The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suphacha musiksut, 2019-05-29 02:49:27

suicidal risk

suicidal risk docx

แผนการสอน

เรอ่ื ง : SDL. Suicidal Risks

รูปแบบการสอน: Flipped Classroom

Simulated patient

วนั เวลา : ตามตารางสอน

จานวนชัว่ โมง: ๒ ชัว่ โมง

สถานท่ี : หอ้ งเรยี นกองจติ เวชและประสาทวทิ ยา ตกึ เฉลมิ พระเกียรติ ชน้ั ๑๕

ผเู้ รียน : นกั เรยี นแพทย์ทหาร/นักศึกษาแพทย์ชน้ั ปีที่ ๔

อาจารยผ์ ู้สอน :พ.ท. ณฐั พล โชคไมตรี

ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม

1. อาจารย์ผสู้ อนมอบหมายให้ผูเ้ รียนไดศ้ กึ ษาเนื้อหามาก่อนลว่ งหน้า จากบทสรปุ เน้ือหา ไฟลว์ ดิ โี อ เอกสาร

ประกอบการสอน และเอกสารเพิม่ เติม

2. เมอื่ ถึงช่ัวโมงเรียน อาจารยน์ าเสนอเนอ้ื หาโดยสรุป ตรวจสอบความเขา้ ใจโดยการสุ่มเรียก ถาม-ตอบ

ประมาณ 15 นาที

3. แบ่งกลุม่ ผเู้ รยี นเป็น 2 กลุ่ม เพ่อื ทาหน้าที่

- กล่มุ ที่ 1 เป็นกลุ่มผู้สัมภาษณ์ผปู้ ว่ ยจาลองตามโจทย์สถานการณ์

- กลุ่มที่ 2 เปน็ กลุ่มผสู้ ังเกตุการณ์ สงั เกตกุ ารปฏบิ ัติของกลมุ่ ที่ 1

4. ให้ผเู้ รยี นกลุ่มท่ี 1 ทาการสัมภาษณผ์ ู้ป่วยจาลอง ประมาณ 20 นาที ในขณะทผี่ ูเ้ รยี นกลุ่มที่ 2 สงั เกตุ จด

บันทึก

5. เมอื่ เสร็จสิ้นการสมั ภาษณ์ อาจารย์ผูส้ อนต้ังคาถามกลุ่มที่ 1 เพื่อให้วิเคราะห์การปฏบิ ตั ิของตนเอง และให้

สมาชกิ กล่มุ ท่ี 2สรปุ ขอ้ มลู ทีไ่ ดแ้ ละวิเคราะห์การปฏิบตั ขิ องกลมุ่ ท่ี 1

6. อาจารยซ์ กั ถามประเด็นสาคัญ แนวทางการรักษาผูป้ ่วย และใหข้ ้อมูลยอ้ นกลับเพื่อเสนอแนะการปฏิบัติ

แนวทางการพฒั นาผลการเรียนร้ขู องนักศึกษา

๑. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม: คุณธรรม จรยิ ธรรม ที่ต้องพฒั นา
 ๑.๔มคี วามตรงต่อเวลา มวี ินัย มคี วามรับผิดชอบต่อผปู้ ่วย และงานที่ได้รับมอบหมาย
 ๑.๖. เคารพในสทิ ธิของผปู้ ว่ ย โดยการใหค้ วามจริง รกั ษาความลับ และคานงึ ประโยชน์ และความ
ปลอดภยั ของผปู้ ่วยเป็นสาคัญ
 ๑.๗. มคี วามเขา้ ใจและสามารถใหก้ ารบริบาลสขุ ภาพโดยมงุ่ เนน้ คนเป็นศูนย์กลาง

วธิ ีการสอน
มอบหมายงานกล่มุ

การประเมนิ ผล
ประเมนิ จากการเขา้ เรียนและการมสี ว่ นร่วม

๒. ความรู้ : ความร้ทู ี่ตอ้ งพัฒนา

 ข.ความรู้ความสามารถทางวชิ าชีพและทักษะทางคลินิก
หมวดท่ี 2. ภาวะผดิ ปกติจาแนกตามระบบอวยั วะ
2.2 โรค/ภาวะ/กลุ่มอาการฉกุ เฉิน
กลมุ่ ที่ 1) 2.2.21Severe depression
2.2.22Suicide attempt
2.2.24Reaction to severe stress

วธิ ีการสอน
(กิจกรรมนอกหอ้ งเรียน)
๑. ห้องเรียนกลบั ดา้ น (flipped classroom)
- บทสรปุ เนื้อหาทีต่ อ้ งรู้
- ไฟลว์ ิดโี อการบรรยาย
- เอกสารประกอบการสอน และ เอกสารอา่ นเพิ่มเติม
(กิจกรรมในหอ้ งเรียน)
๒.การฝกึ ปฏิบตั ิในสถานการณจ์ าลอง (simulated situation)

วธิ กี ารประเมิน
๑.การสงั เกตการทางานกลุ่ม
๒.การสอบปรนยั

๓. ทกั ษะทางปัญญา : ทกั ษะทางปญั ญาที่ต้องพฒั นา

 ๓.๑ตระหนกั รู้และเขา้ ใจในศักยภาพและข้อควรพัฒนาของตน สามารถกาหนดความต้องการในการ
เรียนรแู้ ละพัฒนาของตนเอง ไดอ้ ย่างครอบคลุม

 ๓.๓คดิ วเิ คราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใชอ้ งค์ความรู้ทางวิชาชีพและดา้ นอนื่ ๆ ที่เกย่ี วข้อง
วิธกี ารสอน

๑.การฝกึ ปฏบิ ตั ิในสถานการณ์จาลอง (simulated situation)
๒.การอภิปรายกล่มุ (group discussion)
วิธกี ารประเมนิ
การสังเกตการทางานกลุ่ม
๔.ทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ: ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความ

รับผิดชอบที่ต้องพฒั นา

 ๔.๑ สามารถปรับตัวเชงิ วชิ าชีพแพทย์ และมีปฏสิ ัมพันธอ์ ยา่ งสร้างสรรคก์ บั ผู้อนื่
วธิ ีการสอน

๑.การฝึกปฏบิ ตั ใิ นสถานการณจ์ าลอง (simulated situation)
๒.การอภปิ รายกลุ่ม (group discussion)
วธิ ีการประเมิน
การสังเกตการทางานกลุม่
๕. ทกั ษะการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ :ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ
ตัวเลข การสอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ทตี่ อ้ งพัฒนา
 ๕.๓ สามารถขอความยินยอมในการรักษาพยาบาลจากผู้ป่วย รวมทั้งสร้างความมั่นใจเรื่องการ

รักษาความลับของผู้ปว่ ย
 ๕.๔ มีทักษะการส่ือสารในสถานการณ์เฉพาะ ได้แก่ การแจ้งข่าวร้าย การจัดการเม่ือเกิด

ขอ้ ผิดพลาดโน้มน้าว ไกลเ่ กลีย่ และเจรจาตอ่ รอง
 ๕.๕ มที ักษะในการรับฟงั ปัญหา เข้าใจถึงความรู้สึกและความวิตกกังวลของผู้ปว่ ยและญาติ อีกทั้ง

สามารถตอบคาถาม อธิบาย ให้คาปรึกษา และคาแนะนา โดยเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมอย่าง
เหมาะสม
วธิ กี ารสอน
การฝกึ ปฏบิ ัติในสถานการณจ์ าลอง (simulated situation)
วธิ กี ารประเมิน
๑.การประเมนิ ตนเอง
๒.การประเมินโดยเพ่ือนรว่ มชั้นเรยี นหรือกลุม่ งาน
๖. ทักษะพิสยั :ทกั ษะพิสัย ทีต่ อ้ งพฒั นา
 ๖.๑ มีความสามารถในการสังเกตอากัปกรยิ า ทา่ ทีของผู้ปว่ ยและ ญาติ รวมทัง้ สามารถตอบสนอง
ได้อยา่ งเหมาะสม
 ๖.๒ มีความสามารถในการซกั ประวตั แิ ละตรวจร่างกายผู้ปว่ ยได้อย่างครอบคลมุ และเหมาะสม
และสามารถประมวลข้อมูลเพื่อใช้ในการวินิจฉัยรักษาผู้ป่วยไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
วิธีการสอน
การฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นสถานการณ์จาลอง (simulated situation)
วิธีการประเมิน
๑.การประเมินตนเอง
๒.การประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นเรยี นหรือกลมุ่ งาน

ส่ือการสอน :
- Computer, LCD projector
-บทสรุปเนื้อหาทต่ี อ้ งรู้
- ไฟล์วิดโี อการบรรยาย
- เอกสารประกอบการสอน และ เอกสารอา่ นเพ่ิมเตมิ
- ผู้ปว่ ยสมมุติ

วธิ กี ารประเมนิ ผล
๑.ประเมนิ จากการเข้าเรยี นและการมสี ่วนร่วม
๒.ข้อสอบปรนัย

เอกสารอา้ งองิ
๑.Synopsis of Psychiatry 10th edition, 2004.
๒.แนวทางการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศรา้ ระดับจังหวดั 2557


Click to View FlipBook Version