The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ดนตรีและการแสดงพื้นบ้านของประเทศสมาคมอาเซียน NEW

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Natthaphong Inthawong, 2022-07-08 05:55:51

ดนตรีและการแสดงพื้นบ้านของประเทศสมาคมอาเซียน NEW

ดนตรีและการแสดงพื้นบ้านของประเทศสมาคมอาเซียน NEW

51

ความรู้ทวั่ ไป

กมั พูชา หรือ กอ็ มปุเจีย (เขมร: កម្ព ុជា, กมฺพุชา) ช่ืออยา่ งเป็นทางการวา่ ราชอาณาจกั รกมั พูชา
หรือ ราชอาณาจกั รกอ็ มปุเจีย (เขมร: ព្រះរាជាណាចព្កកម្ព ុជា, พฺระราชาณาจกฺรกมฺพชุ า) เป็น
ประเทศต้งั อยใู่ นส่วนใตข้ องคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ มีพ้นื ท่ี 181,035 ตารางกิโลเมตร
มีพรมแดนทิศตะวนั ตกติดต่อกบั ประเทศไทย ทิศเหนือติดกบั ประเทศไทยและลาว ทิศตะวนั ออกและทิศใต้
ติดกบั เวยี ดนาม และทิศตะวนั ตกเฉียงใตต้ ิดอา่ วไทย ดว้ ยประชากรกวา่ 15 ลา้ นคน กมั พูชาเป็นประเทศท่ีมี
ประชากรมากที่สุดอนั ดบั ท่ี 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็ นศาสนาประจาชาติ ซ่ึงประชากร
กมั พูชานบั ถือมากกวา่ 97% ชนกลุ่มนอ้ ยในประเทศมีชาวเวยี ดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากวา่ 30 เผา่
เมืองหลวงและเมืองใหญส่ ุด คือ พนมเปญ ซ่ึงเป็นศูนยก์ ลางทางการเมือง เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม

ราชอาณาจกั รกมั พูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใตร้ ัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเดจ็ พระบรมนาถ
นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกต้งั โดยราชสภาเพื่อราชบลั ลงั ก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จ
อคั รมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผูซ้ ่ึงปัจจุบนั เป็นผนู้ าที่ดารงตาแหน่งนานท่ีสุดในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
โดยไดป้ กครองกมั พูชามาเป็ นระยะเวลากวา่ 25 ปี

ใน พ.ศ. 1345 พระเจา้ ชยั วรมนั ที่ 2 ปราบดาภิเษกตนเป็นพระมหากษตั ริย์ อนั เป็ นจุดเร่ิมตน้ ของ
จกั รวรรดิขะแมร์ อานาจและความมง่ั คงั มหาศาลของจกั รวรรดิขะแมร์ที่มีพระมหากษตั ริยค์ รองราชสมบตั ิ
สืบตอ่ กนั มาน้นั ไดม้ ีอิทธิพลในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตเ้ ป็ นเวลากวา่ 600 ปี กมั พชู าถูกปกครองเป็ นเมืองข้ึน
ของประเทศเพอ่ื นบา้ น กระทงั่ ถูกฝร่ังเศสยดึ เป็นอาณานิคมในกลางคริสตศ์ ตวรรษท่ี 19 กมั พชู าไดร้ ับเอก
ราชใน พ.ศ. 2496 สงครามเวียดนามไดข้ ยายเขา้ สู่กมั พูชา ทาใหเ้ ขมรแดงข้ึนสู่อานาจ ซ่ึงยดึ กรุงพนมเปญได้
ใน พ.ศ. 2518 ก่อนจะผงาดข้ึนอีกหลายปี ใหห้ ลงั ภายในเขตอิทธิพลสงั คมนิยมเป็นสาธารณรัฐประชาชน
กมั พูชากระทง่ั พ.ศ. 2536 ภายหลงั สนธิสญั ญาสันติภาพปารีส พ.ศ. 2534 ซ่ึงเป็นการยตุ ิสงครามกบั เวยี ดนาม
อยา่ งเป็นทางการ กมั พชู าถูกควบคุมโดยสหประชาชาติในช่วงส้ัน ๆ (พ.ศ. 2535-2536) หลงั จากหลายปี แห่ง
การโดดเดี่ยว ชาติซ่ึงเสียหายจากสงครามกไ็ ดร้ วมเขา้ ดว้ ยกนั อีกคร้ังภายใตร้ ะบอบราชาธิปไตยในปี เดียวกนั
น้นั เอง

ในการบูรณะประเทศหลงั สงครามกลางเมืองนานหลายทศวรรษ กมั พชู ามีความคืบหนา้ อยา่ ง
รวดเร็วในดา้ นเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษย์ ประเทศกมั พูชาไดม้ ีหน่ึงในบนั ทึกเศรษฐกิจที่ดีที่สุดในเอเชีย
โดยมีอตั ราการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉล่ีย 6.0% เป็นเวลานาน 10 ปี ภาคส่ิงทอ เกษตรกรรม ก่อสร้าง เส้ือผา้
และการทอ่ งเท่ียวท่ีเขม้ แขง็ ไดน้ าไปสู่การลงทุนจากตา่ งชาติและการคา้ ระหวา่ งประเทศ[11] ใน พ.ศ. 2548

52

มีการพบแหล่งน้ามนั และแก๊สธรรมชาติใตน้ ่านน้าอาณาเขตของกมั พูชา การขุดเจาะเชิงพาณิชยเ์ ร่ิมข้ึนใน
พ.ศ. 2556 รายไดจ้ ากน้ามนั สามารถมีผลต่อเศรษฐกิจกมั พูชาอยา่ งมาก

กมั พูชาเป็นสมาชิกขององคก์ ารสหประชาชาติต้งั แต่ปี พ.ศ. 2498 รวมถึงความตกลงหุน้ ส่วนทาง
เศรษฐกิจระดบั ภูมิภาค การประชุมสุดยอดเอเชียตะวนั ออก องคก์ ารการคา้ โลก ขบวนการไมฝ่ ักใฝ่ ฝ่ ายใด
และ องคก์ ารระหวา่ งประเทศของกลุ่มประเทศที่ใชภ้ าษาฝร่ังเศส ตามรายงานขององคก์ ารระหวา่ งประเทศ
หลายแห่ง ปัญหาหลกั ของประเทศคือความยากจน การทุจริต การขาดเสรีภาพทางการเมือง อตั ราการพฒั นา
มนุษยต์ ่า และความอดอยากสูง

https://th.wikipedia.org/wiki/

ภูมิศาสตร์
 ส่วนใหญเ่ ป็ นที่ราบ ประกอบดว้ ยที่ราบรอบทะเลสาบเขมร และท่ีราบลุ่มแมน่ ้าโขง
 มีทิวเขาลอ้ มรอบทางเหนือ คือ เทือกเขาพนมดงรัก เทือกเขาบรรทดั เทือกเขาอนั นมั

https://th.wikipedia.org/wiki/

53

กมั พชู า มีลกั ษณะภูมิประเทศคลา้ ยชามหรืออ่าง คือ ตรงกลางเป็นแอ่งทะเลสาบและลุ่มแมน่ ้าโขง
อนั กวา้ งขวาง มีภูเขาลอ้ มรอบอยู่ 3 ดา้ น ไดแ้ ก่

 ดา้ นตะวนั ออกมีแนวเทือกเขาอนั นมั ท่ีเป็นพรมแดนกบั ประเทศเวยี ดนาม
 ดา้ นเหนือและตะวนั ตกเฉียงเหนือมีแนวเทือกเขาพนมดงรักที่เป็นพรมแดนกบั ประเทศไทย
 ดา้ นใตแ้ ละตะวนั ตกใตม้ ีแนวเทือกเขาบรรทดั ท่ีเป็นแนวพรมแดนกบั ประเทศไทยเฉพาะดา้ น

ตะวนั ออกเฉียงใตเ้ ท่าน้นั ที่เป็นท่ีราบลุ่มแม่น้าโขง

แม่นา้ และทะเลสาบ

1. แม่น้าโขง ไหลจากลาวเขา้ สู่ภาคเหนือของกมั พชู าแลว้ ไหลผา่ นเขา้ เขตเวยี ดนาม มีความยาวในเขต
กมั พชู ารวม 500 กิโลเมตร

2. แมน่ ้าทะเลสาบ เชื่อมระหวา่ งแม่น้าโขงกบั ทะเลสาบ ความยาว 130 กิโลเมตร
3. แม่น้าบาสกั (Bassac) เช่ือมต่อกบั แมน่ ้าทะเลสาบท่ีหนา้ พระมหาราชวงั กรุงพนมเปญ ความยาว 80

กิโลเมตร
4. ทะเลสาบโตนเลสาบ อยหู่ ่างจากกรุงพนมเปญประมาณ 100 กิโลเมตร ฤดูน้าหลากน้าท่วมถึง 7,500

ตารางกิโลเมตร ลึกถึง 10 เมตร โตนเลสาบครอบคลุมพ้ืนท่ี 5 จงั หวดั ไดแ้ ก่ กาปงธม กาปงซะนงั
โพธิสัตว์ พระตะบอง และเสียมราฐ ในโตนเลสาบมีปลาชุกชุมกวา่ 300 ชนิด

ภูเขา

ยอดเขาสูงท่ีสุดของกมั พูชาคือ พนมอาออรัล สูงจากระดบั น้าทะเลปานกลาง 1,813 เมตรทิศเหนือของ
กมั พชู ามีเขตแดนติดกบั ประเทศไทยระยะทางยาว 750 กิโลเมตร ติดกบั จงั หวดั อุบลราชธานี ศรีสะเกษ
สุรินทร์ บุรีรัมย์ สระแกว้ จนั ทบุรี ตราด โดยมีเทือกเขาพนมดงรัก และเทือกเขาบรรทดั ก้นั

ป่ าไม้

กมั พูชาเป็นประเทศท่ีมีป่ าไมอ้ ุดมสมบูรณ์มากท่ีสุดหากเปรียบเทียบกบั ประเทศเพื่อนบา้ น ปัจจุบนั ป่ า
ไมล้ ดลงอยา่ งมากหลงั จากที่รัฐบาลเปิ ดใหส้ มั ปทานป่ ากบั บริษทั เอกชนจากประเทศ อินโดนีเซีย มาเลเซีย
และญ่ีป่ ุนส่วนในลาวน้นั ก็ตกกาลงั อยสู่ ภาวะเดียวกนั

54

ภูมอิ ากาศ
มีอากาศมรสุมเขตร้อนเป็ นแบบร้อนช้ืนแถบมรสุม ฤดูฝนเริ่มจากเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม ฤดูแลง้ เริ่ม
จากเดือนพฤศจิกายน-เมษายน เดือนเมษายนมีอุณหภูมิสูงสุดท่ีสุด เดือนมกราคมมีอุณหภูมิต่าที่สุด เดือน
ตุลาคมมีฝนตกชุกท่ีสุด
ภาษา

อกั ษรเขมรโบราณทจี่ ารึกบนแท่นศิลา โดยเป็ นอกั ษรทพี่ ฒั นามาจากอกั ษรปัลลวะจากชมพูทวปี
https://th.wikipedia.org/wiki/

ภาษาราชการของกมั พูชาคือ ภาษาเขมร อนั เป็ นภาษาท่ีจดั อยใู่ นกลุ่มภาษามอญ-เขมร อนั เป็นภาษา
กลุ่มยอ่ ยของตระกลู ภาษาออสโตรเอเชียติก นอกจากน้ียงั มีการใชภ้ าษาฝรั่งเศสในกลุ่มชาวเขมรผสู้ ูงอายุ ซ่ึง
เป็นภาษาราชการหลกั ของอาณานิคมอินโดจีนของฝร่ังเศส ปัจจุบนั ภาษาฝร่ังเศสยงั ถูกจดั อยใู่ นการเรียนการ
สอนในโรงเรียนบางแห่ง และบางมหาวทิ ยาลยั ท่ีรัฐบาลฝร่ังเศสใหก้ ารสนบั สนุน ซ่ึงภาษาฝรั่งเศสไดต้ ก
ทอดจากยคุ อาณานิคมมาถึงในยคุ ปัจจุบนั และยงั มีใชใ้ นรัฐบาลบางวาระโดยเฉพาะในศาล

ในอดีตปี พ.ศ. 2506 รัฐบาลกมั พชู าเคยประกาศหา้ มมิใหบ้ ุคคลเช้ือสายไทยพูดภาษาไทย และหา้ มมี
หนงั สือไทยไวใ้ นบา้ น หากเจา้ หนา้ ท่ีคน้ พบจะถูกทาลายใหส้ ิ้นซาก โดยเฉพาะหากพดู ภาษาไทยจะถูกปรับ
คาละ 25 เรียล และเพิ่มข้ึนเป็ น 50 เรียลในปี ต่อมา[46] เพ่ือตอบโตร้ ัฐบาลไทยในคดีเขาพระวหิ าร

ประวตั ศิ าสตร์ยุคแรกของกมั พูชา
ความรู้เก่ียวกบั ยคุ ก่อนประวตั ิศาสตร์ของกมั พูชาน้นั มีอยนู่ อ้ ยมาก แหล่งโบราณคดีเก่าแก่ท่ีสุดของ

กมั พชู าท่ีคน้ พบในปัจจุบนั คือ ถ้า แลง สแปน (Laang Spean) ทางตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศ ซ่ึงเชื่อ
วา่ ผคู้ นเร่ิมเขา้ มาต้งั ถิ่นฐานกนั เม่ือประมาณ 7,000 ปี ก่อนคริสตกาล และแหล่งโบราณคดีสาโรง เซน
(Samrong Sen) ซ่ึงเช่ือวา่ เร่ิมมีผคู้ นเขา้ มาต้งั ถ่ินฐานเม่ือราว 230 ถึง 500 ปี ก่อนคริสตกาล

55

ชาวกมั พชู าเริ่มรู้จกั การเล้ียงสตั วแ์ ละเพาะปลูกขา้ วไดต้ ้งั แตเ่ มื่อราว 2,000 ก่อนคริสตกาล สามารถทา
เคร่ืองมือจากเหล็กไดต้ ้งั แตร่ าว 600 ปี ก่อนคริสตกาล ก่อนหนา้ ที่อิทธิพลจากวฒั นธรรมอินเดียจะแผน่ เขา้
มาถึงดินแดนแถบน้ี ในราวปี ท่ี 100 ก่อนคริสตกาล

หลกั ฐานทางโบราณคดีบง่ ช้ีวา่ พ้นื ที่หลายส่วนของดินแดนประเทศกมั พชู าในปัจจุบนั เร่ิมมีผคู้ นอาศยั
อยตู่ ้งั แต่เม่ือราวสหสั วรรษแรกและสหสั วรรษท่ี 2 ก่อนคริสตกาล โดยจดั เป็นวฒั นธรรมยคุ หินใหม่ ซ่ึงผคู้ น
กลุ่มน้ีอาจอพยพมาจากทางพ้ืนท่ีตะวนั ออกเฉียงใตข้ องจีน ในก่อนช่วงคริสตศ์ ตวรรษแรก ผคู้ นในแถบไดม้ ี
ววิ ฒั นาการสู่การต้งั ถิ่นฐานเป็นหลกั แหล่ง มีการจดั โครงสร้างของสงั คมอยา่ งเป็ นระบบ ซ่ึงทาใหส้ ามารถ
พฒั นาทกั ษะวทิ ยาการตา่ ง ๆ ไดก้ า้ วหนา้ กวา่ ยคุ ก่อน ๆ เป็ นอยา่ งมาก กลุ่มที่มีพฒั นาการกา้ วหนา้ ที่สุดอาศยั
อยใู่ นบริเวณชายฝ่ัง ท่ีราบลุ่มแมน่ ้าโขงตอนล่าง และบริเวณสามเหลี่ยมปากแมน่ ้าโขง สามารถเพาะปลูกขา้ ว
และเล้ียงปศุสัตวไ์ ด้ นกั ประวตั ิศาสตร์หลายคนมีความเห็นวา่ ผคู้ นกลุ่มน้ีไดต้ ้งั หลกั แหล่งอาศยั ก่อนหนา้
ผคู้ นในประเทศเพือ่ นบา้ น คือ เวยี ดนาม ไทย และลาว

ผคู้ นกลุ่มน้ีอาจจดั อยใู่ นกลุ่มออสโตรเอเชียติก (Austroasiatic) หรืออยา่ งนอ้ ยกม็ ีความสมั พนั ธ์กบั
บรรพบุรุษของมนุษยก์ ลุ่มดงั กล่าว ซ่ึงเป็นกลุ่มคนท่ีอาศยั อยทู่ ว่ั ไปในดินแดนเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตแ้ ละ
เกาะแก่งต่าง ๆ ของมหาสมุทรแปซิฟิ กในปัจจุบนั ผคู้ นเหล่าน้ีมีความรู้ในงานโลหะ เช่นเหล็กและสาริด
โดยเป็นเป็นทกั ษะที่คิดคน้ ข้ึนเอง งานวจิ ยั ในปัจจุบนั ไดค้ น้ วา่ ชาวกมั พูชาในยคุ น้ีสามารถปรับปรุงสภาพภูมิ
ประเทศมาต้งั แตย่ คุ หินใหม่ โดยปรากฏรูปแบบเป็นพ้ืนท่ีรูปวงกลมขนาดใหญ่

อาณาจักรฟูนัน

อาณาจกั รฟูนนั เป็ นรัฐท่ีรุ่งเรืองอยรู่ ะหวา่ งคริสตศ์ ตวรรษท่ี 1 – 6 ที่ต้งั ของรัฐอยบู่ ริเวณลุ่มแมน่ ้าโขง
ตอนล่าง ปัจจุบนั เป็ นท่ีต้งั ประเทศกมั พูชา เวยี ดนามตอนใต้ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของไทย บางตอนของ
ลุ่มแม่น้าเจา้ พระยา และภาคใตข้ องไทย ลงมาถึงแหลมมลายู ฟูนานรวมตวั กนั เป็นรัฐแรกของเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใต้ เป็นรัฐชลประทานภายในแผน่ ดินที่ประชาชนดารงชีพดว้ ยการเกษตร โดยใชน้ ้าจาก
ระบบชลประทานท่ีพฒั นาเป็ นอยา่ งดี นอกจากน้นั ฟูนานยงั มีเมืองท่าสาหรับจอดเรือและคา้ ขายต่างประเทศ
ฟูนาน จึงมีรายไดจ้ ากการคา้ ขาย การเดินเรืออีกดว้ ย

เร่ืองราวของรัฐฟูนาน ทราบจากบนั ทึกของชาวจีนที่เดินทางมาแถบน้ี ไดเ้ ขียนเล่าถึงความมงั่ คงั่
ความเป็นอยใู่ นชุมชนที่มีระเบียบ มีคุณธรรม มีการปกครองระบอบกษตั ริย์ มีเมืองต่าง ๆ มาข้ึนดว้ ยหลาย
เมือง มีวฒั นธรรมแท้ ๆ ของตนเอง มีการติดตอ่ กบั ชาวตา่ งประเทศ ท้งั ในทวปี เอเชียดว้ ยกนั และโลก
ตะวนั ตก ชนช้นั สูงเป็ นพวกมาลาโยโพลีนีเซียน ชาวจีนวา่ พวกชนช้นั พ้ืนเมืองของฟูนนั หนา้ ตาหนา้ เกลียด
ตวั เล็ก ผมหยกิ สนั นิษฐานวา่ น่าจะเป็นพวกเนกริโตและเมลานีเซียน ฟูนานมีประวตั ิความเป็นมา เร่ิมจากการ

56

รวมตวั กนั ของผคู้ น เป็นชุมชนเลก็ ขนาดหมูบ่ า้ น จากหมู่บา้ นพฒั นาข้ึนมาเป็นรัฐ วธิ ีการพฒั นาจากสงั คมเผา่
เป็นสังคมรัฐมีปัจจยั และข้นั ตอนหลายประการ

อาณาจักรเจนละ (อาณาจักรอศิ านปุระ)

ในระหวา่ ง พ.ศ. 1170-1250 น้นั อาณาจกั รเขมรมีกษตั ริยค์ รองราชยค์ ือ พระเจา้ ภววรมนั ท่ี 2
พระโอรสของพระเจา้ อีศานวรมนั ท่ี 2 และพระเจา้ ชยั วรมนั ที่ 1 โอรสของพระเจา้ ภววรมนั ท่ี 2 ยคุ น้ีไดส้ ร้าง
ศิลปเขมรแบบไพรกเมง ข้ึนระหวา่ งพ.ศ. 1180-1250 สมยั พระเจา้ ชยั วรมนั ที่ 1 น้นั อาณาจกั รเจนฬา (เจนละ)
น้นั ไดแ้ ตกแยกเป็นพวกเจนละบกคืออยลู่ ุ่มน้าโขงตอนใต้ และพวกเจนละน้า อยใู่ นดินแดนลาวตอนกลาง
พ.ศ. 1250-1350 ยคุ น้ีไดม้ ีการสร้างศิลปเขมรแบบกาพงพระข้ึน

อาณาจกั รเขมรน้นั ล่มสลายมาจนถึงรัชสมยั พระเจา้ ชยั วรมนั ที่ 2 หรือพระเจา้ ปรเมศวร พ.ศ. 1345-
1393 พระองคไ์ ดร้ วบรวมพวกเจนละบกและพวกเจนละน้าเป็นอาณาจกั รใหมโ่ ดยรับเอาลทั ธไศเลนทร์หรือ
เทวราชาเขา้ มาทาการสถานปนาอาณาจกั รใหม่ข้ึน โดยทาการสร้างราชธานีข้ึนใหม่หลายแห่งและสร้าง
ปราสาทหินหรือเทวาลยั เป็นการใหญ่ ซ่ึงมีเหตุการณ์ยา้ ยราชธานีข้ึนหลายคร้ังจนกวา่ จะลงตวั ท่ีเมืองหริหรา
ลยั ราชธานีแห่งแรกของอาณาจกั รเขมร ต่อมาคือ เมืองยโศธรปุระ และ เมืองนครธมในท่ีสุด ดว้ ยเหตุน้ี
อาณาจกั รเขมรสมยั น้ีจึงรุ่งเรืองดว้ ยการสร้างราชธานีข้ึนหลายแห่งและมีปราสาทหินท่ีเป็นศิลปะเขมร
เกิดข้ึนหลายแบบ กล่าวคือ สมยั พระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี 2 น้นั พระองคไ์ ดท้ าการสร้างเมืองอินทรปุระเป็นราชธานี
ข้ึนที่บริเวณใกลเ้ มืองกาแพงจาม สร้างเมืองหริหราลยั หรือร่อลวย เป็นราชธานี สร้างเมืองอมเรนทรปุระ เป็น
ราชธานี และสร้างเมืองมเหนทรบรรพต หรือ พนมกเุ ลนเป็นราชธานี ยคุ น้ีไดส้ ร้างศิลปเขมรแบบกุเลนข้ึน
ระหวา่ ง พ.ศ. 1370-1420

เม่ือสิ้นรัชกาลพระเจา้ ชยั วรมนั ที่ 2 พระโอรสไดค้ รองราชยท์ รงพระนามวา่ พระเจา้ ชยั วรมนั ที่ 3 หรือ
พระเจา้ วษิ ณุโลก ครองราชย์ พ.ศ. 1393-1420 พระองคไ์ ดก้ ลบั มาใชเ้ มืองหริหราลยั หรือร่อลอย เป็ นราชธานี
ตอ่ มาจนถึงรัชกาลพระเจา้ อินทรวรมนั ท่ี 1 หรือ พระเจา้ อิศวรโลก ครองราชย์ พ.ศ. 1420-1432 ยคุ น้ีไดส้ ร้าง
ศิลปะเขมรแบบพระโคข้ึนในพ.ศ. 1420-1440

ในสมยั พระเจา้ ยโศวรมนั ท่ี 1 หรือ พระเจา้ บรมศิวโลก พระโอรสของพระเจา้ อินทรวรมนั ท่ี 1 ซ่ึง
ครองราชยเ์ ป็นกษตั ริยเ์ ขมรในพ.ศ. 1432-1443 น้นั พระองคไ์ ดส้ ร้างเมืองยโศธรปุระหรือเมืองพระนครแห่ง
แรกข้ึนที่เขาพนมบาเคง็ เมื่อ พ.ศ. 1436 ซ่ึงอยทู่ างตอนเหนือทะเลสาบเมืองเสียมราฐ เมืองน้ีคนไทยเรียก
เสียมราฐ การสร้างปราสาทหินข้ึนบนเขาพนมบาเคง็ น้นั เป็นอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์หรือฮินดูที่แผ่
อิทธิพลเขา้ มายงั ดินแดนแถบน้ี ซ่ึงถูกสมมติข้ึนเป็นศูนยก์ ลางของจกั รวาลตามความเชื่อน้นั นบั เป็นศิลปะ
เขมรแบบบาเคง็

57

เมืองยโศธรปุระ ราชธานีแห่งน้ีมีกษตั ริยค์ รองราชยต์ ่อมาคือ พระเจา้ หรรษวรมนั ที่ 1 หรือ พระเจา้
รุทรโลก พระโอรสของพระเจา้ ยโศวรมนั ที่ 1 ครองราชย์ พ.ศ. 1443-1456 และพระเจา้ อีศานวรมนั ท่ี 2 หรือ
พระเจา้ บรมรุทรโลก พระอนุชาของพระเจา้ หรรษวรมนั ท่ี 1 ครองราชย์ พ.ศ. 1456-1468 จึงเกิดเหตุการณ์
เปลี่ยนแผน่ ดิน

ในท่ีสุดพระเจา้ ชยั วรมนั ที่ 4 หรือพระเจา้ บรมศิวบท ซ่ึงเป็ นนอ้ งเขยของพระเจา้ ยโศวรมนั ท่ี 1 ไดข้ ้ึน
ครองราชยเ์ ป็นกษตั ริยอ์ าณาจกั รเขมรใน พ.ศ. 1471-1485 พระองคไ์ ดส้ ร้างราชธานีข้ึนท่ีเมืองโฉกการยกยาร์
หรือเกาะแกร์ และพระเจา้ หรรษวรมนั ที่ 2หรือพระเจา้ พรหมโลก พระโอรสขององคไ์ ดค้ รองราชยต์ ่อมา
ระหวา่ ง พ.ศ. 1485-1487 ยคุ น้ีไดส้ ร้างศิลปะเขมรแบบเกาะแกร์ พ.ศ. 1465-1490 ต่อมาพระเจา้ ราเชนทรวร
มนั หรือพระเจา้ ศิวโลก พระนดั ดาของพระเจา้ ยโศวรมนั ที่ 1 ไดค้ รองราชยใ์ น พ.ศ. 1487-1511 ไดย้ า้ ยราช
ธานีมาที่เมืองยโศธรปุระ หรือเมืองพระนครแห่งแรก ยคุ น้ีไดส้ ร้างศิลปะเขมรแบบแปรรูป พ.ศ. 1490-1510

เมืองยโศธรปุระ ราชธานีเก่าแห่งน้ีมีกษตั ริยค์ รองราชยต์ ่อมาหลายพระองค์ ไดแ้ ก่

- พระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี 5 หรือพระบรมวรี โลก ซ่ึงเป็นพระนดั ดาของพระเจา้ ราเชนทรวรมนั ครองราชย์
พ.ศ. 1511-1544 สมยั น้ีสร้างศิลปะเขมรแบบบนั ทายศรี พ.ศ. 1510-1550 ข้ึน

- พระเจา้ อุทยั ทิตยวรมนั ที่ 2 พระนดั ดาของพระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี 5 ครองราชย์ พ.ศ. 1544 สร้างศิลปะ
เขมรแบบคลงั ข้ึน พ.ศ. 1510-1560

- พระเจา้ ชยั วรี วรมนั ครองราชย์ พ.ศ. 1545 (สวรรคต พ.ศ. 1553)

- พระเจา้ สุริยวรมนั ท่ี 1 ครองราชย์ พ.ศ. 1545-1593สมยั น้ีพระองคไ์ ดท้ าการสถาปนาราชวงศข์ ้ึน
ใหม่ และน่าจะมีการสร้างเมืองพระนครข้ึนใหม่เป็นแห่งที่สองเป็นยคุ ท่ีสร้างศิลปแบบปาบวนข้ึนใชใ้ น พ.ศ.
1560-1630 เมืองพระนครแห่งท่ีสองน้ี ยงั ไม่มีรายละเอียด จึงสรุปไม่ไดว้ า่ อยทู่ ี่ใด

ในดินแดนพายพั น้นั เดิมหวั เมืองฝ่ ายเหนือท้งั หมดเป็ นถิ่นที่อยขู่ องชนชาติลาว คร้ันเม่ือเขมรมี
อานาจขยายอาณาจกั รมาสู่ดินแดนพายพั จึงต้งั เมืองละโวใ้ หเ้ จา้ นครเขมรคอยดูแล และพระนางจามเทวี
พระธิดาของเจา้ ผคู้ รองเมืองละโวไ้ ดข้ ้ึนไปครองเมืองหริภุญชยั (เมืองลาพูน) ซ่ึงเป็นเมืองลูกหลวงของเขมร
ละโว้ พระธิดาเจา้ ผคู้ รองเมืองน้ีจึงไดป้ กครองพวกลาวท้งั ปวงในมณฑลพายพั เมืองหริภุญชยั (เมืองลาพูน)
จึงเป็นเมืองลูกหลวงของเขมรละโว้ ท่ีต้งั ข้ึนเพอื่ ใชด้ ูแลดินแดนพายพั ต่อมาไดต้ ้งั เมืองนครเขลางค์ (เมือง
ลาปาง) ข้ึนและปกครองร่วมกนั

58

จักรวรรดิเขมร

จกั รวรรดิขแมร์ หรือ อาณาจกั รเขมร หรือบางแหล่งเรียกวา่ อาณาจกั รขอม เป็ นหน่ึงในอาณาจกั ร
โบราณ เริ่มตน้ ข้ึน ราวพุทธศตวรรษท่ี 6 โดยเร่ิมจากอาณาจกั รฟูนนั มีที่ต้งั อยใู่ นบริเวณประเทศกมั พูชา โดย
มีอาณาเขตครอบคลุมพ้นื ท่ีบางส่วนของ ประเทศไทย ลาว และบางส่วนของเวยี ดนามในปัจจุบนั นบั เป็น
อาณาจกั รท่ีมีแสนยานุภาพมากท่ีสุดในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ต่อมาไดอ้ ่อนกาลงั ลงจนเสียดินแดน
บางส่วนใหก้ บั อาณาจกั รสุโขทยั และแตกสลายในท่ีสุดเม่ือตกเป็ นเมืองข้ึนของอาณาจกั รอยธุ ยา อาณาจกั ร
เขมรสืบทอดอานาจจากอาณาจกั รเจนฬา มีสงครามผลดั กนั แพผ้ ลดั กนั ชนะกบั อาณาจกั รขา้ งเคียง เช่น
อาณาจกั รลา้ นชา้ ง อาณาจกั รอยธุ ยา และอาณาจกั รจามปา มรดกที่สาคญั ที่สุดของอาณาจกั รเขมรคือ นครวดั
และ นครธม ซ่ึงเคยเป็นนครหลวงเมื่อคร้ังอาณาจกั รแห่งน้ีมีความเจริญรุ่งเรืองท่ีสุด และยงั มีลทั ธิความเช่ือ
ต่าง ๆ อยา่ งหลากหลาย ศาสนาหลกั ของอาณาจกั รน้ีไดแ้ ก่ ศาสนาฮินดู พุทธศาสนามหายาน และพทุ ธศาสนา
เถรวาทซ่ึงไดร้ ับจากศรีลงั กา เมื่อคริสตศ์ ตวรรษที่ 13

เคร่ืองดนตรีประเทศกมั พชู า

ตวั อย่างเคร่ืองดนตรีกมั พชู า

พิณน้าเตา้ หรือ กระเเสมูยแบบเขมรอีสานใต้ เป็นเคร่ืองดนตรีโบราณที่ไดร้ ับวฒั นธรรมมาจาก
อินเดีย ปรากฎหลกั ฐานในภาพจาหลกั ท่ีระเบียงปราสาทหินนครวดั และที่ปราสาทนครธม เร่ืองราวของ
เคร่ืองดนตรีกระเเสมูยของชาวไทยเช้ือสายเขมรอีสานใตท้ ี่เคยนามานาเสนอวารสารเก่ียวกบั วฒั นธรรมที่
น่าสนใจของอีสานใตพ้ ณิ น้าเตา้ หรือกระเเสมูยแบบเขมรอีสานใตข้ องไทยซ่ึงประดิษฐข์ ้ึนใหมส่ งั เกตที่ปลาย
เคร่ืองดนตรีกระเเสมูยของเขมรในกมั พูชาจะทาเป็นรูปพญานาค

พิณน้าเตา้ อีกแบบหน่ึง และ พณิ น้าเตา้ อีกแบบหน่ึงที่ปลายหล่อโลหะทาเป็นรูปพญานาค พณิ น้าเตา้
ในทางภาคเหนือเป็ นพิณชนิดเดียวกนั กบั กระเเสมูยของเขมรอีสานใต้ สังเกตที่ปลายพณิ นิยมหล่อโลหะทา
เป็นรูปนกหสั ดีลิงคต์ ามความเช่ือของชาวเหนือ

http://athornmusic.blogspot.com/

59

พิณเป๊ี ยะทางภาคเหนือท่ีมีจานวนสายเพิ่มมากข้ึนมีววิ ฒั นาการมาจากพินน้าเตา้ หรือกระเเสมูยของ
เขมร สงั เกตุที่ปลายพิณนิยมหล่อโลหะทาเป็นรูปนกหสั ดีลิงคต์ ามความเชื่อของชาวเหนือ

http://athornmusic.blogspot.com/

วงดนตรีพืน้ บ้านและดนตรีคลาสสิก

วงออร์เคสตรากมั พูชาสาหรับการราของราชวงศ์เม่ือต้นศตวรรษที่ 20
http://athornmusic.blogspot.com/

60

กมั พชู าเพลงศิลปะท่ีไดร้ ับอิทธิพลอยา่ งสูงจากรูปแบบโบราณเช่นเดียวกบั ศาสนาฮินดูรูปแบบ
ศาสนาเตน้ หลายแห่งซ่ึงเรื่องราวพรรณนาและตานานโบราณที่พบบ่อยในวฒั นธรรมเขมร การเตน้ ราบาง
ระบาจะมาพร้อมกบั วงออร์เคสตราพนิ พีท ซ่ึงรวมถึงชิง ( ฉิ่ง ), โรเนท ( ระนาดไมไ้ ผ่ ), ปายอู ( ฟลุต ), สรา
ไล ( โอโบ ), แชปี (เบสมูนลูห้ รือแบนโจ ), ฆอ้ ง ( ฆอ้ งทองสมั ฤทธ์ิ ), tro ( ซอ ) และกลองชนิดต่างๆ การ
เคลื่อนไหวแต่ละคร้ังที่นกั เตน้ ทาหมายถึงความคิดท่ีเฉพาะเจาะจง รวมถึงแนวคิดท่ีเป็นนามธรรมเช่นวนั น้ี
(ช้ีนิ้วข้ึนไป) คริสตท์ ศวรรษ 1950 มีการฟ้ื นคืนชีพของนาฏศิลป์ คลาสสิก นาโดยพระนางสีสุวตั ถ์ กอสมาก
เนียรรัตน์

ในช่วงตน้ ทศวรรษ 1970 เขมรแดงของกมั พูชาไดก้ ระทาการฆา่ ลา้ งเผา่ พนั ธุ์ในหมูป่ ระชาชนของ
ประเทศ ในช่วงรัชสมยั ของพวกเขา ประมาณ "90% ของนกั ดนตรี นกั เตน้ ครู และผผู้ ลิตเคร่ืองดนตรีของ
กมั พูชา" ถูกสังหาร ขดั ขวางการถ่ายทอดความรู้ทางวฒั นธรรมไปยงั คนรุ่นหลงั ประเทศไดร้ ับการฟ้ื นฟู
นบั ต้งั แตน่ ้นั มา โดยที่บรรดาผทู้ ่ีพยายามดาเนินการ สอน คน้ ควา้ และจดั ทาเอกสารส่ิงที่พวกเขาสามารถทา
ได้

ดนตรีพ้นื เมืองตอ้ งแข่งขนั กบั ดนตรีตา่ งประเทศท่ีมีระบบโทนเสียงและความถ่ีพทิ ชต์ ่างกนั การขาด
ระบบการเขียนแบบเป็นทางการของทฤษฎีดนตรีสาหรับดนตรีกมั พชู าทาใหค้ นกมั พชู าสมยั ใหมเ่ ขา้ ใจวา่
ดนตรีน้นั "ไมถ่ ูกตอ้ ง" "ไม่เขา้ ทา่ " หรือ "ไมส่ มเหตุสมผล" เมื่อเปรียบเทียบกบั ดนตรีตะวนั ตกหรือดนตรีจีน
ดนตรีด้งั เดิมยงั คงมีอยใู่ นปัจจุบนั แตก่ ารอยรู่ อดของดนตรีเป็ นผลมาจากความพยายามของรัฐบาลอยา่ งเป็น
ทางการ (ท้งั ยเู นสโกและกมั พชู า) รวมถึงนกั วชิ าการ ส่ิงเหล่าน้ีไดท้ างานเพ่ือจดั ระเบียบความรู้เกี่ยวกบั ระบบ
ดนตรีของกมั พชู าและประเพณีท่ีแตกต่างกนั

Sam-Ang Samนกั ชาติพนั ธุ์วทิ ยาชาวกมั พชู าเขียนบทนาส้นั ๆ เกี่ยวกบั ดนตรีกมั พูชาบนเวบ็ ไซต์
ของเขา ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของงานของเขาเพื่อรักษาความรู้เก่ียวกบั ดนตรีกมั พชู าและการใหค้ วามรู้ เขาพูด
เกี่ยวกบั ดนตรีในสามพ้นื ที่ท่ีแตกต่างกนั ของกมั พชู า: หมู่บา้ น ศาล และวดั ในแต่ละฉาก ดนตรีมีหนา้ ท่ี
ทางการหรือเพ่ือความบนั เทิง เพลงหมู่บา้ นรวมkar โบราณเพลงสาหรับงานแต่งงานaraakเพลงสาหรับการ
สื่อสารกบั วญิ ญาณและ " ayaiร้องเพลงคาตอบที่เฉียบแหลม, chrieng chapeyการเล่าเร่ืองและYikeและ
basakkโรงภาพยนตร์." [4]ดนตรีในศาลมีวงออเคสตราที่ประกอบดว้ ยชุดเครื่องดนตรีเฉพาะ วงออร์เคส
ตราพนิ พที (ประกอบดว้ ยฆอ้ งตีระฆงั ไซโลโฟน เมทลั โลโฟน โอโบ และกลอง) มาพร้อมกบั การเตน้ ราที่
เป็นทางการ การแสดงสวมหนา้ กาก การแสดงเงา และพิธีทางศาสนา ความบนั เทิงที่เป็ นทางการนอ้ ยกวา่ เล่น
โดยวงออเคสตราโมโฮริ วดั มีวงดนตรี "ฆอ้ งและกลอง" รวมท้งั วงดุริยางคพ์ นิ พตี

นอกจากน้ี Sam-Ang Sam ยงั แยกความแตกตา่ งระหวา่ งเพลงที่ทาโดยชาวกมั พูชากระแสหลกั (
ดนตรีกมั พูชา ) และดนตรีที่แตกตา่ งกนั ของชนกลุ่มนอ้ ย (ส่วนหน่ึงของดนตรีของกมั พชู า ) เพลงหลงั รวมถึง

61

ดนตรีท่ีทาโดยผคู้ นท่ีอาศยั อยใู่ นจงั หวดั รัตนคีรีและมุนทุลคีรีเทือกเขาKoulenและCardamomและบริเวณ
ใกลเ้ คียง "รอบทะเลสาบใหญ่ ( โตนเลสาบ )" ความแตกต่างของภาษาและศาสนาช่วยสร้างความแตกต่าง
ระหวา่ งวฒั นธรรมต่างๆ กลุ่มชาติพนั ธุ์ ไดแ้ ก่ กลุ่มภาษามอญ-เขมรบนที่สูง (พนง, กุย้ (กยุ ), ปอ, สาเหร่) ซ่ึง
มีดนตรีประกอบคือ ฆอ้ ง กลอง และอวยั วะปากเปล่ากบั ลมหีบน้าเตา้ กลุ่มชาติพนั ธุ์อ่ืนๆ ไดแ้ ก่ จาม จีน
เวยี ดนาม ท่ีทุกคนอาจมีดนตรีจากวฒั นธรรมของตนเอง แต่ที่ "ไมร่ ู้จกั "

พนิ พที

หน่ึงในรูปแบบดนตรีแบบด้งั เดิมคือPinpeat ( เขมร : រិណពាទ្យ ) ซ่ึงในวงดนตรีหรือนกั ดนตรี
ท้งั หมดดาเนินการเพลงพระราชพิธีของราชสานกั และวดั ของกมั พูชา วงออเคสตราจะร่วมบรรเลงบลั เลต์
คลาสสิกท้งั ชาย (โลกคกล) และหญิง (อปั สรา) รวมท้งั โรงละครแกรนดเ์ ธียเตอร์แห่งเงา (Sbek Thom) [5]วง
ดนตรีประกอบดว้ ยประมาณเกา้ หรือสิบเครื่องมือส่วนใหญ่เป็นลมและกระทบ (รวมท้งั อีกหลายสายพนั ธุ์
ของระนาดและกลอง ) มนั มาพร้อมกบั เตน้ ราศาล , บทละครสวมหนา้ กาก , ละครเงาและศาสนาพิธี พณิ พตั
น้นั คลา้ ยคลึงกบั วงดนตรีพิพฒั น์ของประเทศไทย

ในช่วงไมก่ ่ีปี ท่ีผา่ นมา เครื่องดนตรีที่ใหช้ ื่อพินพีท พินไดร้ ับการฟ้ื นฟู เคร่ืองดนตรีสูญหายหรือถูก
ทอดทิง้ ราวศตวรรษที่ 13

โมโฮริ

ดนตรีพ้ืนเมืองอีกรูปแบบหน่ึงคือดนตรีโมโฮริ ซ่ึงเป็นดนตรีเพ่ือความบนั เทิงของราชสานกั กมั พชู า
สยาม และลาว ในขณะที่เพลงพนิ พีทเป็นเพลงท่ีเกี่ยวกบั ศาสนาและ "เพ่ือเทพเจา้ " ดนตรีโมโฮริถูกสร้างข้ึน
สาหรับขนุ นาง โดยเนน้ ที่ธีมและอารมณ์เพื่อ "ทาให้จิตวญิ ญาณของพวกเขาเบิกบาน" เพลงน้ี "บุญตราสาร
ออ่ น" รวมท้งั khloyขลุ่ยkrapeu , tro CHHE, tro Sor และแก Ou stringed เคร่ืองมือและroneat เอกระนาดroneat
ทอง metallophone , Skor กลอง romonea และchhingฉิ่ง

อารักษ์

เพลง Arak (araak, areak, aareak) เป็นเพลงสาหรับวตั ถุประสงคท์ างศาสนาและการรักษา สืบ
เน่ืองมาจาก "ความเชื่อทางจิตวญิ ญาณของผ"ี ของกมั พูชาโบราณ ตามเน้ือผา้ มนั ถูกใชใ้ นการ "ขบั รถออกไป
เจบ็ ป่ วย" และใชข้ ลุ่ยกลองtro , chapeiและKSE diev

62

ร็อกแอนด์ป็ อปกมั พชู า

เริ่มตน้ ในปลายทศวรรษ 1950 ประมุขแห่งรัฐนโรดม สีหนุนกั ดนตรีเอง ไดส้ นบั สนุนการพฒั นา
ดนตรียอดนิยมในประเทศกมั พูชา ในข้นั ตน้ อลั บ้มั เพลงป็อปจากฝรั่งเศสและละตินอเมริกานาเขา้ มาใน
ประเทศและกลายเป็นที่นิยม สร้างแรงบนั ดาลใจใหก้ บั วงการเพลงที่เฟ่ื องฟูในกรุงพนมเปญ และนาโดย
นกั ร้องอยา่ งโรส เสรี โสเธะ , เป้นรันหรือ ซินนศ์ รีสมุท ท่ีมีเพลงฮิตอยา่ ง "วิโอลอน เสน่หา " .

ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1960 และตน้ ปี 1970 ที่เกิดเหตุไดร้ ับอิทธิพลตะวนั ตกต่อไปโดยร็อกแอนด์
โรลและวญิ ญาณเพลงผา่ นวทิ ยกุ องกาลงั ติดอาวธุ ของสหรัฐท่ีไดร้ ับการออกอากาศเขา้ ไปในบริเวณใกลเ้ คียง
เวยี ดนามใต้ ส่งผลใหไ้ ดเ้ สียงท่ีมีเอกลกั ษณ์เฉพาะซ่ึงเพลงป๊ อปและร็อคแบบตะวนั ตกผสมผสานกบั เทคนิค
การร้องแบบเขมร

หลายของนกั ร้องที่สาคญั ที่สุดของยคุ น้ีเสียชีวติ ในระหวา่ งการฆ่าลา้ งเผา่ พนั ธุ์ของเขมรแดง ความ
สนใจของชาวตะวนั ตกในดนตรีกมั พชู าที่โด่งดงั ในช่วงทศวรรษ 1960-70 เกิดข้ึนจากอลั บ้มั เพลงเถ่ือน
Cambodian Rocksในปี 1996 ซ่ึงเป็นแรงบนั ดาลใจให้กบั ภาพยนตร์สารคดีปี 2015 Don't Think I've
Forgotten ”

ในช่วงตน้ ปี 2020 วงร็อคกมั พชู าของนกั เขียนบทละครLauren Yeeไดฉ้ ายรอบปฐมทศั น์ท่ี Signature
Theatre ในนิวยอร์คเป็นการบอกเล่าเร่ืองราวของวงดนตรีกมั พูชาท่ีอยภู่ ายใตก้ ารปกครองของ Pol Pot และ
รวมเอาดนตรีจริงจากวงร็อคกมั พชู าในยคุ 1970 .

ดนตรีสมยั ใหม่

เพลงป๊ อปกมั พูชาคลาสสิกหรือเพลงสมยั ใหมร่ วมถึงเพลงชา้ ประเภทcrooner ท่ีเป็นแบบอยา่ งของ
เพลงเช่นឯណាឯណានសួ គ៌ ของSinn Sisamouth ? ( แอะนาทิวกวา่ Suor? ) เช่นเดียวกบั เพลงเตน้ รา
เพลงแดนซ์จดั ตามประเภทการเตน้ ท่ีมีความหมายตามจงั หวะ ดนตรีนาฏศิลป์ กมั พูชาท่ีนิยมใชก้ นั มากท่ีสุด
คือราวงและรามคบคั Ramvong เป็นเพลงเตน้ ราชา้ ในขณะท่ี ramkbach จะตอ้ งเกี่ยวขอ้ งกบั ดนตรีพ้ืนบา้ น
ไทย เมื่อเร็ว ๆ น้ีรูปแบบของเพลงที่เรียกวา่ kantrumไดก้ ลายเป็นท่ีนิยม กาเนิดในหมู่เขมรสุรินทร์ในประเทศ
ไทย kantrum ดาเนินการโดยดาราไทยและกมั พูชา

เพลงเขมรสมยั ใหม่มกั จะนาเสนอในวซี ีดีคาราโอเกะของกมั พชู าซ่ึงโดยทว่ั ไปแลว้ จะมีนกั แสดง
และนกั แสดงเลียนแบบเน้ือเพลง นอยแวานเน ธ และLour Sarithเป็นสองตวั อยา่ งของนกั ร้องที่ทนั สมยั ที่ร้อง
เพลงในวซี ีดีคาราโอเกะและวซี ีดีมีเพลงแตง่ โดยนกั ดนตรีอื่น ๆ นอกเหนือไปจากเพลงที่ร้องโดยสงบและน่า
ท่ึงนกั ดนตรีซินนซ์ ิซาโมา ธ

63

โปรดักชั่นเฮาส์ มิวสิค

ดนตรีกมั พชู าหลงั เขมรแดงส่วนใหญผ่ ลิตโดยบริษทั ผผู้ ลิตจานวนหน่ึงซ่ึงรวมถึง Rasmey Hang
Meas, Sunday Productions และ Town Production บริษทั เหล่าน้ีทาหนา้ ที่เป็ นคา่ ยเพลงในธุรกิจเพลงของ
กมั พูชา ศิลปิ นท่ีมีช่ือเสียงท่ีลงนามภายใตบ้ ริษทั เหล่าน้ี ไดแ้ ก่Preap Sovath , Aok Sokunkanha , Sokun Nisa
, Khemarak Sereymunและ Meas Soksophea

ลกั ษณะของเพลงกมั พูชา

เพลงทางเลือกเขมร

ในช่วงไม่กี่ปี ที่ผา่ นมามีการฟ้ื นคืนความคิดสร้างสรรคใ์ นรูปแบบศิลปะเขมรร่วมสมยั และดนตรีก็
ไม่มีขอ้ ยกเวน้ ของกมั พูชาคร้ังแรกท่ีค่ายเพลงทางเลือกYab ม่วงประวตั ิก่อต้งั ข้ึนในปี 2012 และไดบ้ นั ทึกไว้
ต้งั แต่และเปิ ดตวั คร้ังแรกของเขมรไมย่ อมใครง่ายๆและโลหะตายแทร็คเช่นเดียวกบั การผลิตที่หลากหลาย
ของศิลปิ นท่ีมีทางเลือกในการสร้างท่ีไมซ่ ้ากนั เขมรบลูส์ , ร็อค , ฮิปฮอปและทางเลือก เพลง.

Yab Moung Records เป็นเวทีตอ่ เน่ืองสาหรับดนตรีและศิลปะทางเลือกของเขมร และสนบั สนุนการ
แสดงออกอยา่ งสร้างสรรคภ์ ายในบริบทท่ีเป็นเอกลกั ษณ์ของกมั พูชา

เพลงมวยเขมร

เพลงมวยเขมร เรียกวา่ หวอ่ งเพลงประดอลล์ หรือ หวอ่ งเพลงกลางเคก็ ดนตรีใชโ้ อโบ, กลอง( สม
โพ ) และ ฉาบ( ชิง ). เพลงมาในสองส่วน ส่วนแรกใชจ้ ิตวิญญาณ (ครู) เพ่ือช่วยใหน้ กั มวยมีสมาธิและมีความ
มนั่ ใจ ส่วนแรกของเพลงท่ีเล่นชา้ ลงในRubatoสไตล์ ทานองน้นั บรรเลงโดยโอโบ และแซมโพจะเล่นจงั หวะ
ท่ีจุดสาคญั ของทานอง ส่วนที่สองซ่ึงเป็นเพลงต่อสู้จะเล่นเร็วข้ึนและเป็นเมตร เพลงเร่งดว้ ยความกา้ วหนา้
ของรอบ จะหยดุ เม่ือสิ้นสุดรอบหรือเมื่อมีคนถูกน็อค เมื่อการต่อสู้ที่น่าตื่นเตน้ ผชู้ มปรบมือในจงั หวะกบั
จงั หวะของsampho

64

ศิลปะการแสดง-กมั พูชา

ศิลปะการแสดงในกมั พูชาถือเป็นมรดกทางวฒั นธรรมท่ีสาคญั ต่อประเทศและภูมิภาคเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใต้ ท่วงทา่ ในการราที่พบอยบู่ นภาพจาหลกั ในปราสาทนครวดั ลว้ นแลว้ แต่มีเอกลกั ษณ์
เฉพาะตวั ก่อให้เกิดเป็นทา่ ราอนั สวยงามของระบาอปั สรา ศิลปะการแสดงดา้ นนาฏศิลป์ ในปัจจุบนั แมว้ า่ ไม่
มีเอกสารหลกั ฐานใดท่ีสามารถช้ีแจงไดถ้ ึงท่ีมาอนั ถือเป็ นจุดเริ่มตน้ ของการเกิดนาฏศิลป์ ในกมั พูชา แตใ่ น
ขณะเดียวกนั สนั นิษฐานวา่ เกิดข้ึนต้งั แตส่ มยั นครพนมในช่วงคริสตศ์ ตวรรษที่ 1-6 ของกมั พชู า ดงั ที่ชยั วฒั น์
เสาทอง ไดต้ ้งั ขอ้ สังเกตไวว้ า่ “นาฏศิลป์ กมั พูชามีหลกั ฐานปรากฏต้งั แต่สมยั พระนคร (ค.ศ. 540-800) เช่น รูป
ป้ันดินเหนียวสมยั นครบุรี เป็ นรูปบุคคลร่ายรา และจารึกที่กล่าวถึง “คนรา” เป็ นภาษาเขมร ในจารึกสมยั พระ
นคร (ค.ศ.825 จนถึงราวคริสตศ์ ตวรรษท่ี 14) พบคาสนั สกฤตอา่ นวา่ “ภาณิ” หมายถึงการแสดงเล่าเรื่อง และ
หากดูภาพสลกั จานวนมากในปราสาทหินต่างๆของขอม ไม่ตอ้ งสงสัยเลยวา่ ในอาณาจกั รขอมมีการร่ายรา
การแสดง เป็ นเร่ืองปกติธรรมดาสาหรับการบนั เทิงในราชสานกั และประชาชน ในจารึกท่ีกล่าวถึงขา้ พระท่ี
ประจาศาสนสถานน้นั มกั มี “คนรา” ประจาอยดู่ ว้ ย นาฏศิลป์ กมั พูชาโบราณน่าจะไดร้ ับอิทธิพลอินเดียเป็น
พ้ืน ท้งั ยงั มีการพฒั นาสืบต่อมาจนรุ่งโรจน์ไม่แพศ้ ิลปวทิ ยาการดา้ นอื่นๆ” (ชยั วฒั น์ เสาทอง, 2548:40)

ผมู้ ีคุณูปการในการสืบทอดและดารงไวซ้ ่ึงศิลปะการแสดงดา้ นนาฏศิลป์ ในกมั พูชาคนสาคญั คือ
สมเด็จพระมหากษตั ริยานีกสุ ุมะนารีรัตน์ พระราชมารดาของสมเด็จพระนโรดม สีหนุ พระองคท์ รงเป็ นผทู้ ่ี
ชาวกมั พชู ายกยอ่ งใหเ้ ปรียบเสมือนพระราชมารดาดา้ นนาฏศิลป์ ดงั ขอ้ ความที่ปรากฏอยใู่ นหนงั สือระบาข
แมร์ ซ่ึงแปลมาจากภาษาเขมรโดยตรง ความวา่ “พระองคไ์ ดท้ รงบาเพญ็ มหาพลีกรรมอนั ยง่ิ ใหญ่ ทรงทุ่มเท
พระพลงั กาย โดยไมเ่ ห็นแก่ความเหนื่อยอ่อน และทรงบริจาคทรัพยอ์ ยา่ งมากมายเพ่ือส่งเสริม และแนะนาให้
มีผลงานการศึกษาคน้ ควา้ และจดบนั ทึกเพอ่ื ยกสถานะวฒั นธรรมกมั พูชาใหส้ ูงส่ง” (เพชร ตุมกระวลิ , 2548)
ท้งั ยงั ทรงเป็นผรู้ ิเริ่มการแสดงระบาอปั สรา อนั จดั อยใู่ นระบาพระราชทรัพย์ หรือ ระบาเขมรโบราณ โดยมี
สมเด็จพระเรียมนโรดม บุปผาเทวี พระราชธิดาของสมเด็จพระนโรดมสีหนุ ไดร้ ับเลือกเป็นนางอปั สราตวั
เอกองคแ์ รกของชาวกมั พชู า ท้งั น้ีการแสดงระบาอปั สรายงั ถือเป็นการแสดงท่ีมีคุณูปการต่อการเรียกร้องเอก
ราชของชาวกมั พชู าจากฝร่ังเศส ผา่ นทางการท่ีสมเดจ็ พระนโรดม สีหนุ นาการแสดงชุดดงั กล่าวอนั ถือวา่ มี
ความเก่ียวโยงกบั ความรุ่งเรืองของนครวดั ในอดีต ไปจดั แสดงยงั ทวปี ยโุ รปและอเมริกาเหนือ เพอื่ เรียกร้อง
เอกราชจากฝร่ังเศส (สุจิตต์ วงษเ์ ทศ, 2556)

ปัจจุบนั ศิลปะการแสดงดา้ นนาฏศิลป์ ประเภทระบาในกมั พูชามีการจาแนกออกเป็ น 3 กลุ่ม คือ

1. ระบาท่วงทา่ ขแมร์โบราณ หรือ ระบาพระราชทรัพย์ คือ ระบาท่ีมีในราชสานกั เช่น ระบา
อปั สรา ระบาเทพมโนรมย์ ระบาจูนโปร์ ระบามุนีเมขลา ระบาสุวรรณมจั ฉา เป็นตน้ (เพชร ตุมกระ
วลิ , 2548)

65

http://www.oknation.net/blog/

2. ระบาประเพณีขแมร์ คือ ระบาท่ีจดั แสดงคู่กบั งานประเพณีตา่ งๆ เช่น ระบากวั๊ ะองั เร
ระบาเนสาทระบาแสนโภลย ระบาตรุษ ระบาเนียงเมว ระบาเบะ๊ กรอวาน ระบากะงอกไพลิน ระบา
กรอเบย็ เผกิ สรา ระบากนั แตแร เป็ นตน้ (เพชร ตุมกระวลิ , 2548)

https://www.sac.or.th/databases/southeastasia/

3. ระบาประชาปริยขแมร์ คือ ระบาพ้ืนบา้ นเขมร เช่น การราวงภูมิทะเมย็ เป็นตน้ (เพชร ตุมกระวลิ ,

2548)แมว้ า่ ในช่วงเวลาหน่ึงที่ชาวกมั พชู าท้งั ประเทศจะตอ้ งเผชิญกบั โศกนาฏกรรมคร้ังใหญภ่ ายใตก้ าร

ปกครองของเขมรแดงต้งั แต่ปี ค.ศ.1975-1979 ส่งผลใหศ้ ิลปะการแสดงดา้ นนาฏศิลป์ ในกมั พูชาไดร้ ับความ

เสียหายอยา่ งหนกั ดว้ ยการทุบทาลาย รวมถึงนกั แสดงชายที่เรียกวา่ ศิลปกร และนกั แสดงหญิงท่ีเรียกวา่ ศิลป

การิณี ส่วนมากถูกสงั หารในช่วงเวลาดงั กล่าว เนื่องจากถูกมองวา่ เป็นมรดกของศกั ดินา แตห่ ากวา่ เป็น

นกั แสดงที่ไดร้ ับความนิยมในกลุ่มเขมรแดงก็จะสามารถดารงชีวติ อยไู่ ดแ้ ละทาการแสดงต่างๆ ตามที่กลุ่ม

เขมรแดงตอ้ งการชม แต่กระน้นั ก็ตามเมื่อความวนุ่ วายภายในประเทศสิ้นสุดลงหลงั จากปี ค.ศ.1993

66

ศิลปะการแสดงประเภทนาฏศิลป์ ตา่ งๆ โดยเฉพาะระบาพระราชทรัพย์ ยงั คงไดร้ ับการสืบทอดและเป็นท่ี
นิยมจวบจนกระทง่ั ปัจจุบนั โดยเฉพาะระบาอปั สรา (เพชร ตุมกระวลิ , 2548)

https://www.sac.or.th/databases/southeastasia/


Click to View FlipBook Version