration) ครูใช้ค าถามเพื่อให้นักเรียนเกิดการสังเกต และศึกษาหาข้อมูลต่อไป เพื่อให้เกิดการค้นพบความรู้ได้ด้วยตนเอง ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) น าข้อมูลจากการศึกษาคันคว้าในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห์และแปลผลสรุปผลน าเสนอผลที่ ได้ศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ เกิดการซักถาม แลกเปลี่ยนความรู้ และขั้นที่ 4 ขยายความรู้(Elaboration) ครูผู้สอนใช้การตั้งค าถามเพื่อให้นักเรียนสามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ สอดคล้องกับ สุภาพร พรไตร (2557 , น. 11-22 ได้ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ชีวิตกับสิ่งแวดลอมด้วยกิจกรรมการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ที่เน้นการคิดวิเคราะห์ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงขึ้นหลังจากจัด กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้ (5E) อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสาริศา บุญแจ่ม และคณะ (2558,น. 147-158 ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ที่เรียนรู้ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E เรื่อง สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติพบว่า
นักเรียนมีคะแนนทักษะการคิดวิเคราะห์ดีขึ้น นอกจากนี้ พุทธิพงษ์ ศุภมัสดุอังกูร (2559,น. 1349- 1365) ได้พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E พบว่า ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E อยู่ในระดับสูง 4) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบการสืบเสาะหาความรู้ 5E โดยรวมอยู่ ในระดับมาก อาจเนื่องมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการสืบเสาะหาความรู้ 5E ทั้ง 5 ขั้นได้แก่ ชั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (Engagement) ขั้นที่ 2 ส ารวจและค้นหา (Exploration) ชั้นที่ 3อธิบาย และลงข้อสรุป (Explanation)ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (Elaboration) และขั้นที่ 5 ประเมิน(Evaluation) โดยด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่นักเรียนพึงพอใจในระดับมากที่สุด ซึ่งนักเรียนพอใจต่อกิจกรรม การเรียนการสอน ข้อค าถามของครูที่ช่วยฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลเปิดโอกาสให้ นักเรียนเป็นผู้วางแผนเลือกวิธีการ และลงมือปฏิบัติ ค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง ท าให้จ าเนื้อหานั้น 1 ได้ดีขึ้น และการอภิปรายร่วมกันระหว่างสมาชิกในห้องเรียนท าให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องส่วนด้านสื่อการ เรียนรู้นักเรียนพึงพอใจอยู่ระดับมาก ซึ่งนักเรียนพึงพอใจในแง่ที่ว่าสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสม กับเนื้อหา สามารถใช้สื่อการเรียนการสอนได้ถูกต้อง และสื่อที่ใช้มีความทันสมัยเข้ากับยุคปัจจุบัน ด้านบรรยากาศการเรียนรู้นักเรียนพึงพอใจอยู่ระดับมาก ซึ่งนักเรียนพึงพอใจต่อบรรยากาศในการ เรียนสนุกสนานน่าเรียน มีอิสระในการเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นกับครูเละเพื่อนร่วม ชั้น ส่งเสริมให้มี ทักษะการคิดวิเคราะห์และมีเหตุผล และด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรู้ นักเรียนพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ซึ่งนักเรียนพึงพอใจในการท างานได้อย่างมีระบบและรอบคอบ ได้ ค้นพบความรู้ด้วยตนเอง น าหลักการ ความสัมพันธ์และเชื่อมโยงความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน สอดคล้องกับ ชวกร จันทร์ทอง (2558,น. 89-95) ได้การพัฒนารูปแบบการเรียนการ สอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ภูมิศาสตร์น่ารู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนที่ได้รับการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียน การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E มีความพึงพอใจโดย รวมอยู่ในระดับมาก และ วนิดา เพชรสูงเนิน (2560,น. 72-78) ได้พัฒนาชุดการเรียนการสอนวิชา สังคมศึกษา ที่เน้นการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E เรื่อง ทวีปแอฟริกา ส าหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนที่เน้นการเรียนรู้แบบสืบ เสาะหาความรู้ 5E อยู่ในระดับมากที่สุด
ข้อเสนอแนะ 1) ข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้ 1.1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) ที่ผู้วิจัยได้จัดท าขึ้นนั้นในการ น ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนจะต้องเตรียมการจัดการเรียนการสอนให้พร้อมโดย การศึกษา และท าความเข้าใจกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้เป็นไปตามขั้นตอนที่ก าหนด ไว้ก่อนจะน าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนจริง 1.2) ความพร้อมของห้องเรียน สื่อการเรียนการสอน และแหล่งเรียนรู้ มีผลต่อความ สนใจของผู้เรียน ดังนั้นครูจึงต้องมีการวางแผนและจัดเตรียมให้พร้อมก่อนที่จะด าเนินการจัดการเรียน การสอนจริง 1.3) การจัดการเรียนการสอนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) ผู้สอนจะต้องค านึงถึงความสอดคล้องระหว่างเนื้อหาสาระการเรียนรู้กับระยะเวลาในการด าเนินการ จัดกิจกรรม ซึ่งหากผู้สอนใช้เนื้อหาสาระมากเกินไปอาจท าให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดังกล่าวไม่ประสบผลส าเร็จหรือผลจากการจัดกิจกรรมอาจไม่เป็นไปตามที่ต้องการ 1.4) การจัดการเรียนการสอนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) ผู้สอนควรมีการตั้งค าถามเพื่อให้ผู้เรียนได้น าประสบการณ์ที่เรียนรู้หรือฝึกฝนมาทดลองปฏิบัติหรือ แสวงหาค าตอบ เกิดเป็นการเรียนรู้จากความเข้าใจที่ผู้เรียนค่อย ๆ สร้างสมขึ้นมาด้วยตัวเอง 2) ข้อเสนอแนะในการท าวิจัยครั้งต่อไป 2.1) ควรมีการศึกษาผลของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะค้นหา (5E) พร้อมพัฒนารูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีความหลากหลายเพื่อให้ สอดคล้องกับเนื้อหาสาระรายวิชาในแต่ละหน่วยเรียนที่มีความแตกต่างกันไป และน าไปปรับใช้กับ เนื้อหาการเรียนการสอนในหน่วยการเรียนอื่นที่สามารถเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบนี้ 2.2) ควรศึกษาตัวแปรอื่น ๆ จากการสอนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ ค้นหา (5E) ว่าสามารถพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนได้อีกหรือไม่ เช่น คิดสร้างสรรค์คิด แก้ปัญหา คิดสังเคราะห์ การท างานกลุ่ม ทักษะชีวิต เป็นต้น 2.3) ควรศึกษารูปแบบการสอนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะค้นหา (5E) โดยการเปรียบเทียบผลที่ได้ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่เรียนรู้รูปแบบการสอนโดยใช้กมและรูปแบบปกติว่ามี ความแตกต่างกันหรือไม่
บรรณานุกรม กชกร คงเพชรดี , ศุภวัฒน์ วิสิฐศิริกุล และครรชิต กอเฮง. (2560). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียน เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E). ก าแพงเพชร : มหาวิทยาลัยราชภัฎก าแพงเพชร. กนกพร ปรีชาปัญญากุล. (2562). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ (5E). สุราษฎร์ธานี : โรงเรียนบ้านคลองนามิตรภาพที่ 201 กระทรวงศึกษาธิการ. (2551) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย ณฐกรณ์ ด าชะอม. (2563). ผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E และวิธีการทางประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนประวัติศาสตร์และการคิดอยางมีวิจารณญาณ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เดือนเพ็ญ สังข์งาม. (2563). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สาระภูมิศาสตร์ เรื่องทวีปอเมริกา เหนือ ที่ จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. มหาสารคาม : โรงเรียนโกสุมวิทยาสรรค์. ติณณ์ณภัทร เพชรศิริวรรณ์. (2563). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5E เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีป ยุโรป รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
บรรณานุกรม (ต่อ) ปฏิภาณ สร้างค า และธัชชัย จิตรนันท์. (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องพัฒนาการ ทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยประชาธิปไตย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้ แบบสืบ เสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E). สารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ประภัสรา โคตะขุน. (2555). การจัดท าแผนการเรียนรู้หรือแผนการสอน. สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2566, จาก https://sites.google.com/site/prapasara/5-4. ปวีณวัสสา บ ารุงอุดมรัชต์ และอัมพร วัจนะ. (2564). กรศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ (5E) ร่วมกับบทเรียนออนไลน์โดยใช้ Google Sites เรื่อง สมดุลเคมีของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามค าแหง. ปิยนันท์ สวัสดิ์สฤงฆาร. (2563). 5 ล าดับขั้นการเรียนการสอนที่ควรน ามาใช้ปฏิบัติ. สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2565, จาก https://drpiyanan.com/2020/07/29/5e-instructional-model. พุทธิพงษ์ ศุภมัสดุอังกูร. (2559). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิด วิเคราะห์เรื่องภัยพิบัติทางธรรมชาติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดการ เรียนรู้ แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ (5E). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร ภัทรียา เจ๊ะห้ะ. (2553). ข้อดีและข้อจ ากัดของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้. สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2566, จาก http:/da-inquiry-cycles.blogspot.com/p/blog-page_18.html. วัลลภา อินทรงค์. (2564) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะการสอนภูมิศาสตร์ส าหรับครูสังคมศึกษา. ภูเก็ต : มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต วาทินี เพชรดี และ ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์. (2564). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. สารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. สุกัญญา เพ็ชรนาค. (2562). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E รายวิชา ภูมิศาสตร์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. สารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. สุภาภรณ์ อุ้ยนอง. (2561). ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน. สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2566, จาก http://supapornouinong.blogspot.com/2018/04/blog-post_25.html. สูตรทิน อินทร์ข า. (2555) ตอนที่ 3 การจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้หรือแผนการสอน เพชรบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.