The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ดนตรีและการแสดงพื้นบ้านของประเทศสมาคมอาเซียน NEW

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Natthaphong Inthawong, 2022-07-08 05:55:51

ดนตรีและการแสดงพื้นบ้านของประเทศสมาคมอาเซียน NEW

ดนตรีและการแสดงพื้นบ้านของประเทศสมาคมอาเซียน NEW

1

ดนตรีและการแสดงพืน้ บ้านของประเทศสมาคมอาเซียนสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว (ประเทศลาว)

ความรู้ทวั่ ไปเกยี่ วกบั ประเทศลาว

ตาแหน่งทตี่ ้งั และอาณาเขต

ประเทศลาวเป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ซ่ึงต้งั อยบู่ นใจกลางของ

คาบมหาสมุทรอินโดจีน ระหวา่ งละติจูดที่ 14-23 องศาเหนือ ลองจิจูดท่ี 100-108 องศาตะวนั ออก มีพ้นื ที่

โดยรวมประมาณ 236,800 ตารางกิโลเมตร แบง่ เป็นภาคพ้ืนดิน 230,800 ตารางกิโลเมตร ภาคพ้นื น้า 6,000

ตารางกิโลเมตร โดยลาวเป็นประเทศท่ีไม่มีทางออกสู่ทะเล เน่ืองดว้ ยตลอดแนวชายแดนของประเทศลาว ซ่ึง

มีความยาวรวม 5,083 กิโลเมตร ลอ้ มรอบดว้ ยชายแดนของประเทศเพ่ือนบา้ น 5 ประเทศ เรียงตามเขม็

นาฬิกา ดงั น้ี

 ทิศเหนือ ติดกบั ประเทศจีน (423 กิโลเมตร)

 ทิศตะวนั ออก ติดกบั ประเทศเวยี ดนาม (2,130 กิโลเมตร)

 ทิศใต้ ติดกบั ประเทศไทย (1,754 กิโลเมตร)

 ทิศตะวนั ตก ติดกบั ประเทศไทย (1,754 กิโลเมตร) และประเทศพม่า (235 กิโลเมตร)

ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ
ภูมิประเทศของลาวอาจแบ่งไดเ้ ป็น 3 เขต คือ
1. เขตภูเขาสูง เป็นพ้ืนท่ีที่สูงกวา่ ระดบั น้าทะเลโดยเฉล่ีย 1,500 เมตรข้ึนไป พ้ืนท่ีน้ีอยใู่ นเขต
ภาคเหนือของประเทศ
2. เขตท่ีราบสูง คือพ้ืนที่สูงกวา่ ระดบั น้าทะเลเฉลี่ย 1,000 เมตร ปรากฏต้งั แต่ทางทิศตะวนั ออกเฉียง
ใตข้ องท่ีราบสูงเมืองพวนไปจนถึงชายแดนกมั พูชา เขตที่ราบสูงน้ีมีที่ราบสูงขนาดใหญอ่ ยู่
3 แห่ง ไดแ้ ก่ ที่ราบสูงเมืองพวน (แขวงเชียงขวาง), ท่ีราบสูงนากาย (แขวงคามว่ น), และที่ราบสูง
บริเวณ (ภาคใต)้
3. เขตที่ราบลุ่ม เป็นเขตที่ราบตามแนวฝั่งแม่น้าโขงและแมน่ ้าต่างๆ เป็นท่ีท่ีมีความอุดมสมบูรณ์
มากที่สุดในเขตพ้นื ท่ีท้งั 3 เขต นบั เป็ นพ้นื ที่อู่ขา้ วอูน่ ้าท่ีสาคญั ของประเทศ

2

https://th.wikipedia.org

แม่นา้ สายสาคัญของประเทศลาว
ประเทศลาวมีแมน่ ้าท่ีสาคญั อยหู่ ลายสาย โดยแม่น้าซ่ึงเป็นสายหวั ใจหลกั ของประเทศคือ แม่น้าโขง
ซ่ึงไหลผา่ นประเทศลาวเป็นระยะทาง 1,835 กิโลกรัม แม่น้าสายน้ีเป็นแม่น้าสาคญั ท้งั ในดา้ นเกษตรกรรม
การประมง การผลิตพลงั งานไฟฟ้า การคมนาคมจากลาวเหนือไปจนถึงลาวใต้ นอกจากน้ี แม่น้าสายสาคญั
ของลาวแห่งอ่ืนๆ ไดแ้ ก่

o แม่น้าอู (พงสาลี-หลวงพระบาง) ยาว 448 กิโลเมตร
o แมน่ ้างึม (เชียงขวาง-เวยี งจนั ทร์) ยาว 353 กิโลเมตร
o แม่น้าเซบ้งั เหียง (สุวรรณเขต) ยาว 338 กิโลเมตร
o แมน่ ้าทา (หลวงน้าทา-บอ่ แกว้ ) ยาว 523 กิโลเมตร
o แมน่ ้าเซกอง (สาละวนั -เซกอง-อตั ตะปี อ) ยาว 320 กิโลเมตร
o แม่น้าเซบ้งั ไฟ (คาม่วน-สุวรรณเขต) ยาว 239 กิโลเมตร
o แมน่ ้าแบ่ง (อุดมไซ) ยาว 215 กิโลเมตร
o แมน่ ้าเซโดน (สาละวนั -จาปาศกั ด์ิ) ยาว 192 กิโลเมตร
o แม่นาเซละนอง (สุวรรณเขต) ยาว 115 กิโลเมตร
o แมน่ ้ากะดิ่ง (บอลิคาไซ) ยาว 103 กิโลเมตร
o แมน่ ้าคาน (หวั พนั -หลวงพระบาง) ยาว 90 กิโลเมตร

แม่นา้ โขงไหลผ่านหลวงพระบาง
https://th.wikipedia.org

3

ลกั ษณะภูมอิ ากาศ
ประเทศลาวอยใู่ นภูมิอากาศเขตร้อน มีลมมรสุมแต่ไมม่ ีลมพายุ สาหรับเขตภูเขาภาคเหนือและเขต
เทือกเขา อากาศมีลกั ษณะก่ึงร้อนก่ึงหนาว อุณหภูมิสะสมเฉล่ียประจาปี สูงถึง 15-30 องศาเซลเซียส และ
ความแตกตา่ งของอุณหภูมิระหวา่ งกลางวนั กบั กลางคืนมีประมาณ 10 องศาเซลเซียส จานวนชวั่ โมงท่ีมี
แสงแดดต่อปี ประมาณ 2,300-2,400 ชว่ั โมง (ประมาณ 6.3-6.5 ชว่ั โมงตอ่ วนั ) ความช้ืนสมั พทั ธ์ของอากาศมี
ประมาณร้อยละ 70-85 ปริมาณน้าฝนในฤดูฝน (ต้งั แตเ่ ดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม) มีร้อยละ 75 - 90 ส่วนใน
ฤดูแลง้ (ต้งั แต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเมษายน) ปริมาณน้าฝนมีเพียงร้อยละ 10-25 และปริมาณน้าฝนเฉล่ียตอ่ ปี
ของแต่เขตก็แตกตา่ งกนั อยา่ งมากมาย เช่น เขตเทือกเขาบริเวณทางใตไ้ ดร้ ับน้าฝนเฉล่ียปี ละ 300 เซนติเมตร
ขณะท่ีบริเวณแขวงเชียงขวาง แขวงหลวงพระบาง แขวงไชยบุรี ไดร้ ับเพยี งแค่ 100-150 เซนติเมตร ส่วน
แขวงเวยี งจนั ทนแ์ ละแขวงสุวรรณเขตในช่วง 150-200 เซนติเมตร เช่นเดียวกบั แขวงพงสาลี แขวงหลวงน้า
ทา และแขวงบ่อแกว้

สภาพภูมอิ ากาศประเทศลาว

การแบ่งเขตการปกครอง https://www.google.com

ประเทศลาวแบ่งเป็ น 17 แขวง และ 1 นครหลวง (ไดแ้ ก่ นครหลวงเวยี งจนั ทน์) แขวงแต่ละแขวงจะ

แบ่งเป็นเมือง ซ่ึงจะมีหน่ึงเมืองเป็นเมืองหลวงของแขวงเรียกวา่ เมืองเอก

ในวนั ท่ี 27 กุมภาพนั ธ์ ค.ศ. 1995 ไดม้ ีการยบุ เขตพิเศษไชยสมบูรณ์อยา่ งเป็นทางการตามดารัส

นายกรัฐมนตรี (คาส่งั นายกรัฐมนตรี) เลขท่ี 10/ນຍ. ลงวนั ที่ 13 มกราคม ค.ศ. 1995 โดยเมืองทา่ โทมถูก

รวมกบั แขวงเชียงขวาง และเมืองไชยสมบูรณ์ถูกรวมกบั แขวงเวยี งจนั ทน์

ต่อมาในวนั ท่ี 31 ธนั วาคม ค.ศ. 2013 ทางการลาวไดจ้ ดั ต้งั แขวงใหม่ในบริเวณท่ีเคยเป็ นเขตพิเศษ

ไชยสมบูรณ์เดิมกบั 2 หมู่บา้ นจากเมืองวงั เวยี งในแขวงเวียงจนั ทน์ โดยใชช้ ื่อวา่ "แขวงไชยสมบูรณ์" แบ่ง

เขตปกครองยอ่ ยออกเป็ น 5 เมือง ไดแ้ ก่ เมืองอะนุวง (เดิมช่ือเมืองไชยสมบูรณ์) เมืองห่ม เมืองทา่ ทูม

4

เมืองล่องสาน และเมืองล่องแจ้

ประชากรศาสตร์
ประชากรลาวประมาณ 7.57 ลา้ นคนในปี 2021 กระจายไปทวั่ ประเทศอยา่ งไมเ่ ท่าเทียมกนั คนส่วน
ใหญอ่ าศยั อยใู่ นหุบเขาของแม่น้าโขงและแมน่ ้าสาขา แขวงเวยี งจนั ทน์ เมืองหลวงและเมืองท่ีใหญ่ที่สุด มี
ประชากรประมาณ 706,000 คนในปี 2022

เชื้อชาติ
ประเทศลาวเป็นประเทศท่ีมีความหลากหลายทางชาติพนั ธุ์ แตก่ ลุ่มชาติพนั ธุ์ลาวเป็นประชากรกลุ่ม
ใหญ่ ส่วนท่ีเหลือเป็นพวกไทขาว ไทดา และกลุ่มที่อาศยั อยใู่ นบริเวณภูเขา ไดแ้ ก่ มง้ เยา้ และขา่

ศาสนา
จากการสารวจในปี ค.ศ. 2010ประเทศลาวมีผนู้ บั ถือศาสนา 7.2 ลา้ นคน โดยแบง่ ไดด้ งั น้ี ศาสนา
พุทธ 66% ศาสนาผี 30.7% ศาสนาคริสต์ 1.5% และศาสนาอ่ืน ๆ 1.8%

ภาษา
ภาษาประจาชาติ คือ ภาษาลาว อยา่ งไรกต็ าม มีประชากรเพยี งคร่ึงเดียวเทา่ น้นั ที่พูดภาษาลาวเป็น
ภาษาแม่ ส่วนที่เหลือ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในพ้ืนท่ีชนบท พูดภาษาชนกลุ่มนอ้ ย ตวั อกั ษรลาวซ่ึงมีววิ ฒั นาการ
ในช่วงคริสตศ์ ตวรรษท่ี 13 ถึง 14 ไดม้ าจากอกั ษรเขมรโบราณและมีความคลา้ ยคลึงกบั อกั ษรไทยมาก ภาษา
ตา่ ง ๆ เช่น ขมุ (ออสโตรเอเชียติก) และมง้ (มง้ -เม้ียน) เป็นภาษาพดู ของชนกลุ่มนอ้ ย โดยเฉพาะในพ้นื ท่ีภาค
กลางและที่ราบสูง ภาษามือลาวจานวนหน่ึงถูกนามาใชใ้ นพ้นื ที่ที่มีอตั ราการหูหนวกพิการแตก่ าเนิดสูง
มีการใชภ้ าษาฝรั่งเศสเป็ นคร้ังคราวในกิจกรรมของรัฐบาล ลาวเป็นสมาชิกขององคก์ รท่ีพูดภาษา
ฝรั่งเศสของ La Francophonie องคก์ รประมาณการวา่ มีผพู้ ูดภาษาฝร่ังเศส 173,800 คนในลาว (ประมาณ
พ.ศ. 2010) นอกจากน้ีรัฐบาลลาวไดม้ ีการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาองั กฤษมากข้ึนในทุกโรงเรียน

5

https://www.matichonweekly.com

ทอี่ ยู่อาศัย
ลกั ษณะสาคญั ของบา้ นเรือนในลาว มีความใกลเ้ คียงกบั พนี่ อ้ งชาวไทยในภาคตะวนั ออกฉียงเหนือ
(อีสาน) โดยท่ีอยูอ่ าศยั ของชาวลาว มีจุดเด่นตรงหลงั คาท่ีมีทรงแหลมชะลูด ตวั บา้ นเป็ นแบบยกพ้นื ใตถ้ ุน
สูง นิยมสร้างดว้ ยไม้ แตใ่ นปัจจุบนั เริ่มสร้างบา้ น 2 ช้นั ซ่ึงช้นั บนเป็นบา้ นไมแ้ ละช้นั ล่างเป็นแบบปูน

บ้านเรือนในประเทศลาว
https://www.bareo-isyss.com

วฒั นธรรม
พุทธศาสนานิกายเถรวาทมีอิทธิพลเหนือวฒั นธรรมลาว เป็นที่ประจกั ษช์ ดั ทวั่ ประเทศ ท้งั ในภาษา
วดั และศิลปะและวรรณคดี องคป์ ระกอบหลายอยา่ งของวฒั นธรรมลาวเกิดข้ึนก่อนพุทธศาสนา ตวั อยา่ งเช่น
ดนตรีลาวถูกครอบงาดว้ ยเครื่องดนตรีประจาชาติคือแคน ซ่ึงเป็นออร์แกนปากไมไ้ ผช่ นิดหน่ึงท่ีมีตน้ กาเนิด
มาจากยคุ ก่อนประวตั ิศาสตร์
ด้านอาหาร
ขา้ วเหนียวเป็นอาหารหลกั และมีความสาคญั ทางวฒั นธรรมและศาสนาของชาวลาว โดยทว่ั ไปแลว้
จะนิยมทานขา้ วเหนียวมากกวา่ ขา้ วหอมมะลิ และมีหลกั ฐานบางประการวา่ การปลูกและการผลิตขา้ วเหนียว
มีถ่ินกาเนิดในประเทศลาว มีประเพณีและพธิ ีกรรมมากมายที่เก่ียวขอ้ งกบั การผลิตขา้ วในสภาพแวดลอ้ มท่ี

6

แตกตา่ งกนั และในกลุ่มชาติพนั ธุ์ต่าง ๆ ตวั อยา่ งเช่น ชาวนาคามูในหลวงพระบางปลูกขา้ วพนั ธุ์เขาคาใน
ปริมาณเลก็ นอ้ ยใกลบ้ า้ นไร่เพอื่ ระลึกถึงพอ่ แมท่ ่ีเสียชีวติ หรือที่ริมนาเพ่อื แสดงวา่ พอ่ แมย่ งั มีชีวติ อยู่

อาหารลาวเป็นเอกลกั ษณ์ที่แสดงออกถึงวฒั นธรรมของชาวลาวไดเ้ ป็นอยา่ งดี คนไทยมกั เขา้ ใจวา่
อาหารลาวคืออาหารไทยภาคอีสาน แต่แทจ้ ริงแลว้ อาหารลาวมกั ไมม่ ีรสชาติจดั จา้ น แมจ้ ะมีส่วนประกอบ
หลกั คือขา้ วเหนียวเหมือนอาหารไทยอีสาน แตอ่ าหารลาวจะมีเกลือเป็นเคร่ืองปรุงหลกั เพียงอยา่ งเดียว
อาหารลาวท่ีมีชื่อเสียงไดแ้ ก่ ซุปไก่ สลดั หลวงพระบาง เฝอ บาแกตต์ (ขา้ วจ่ี, แป้งจ่ี) ซ่ึงไดอ้ ิทธิพลมาจาก
ฝรั่งเศส ลาบ ส้มตา ขา้ วเปี ยก

https://th.wikipedia.org/wiki

ด้านการแต่งกาย
ผหู้ ญิง ลาวจะนุ่งผา้ ซ่ิน หรือ Patoi มีลกั ษณะคลา้ ยผา้ นุ่งของไทย ท่ีทอเป็นลวดลาย เชิงผา้ เป็น สีแดง
แก่ หรือน้าตาลเขม้ ถา้ ผา้ นุ่งเป็นไหม เชิงกจ็ ะเป็นไหมดว้ ย มกั จะทอทองและเงินแทรกเขา้ ไป และเส้ือแขน
ยาวทรงกระบอก ห่มสไบเฉียงพาดไหล่ เกลา้ ผมมวยประดบั ดอกไม้ สาหรับผชู้ ายมกั แต่งกายแบบสากลหรือ
นุ่งโจงกระเบน ถา้ เป็ นขา้ ราชการหรือผมู้ ีฐานะดีนิยมนุ่งโจงกระเบนสวมเส้ือช้นั นอก กระดุมเจด็ เมด็ (คลา้ ย
เส้ือพระราชทานของไทย) และเนื่องจากผา้ ทอมีบทบาทสาคญั ในชีวติ ครอบครัวของชาวไท-ลาว ทุกวนั น้ีพธิ ี
แตง่ งานแบบด้งั เดิมของ คนไท-ลาวยงั คงใชเ้ คร่ืองแต่งกายท่ีงดงาม ประณีต ชุดเจา้ สาวทอดว้ ยไหมเส้น
ละเอียด สอดแทรก ดว้ ยเส้นเงินเส้นทอง ผา้ เบ่ียง ซิ่นและตีนซ่ิน จะมีสีและลวดลายรับกนั เจา้ บา่ วนุ่งผา้ นุ่ง
หรือผา้ เต่ียวทอดว้ ยไหมละเอียดสีพ้นื อาจะใชเ้ ทคนิคการทอแบบ "หมากไม” คือการป่ันเส้นใย สวมเส้ือ
แบบฝร่ัง มีผา้ พาดบา่ เพื่อเขา้ พธิ ีสู่ขวญั

7

ชุดประจาชาตลิ าว
https://sites.google.com/site/kartaengkaykhxngxaseiyn

ด้านประเพณี
วฒั นธรรมประเพณีท่ีมีการปฏิบตั ิสืบตอ่ กนั มา เรียกวา่ ฮีตสิบสอง คองสิบส่ี ฮีตยคี่ องเจียว ฮีตไภ้
คองเชย ฮีตผวั คองเมีย ซ่ึงมีความใกลเ้ คียงกบั ประเพณีของประชาชนในภาคอีสานของไทย โดยคาวา่ ฮีต
หมายถึง จารีต และคาวา่ สิบสอง หมายถึง 12 เดือนในรอบหน่ึงปี หมายถึง การจดั เทศกาลงานประเพณีจน
ครบท้งั 12 เดือน ซ่ึงจะมีงานบุญที่แตกต่างกนั ออกไปในแต่ละเดือน โดยเฉพาะชาวหลวงพระบางท่ียงั คงสืบ
ทอดประเพณีดงั กล่าวอยา่ งเคร่งครัด ซ่ึงนอกจากบุญประเพณีสิบสองเดือนที่ปรากฏในฮีตสิบสองแลว้ ยงั มี
การทาบุญอื่น เช่น ประเพณีทาบุญข้ึนบา้ นใหม่ ประเพณีบุญกองบวชกองหด ประเพณีแต่งงาน บายศรีสู่
ขวญั ประเพณีเล้ียงผปี ่ ูผตี า ประเพณีวนั กรรม (ออกลูก) ประเพณีผดิ ผี ประเพณีข่วง (บ่าวสาวลงข่วง)
ประเพณีแฮกนาขวญั โดยมีประเพณีท่ีสาคญั ดงั น้ี

8

1. ประเพณี 12 เดือน
บุญประเพณี 2 เดือน หมายถึง จารีตประเพณีท่ีชาวบา้ นปฏิบตั ิกนั ในโอกาสต่างๆ ท้งั สิบสองเดือน
ของแตล่ ะปี ซ่ึงบุญประเพณี 2 เดือนน้ี เป็ นลกั ษณะร่วมทางวฒั นธรรมประการหน่ึงของผทู้ ่ีนบั ถือศาสนา
พทุ ธในประเทศลาวและภาคอีสานของไทย สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความสัมพนั ธ์ของประชาชนท้งั 2 ฝ่ังของลุ่ม
แม่น้าโขง ก่อนที่จะถูกแบง่ แยกโดยเหตุผลทางการเมือง การประกอบพิธีดงั กล่าวนิยมทากนั ในทอ้ งถิ่นต่างๆ
โดยทวั่ ไป แตก่ ิจกรรมบางอยา่ งในบางทอ้ งถิ่น อาจเลิกปฏิบตั ิ หรือมีการปฏิบตั ิผดิ แผกแตกต่างกนั ไปบา้ ง
ข้ึนอยกู่ บั ความนิยมและความเช่ือถือของประชาชนในแต่ละทอ้ งถิ่นเป็นสาคญั สาหรับบุญประเพณีที่
ค่อนขา้ งจะไดร้ ับความนิยม มีการถือปฏิบตั ิอยา่ งกวา้ งขวาง ไดแ้ ก่ บุญพระเวส (เดือนมีนาคม) บุญสงั ขานต์
ข้ึนหรือบุญปี ใหม่(เดือนเมษายน) สรงน้าพระ (เดือนเมษายน) บุญเขา้ พรรษา (เดือนกรกฎาคม) บุญขา้ ว
ประดบั ดิน (เดือนสิงหาคม) บุญขา้ วสาก (เดือนกนั ยายน) บุญออกพรรษา (เดือนตุลาคม) บุญไหลเรือไฟ
(เดือนตุลาคม) และในเดือนพฤศจิกายน คือ งานบุญกฐินและบุญไหวพ้ ระธาตุ

บุญฮีต 12 ครอง 14
http://www.dooasia.com/manual-laos/culture-lao

2. ประเพณีงานบุญสงกรานต์
ถือเป็นวนั ปี ใหมข่ องลาวเช่นเดียวกบั ของไทย วนั แรกของงานเรียกวา่ วนั สงั ขารล่อง ชาวหลวงพระบาง
จะไปจบั จ่ายซ้ือของและธงรูปพระพทุ ธเจา้ เพ่ือนาไปปักกองเจดียท์ รายริมแม่น้าโขง ตกเยน็ มีการลอย
กระทง พร้อมใส่ส่ิงของต่าง อธิษฐานใหท้ ุกขโ์ ศกโรคภยั ลอยไปกบั กระทง วนั ท่ีสองเรียกวา่ วนั เนา ช่วงเชา้
มีการแห่รูปหุ่นเชิดรูปเยอ ยา่ เยอ และสิงห์แกว้ สิงห์คา และขบวนแห่นางสงกรานต์ วนั ท่ีสาม เรียกวา่ วนั
สงั ขารข้ึน ชาวบา้ นจะทาขา้ วเหนียวน่ึงและนมลูกกวาด เดินข้ึนภูษี ซ่ึงเป็นภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระ

9

บาง วนั ที่สี่ นบั เป็นวนั สาคญั อีกวนั หน่ึง มีการแห่งพระบาง ซ่ึงเป็นพระพุทธรูปคูเ่ มืองหลวงพระบาง จะ
อญั เชิญออกมาใหช้ าวเมืองสรงน้าปี ละคร้ัง พระบางน้ีจะประดิษฐานอยทู่ ี่วดั ใหม่เป็ นเวลา 3 วนั 3 คืน

3. ประเพณีแข่งเรือในเทศกาลออกพรรษา
งานแขง่ เรือเป็นงานครึกคร้ืนอยา่ งยงิ่ ในรอบปี แตล่ ะวดั มกั จะมีเรือแข่งงามๆ ลงรักปิ ดทอง หนุ่มๆ จะ
พร้อมใจกนั มาเป็นฝีพายโดยพร้อมเพรียงราว 30-40 คน นาเรือลงซอ้ มพายก่อนถึงวนั งาน โดยมีผูเ้ ฒ่า 1 คน
เป็นคนถือทา้ ย และวนั แขง่ จริงประชาชนจะแต่งตวั หลากสีสวยงามเตม็ ฝ่ังแม่น้าโขง เรือแขง่ เตรียมพร้อม
และยงั มีเรือกรรมการตดั สิน มีเรือบรรดาเจา้ นายและขา้ ราชการผเู้ ขา้ ชมจอดชมแน่นขนดั

ประเพณีหลวงพระบางแข่งเรือในเทศกาลออกพรรษา
https://www.hugluangprabang.com

4. ประเพณีงานเขา้ พรรษาและการทาบุญที่วดั
เน่ืองจากชาวลาวส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ ในระหวา่ งวนั เขา้ พรรษาและทุกวนั พระจะมีการไป
วดั ตกั บาตร ตอนบา่ ยฟังเทศน์ โดยในช่วงเชา้ พรรษาชาวบา้ นจะพากนั ไปใส่บาตรรับศีล มีการถวายเทียน
เขา้ พรรษา มีการแห่เทียนพรรษา มีการทานขนั ขา้ วใหค้ นตาย รวมท้งั การทานแด่พอ่ แม่ ป่ ูยา่ ตายายที่ยงั มี
ชีวติ อยดู่ ว้ ย คนเฒ่าคนแก่จะไปนอนวดั จาศีล คนทวั่ ไปงดเวน้ การทาบาปและถือศีล เดือนยเ่ี ป็ง (เพญ็ เดือน

10

สิบสอง) มีการลอยกระทงในแมน่ ้าโขงโดยแห่จากวดั ลงมาสู่แม่น้า งานเทศกาลประเพณีมกั จะเกี่ยวขอ้ งกบั
พุทธศาสนา และมีการประกอบกิจกรรมทางศาสนาอยา่ งเคร่งครัด

5. ประเพณีตกั บาตรขา้ วเหนียว
บางคนขนานนามวา่ หลวงพระบาง เป็นเมือง “ธรรมิกสงั คมนิยม” แห่งสุดทา้ ย เน่ืองจากคนลาวมี
ความผกู พนั แนบแน่นกบั พทุ ธศาสนา ดงั จะเห็นไดว้ า่ ชาวลาวในหลวงพระบางจะมีการใส่บาตรในยาม
เชา้ ตรู่ ขณะท่ีพระสงฆห์ ลายร้อยรูปเดินแถวเรียงรายไปทว่ั ทุกซอกถนนในเมือง โดยมีชาวบา้ นแทบทุกบา้ น
เฝ้าเตรียมใส่บาตรร่วมกบั ชาวหลวงพระบาง บางคนเรียกการตกั บาตรแบบน้ีวา่ “ตกั บาตรขา้ วเหนียว”
เพราะคนหลวงพระบางใส่บาตรแตข่ า้ วเหนียวเปล่า โดยไม่มีกบั ขา้ ว ประเพณีน้ีเป็นที่กล่าวถึงและชื่นชมของ
ผคู้ นท่ีมาจากตา่ งบา้ นต่างเมืองแลว้ ไดม้ าพบเห็นศรัทธาในพทุ ธศาสนาของชาวหลวงพระบาง

ตกั บาตรข้าวเหนียว
https://www.chillpainai.com/travel/205

เคร่ืองดนตรี

ดนตรีในประเทศลาว ส่วนใหญ่เป็ นดนตรีของกลุ่มชาติพนั ธุ์ลาวลุ่ม แต่ก็มีดนตรีของ
ชาวลาวเทิง เช่น ขมุ และชนเผา่ ต่างๆในลาวใต้ และชาวลาวสูง

ดนตรีแบบแผนของลาว (ดนตรีลาวเดิม) เป็ นดนตรีในราชสานกั หลวงพระบางมาแต่โบราณ มี
ลกั ษณะโดยทว่ั ไปคลา้ ยกบั ดนตรีไทยดงั น้ี

11

เครื่องดนตรีจาแนกออกเป็ น 4 กลุ่มตามวธิ ีการบรรเลงเช่นเดียวกบั ดนตรีไทย โดยแบ่งออกเป็น
เคร่ืองดีด เคร่ืองสี เครื่องตี เครื่องเป่ า

เครื่องดดี
ตามปกติมีพิณ หรือท่ีเรียกวา่ กระจบั ปี่ แต่บางคร้ังใชข้ ิมเขา้ มาประสมในวงแทน
พณิ เป็นเคร่ืองดนตรีประเภทเคร่ืองสายแบบหน่ึงมีหลายชนิดแตกตา่ งตามทอ้ งท่ี ในภาคอีสานไทย
พิณอาจมีชื่อเรียกแตกตา่ งกนั ไปตามทอ้ งถิ่น เช่น ซุง หรือ เต่ง จดั เป็นเคร่ืองดนตรีประเภทสาย มีรูปร่างคลา้ ย
Guitar แต่มีขนาดเลก็ กวา่ โดยทว่ั ไปมี 3 สาย ในบางทอ้ งถิ่นอาจมี 2 หรือ 4 สาย บรรเลงโดยการดีดดว้ ยวสั ดุ
เป็นแผน่ บาง สมยั ก่อนจะเล่นเครื่องเดียวเพอ่ื เก้ียวสาว ปัจจุบนั มกั ใชบ้ รรเลงในวงดนตรีโปงลางวงดนตรีลา
ซ่ิง หรือวงดนตรีลูกทุง่

https://www.google.com

เคร่ืองสี
ซออ้ี หรือซอแหบ (คลา้ ยซอดว้ ง) ซออ้ี เป็นซอสองสาย มีเสียงแหลม กอ้ งกงั วานแต่เดิมใชก้ ระบอก
ไมไ้ ผม่ าทากะโหลก มีลกั ษณะเหมือนซอดว้ งของไทย แต่อาจมีการแกะสลกั เป็นลวดลายอ่ืน เช่น หวั
พญานาค

12

https://asianpsu.github.io/yi

เคร่ืองตี
ฆอ้ งวงใหญ่ เป็ นฆอ้ งที่ใชใ้ นการบรรเลงเพลงร่วมกบั เคร่ืองดนตรีประเภทท่ีเป็นวง เช่น
วงปี่ พาทย์ วงป่ี พาทยค์ ู่ เป็นตน้ ลกั ษณะของฆอ้ งวงใหญ่ จะเป็นลกั ษณะลูกฆอ้ งจานวน 16 ลูก ในรางไมห้ รือ
หวายดดั โคง้ เป็นรูปวงกลม ไมต้ ีทาจากแผน่ หนงั เจาะรู ส่วนไวส้ าหรับเป็ นตา้ นจบั ตรงกลาง

ฆ้องวงใหญ่
http://thaimusicbykrutui.blogspot.com

เคร่ืองเป่ า
มีสองชนิด ไดแ้ ก่ ป่ี แกว้ (ป่ี ใน) และขลุ่ย

13

ปี่ แกว้ มีขนาดใหญ่ มีความยาวประมาณ 41 - 42 ซม. กวา้ งประมาณ 4.5 ซม. โดยเสียงของปี ในจะ
เป็ นเสียงที่ต่าและเสียงใหญ่

https://som3737np.wordpress.com/

ขลุ่ยนอกจากใชเ้ ป่ าเล่นเพ่ือความบนั เทิงแลว้ ยงั ใชเ้ ป่ าร่วมในวงเครื่องสาย วงปี่ พาทยไ์ มน้ วม วง
มโหรีและวงปี่ พาทยด์ ึกดาบรรพอ์ ีกดว้ ย ขลุ่ย มกั ทาจากไมร้ วก ไมช้ ิงชนั ไมพ้ ะยงู และงาชา้ ง แต่ที่ทาจากไม้
รวกจะใหเ้ สียงนุ่มนวล

ขลุ่ย
https://churairatmusic.com

วงดนตรี-ลาว

ดนตรีลาวเดิม
ดนตรีลาวเดิมประกอบดว้ ยวงดนตรี 2 ประเภท ไดแ้ ก่ วงป่ี พาทยไ์ มแ้ ขง็ วงปี่ พาทยไ์ มน้ วม

และวงมโหรี วงป่ี พาทยไ์ มแ้ ขง็ ใชบ้ รรเลงในพธิ ีกรรมและประกอบการแสดงพะ ลกั – พะลาม (โขนลาว)
มี 3 ขนาด ไดแ้ ก่ ปี่ พาทยเ์ ครื่องหา้ ป่ี พาทยเ์ คร่ืองคู่ และป่ี พาทยเ์ ครื่องใหญ่ เคร่ืองดนตรีที่นามารวมกนเป็ น
วงมีลกั ษณะเช่นเดียวกนั กบั วงปี่ พาทยข์ องไทย แตกต่างเฉพาะวงปี่ พาทยเ์ คร่ืองใหญ่ ที่มีระนาดเหลก็ เพยี ง
รางเดียว

กรณีของการบรรเลงเพื่อเสพหรือเพ่อื การฟัง จะใชว้ งป่ี พาทยไ์ มน้ วมและวงมโหรี วงปี่ พาทยไ์ ม้
นวมของลาว มีลกั ษณะที่แตกต่างจากวงปี่ พาทยข์ องไทย โดยของลาวจะประกอบดว้ ย นางนาคเอก นางนาค
ทุม้ ฆอ้ งวงใหญ่ ฆอ้ งวงนอ้ ย ซอโอ้ ซออ้ีและขลุ่ย ซ่ึงมีลกั ษณะที่คลา้ ยคลึงกบั วงปี่ พาทยเ์ คร่ืองสายของไทย
ในขณะที่วงมโหรีของลาวจะมีนยั ท่ีแตกตา่ งจากวงมโหรีของไทย อยา่ งสิ้นเชิง โดยของไทยจะผกู ติดกบ

14

พฒั นาการของราชสานกั ในอดีต ส่วนของลาวเป็นวงท่ีพฒั นา ภายหลงั การเปล่ียนแปลงทางการเมือง โดย
การนาพณิ (กระจบั ปี่ ) และแคนไปผสมร่วมดว้ ย ท้งั น้ี เพื่อใหเ้ กิดเป็นวงดนตรีของประชาชนอยางแทจ้ ริง

ในยคุ ท่ีลาวมีการปกครองในระบอบท่ีมีพระมหากษตั ริยห์ รือเจา้ มหาชีวติ ทรงเป็นองคพ์ ระประมุข
ของประเทศ นกั ดนตรีไดร้ ับการอุปถมั ภจ์ ากเจา้ มหาชีวิต ส่งผลใหเ้ กิดการพฒั นาสร้างสรรคผ์ ลงานดนตรี
อยา่ งกวา้ งขวาง ในช่วงที่ลาวตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสจนถึงยคุ ที่ถูกแทรกแซงทางการเมืองโดย
สหรัฐอเมริกา ไดเ้ กิดการเรียกร้องเพื่อเอกราช ดนตรีลาวเดิมไดถ้ ูกนาไปเชื่อมโยงกบั เพลงปฏิวตั ิ
และหลงั จากชยั ชนะของฝ่ ายสังคมนิยม ดนตรีลาวเดิมไดถ้ ูกนาไปปฏิรูปเพ่อื ใหเ้ ป็ นดนตรีของมวลชน

ต้งั แต่ ค.ศ. 1975 การประสมวงดนตรีลาวเดิมไดพ้ ฒั นาเป็ นวงมโหรี ซ่ึงพฒั นามาจากวงพณิ พาทย์
ไมแ้ ขง็ และไมน้ วม โดยการผสมร่วมของเคร่ืองดนตรีพ้ืนเมืองและชนเผา่ ตามกรอบแนวคิดท่ีตอ้ งการสร้าง
ความเป็นเอกภาพและเท่าเทียมกนั ในส่วนของบทเพลง ประกอบดว้ ยเพลงเพื่อการเสพ เพลงพธิ ีกรรม เพลง
เพือ่ การแสดง และเพลงปฏิวตั ิ เพลงในทุกกลุ่มจะถูกตดั ทอนเวลาในการบรรเลงใหส้ ้นั ลง ตดั เน้ือหาของคา
ร้องที่เป็นปฏิปักษต์ ่อกรอบความคิดในระบอบสงั คมนิยม และนาทานองพ้นื เมือง ทานองของชนเผา่ ต่าง ๆ
มาใชใ้ นการบรรเลง มีการนาเพลงปฏิวตั ิมาเป็นส่วนหน่ึงของบทเพลง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึน เพอื่ ให้
ดนตรีมีส่วนในการสร้างความเป็นเอกภาพ และเกิดความเท่าเทียมกนั ของคนในชาติ ใหเ้ ป็นศิลปะของ
มวลชนตามกรอบแนวคิด ในระบอบสงั คมนิยม และเพ่ือใหส้ านึกถึงบุญคุณของพรรคประชาชนปฏิวตั ิ
ลาวที่เคยต่อสู้เพื่อประเทศชาติ

หลงั จากการล่มสลายของระบอบสงั คมนิยมสหภาพโซเวียต และการเปล่ียนแปลงท่าทีของจีน ทา
ใหส้ าธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หนั มาทบทวนแนวทางการปฏิบตั ิอนั เหมาะสมกบั วฒั นธรรม
ของตนเอง ดนตรีลาวเดิมเร่ิมไดร้ ับการดูแลเพมิ่ มากข้ึน มีการจดั ต้งั โรงเรียน องคก์ รเพอื่ รับผดิ ชอบ แตจ่ าก
การท่ีดนตรีลาว ถูกละเลยมาเป็นระยะเวลานาน ทาใหก้ ระบวนการถ่ายทอดความรู้ ภูมิปัญญา ขาดความ
ตอ่ เน่ือง บทเพลงจานวนหน่ึงสูญหาย ขาดการพฒั นาทกั ษะและแนวกลวธิ ีในการบรรเลง เคร่ืองดนตรีอยใู่ น
สภาพท่ีชารุดทรุดโทรม และขาดการถ่ายทอดภูมิปัญญาในการผลิตสร้างสรรคง์ านใหม่ ๆ เพอ่ื ใหเ้ ขา้ กบั
สภาพของสังคมลาวในปัจจุบนั

ปัจจุบนั มีวงดนตรีลาวเดิมในหวั เมืองใหญๆ่ ของสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว เช่น นคร
หลวงเวยี งจนั ทน์ เมืองหลวงพระบาง โดยแยกออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่เป็นวงดนตรีของรัฐ และวงดนตรี
ของเอกชน กลุ่มวงดนตรีของรัฐ เช่น วงดนตรีของกรมศิลปกรรม วงดนตรีของโรงเรียนดนตรีและนาฏศิลป์
แห่งชาติ ในเขตนครหลวงเวยี งจนั ทน์ และวงปี่ พาทยบ์ า้ น โพนแพงที่มีฐานะเป็นวงดนตรี

15

ประจาแขวงหลวงพระบาง วงดนตรีที่เป็นของรัฐมีภาระหนา้ ท่ีตาม นโยบายแห่งรัฐและพรรคประชาชน
ปฏิวตั ิลาว สาหรับวงดนตรีที่เป็นของเอกชนจะเป็นวงดนตรี ของประชาชนทว่ั ไป จะรับงานบรรเลงในงาน
บุญประเพณีตามที่เจา้ ภาพจะวา่ จา้ งไปบรรเลง นกั ดนตรีในสงั กดดนตรีลาวเดิมในส่วนที่เป็นเอกชน ส่วน
ใหญจ่ ะเป็นเจา้ หนา้ ที่ของรัฐ การรวมกลุ่มจดั ต้งั วงดนตรี เป็นการหารายไดเ้ พิม่ เติมจากเงินเดือน
ท่ีมีจานวนนอ้ ย บทเพลง ปัจจุบนั ดนตรีลาวเดิมแบง่ แยกบทเพลงไดเ้ ป็น 4 ประเภท ไดแ้ ก่

 เพลงเพอ่ื การเสพ
 เพลงประกอบพิธีกรรม
 เพลงประกอบการแสดง
 เพลงปฏิวตั ิ
เพลงเพ่ือการเสพ เป็ นบทเพลงประเภทร้องและบรรเลง เช่น เพลงเถา เพลงตบั เพลงเถา โครงสร้างของ
เพลง เช่นเดียวกบเพลงเถาของไทย กล่าวคือ ประกอบไปดว้ ยอตั รา จงั หวะสามช้นั สองช้นั และหน่ึงช้นั
ถึงแมว้ าจะเป็นเพลงประเภทรับร้อง แต่ปัจจุบนั นิยมนาเสนอ เฉพาะส่วนของบทบรรเลง เพลงเถาท่ีสาคญั
เช่น สุดสงวน แขกมอญ เขมรพวง สุกเกษม ใบค้ ลงั่ แขกขาว สาหรับเพลงตบั จดั เป็ นการรวมชุดของเพลงที่
เนน้ ความสอดคลอ้ งของทานองเป็นหลกั เช่น ตบั ลาว ตบั แขก ตบั จีน เป็นตน้ เพลงในกลุ่มน้ีนิยมใชบ้ รรเลง
ในงานบุญประเพณีในช่วงที่ เจา้ ภาพรับรองแขกที่มาร่วมงาน

เพลงประกอบพธิ ีกรรม เป็ นบทบรรเลงลว้ น ในใชบ้ รรเลงในพิธีเจริญพทุ ธมนตพ์ ิธีไหวค้ รู พิธีศพ
งานบุญข้ึนบา้ นใหม่ งานบวชพระ (อุปสมบท) เพลงท่ีสาคญั ๆ เช่น เพลงโหมโรง ประกอบดว้ ยเพลง
สาธุการ กระ รัวสามลา เขา้ ม่าน ปฐม ลา เสมอ เชิดสองช้นั – เชิดช้นั เดียว กลม ชานาญ กราวใน และลา
เพลงโหมโรงพิธีกรรมของดนตรีลาวเดิมและโหมโรงพธิ ีกรรมของไทยมีลกั ษณะ ที่แตกตา่ งกนั โดยโหม
โรงของลาวจะไมม่ ีการแบ่งตามเวลาที่บรรเลง ซ่ึงตรงกนขา้ มกบั โหมโรงของไทยท่ีแบ่งแยกเป็น
โหมโรงเชา้ โหมโรงกลางวนั และโหมโรงเยน็ สาหรับบทเพลงที่ใชบ้ รรเลงในพธิ ีศพ จะเป็นบทเพลง
บรรเลงลว้ นไม่มีการขบั ร้อง และเป็นบทประพนั ธ์ที่ใชเ้ ฉพาะในพธิ ีศพ เช่น เพลงนางหงส์ ชะนีร้องไห้ ใน
บางโอกาสอาจเลือก เพลงท่ีมีทานองเศร้าโดยนามาจากเพลงประเภทเพลงตบั ท่ีมีอตั ราจงั หวะสองช้นั

เพลงประกอบการแสดง ดนตรีลาวเดิมมีบทเพลงท่ีใชป้ ระกอบการแสดงรแสดง 2 ประเภท ไดแ้ ก่
ประกอบการแสดงพะลกั - พะลาม และประกอบการฟ้อนท่ีเป็นชุดการแสดงอิสระ บทเพลงที่ใช้
ประกอบการแสดงพะลกั -พะลาม ท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ เพลงหนา้ พาทย์ ท่ีเป็นบทบรรเลงลว้ น ใชบ้ รรเลงประกอบ

16

กิริยาอารมณ์ของตวั แสดงที่สาคญั เช่นเพลงเชิดใชส้ าหรับการสู้รบ เดินทาง เพลงโอดใชส้ าหรับกิริยาร้องไห้
เพลงเหาะใชส้ าหรับการไปมาของเหล่าทวยเทพและสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิ สาหรับการแสดงพะลกั -พะลาม
ในบทท่ีตอ้ งการเดินเรื่องโดยการพรรณนา จะใชเ้ พลงอตั ราจงั หวะ สองช้นั ในการบรรเลงประกอบการ
แสดงท่ีเป็นการฟ้อนชุดอิสระ ท่ีไม่ใช่ส่วนหน่ึงของ การแสดงพะลกั -พะลาม แตแ่ ยกมาแสดงอิสระโดยไม่มี
การเดินเรื่อง เช่น ฟ้อนยกั ษใ์ ชเ้ พลงกราวใน ฟ้อนหนุมานใชเ้ พลงกราวแห่ นอกน้นั ยงั มีการฟ้อนท่ีไม่
เกี่ยวกบั เน้ือหาของการแสดงพะลกั -พะลาม เช่น ฟ้อนสร้อยสน ฟ้อนสีนวล ฟ้อนเทพบนั เทิง เป็นตน้

เพลงปฏวิ ตั ิ เป็นบทเพลงขบั ร้องและบรรเลงเน้ือร้องบรรยายถึงการต่อสู้เพ่อื การปลดปล่อยประเทศ
จากการเป็นเมืองข้ึนของชาวต่างชาติ เป็ นการสดุดีวรี กรรมของทหาร หาญ และผเู้ สียสละ เพื่ออุดมการณ์
ตามแนวคิดในระบอบสังคมนิยม สาหรับเน้ือหาของคาร้องจะมี การปรับเปลี่ยนไปตามยทุ ธศาสตร์ของการ
รบและสถานการณ์ที่เปล่ียนแปลงไป เม่ือพรรคประชาชนปฏิวตั ิลาวไดร้ ับชยั ชนะอยางเด็ดขาดในปี ค.ศ.
1975 (พ.ศ. 2518) เน้ือหาของเพลงจะ เนน้ ถึงการใหค้ วามสาคญั ในความเป็นเอกภาพ และการกาวไป
ขา้ งหนา้ ของชาติอยา่ งมนั่ คงตาม แนวทางของระบอบสงั คมนิยม ในปัจจุบนั เพลงปฏิวตั ิจะถูกนามาบรรเลง
กบวงดนตรีลาวเดิมใน โอกาสท่ีเป็นรัฐพิธี และงานที่เป็ นกิจกรรมสาคญั ของพรรคประชาชนปฏิวตั ิลาว
เพลงปฏิวตั ิที่นิยม นามาบรรเลงในดนตรีลาวเดิม เช่น เพลงกองทพั ประชาชน เพลงจดจาบุญคุณของพรรค
เพลงแม่ หญิงกาวไป เพลงเมืองลาวใหม่หมน่ั ยนื สาละวนั กาวหนา้ เพลงสามคั คีสร้างบา้ นแปง-เมือง พลง
ทหารบ่หวนั เพลงทหารลาวรักชาติ

ศิลปะการแสดง-ลาว

นาฏศิลป์ ด้ังเดิม
เป็นนาฏศิลป์ ที่พฒั นาข้ึนในราชสานกั ลา้ นชา้ งซ่ึงคลา้ ยกบั ท่ีพบในราชสานกั สยาม ส่วนใหญแ่ สดง
เรื่องพระลกั ษมณ์พระราม (รามเกียรต์ิหรือรามายณะฉบบั ลาว) หรือจากนิทานชาดก รวมท้งั วรรณคดีทอ้ งถ่ิน
เช่นสินไซ (สังขศ์ ิลป์ ชยั ) การแสดงแบบน้ีมีสองประเภทคือโขนและละคร โขนเป็นการแสดงเร่ืองพระ
ลกั ษมณ์พระราม ใชต้ วั แสดงชายหญิง ละครเป็นการแสดงท่ีส่วนใหญใ่ ชผ้ หู้ ญิง ส่วนหนงั ตะลุงเป็นการ
แสดงที่คลา้ ยวายงั ของชาวมลายู และเล่นเรื่องราวท่ีหลากหลายกวา่ โขนและละคร

17

https://th.wikipedia.org

ลาลาว
ลาลาวหรือหมอลาเป็นการแสดงดนตรีพ้ืนบา้ นของลาว โดยนกั ร้องเป็นผูเ้ ล่าเรื่อง ใชแ้ คนเป็นเครื่อง
ดนตรีหลกั แต่ก็ใชเ้ ครื่องดนตรีอื่นประกอบได้ การแสดงแบบเดียวกนั น้ีในภาะวนั ออกเฉียงเหนือของไทย
เรียกหมอลา แต่ในลาว คาวา่ หมอลาจะเนน้ ที่ตวั ผขู้ บั ร้อง

https://th.wikipedia.org
ฟ้อนราพืน้ เมือง
ฟ้อนราพ้ืนเมืองเป็นการฟ้อนราท่ีมีความหลากหลาย โดยที่มีช่ือเสียงที่สุดคือลาตงั หวายและลา
สาละวนั ทางภาคใตข้ องลาว ฟ้อนราพ้ืนเมืองที่เป็นท่ีนิยมคือราวง ซ่ึงเป็นการแสดงประจาชาติของลาวที่มี
ลกั ษณะร่วมกบั ราวงในไทยและกมั พชู า นิยมเล่นในงานฉลองร่ืนเริงต่างๆ
ลาเรื่อง
ลาเร่ืองเป็นหมอลาประเภทหน่ึง โดยหมอลาผขู้ บั ร้องจะแต่งตวั และแสดงทา่ ทางประกอบได้
หลากหลาย เร่ืองราวท่ีแสดงมีหลากหลาย เช่นนิทานชาดก ไปจนถึงโครงการพฒั นาและปัญหาในชุมชน

18

ดนตรีท่ีใชบ้ รรเลงประกอบมีหลากหลายท้งั ดนตรีคลาสสิกและดนตรีสมยั ใหม่ ข้ึนกบั ลกั ษณะของเร่ืองที่จะ
เล่า

ฟ้อนตังหวาย
การฟ้อนตงั หวาย มีท่ีมาอยู่ 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่
1. ฟ้อนตงั หวายเป็นฟ้อนเพ่ือบวงสรวงบูชา โดยเฉพาะชนชาติท่ีอาศยั อยู่ ตามแถบลุ่มแมน่ ้า
โขงมีความเช่ือและยดึ มนั่ ในการ นบั ถือเทวดาฟ้าดิน ภูติผวี ญิ ญาณ ตน้ ไมใ้ หญ่ จอมปลวก งู
ใหญ่ หนองน้าใหญ่ เป็ นตน้ และเขา้ ใจวา่ สิ่งที่ตนใหค้ วามนบั ถือน้นั สามารถ จะบนั ดาลให้
เกิดผลสาเร็จ หรือเมื่อเกิดอะไรท่ีผดิ จากธรรมดาข้ึนมากเ็ ขา้ ใจวา่ สิ่งท่ีตนนบั ถือโกรธจึง
บนั ดาลใหเ้ ป็นไปอยา่ งน้นั จึงจดั ใหม้ ีการบวงสรวงบูชา หรือจดั ใหม้ ีพธิ ีขอขมาข้ึนมาเพื่อ
ขอใหม้ ีโชคลาภ โดยมีหวั หนา้ เป็นผบู้ อกกล่าวกบั ส่ิงน้นั โดยผา่ นล่ามเป็นผบู้ อกขอขมา มี
การฆ่าสตั ว์ ไก่ หมู ววั ควาย และสิ่งอ่ืนๆ ตามกาหนดเพ่ือนามาบูชาเทพเจา้ หรือเจา้ ท่ีเจา้ ทาง
ที่ตนเองนบั ถือ เทา่ น้นั ยงั ไม่พอไดม้ ีการต้งั ถวาย ฟ้อนราถวายเป็นการเซ่นสังเวย พอถึง
ฤดูกาลชาวบา้ นตา่ งจะนาเอาอาหารมาถวายเจา้ ท่ีเจา้ ทาง หรือส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิโดยถือวา่ ปี ใด
“ขนไก่ ไม่ตก ขนนก ไมห่ ล่น” กถ็ ือวา่ ปี น้นั ดี เทวดาจะใหค้ วามคุม้ ครอง จะตอ้ งมีการจดั
ฉลองใหญ่โดยมีการ “ต้งั ถวาย ฟ้อนราถวาย” แต่ต่อมาคาวา่ “ต้งั ถวายฟ้อนถวาย” คาน้ีไดส้ ึก
กร่อนไปตามความนิยมเหลือเพยี งคาส้ันๆ วา่ “ต้งั หวาย” หรือ “ตงั หวาย”
2. ฟ้อนตงั หวายกบั ลาตงั หวาย ลาตงั หวายเป็นทานองลาของหมอลาในแควน้ สวนั นะเขต คาวา่
ตงั หวาย น่าจะมาจากคาวา่ “ตง่ั หวาย” ซ่ึงในสูจิบตั รการแสดงศิลปวฒั นธรรมของคณะ
ศิลปิ นและกายกรรมแห่งชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ก็ใชค้ าวา่ “ขบั ลาตงั่
หวาย” คาวา่ “ตงั่ หวาย” ถา้ พจิ ารณาตามความหมายของคาแลว้ คาวา่ “ตงั่ ” หมายถึงท่ี
สาหรับนง่ั ไม่มีพนกั อาจมีขาหรือไม่ก็ได้ ดงั น้นั “ตง่ั หวาย” น่าจะหมายถึง ที่นง่ั ท่ีทามาจาก
หวาย

จึงสนั นิษฐานวา่ การลาตง่ั หวายเป็นทานองลาที่นิยมลาของหมอลาในหมู่บา้ นที่มีอาชีพผลิตตง่ั
หวายออกจาหน่าย แต่เมื่อทานองลาน้ีเผยแพร่เขา้ มาในประเทศไทยจึงกลายมาเป็น “ลาตงั หวาย” ลาตงั หวาย
เป็นทานองลาที่มีความเร้าใจ สนุกสนานและมีความไพเราะเป็นอยา่ งยง่ิ โดยเฉพาะลกั ษณะของกลอนลาจะ
มีการยกยอ่ งท้งั ฝ่ ายชายและหญิง กลอนลามีลกั ษณะโตต้ อบกนั จะมีคาสร้อยลงทา้ ย เช่นคาวา่ หนาคิงกลม
คนงามเอย ซาบายดี และคาข้ึนตน้ วา่ ชายเอย นางเอย

การฟ้อนท่ีอ่อนชอ้ ยของตงั หวายน้ี นายประดิษฐ์ แกว้ ชิณ ไดพ้ บเห็นการแสดงท่ีอาเภอเขมราฐ
จงั หวดั อุบลราชธานี เห็นวา่ มีลีลาการแสดงอ่อนชอ้ ยงดงามน่าจะฟ้ื นฟูจึงไดน้ ามาทดลองฝึกใหเ้ ด็กรา เห็นวา่

19

เหมาะสมดี จึงไดน้ าชุดฟ้อนน้ีออกแสดงในงานปี ใหม่ ท่ีทุ่งศรีเมือง ในปี พ.ศ. 2514 ตอ่ มา อาจารยศ์ ิริเพญ็
อตั ไพบูลย์ หวั หนา้ ภาควชิ านาฏศิลป์ วทิ ยาลยั ครอุบลราชธานี นาตน้ แบบมาดดั แปลงทา่ ราใหเ้ หมาะสม
ยง่ิ ข้ึน แลว้ วงโปงลางวทิ ยาลยั ครูอุบลราชธานีไดน้ าออกมาแสดงจนเป็ นท่ีนิยมและเป็น เอกลกั ษณ์ของวงมา
จนบดั น้ี

เครื่องแต่งกาย ผ้แู สดงเป็ นหญงิ ล้วนเครื่องแต่งกายนิยมใช้อยู่ 2 แบบ คือ
1.สวมเส้ือแขนกระบอกสีพ้ืน นุ่งผา้ ถุงมดั หม่ีคาดเขม็ ขดั เงินทบั ผมเกลา้ มวย ใชฝ้ ้ายสี ขาวมดั ผม
คลา้ ยอุบะ
2.ใชผ้ า้ แพรวารัดอกทิ้งชายท้งั สองขา้ ง นุ่งผา้ ถุงมดั หม่ียาวคร่ึงแขง้ เกลา้ ผมมวยใชผ้ า้ มดั หรือใช้
ดอกไมป้ ระดบั รอบมวยผม

https://supawadee1997.wordpress.com

ดนตรีและการแสดงพืน้ บ้านของประเทศในสมาคมอาเซียน(สาธารณรัฐแห่งสหภาพ
เมยี นมา)

ความรู้ทวั่ ไป

พม่า หรือ เมียนมา (พม่า: မြနြ် ာ, [mjəmà], มฺยะหฺมา่ ) มีชื่อทางการวา่ สาธารณรัฐแห่งสหภาพ
พมา่ หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา เป็ นรัฐเอกราชในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกบั

20

อินเดียบงั กลาเทศ จีน ลาว และไทย หน่ึงในสามของพรมแดนพม่าท่ีมีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนว
ชายฝ่ังตามอ่าวเบงกอลและทะเลอนั ดามนั ดว้ ยพ้ืนที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร พม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็น
อนั ดบั ท่ี 40 ของโลก และใหญ่เป็นอนั ดบั ท่ี 2 ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ พมา่ มีประชากรราว 54 ลา้ นคน มี
เมืองหลวงคือ กรุงเนปยดี อ และนครใหญส่ ุดคือ ยา่ งกงุ้

ตาแหน่งทตี่ ้งั ของประเทศเมยี นมา
https://th.wikipedia.org/wiki/

อารยธรรมช่วงตน้ ของพมา่ มีนครรัฐปยทู ่ีพูดภาษาตระกลู ทิเบต-พมา่ ในพม่าตอนบน และ
ราชอาณาจกั รมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 9 ชาวพม่าไดเ้ ขา้ ครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้าอิรวดี
ตอนบน และสถาปนาราชอาณาจกั รพกุ ามในช่วงคริสตท์ ศวรรษ 1050 ภาษาและวฒั นธรรมพมา่ พร้อมดว้ ย
ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทคอ่ ย ๆ ครอบงาในประเทศ อาณาจกั รพกุ ามล่มสลายเพราะการบุกครองของมอง
โกลและรัฐหลายรัฐกาเนิดข้ึน ในคริสตศ์ ตวรรษที่ 16 ราชวงศต์ องอูสร้างเอกภาพอีกคร้ัง และเป็นจกั รวรรรดิ
ใหญ่สุดในประวตั ิศาสตร์เอเชียตะวนั ออกเฉียงใตใ้ นช่วงส้นั ๆ ต่อมา ในตน้ ศตวรรษที่ 19 ราชวงศโ์ กน้ บอง
ไดป้ กครองพ้นื ท่ีพมา่ และควบคุมมณีปุระและอสั สัมในช่วงส้นั ๆ ดว้ ย บริติชพิชิตพมา่ หลงั สงครามองั กฤษ-
พมา่ ท้งั สามคร้ังในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ก่อนจะไดร้ ับเอกราชในปี
2491 โดยในช่วงช่วงแรกมีการปกครองแบบชาติประชาธิปไตย และหลงั รัฐประหารใน พ.ศ. 2505 พม่าอยู่
ภายใตก้ ารปกครองแบบเผดจ็ การทหา

พม่าตอ้ งเผชิญกบั การตอ่ สู้ชาติพนั ธุ์ท่ีรุนแรงมาต้งั แต่ทศวรรษ 1980 นาไปสู่สงครามกลางเมืองท่ียงั
ดาเนินอยยู่ าวนานท่ีสุดสงครามหน่ึงของโลก สหประชาชาติและอีกหลายองคก์ ารรายงานการละเมิดสิทธิ

21

มนุษยชนในประเทศอยา่ งตอ่ เน่ือง ในปี 2554 มีการยบุ คณะทหารผยู้ ดึ อานาจการปกครองอยา่ งเป็ นทางการ
หลงั การเลือกต้งั ทวั่ ไป พ.ศ. 2553 และมีการต้งั รัฐบาลในนามพลเรือน แต่อดีตผนู้ าทหารยงั มีอานาจ
ภายในประเทศโดยผนู้ าพรรคการเมืองส่วนใหญย่ งั เป็ นอดีตนายทหารระดบั สูง กองทพั พม่าดาเนินการสละ
การควบคุมรัฐบาล รวมถึงการปล่อยตวั อองซานซูจีและนกั โทษทางการเมือง มีการปรับปรุงสิทธิมนุษยชน
และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศ จนนาไปสู่การผอ่ นปรนการลงโทษทางการคา้ และเศรษฐกิจอื่นๆทวา่ ยงั
มีการวจิ ารณ์การปฏิบตั ิตอ่ ชนกลุ่มนอ้ ยโรฮีนจาของรัฐบาลและการสนองต่อการปะทะกนั ทางศาสนา และ
แมจ้ ะอยภู่ ายใตก้ ารบริหารโดยรัฐบาลพลเรือนอีกคร้ังระหวา่ งปี 2559–2563 แต่ก็เกิดการรัฐประหารอีกคร้ัง
ในปี 2564

พมา่ เป็นสมาชิกของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตม้ าต้งั แต่ปี 2540 และยงั เป็น
สมาชิกการประชุมสุดยอดเอเชียตะวนั ออก, ขบวนการไม่ฝักใฝ่ ฝ่ ายใด และบิมสเทค แตไ่ มไ่ ดเ้ ป็นสมาชิก
ของเครือจกั รภพแห่งประชาชาติ แมจ้ ะเคยเป็ นประเทศอาณานิคมของสหราชอาณาจกั ร ประเทศพมา่ อุดม
ดว้ ยหยก อญั มณี น้ามนั แกส๊ ธรรมชาติ และทรัพยากรแร่อื่น ๆ ท้งั ยงั ข้ึนชื่อในดา้ นพลงั งานทดแทน และมี
ศกั ยภาพดา้ นพลงั งานแสงอาทิตยส์ ูงสุดในบรรดากลุ่มประเทศลุ่มแม่น้าโขงในปี 2556 จีดีพี (ราคาตลาด) อยู่
ที่ 56,700 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ และจีดีพี (อานาจซ้ือ) อยทู่ ่ี 221,500 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ พม่าเป็นหน่ึงใน
ประเทศท่ีมีความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจและสังคมมากท่ีสุดในโลก เนื่องจากภาคเศรษฐกิจส่วนใหญถ่ ูก
ผสู้ นบั สนุนอดีตรัฐบาลทหารควบคุมพม่ายงั มีระดบั การพฒั นามนุษยต์ ่าโดยอยูอ่ นั ดบั ที่ 147 จาก 189
ประเทศจากดชั นีการพฒั นามนุษยใ์ นปี 2563

นิรุกติศาสตร์

ชื่อประเทศของพม่าท้งั Myanmar และ Burma เป็นท่ีถกเถียงกนั มาหลายทศวรรษ[32][33] โดยท้งั
สองชื่อต่างก็ไดร้ ับความนิยมท้งั ในบริบททางการรวมถึงการใชท้ ว่ั ไป ท้งั สองคามาจากการแผลงคาในภาษา
พมา่ Mranma และ Mramma ซ่ึงเป็นชื่อที่เรียกกลุ่มชาติพนั ธุ์ท่ีอาศยั ในพม่ามายาวนานและหลกั ฐานบางชิ้น
ยงั ช้ีใหเ้ ห็นวา่ ช่ือท้งั สองมีที่มาจากภาษาสันสกฤต Brahma Desha (ब्रह्मादेश/ब्रह्मावर्त) ซ่ึงส่ือถึงพระ
พรหม

ในปี 2532 รัฐบาลทหารไดม้ ีมติใหใ้ ชช้ ่ือประเทศในภาษาองั กฤษวา่ Myanmar รวมถึงใหใ้ ชช้ ่ือน้ีใน
การอา้ งถึงเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์โดยยอ้ นไปต้งั แตย่ คุ การปกครองของสหราชอาณาจกั ร แตช่ ่ือ
ดงั กล่าวไมเ่ ป็นท่ียอมรับมากนกั โดยกลุ่มชาติพนั ธุ์ภายในประเทศรวมถึงชาติอ่ืน ๆ ที่ต่อตา้ นการปกครอง
แบบเผด็จการทหารของพมา่ ยงั คงใชช้ ื่อ Burma ต่อ อยา่ งไรกต็ าม รัฐบาลและผนู้ าประเทศไดใ้ ชช้ ่ือ
Myanmar เพ่อื แทนตวั เองในการติดตอ่ กบั ต่างชาติทุกโอกาสมานบั ต้งั แต่น้นั

22

ในเดือนเมษายน 2559 ไม่นานหลงั การเขา้ รับตาแหน่งที่ปรึกษาแห่งรัฐ อองซานซูจีไดแ้ สดงความ
คิดเห็นเก่ียวกบั ประเด็นดงั กล่าวโดยเธอกล่าววา่ "ข้ึนอยกู่ บั แตล่ ะคน เน่ืองจากไมม่ ีการบญั ญตั ิอยา่ งตายตวั
ในรัฐธรรมนูญของประเทศเราที่ระบุวา่ ตอ้ งใชช้ ื่อใดระหวา่ งสองช่ือน้ี" เธอยงั กล่าวอีกวา่ "ฉนั มกั จะใชช้ ื่อ
Burma เพราะความเคยชิน แตไ่ ม่ไดห้ มายความวา่ ทุกคนตอ้ งทาเช่นน้นั และฉนั ยนิ ดีที่จะใชค้ าวา่ Myanmar
ใหบ้ ่อยข้ึนเพ่ือใหร้ ัฐบาลสบายใจ"

ชื่อเตม็ ของประเทศคือ "สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์" (မြညထ် ာငစ် သု ြမတ

မြနြ် ာနငု င် ထံ တာ်, Pyihtaungsu Thamada Myanma Naingngantaw, อา่ นวา่ [pjìdàʊɴzṵ θàɴməda̰

mjəmà nàɪɴŋàɴdɔ]̀ ) หรือท่ีบางประเทศเรียกอยา่ งยอ่ วา่ "สหภาพพม่า" (Union of Burma) เชื่อกนั วา่ มีที่มา
ต้งั แตส่ มยั พมา่ เป็นอาณานิคมขององั กฤษ และแมว้ า่ รัฐบาลพม่าจะใชช้ ่ือ Myanmar เป็ นหลกั แตร่ ัฐบาลของ
ชาติตะวนั ตกหลายประเทศ เช่น สหรัฐ ยงั นิยมเรียกประเทศพมา่ วา่ Burma ในปัจจุบนั โดยในเวบ็ ไซต์
กระทรวงการตา่ งประเทศสหรัฐใชค้ าวา่ Burma และมีการใส่ (Myanmar) ต่อทา้ ยในวงเล็บกากบั ไวด้ ว้ ย
รวมถึงเดอะเวลิ ดแ์ ฟกตบ์ ุก๊ ของซีไอเอกม็ ีการระบุช่ือประเทศเป็น Burma ต้งั แต่เดือนกุมภาพนั ธ์ 2564
เช่นกนั รัฐบาลแคนาดาเคยใชค้ าวา่ Burma ในช่วงที่พมา่ ถูกควา่ บาตรจากนานาชาติ ก่อนจะเปลี่ยนเป็ น
Myanmar ในเดือนสิงหาคม 2563

โดยทวั่ ไปแลว้ ไม่มีการบญั ญตั ิวธิ ีการออกเสียงชื่อประเทศพม่าในภาษาองั กฤษอยา่ งตายตวั และ
นกั ภาษาศาสตร์สมยั ใหม่กล่าววา่ พบการออกเสียงท่ีแตกต่างกนั อยา่ งนอ้ ย 9 แบบ โดยการออกเสียง 2
พยางคน์ ้นั พบบ่อยคร้ังในพจนานุกรมของสหราชอาณาจกั รและสหรัฐ ยกเวน้ ฉบบั คอลลินส์ (Collins
English Dictionary) ซ่ึงออกเสียงสามพยางค์ (mjænˈmɑːr/, /ˈmjænmɑːr/, /ˌmjɑːnˈmɑːr/) พจนานุกรม
จากแหล่งอื่นมีการออกเสียงสามพยางคบ์ า้ ง เช่น /ˈmiː.ənmɑːr/, /miˈænmɑːr/, /ˌmaɪ.ənˈmɑːr/,
/maɪˈɑːnmɑːr/, /ˈmaɪ.ænmɑːr/.

ประวตั ิศาสตร์

ประวตั ิศาสตร์ของพม่าน้นั มีความยาวนานและซบั ซอ้ น มีประชาชนหลายเผา่ พนั ธุ์เคยอาศยั อยใู่ น
ดินแดนแห่งน้ี เผา่ พนั ธุ์เก่าแก่ท่ีสุดท่ีปรากฏไดแ้ ก่ชาวมอญ ต่อมาราวพุทธศตวรรษท่ี 13 ชาวพมา่ ไดอ้ พยพลง
มาจากบริเวณพรมแดนระหวา่ งจีนและทิเบต เขา้ สู่ท่ีราบลุ่มแม่น้าอิรวดี และไดก้ ลายเป็นชนเผา่ ส่วนใหญ่ที่
ปกครองประเทศในเวลาต่อมา ความซบั ซอ้ นของประวตั ิศาสตร์พม่ามิไดเ้ กิดข้ึนจากกลุ่มชนท่ีอาศยั อยใู่ น
ดินแดนพมา่ เทา่ น้นั แต่เกิดจากความสมั พนั ธ์กบั เพ่ือนบา้ นอนั ไดแ้ ก่ จีน, อินเดีย, บงั กลาเทศ, ลาว และไทย

มอญ

23

มนุษยไ์ ดเ้ ขา้ มาอาศยั อยใู่ นดินแดนของประเทศพมา่ เมื่อราว 11,000 ปี มาแลว้ แต่
กลุ่มชนแรกที่สามารถสร้างอารยธรรมเป็นเอกลกั ษณ์ของตนไดใ้ นดินแดนพมา่ กค็ ือชาว
มอญ ชาวมอญไดส้ ถาปนาอาณาจกั รสุธรรมวดี อนั เป็ นอาณาจกั รแห่งแรกข้ึนในราวพุทธ
ศตวรรษที่ 2 ณ บริเวณเมืองสะเทิม ชาวมอญไดร้ ับอิทธิพลของศาสนาพทุ ธผา่ นทางอินเดีย
ในราวพุทธศตวรรษท่ี 2 ซ่ึงเชื่อวา่ มาจากการเผยแพร่พระพุทธศาสนาในรัชสมยั ของพระ
เจา้ อโศกมหาราช บนั ทึกของชาวมอญส่วนใหญ่ถูกทาลายในระหวา่ งสงคราม วฒั นธรรม
ของชาวมอญเกิดข้ึนจากการผสมเอาวฒั นธรรมจากอินเดียเขา้ กบั วฒั นธรรมอนั เป็น
เอกลกั ษณ์ของตนเองจนกลายเป็นวฒั นธรรมลกั ษณะลูกผสม ในราวพุทธศตวรรษที่ 14
ชาวมอญไดเ้ ขา้ ครอบครองและมีอิทธิพลในดินแดนตอนใตข้ องพม่า

ปยู

ชาวปยเู ขา้ มาอาศยั อยใู่ นดินแดนประเทศพมา่ ต้งั แต่ราวพทุ ธศตวรรษท่ี 4 และได้
สถาปนานครรัฐข้ึนหลายแห่ง เช่นท่ี พนิ นาคา (Binnaka) มองกะโม้ (Mongamo) ศรีเกษตร
(Sri Ksetra) เบะตะโน่ (Beikthano) และฮะล่ีน (Halin) ในช่วงเวลาดงั กล่าว ดินแดนพม่า
เป็นส่วนหน่ึงของเส้นทางการคา้ ระหวา่ งจีนกบั อินเดีย จากเอกสารของจีนพบวา่ มีเมืองอยู่
ภายใตอ้ านาจปกครองของชาวปยู 18 เมือง และชาวปยเู ป็นชนเผา่ ท่ีรักสงบ ไม่ปรากฏวา่ มี
สงครามเกิดข้ึนระหวา่ งชนเผา่ ปยู ขอ้ ขดั แยง้ มกั ยตุ ิดว้ ยการคดั เลือกตวั แทนให้เขา้ ประลอง
ความสามารถกนั ชาวปยสู วมใส่เครื่องแต่งกายท่ีทาจากฝ้าย อาชญากรมกั ถูกลงโทษดว้ ย
การโบยหรือจาขงั เวน้ แต่ไดก้ ระทาความผดิ อนั ร้ายแรงจึงตอ้ งโทษประหารชีวติ ชาวปยนู บั
ถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท เดก็ ๆ ไดร้ ับการศึกษาท่ีวดั ต้งั แตอ่ ายุ 7 ขวบจนถึง 20 ปี
นครรัฐของชาวปยไู ม่เคยรวมตวั เป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั แตน่ ครรัฐขนาดใหญม่ กั มีอิทธิพล
เหนือนครรัฐขนาดเลก็ ซ่ึงแสดงออกโดยการส่งเคร่ืองบรรณาการให้ นครรัฐที่มีอิทธิพล
มากที่สุดไดแ้ ก่ศรีเกษตร ซ่ึงมีหลกั ฐานเช่ือไดว้ า่ เป็ นเมืองโบราณท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุดใน
ประเทศพมา่ ไม่ปรากฏหลกั ฐานวา่ อาณาจกั รศรีเกษตรถูกสถาปนาข้ึนเมื่อใด แตม่ ีการ
กล่าวถึงในพงศาวดารวา่ มีการเปล่ียนราชวงศเ์ กิดข้ึนในปี พุทธศกั ราช 637 ซ่ึงแสดงใหเ้ ห็น
วา่ อาณาจกั รศรีเกษตรตอ้ งไดร้ ับการสถาปนาข้ึนก่อนหนา้ น้นั มีความชดั เจนวา่ อาณาจกั ร
ศรีเกษตรถูกละทิ้งไปในปี พทุ ธศกั ราช 1199 เพอ่ื อพยพยา้ ยข้ึนไปสถาปนาเมืองหลวงใหม่
ทางตอนเหนือ แต่ยงั ไม่ทราบอยา่ งแน่ชดั วา่ เมืองดงั กล่าวคือเมืองใด นกั ประวตั ิศาสตร์บาง

24

ท่านเชื่อวา่ เมืองดงั กล่าวคือเมืองฮะล่ีน อยา่ งไรกต็ ามเมืองดงั กล่าวถูกรุกรานจากอาณาจกั ร
น่านเจา้ ในราวพทุ ธศตวรรษท่ี 15 จากน้นั กไ็ ม่ปรากฏหลกั ฐานกล่าวถึงชาวปยอู ีก
อาณาจักรพุกาม

แผนทที่ วปี เอเชียใน พ.ศ. 1743 แสดงถงึ ขอบเขตอาณาจกั รต่าง ๆ (พุกามอยู่ใกล้กบั เลขท่ี 34 ทางขวา)
https://th.wikipedia.org/wiki/

ชาวพม่าเป็นชนเผา่ จากทางตอนเหนือที่ค่อย ๆ อพยพแทรกซึมเขา้ มาสั่งสม
อิทธิพลในดินแดนประเทศพมา่ ทีละนอ้ ย กระทง่ั ปี พทุ ธศกั ราช 1392 จึงมีหลกั ฐานถึง
อาณาจกั รอนั ทรงอานาจซ่ึงมีศูนยก์ ลางอยทู่ ่ีเมือง "พุกาม" (Pagan) โดยไดเ้ ขา้ มาแทนที่
ภาวะสุญญากาศทางอานาจภายหลงั จากการเสื่อมสลายไปของอาณาจกั รชาวปยู อาณาจกั ร
ของชาวพุกามแต่แรกน้นั มิไดเ้ ติบโตข้ึนอยา่ งเป็ นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั กระทงั่ ในรัชสมยั ของ
พระเจา้ อโนรธา (พ.ศ. 1587–1620) พระองคจ์ ึงสามารถรวบรวมแผน่ ดินพมา่ ให้เป็น
อนั หน่ึงอนั เดียวกนั สาเร็จ และเม่ือพระองคท์ รงตีเมืองทา่ ตอนของชาวมอญไดใ้ นปี
พทุ ธศกั ราช 1600 อาณาจกั รพุกามกก็ ลายเป็นอาณาจกั รที่เขม้ แขง็ ท่ีสุดในดินแดนพม่า
อาณาจกั รพกุ ามมีความเขม้ แขง็ เพิ่มมากข้ึนในรัชสมยั ของพระเจา้ จานซิตา้ (พ.ศ. 1624–
1655) และพระเจา้ อลองสิธู (พ.ศ. 1655–1710) ทาใหใ้ นช่วงปลายพุทธศตวรรษท่ี 17
ดินแดนในคาบสมุทรสุวรรณภูมิเกือบท้งั หมดถูกครอบครองโดยอาณาจกั รเพียงสองแห่ง
คืออาณาจกั รเขมรและอาณาจกั รพกุ าม

อานาจของอาณาจกั รพุกามค่อย ๆ เส่ือมลง ดว้ ยเหตุผลหลกั สองประการ ส่วนหน่ึง
จากการถูกเขา้ ครอบงาโดยของคณะสงฆผ์ มู้ ีอานาจ และอีกส่วนหน่ึงจากการรุกรานของ
จกั รวรรดิมองโกลท่ีเขา้ มาทางตอนเหนือ พระเจา้ นรสีหบดี (ครองราชย์ พ.ศ. 1779–1830)

25

ไดท้ รงนาทพั สู่ยนุ นานเพอื่ ยบั ย้งั การขยายอานาจของมองโกล แตเ่ มื่อพระองคแ์ พส้ งครามที่
งาซองจาน (Ngasaunggyan) ในปี พทุ ธศกั ราช 1820 ทพั ของอาณาจกั รพุกามกร็ ะส่าระสาย
เกือบท้งั หมด พระเจา้ นรสีหบดีถูกพระราชโอรสปลงพระชนมใ์ นปี พทุ ธศกั ราช 1830
กลายเป็นตวั เร่งที่ทาใหอ้ าณาจกั รมองโกลตดั สินใจรุกรานอาณาจกั รพกุ ามในปี เดียวกนั น้นั
ภายหลงั สงครามคร้ังน้ี อาณาจกั รมองโกลก็สามารถเขา้ ครอบครองดินแดนของอาณาจกั ร
พกุ ามไดท้ ้งั หมด ราชวงศพ์ กุ ามสิ้นสุดลงเม่ือมองโกลไดแ้ ต่งต้งั รัฐบาลหุ่นข้ึนบริหาร
ดินแดนพม่าในปี พทุ ธศกั ราช 1832

องั วะและหงสาวดี

หลงั จากการล่มสลายของอาณาจกั รพกุ าม พม่าไดแ้ ตกแยกออกจากกนั อีกคร้ัง
ราชวงศอ์ งั วะซ่ึงไดร้ ับอิทธิพลทางวฒั นธรรมจากอาณาจกั รพกุ ามไดถ้ ูกสถาปนาข้ึนที่เมือง
องั วะในปี พทุ ธศกั ราช 1907 ศิลปะและวรรณกรรมของพุกามไดถ้ ูกฟ้ื นฟูจนยคุ น้ีกลายเป็น
ยคุ ทองแห่งวรรณกรรมของพมา่ แต่เน่ืองดว้ ยอาณาเขตที่ยากต่อป้องกนั การรุกรานจากศตั รู
เมืององั วะจึงถูกชาวไทใหญ่เขา้ ครอบครองไดใ้ นปี พุทธศกั ราช 2070

สาหรับดินแดนทางใต้ ชาวมอญไดส้ ถาปนาอาณาจกั รของพวกตนข้ึนใหม่อีกคร้ัง
ท่ีหงสาวดี โดยมะกะโทหรือพระเจา้ ฟ้ารั่ว เป็นจุดเริ่มตน้ ยคุ ทองของมอญ ซ่ึงเป็ นศูนยก์ ลาง
ของพทุ ธศาสนานิกายเถรวาทและศูนยก์ ลางทางการคา้ ขนาดใหญ่ในเวลาต่อมา

ราชวงศ์ตองอู

พระเจา้ เมงจีโย ไดร้ วบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยูอ่ ยา่ งกระจดั กระจาย โดย
สถาปนาเมืองตองอูข้ึนเป็นราชธานี เมืองตองอูเขม้ แขง็ ข้ึนมาในรัชสมยั ของ พระเจา้ ตะเบง็
ชะเวต้ี พระโอรสของพระองค์ (ครองราชย์ พ.ศ. 2074–2093) และไดแ้ ผอ่ าณาเขตของ
อาณาจกั รขยายไปรอบดา้ น เช่น แปร, พะสิม องั วะ, ยะไข่ และท่ีสาคญั ท่ีสุดคือ หงสาวดี
อนั เป็ นอาณาจกั รเดิมของชาวมอญ

26

อาณาเขตของราชวงศ์ตองอู สมยั พระเจ้าบุเรงนอง (สีเขยี ว)
https://th.wikipedia.org/wiki/

ในช่วงระยะเวลาน้ี ไดม้ ีการเปล่ียนแปลงขนานใหญเ่ กิดข้ึนในภูมิภาค ชาวไทใหญ่
มีกาลงั เขม้ แขง็ เป็นอยา่ งมากทางตอนเหนือ การเมืองภายในอาณาจกั รอยธุ ยาเกิดความไม่
มนั่ คง ในขณะที่โปรตุเกสไดเ้ ร่ิมมีอิทธิพลในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตแ้ ละสามารถเขา้
ครอบครองมะละกาได้ การเขา้ มาของบรรดาพอ่ คา้ ชาวยโุ รป ทาใหพ้ ม่ากลายเป็นศูนยก์ ลาง
ทางการคา้ ที่สาคญั อีกคร้ังหน่ึง การท่ีพระเจา้ ตะเบงชะเวต้ีไดต้ ีและยา้ ยเมืองหลวงจากตองอู
มาอยทู่ ่ีเมืองหงสาวดีซ่ึงเป็นเมืองของชาวมอญ เหตุผลส่วนหน่ึงก็เนื่องดว้ ยทาเลทางการคา้
และการกดใหช้ าวมอญอยภู่ ายใตอ้ านาจ พระเจา้ บุเรงนอง (ครองราชย์ พ.ศ. 2094–2124)
ซ่ึงเป็นพระเทวนั (พี่เขย) ของพระเจา้ ตะเบงชะเวต้ี ไดข้ ้ึนครองราชยส์ ืบต่อมาและสามารถ
เขา้ ครอบครองอาณาจกั รต่าง ๆ รายรอบได้ อาทิ มณีปุระ (พ.ศ. 2103) อยธุ ยา (พ.ศ. 2112)
ในรัชสมยั ของพระองคพ์ ม่ามีอาณาเขตกวา้ งใหญ่ไพศาลที่สุด อยา่ งไรกต็ าม ท้งั มณีปุระ
และอยธุ ยา ตา่ งก็ประกาศตนเป็นอิสระภายในเวลาต่อมาไม่นาน
ราชวงศ์โก้นบอง

ราชวงศโ์ กน้ บอง หรือ ราชวงศอ์ ลองพญา ไดร้ ับการสถาปนาข้ึนและสร้างความ
เขม้ แขง็ จนถึงขีดสุดไดภ้ ายในเวลาอนั รวดเร็ว พระเจา้ อลองพญาซ่ึงเป็นผนู้ าท่ีไดร้ ับความ

27

นิยมจากชาวพมา่ ไดข้ บั ไล่ชาวมอญที่เขา้ มาครอบครองดินแดนของชาวพมา่ ไดใ้ นปี 2296
จากน้นั ก็สามารถเขา้ ยดึ ครองอาณาจกั รมอญทางใตไ้ ดใ้ นปี 2302 ท้งั ยงั สามารถกลบั เขา้ ยดึ
ครองกรุงมณีปุระไดใ้ นช่วงเวลาเดียวกนั หลงั จากเขา้ ยดึ ครองตะนาวศรีพระองคไ์ ดย้ าตรา
ทพั เขา้ รุกรานอยธุ ยา แต่ตอ้ งประสบความลม้ เหลวเม่ือพระองคส์ วรรคตระหวา่ งการสู้รบ
พระเจา้ มงั ระ (ครองราชย์ พ.ศ. 2306 – 2319) พระราชโอรส ไดโ้ ปรดใหส้ ่งทพั เขา้ รุกราน
อาณาจกั รอยธุ ยาอีกคร้ังในปี 2309 ซ่ึงประสบความสาเร็จในปี ถดั มา ในรัชสมยั น้ีแมจ้ ีนจะ
พยายามขยายอานาจเขา้ สู่ดินแดนพมา่ แตพ่ ระองคก์ ส็ ามารถยบั ย้งั การรุกรานจากจีนไดท้ ้งั
ส่ีคร้ัง (ช่วงปี 2309–2312) ทาใหค้ วามพยายามในการขยายพรมแดนของจีนทางดา้ นน้ีตอ้ ง
ยตุ ิลง ในรัชสมยั ของพระเจา้ ปดุง (ครองราชย์ พ.ศ. 2324–2362) พระโอรสอีกพระองคห์ น่ึง
ของพระเจา้ อลองพญา พมา่ ตอ้ งสูญเสียอานาจที่มีเหนืออยธุ ยาไป แต่กส็ ามารถผนวก
ดินแดนยะไข่ และตะนาวศรีเขา้ มาไวไ้ ดใ้ นปี 2327 และ 2336 ตามลาดบั ในช่วงเดือน
มกราคมของปี 2366 ซ่ึงอยใู่ นรัชสมยั ของพระเจา้ จกั กายแมง (ครองราชย์ พ.ศ. 2362–2383)
ขนุ นางช่ือมหาพนั ธุละ นาทพั เขา้ รุกรานแควน้ มณีปุระและอสั สัมไดส้ าเร็จ ทาใหพ้ มา่ ตอ้ ง
เผชิญหนา้ โดยตรงกบั องั กฤษที่ครอบครองอินเดียอยใู่ นขณะน้นั

ภูมศิ าสตร์

ประเทศพม่า ซ่ึงมีพ้นื ท่ีท้งั หมด 676,578 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญท่ ี่สุดในเอเชียตะวนั ออก
เฉียงใตแ้ ผน่ ดินใหญ่ (หรือคาบสมุทรอินโดจีน) และใหญ่เป็นอนั ดบั ท่ี 40 ของโลก ต้งั อยรู่ ะหวา่ งละติจูด 9°
และ 29° เหนือ และลองติจูด 92° และ 102° ตะวนั ออก

ประเทศพม่ามีพรมแดนติดต่อกบั บงั กลาเทศยาว 271 กิโลเมตร (168 ไมล)์ ติดกบั อินเดียทาง
ตะวนั ตกเฉียงเหนือยาว 1,468 กิโลเมตร (912 ไมล)์ พรมแดนทางเหนือและตะวนั ออกเฉียงเหนือติดตอ่ กบั
ทิเบตและมณฑลยนู นานของจีนยาว 2,129 กิโลเมตร (1,323 ไมล)์ ติดกบั ลาวยาว 238 กิโลเมตร (148 ไมล)์
และติดกบั ไทยยาว 2,416 กิโลเมตร (1,501 ไมล)์ พม่ามีแนวชายฝ่ังตอ่ เนื่องตามอ่าวเบงกอลและทะเลอนั ดา
มนั ทางตะวนั ตกเฉียงใตแ้ ละใต้ ซ่ึงเป็นหน่ึงในส่ีของพรมแดนท้งั หมด

การแบ่งเขตการปกครอง

ประเทศพม่าแบ่งเขตการปกครองในระดบั ภูมิภาคออกเป็ น 7 เขต (တငု ်် းထေသက ်း) สาหรับ

พ้นื ท่ีซ่ึงประชากรส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชาติพนั ธุ์พมา่ และ 7 รัฐ (မြညန် ယ်) สาหรับพ้ืนท่ีซ่ึงประชากรส่วน

ใหญ่เป็นชนกลุ่มนอ้ ย และ 1 ดินแดนสหภาพ (မြညထ် တာငစ် နု ယထ် မြ)

28

เขตการปกครองของประเทศพม่า
https://th.wikipedia.org/wiki/

สภาพภูมอิ ากาศ
พ้นื ท่ีส่วนใหญ่อยรู่ ะหวา่ งเขตร้อนทรอปิ กออฟแคนเซอร์และเส้นศูนยส์ ูตร ต้งั อยใู่ นเขตมรสุมของ

เอเชีย โดยบริเวณชายฝ่ังจะมีปริมาณน้าน้าฝนมากกวา่ 5,000 มม. (196.9 นิ้ว) ตอ่ ปี ปริมาณน้าฝนรายปี ใน
ภูมิภาคอยทู่ ่ีประมาณ 2,500 มม. (98.4 นิ้ว) ในขณะที่ปริมาณน้าฝนรายปี เฉล่ียในเขตแหง้ แลง้ ในภาคกลาง
นอ้ ยกวา่ 1,000 มม. (39.4 นิ้ว) ภาคเหนือของประเทศจะอากาศเยน็ ท่ีสุด โดยมีอุณหภูมิเฉล่ีย 21 °C (70 °F)
บริเวณชายฝ่ังและบริเวณสามเหล่ียมปากแม่น้ามีอุณหภูมิสูงสุดเฉล่ีย 32 °C (89.6 °F)
ส่ิงแวดล้อม

29

ภูมทิ ศั น์ในรัฐกะเหร่ียง
https://th.wikipedia.org/wiki/

พม่าเป็นประเทศท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพดว้ ยพชื มากกวา่ 16,000 ชนิด, สัตวเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนม
314 ชนิด, นก 1,131 ชนิด, สตั วเ์ ล้ือยคลาน 293 ชนิด และสตั วค์ ร่ึงบกคร่ึงน้า 139 ชนิด รวมถึงพชื พรรณเขต
ร้อนและก่ึงเขตร้อน พ้ืนที่ชุ่มน้าที่ถูกน้าท่วมตามฤดูกาล พม่ามีระบบนิเวศทางธรรมชาติที่ยงั ไมถ่ ูกทาลายท่ี
ใหญ่ท่ีสุดแห่งหน่ึงแห่งในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ แต่ระบบนิเวศที่เหลืออยใู่ นปัจจุบนั กาลงั เผชิญปัญหาการ
คุกคามจากมนุษย์ ท่ีดินของพม่ามากกวา่ หน่ึงในสามไดถ้ ูกแปลงเป็นระบบนิเวศของมนุษยใ์ นช่วง 2-3
ศตวรรษที่ผา่ นมา และเกือบคร่ึงหน่ึงของระบบนิเวศกาลงั ถูกคุกคาม

พม่าเป็นหน่ึงในประเทศท่ีเส่ียงตอ่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากท่ีสุด สิ่งน้ีก่อใหเ้ กิดความ
ทา้ ทายทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และนโยบายต่างประเทศของรัฐบาล พมา่ มีคะแนนเฉลี่ยดชั นีความ
สมบูรณ์ของภูมิทศั นป์ ่ าไมป้ ี 2562 ที่ 7.18/10 ซ่ึงอยใู่ นอนั ดบั ที่ 49 ของโลกจาก 172 ประเทศ การเติบโตทาง
เศรษฐกิจท่ีชา้ ของพม่ามีส่วนในการรักษาส่ิงแวดลอ้ มและระบบนิเวศส่วนใหญ่ ป่ าไม้ รวมถึงการเติบโต
อยา่ งหนาแน่นในเขตร้อนและไมส้ กั อนั มีคา่ ในภูมิภาคตอนล่างซ่ึงรอบคลุมพ้นื ท่ีกวา่ 49% ของประเทศกาลงั
ประสบภาวะวกิ ฤติ การทาลายป่ านาไปสู่กฎหมายป่ าไมฉ้ บบั ใหมป่ ี 2538 มีผลบงั คบั ใชแ้ ละเพ่มิ พ้ืนท่ีป่ าไม้
และแหล่งท่ีอยอู่ าศยั ของสัตวป์ ่ าในปัจจุบนั

สตั วป์ ่ าทว่ั ไป โดยเฉพาะเสือโคร่ง พบไดน้ อ้ ยในพม่า สตั วท์ ่ีพบไดใ้ นตอนบนของประเทศเช่น แรด
ควายป่ า เสือดาวลายเมฆ หมูป่ า กวาง ละมง่ั และชา้ ง ซ่ึงบางท่ีมีการเล้ียงเพือ่ ใชแ้ รงงานโดยเฉพาะใน
อุตสาหกรรมไมแ้ ปรรูป สัตวเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนมขนาดเล็กยงั มีอยมู่ ากมายต้งั แต่ชะนีและลิงไปจนถึงคา้ งคาวแม่
ไก่ นกมีมากกวา่ 800 สายพนั ธุ์ รวมท้งั นกแกว้ นกขนุ ทอง นกยงู นกป่ าแดง นกทอผา้ อีกา นกกระสา และ

30

นกเคา้ แมว สัตวเ์ ล้ือยคลาน ไดแ้ ก่ จระเข้ ตุก๊ แก งูเห่า งูเหลือมพม่า และเต่า ปลาน้าจืดหลายร้อยสายพนั ธุ์มี
ความหลากหลาย อุดมสมบูรณ์ และเป็นแหล่งอาหารท่ีสาคญั
การศึกษา

นกั เรียนประถมในเขตซะไกง์
https://th.wikipedia.org/wiki/

จากขอ้ มูลของสถาบนั สถิติของยเู นสโก อตั ราการรู้หนงั สืออยา่ งเป็ นทางการของพมา่ ณ ปี 2543 อยู่
ท่ี 90% ในอดีต พม่ามีอตั ราการรู้หนงั สือสูง ระบบการศึกษาของประเทศดาเนินการโดยหน่วยงานราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ ระบบการศึกษาน้ีมีพ้ืนฐานมาจากระบบของสหราชอาณาจกั ร หลงั จากอิทธิพลเกือบ
หน่ึงศตวรรษของชาวองั กฤษและคริสเตียนในพม่า เกือบทุกโรงเรียนดาเนินการโดยรัฐบาล แต่มีโรงเรียน
สอนภาษาองั กฤษที่ไดร้ ับทุนสนบั สนุนของเอกชนเพ่ิมข้ึนในช่วงตน้ ศตวรรษที่ 21 การศึกษาเป็นภาคบงั คบั
จนถึงปลายช้นั ประถมศึกษาประมาณ 9 ปี ในขณะท่ีระดบั การศึกษาภาคบงั คบั คือ 15 หรือ 16 ในระดบั
นานาชาติ มีมหาวทิ ยาลยั 101 แห่ง สถาบนั 12 แห่ง วทิ ยาลยั 9 ปริญญา และวทิ ยาลยั 24 แห่งในพม่า รวม
146 สถาบนั อุดมศึกษา มีโรงเรียนฝึกเทคนิค 10 แห่ง โรงเรียนฝึกพยาบาล 23 แห่ง โรงเรียนกีฬา 1 แห่ง และ
โรงเรียนผดุงครรภ์ 20 แห่ง มีโรงเรียนนานาชาติส่ีแห่งท่ีไดร้ ับการยอมรับจาก WASC และคณะกรรมการ
วทิ ยาลยั ไดแ้ ก่ โรงเรียนนานาชาติยา่ งกงุ้ โรงเรียนนานาชาติเมียนมาร์ โรงเรียนนานาชาติยา่ งกุง้ และ
โรงเรียนนานาชาติแห่งเมียนมาร์ในยา่ งกงุ้ พม่าอยใู่ นอนั ดบั ที่ 129 ในดชั นีนวตั กรรมโลกในปี 2563
วฒั นธรรม

31

ขบวนแห่พธิ ีชีนบยูทม่ี ณั ฑะเลย์
https://th.wikipedia.org/wiki/

วฒั นธรรมของพม่าไดร้ ับอิทธิพลท้งั จากมอญ จีน อินเดีย มาชา้ นาน ดงั สะทอ้ นใหเ้ ห็นในดา้ นภาษา
ดนตรี และอาหาร สาหรับศิลปะของพม่าน้นั ไดร้ ับอิทธิพลจากวรรณคดีและพระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาท
มาต้งั แต่คร้ังโบราณ ในปัจจุบนั น้ีวฒั นธรรมพม่ายงั ไดร้ ับอิทธิพลจากตะวนั ตกมากข้ึน ซ่ึงเห็นไดช้ ดั จากเขต
ชนบทของประเทศ ดา้ นการแต่งกายของพม่าท้งั ชายและหญิงนิยมนุ่งโสร่ง เรียกวา่ โลนจี (longyi) ส่วนการ
แตง่ กายแบบโบราณเรียกวา่ ลูนตะยาอะเชะ (lun taya acheik)

เครื่องดนตรีสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมา

32

ภาพชุดวงดนตรี และเครื่องดนตรีพม่า
https://www.pangpond.com/

เครื่องดนตรีที่ใชบ้ รรเลงเพ่อื การละครและฟ้อนราในวงดนตรีของพมา่ หรือท่ีเรียกวา่ ซายวาย
(Saing Waing) น้นั จะประกอบดว้ ยเคร่ืองดนตรี 5 ประเภท ไดแ้ ก่

1. คยี (Kyay) คือ เครื่องโลหะ เช่น ฆอ้ ง
2. คยู (Kyu) คือ เครื่องสาย เช่น พิณ
3. ทะแย (Tayae) คือ เครื่องหนงั เช่น กลอง
4. เลย (Lei) คือ เคร่ืองเป่ า เช่น ขลุ่ย
5. เลตโขก (Let Khoke) คือ กรับแบบตา่ งๆ

ประวตั ิความเป็ นมาดนตรีสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมา

เอกสารท่ีมีการบนั ทึกเร่ืองราวของดนตรีพม่า คือพงศาวดารจีนสมยั ราชวงศถ์ งั บนั ทึกวา่ ราชสานกั พยู
ไดส้ ่งนกั ดนตรีและการแสดงไปแสดงในราชสานกั จีนใน ปี ค.ศ.800 (พ.ศ. 1343) ในการแสดง น้นั มีเคร่ือง
ดนตรีถึง 14 ชนิด ลกั ษณะของเครื่องดนตรีท่ีบนั ทึกสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะของเครื่องดนตรีในปัจจุบนั
พงศาวดารดงั กล่าวระบุช่ือ พิณ 2 ชนิด ชนิดหน่ึงน่าจะเป็น มิยอง จะเขท้ ่ีมีหวั คลา้ ยจระเขจ้ ริงๆ ไม่มีเคร่ือง
ดนตรี อ่ืนในบนั ทึกที่แสดงวา่ คลา้ ยกบั เคร่ืองดนตรีสาหรับบรรเลงนอกอาคารอยา่ งในปัจจุบนั เหตุที่เป็น

33

เช่นน้ีมีความเป็นไปได้ 2 กรณี คือ สมยั น้นั ไม่มีเครื่องดนตรีแบบปัจจุบนั หรือ ไม่กม็ ีแลว้ แต่ราชสานกั ไม่
เห็นสมควรท่ีจะส่งไปแสดง (Becker 1967, 1980)

เครื่องดนตรีท่ีมีในอดีตแตป่ ัจจุบนั แทบไมม่ ีใครรู้จกั ไดแ้ ก่ ตะยอ (ซอมอญ) ซ่ึง ในปัจจุบนั ถูกแทนท่ี
ดว้ ยไวโอลิน แคนที่เรียกวา่ ฮยน่ิ (Hnayin) ที่ไม่มีใครรู้จกั เครื่อง ดนตรีอีกชนิดหน่ึงที่สูญไปแลว้ คือ สันตะ
ยา (Santaya) ที่ปัจจุบนั ใชเ้ รียกเปี ยโน ส่วน มิยอง (Mijaun) กไ็ มม่ ีใชใ้ นดนตรีพม่าแลว้ แต่ชาวรามญั ในพม่า
ยงั ใชก้ นั อยู่ (Garfias 1985)

ดนตรีของพมา่ ไม่มีหลกั ฐานชดั เจนจนกระทง่ั ปี ค.ศ. 1700 ในสมยั ราชวงศ์ Kaunbaun ทางราชสานกั
ไดใ้ หก้ ารอุปถมั ภด์ นตรีอยา่ งดี ทาใหด้ นตรีเจริญรุ่งเรืองเป็ นปึ กแผน่ ราชสานกั ใหก้ ารอุปถมั ภด์ นตรี 2 ชนิด
คือ อนั ยนี ตีวาย (Anyeintiwain) ดนตรี ประกอบการเตน้ ราและ ขบั ร้องของสตรีในราชสานกั และ ชเว
โตมุยชี ตีวาย (Htwe to mui ci tiwain) ดนตรีพธิ ีกรรม ในราชสานกั และดนตรีสาหรับกระบวนแห่

ในสมยั ราชวงศ์ Kuanbuan มีหลกั ฐานแน่นอนวา่ ศิลปิ นที่ช่ือ “ เมียวดี มินซี อู สะ ” (Myawa di Minci
U Sa) หรือเรียกกนั ส้นั วา่ วุนซีอูสะ (Wunci U Sa) ซ่ึง ถือกาเนิดทางภาคเหนือในปี 1766 มีความสาคญั มาก
ดา้ นการรับเอาศิลปะไทยเขา้ ไว้ แลว้ ปรับปรุงใหเ้ ป็นแบบพมา่ โดยการประสมประสานกิจกรรมดนตรีเขา้ กบั
การทหาร ในการประพนั ธ์เพลงแบบฉบบั เขาไดร้ ับพระราชานุญาตใหเ้ รียนดนตรีกบั ครูดนตรีชาวไทยที่ถูก
จบั เป็นเชลยอยกู่ ่อนแลว้ รวมท้งั ศึกษาวรรณคดีและ ละครเร่ืองต่างๆ เช่น รามเกียรต์ิ และอิเหนา ซ่ึงเป็ น
เร่ืองราวอนั เป็นที่ช่ืนชอบของราชสานกั พม่า ท้งั ยงั ไดแ้ ต่ง เพลงและดนตรีประกอบการแสดงเพอ่ื ใหใ้ นราช
สานกั อีกดว้ ย และโดยการเคล่ือนไหว ทางทหารทาใหโ้ ชคชะตาของเขาผนั ผวนอยา่ งน่าอศั จรรยท์ ้งั ทางดี
และทางร้าย ตราบจน บ้นั ปลายของชีวติ จึงไดร้ ับการยกยอ่ งอยา่ งสมเกียรติจากพระเจา้ มินดอง (Mindon) ใน
ปี ค.ศ. 1853 (Williamson 1979)

ช่วงแรกที่พม่าท้งั ประเทศตกเป็นอาณานิคม คือในช่วง ค.ศ.๑๘๘๖ จนตน้ ศตวรรษที่ ๑๙ วงซายวาย
ไดเ้ ริ่มซบเซาลง นกั ดนตรีขาดผอู้ ุปถมั ภ์ การแสดงในงานราชสานกั หมดไป แตก่ ารแสดงกลาง แจง้ หรือ มเย
วาย กลบั ไดร้ ับความนิยมแทน โดยเฉพาะการแสดงละคร และการเล่นหุ่นชกั ในยคุ น้นั เริ่มมีหนงั เงียบเขา้ มา
ฉาย จึงเกิดเพลงบรรเลงแนวใหมข่ ้ึนมา เป็นเพลงประกอบหนงั เพลงโฆษณาสินคา้ พ้ืนเมือง อาทิ ผา้ โสร่ง
เมืองยอ ร่มเมืองพะสิม และบุหรี่พมา่ นอกจากน้ียงั มีการแตง่ เพลงพทุ ธศาสนา พอในยคุ ท่ีพมา่ ตอ่ ตา้ นเจา้
อาณานิคม จึงไดม้ ีการเล่นซายวายเป็นเพลงเพอ่ื การปฏิวตั ิ หรือ เพลงทางการเมือง ในสมยั น้นั เร่ิมมีการผลิต
แผน่ เสียง หรือ ดตั -ปยา จึงทาใหเ้ พลงบรรเลงซายวายกระจายไปทว่ั ประเทศ แตเ่ น่ืองจากมีขอ้ จากดั ดา้ นการ
บนั ทึกเสียง ซ่ึงบนั ทึกไดเ้ พยี ง ๖ นาทีตอ่ แผน่ เพลงบรรเลงซายวาย จึงตอ้ งส้ันลง ซายวายจึงไดเ้ ปล่ียนไปจาก
เดิมที่เคยเล่นกนั มา

34

พอถึงยคุ สงั คมนิยม ซ่ึงถือเป็นยคุ เทปคลาสเซท ไดเ้ กิดวงดนตรีสมยั ใหม่ ที่ใชเ้ คร่ืองดนตรีตะวนั ตก
ท้งั วง ซ่ึงเรียกวา่ ตีวาย กีตาร์เป็นเครื่องดนตรียอดนิยม เพลงจานวนมากจึงเป็ นเพลงทานองฝร่ัง อาทิ
เพลงร็อค และเพลงดิสโก อยา่ งไรก็ตามยงั มีการพฒั นาเพลงพ้ืนบา้ นเป็นเพลงแนวลูกทุ่ง เครื่องดนตรีหลกั ที่
ใชเ้ ป็นแมนดาริน ส่วนซายวายน้นั มกั นิยมบรรเลงในเพลงทางศาสนาและเพลงทรงเจา้ เป็นส่วนใหญ่ พอถึง
ยคุ ปัจจุบนั น้ี ซ่ึงเป็ นยคุ สมยั ของซีดีรอมน้นั ไดม้ ีการลอกทานองเพลงตา่ งประเทศกนั อยา่ งมากมาย
ขณะเดียวกนั เสียงของซายวายกแ็ ทบจะเลือนหายไปจากตลาดเพลงยคุ ใหม่

แมซ้ ายวายจะเสื่อมความนิยมในหมู่คนยคุ ใหม่ แต่กย็ งั ไดร้ ับการยอมรับในฐานะเป็นดนตรีคลาสสิค
ของพม่า เสียงของซายวายยงั คงรับฟังไดใ้ นเพลงทางพุทธศาสนา และเพลงปลุกใจ ส่วนวงซายวายน้นั ยงั หา
ชมไดใ้ นงานแสดงทางวฒั นธรรม อาทิ การแสดงละคร การแสดงหุ่นชกั งานทางศาสนพธิ ี งานประเพณี
งานรัฐพิธี และงานทรงเจา้ เป็นตน้ ปัจจุบนั รัฐบาลพมา่ ไดใ้ หค้ วามสาคญั ต่อการอนุรักษว์ งซายวาย
เช่นเดียวกบั การแสดงพ้นื บา้ นอ่ืนๆ โดยจดั ใหม้ ีการประกวดกนั ทุกปี อีกท้งั สถานีวทิ ยโุ ทรทศั น์ของรัฐจะ
ออกอากาศเพลงบรรเลงซายวายเป็นประจา( อรนุช นิยมธรรม)[2]

ประเภทของเคร่ืองดนตรี ความแตกต่างของดนตรีในอาคารและภายนอกอาคารของพมา่ อยทู่ ่ี เสียง อนั
ดงั ต่ืนเตน้ เร้าใจ กบั เสียงอนั อ่อนหวานนุ่มนวลนนั่ เอง “ดนตรีนอกอาคาร” มีชื่อเรียก กนั หลายชื่อ แตล่ ะชื่อ
มกั มาจากชนิดของกลองที่ใชเ้ ป็นเคร่ืองดนตรีหลกั โดยมี วงซายวาย (sainwaing) เป็นวงดนตรีหลกั และ
แพร่หลายท่ีสุด วงดนตรีประกอบดว้ ยฆอ้ ง กลอง และป่ี เป็ นหลกั “วงดนตรีในอาคาร” ใชเ้ ครื่องดนตรีเพียง
2 – 3 ชิ้นเท่าน้นั บางคราว ก็มีเพยี งนกั ร้องคนหน่ึง กบั เคร่ืองดนตรีชิ้นหน่ึงเช่น พณิ – ซ็องก๊อก หรือระนาด
– ปัตตลา เพยี งอยา่ งเดียว ประกอบกบั ฉิ่ง หรือกรับ ที่นกั ร้องเป็นผูต้ ี เคร่ืองดนตรี ดงั กล่าวน้ี มีท้งั เคร่ือง
ดนตรีเสียงตายตวั และเคร่ืองดนตรีที่ปรับเสียงได้ ปัจจุบนั มีการนาเอา ไวโอลินและเปี ยโนไปประสมกบั
ดนตรีด้งั เดิมของพมา่ มากข้ึน

ซายวาย

คาวา่ ซายวาย ใชเ้ รียกท้งั เคร่ืองดนตรีและวงดนตรี วงดนตรีเป็ นดนตรีประกอบการแสดงที่
สาคญั ของพม่า ใชบ้ รรเลงประกอบการแสดงบนเวที ประกอบพธิ ีกรรมทางศาสนา ตลอดจนใช้
บรรเลงในงานเทศกาลและพิธีการอยา่ งหลากหลาย เช่น การตอ้ นรับแขกบา้ น แขกเมือง เครื่อง
ดนตรีในวงซายวาย สามารถปรับเปล่ียนไปไดต้ ามความเหมาะสมกบั สถานการณ์ เคร่ืองดนตรีหลกั
อนั ไดแ้ ก่ ปัตวาย หรือ พาทวาย(Pat – Wain) . มองซาย (Maungzaing), เน่ (Hne), ช็อค ลอน บตั
(Chauklon bat)และมีเคร่ืองประกอบจงั หวะอื่นๆ

35

http://www.dmc.tv/images/00-iimage/570610-aec10.jpg

ปัตวาย, พาทวาย (Patwaing)
คือ กลองวงที่ปรับเสียงเรียงลาดบั สูงต่าตามบนั ไดเสียงที่เหมาะสมประกอบดว้ ยกลองสอง

หนา้ ขนาดต่างๆ กนั จานวน 21 ลูกแขวนไวก้ รอบราว รูปโคง้ คลา้ ยร้านเปิ งมางคอกของมอญ กรอบ
น้นั ทาดว้ ยไมแ้ กะสลกั ลวดลายงดงาม ตวั กลอง ทาดว้ ยไมข้ ึงหนงั สองหนา้ มีขนาดยาวต้งั แต่ 12 –
40เซนติเมตร ทาใหเ้ สียงไดม้ ากกวา่ 3 ช่วงทบ ตวั คอกที่แขวนกลองสูงประมาณ 1 เมตรประดบั
กระจกลายทอง ผเู้ ล่นจะนงั่ บนเกา้ อ้ีสูง ภายในคอกมองเห็นแตส่ ่วนบนของลาตวั และตีกลองดว้ ย
นิ้วมือแต่ไม่ไดจ้ งั หวะแบบกลองทวั่ ไป หากเป็นทานองเพลงซ่ึงเป็นคุณสมบตั ิเฉพาะของปัตตวาย
(เช่นเดียวกบั เปิ งมางคอกของมอญและใชเ้ ป็นเครื่องดนตรีนาวง)

http://thewandererschuckandkate.blogspot.com/

36

จีวาย (Kyiwaing)
จีวาย เป็นเคร่ืองดนตรีประเภทเดียวกนั กบั ฆอ้ งวงของไทยเพียงแตร่ ้านฆอ้ งทาดว้ ยไมป้ ิ ด

ทองประดบั กระจกเช่นเดียวกบั มองวาย จีวายชุดหน่ึงมี21 ลูก ใชบ้ รรเลงทานองเพลง ฆอ้ งวงพม่า
เรียงลูกฆอ้ งตามแนวนอนเช่นเดียวกบั ฆอ้ งไทย แต่ฆอ้ งมอญเรียงตามแนวนอนและต้งั ข้ึนท้งั สอง
ขา้ งคลา้ ยตวั U ภาษาทอ้ งถ่ินเรียก จีวาย วา่ จีนอง ก็มี

https://myanmarcenter.kpru.ac.th/myanmar/

มองซาย (Maung zaing)
มองซาย คือ ฆอ้ งรางชุด เป็นเคร่ืองดนตรีท่ีประกอบดว้ ยฆอ้ งป่ ุมขนาดตา่ งๆ กนั แขวนไว้

รางท่ีเป็นกรอบไมต้ รงๆรูปส่ีเหล่ียมไม่มีการประดบั ตกแต่งอยา่ งจีวาย หรือ มองซาย มีลูกฆอ้ ง
ท้งั สิ้น 18–19 ลูก เรียงกนั เป็ น 5 แถว ลูกฆอ้ งของมองซาย มีขนาดใหญก่ วา่ จีวาย รางฆอ้ งจะวางราบ
กบั พ้ืน ยกเวน้ กรอบท่ีบรรจุฆอ้ งลูกใหญ่ชุดที่เสียงต่าท่ีสุดจะวางพิงไวก้ บั จีวาย เมื่อออกแสดง มอง
ซายเป็นเคร่ืองดนตรีที่ปรับปรุงข้ึนใหมใ่ นราวปี 1920 – 1930

https://www.google.com/

37

หฺเน, เน (Hne)
เน เป็นเครื่องดนตรีประเภท Double reed Aerophonesหรือป่ี ลิ้นคู่ ทรงกรวยปากผาย มี

ลาโพงโลหะครอบต่อจากส่วนปลาย เช่นเดียวกบั ปี่ มอญเพียงแตป่ ากลาโพงไมบ่ านกวา้ งอยา่ งป่ี
มอญเครื่องประกอบจงั หวะในวงซายวาย ที่สาคญั ไดแ้ ก่ ช็อค ลอน บตั (Shauklonbut) หรือกลอง
สอง-หนา้ ท่ีจดั ไวเ้ ป็ นชุด ชุดหน่ึงมีกลอง 6 ลูก ใชต้ ีเป็นรูปแบบหรือกระสวนจงั หวะ ตามทานอง
เพลง แต่ละชุดประกอบดว้ ยกลองทรงถงั 4 ลูก โดยวางหนา้ กลองดา้ นหน่ึงลงบนพ้ืน มีกลองคลา้ ย
กบั ตะโพนไทย เรียกวา่ ซาห์กนุ (Sahkun) มีกลองใหญ่แขวนบนราว เรียกวา่ ปัตมา, พาทมา
(Patma) 1 ลูก ท้งั ชุดใชผ้ บู้ รรเลงคนเดียวเคร่ืองจงั หวะอ่ืนๆไดแ้ ก่ บีออ็ ก (Byauk) เกราะไม,้ วาเลต็
กอ๊ ก (wallet kok)กรับไมย้ าว 150 เซนติเมตร ยกั วนิ (Yakwin) ฉาบใหญเ่ ส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 30
เซนติเมตร

http://myanmargamelan.wordpress.com/instruments/

ซี (Si) ฉ่ิง, มอง (Mong) ฆอ้ งหุ่ย นอกจากน้นั ยงั มีกลองขนาดตา่ งๆ กนั ที่ตีประกอบบท
เพลงเฉพาะกรณีอีกดว้ ยซายวายใชบ้ รรเลงประกอบละคร และการแสดงต่างๆเกือบทุกประเภท
รวมท้งั ประกอบพธิ ีกรรมเกี่ยวกบั วญิ ญาณ และพธิ ีทางพุทธศาสนาดว้ ย การบรรเลงประกอบละคร
วงซายวายอาจจะบรรเลงเพลงพิเศษขนาดเล็กที่เหมาะสมกบั เหตุการณ์หรือเฉพาะตวั ละคร
นอกจากน้นั ยงั มีเพลงที่ใชใ้ นพธิ ีกรรมทางวิญญาณ ที่เรียกวา่ นตั พเว(Nat pwe) ซ่ึงมีเพลงท้งั ชุดรวม
37 เพลง แตล่ ะเพลงสาหรับเทพแตล่ ะองค์ ผแี ต่ละตนบทเพลงเหล่าน้ีเป็นที่เขา้ ใจและรู้ความหมาย
กนั ดีในหมูช่ าวพม่า บทเพลงอีกชนิดหน่ึงที่เป็นวฒั นธรรมของพม่ากค็ ือ นารา ไล กา (Nara lei hka)
ที่รวบรวมข้ึนในศตวรรษที่17 ประกอบดว้ ยเพลงพิธีกรรมทางศาสนา 37 เพลง และเพลงสาหรับ
ดวงวญิ ญาณพมา่ (นตั – Nat) ที่เกี่ยวขอ้ งกนั อีก 37 เพลง

38

วงดนตรีและเคร่ืองดนตรีอ่ืนๆ
แมว้ า่ วงซายวายจะเป็นวงดนตรีท่ีใหญท่ ่ีสุดและสาคญั ท่ีสุดของพม่ากต็ าม แตย่ งั มีวงอื่นๆ อีก วงดนตรี

ดงั กล่าวน้ีเรียกชื่อตามชนิดของกลองที่นามาใช้ เพราะกลองแตล่ ะชนิดจะทาหนา้ ท่ี เฉพาะท่ี เหมาะสมกบั
กาลเทศะ ไดแ้ ก่ วงสีดอ (Si daw) วงบองจี (Bon gyi) วงโอซ่ี (O-zi) วงโดบตั (Do-bat) และ วงบยอ (Byaw)
เป็ นตน้

Saung

พณิ พม่า

https://myanmarcenter.kpru.ac.th/

พิณพม่า ซองกอ๊ ก (SaungGauk) เครื่องดนตรีประเภทน้ีจดั อยใู่ นประเภทbowed harp ในประเทศพมา่
มี 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ ชนิดที่เกิดจากภูมิปัญญาของชนเผา่ มอญ และกะเหร่ียง ซ่ึงอาศยั อยทู่ างชายแดนไทยพมา่
ส่วนอีกชนิดหน่ึงเป็ นชนิดที่พฒั นาไปจนมีความงามวจิ ิตรพสิ ดาร เป็ นเครื่องดนตรีในราชสานกั พณิ ชนิดแรก
เป็นเครื่องดนตรีพ้นื เมืองมีสายระหวา่ ง 5 – 7 สายข้ึน สายดว้ ยลูกบิด เครื่องดนตรีชนิดน้ีชาวกะเหรี่ยงแถบ
ตะนาวศรีในประเทศไทยเรียกวา่ นาเด่ย ส่วนกระเหรี่ยงทางแม่ฮอ่ งสอนชาวปกากะยอ เรียกวา่ เตน่า / เต
หน่าฮาร์พชนิดเดียวกนั น้ี ชาวกะตูใ้ นลาวตอนใต้ เรียกวา่ ตะลือ เครื่องดนตรีชนิดน้ีผเู้ ขียนเช่ือวา่ เป็นตน้ แบบ
ใหเ้ กิด ซองกอ๊ กในราชสานกั พม่า ส่วนอีกชนิดหน่ึงเป็นชนิดที่พฒั นาแลว้ ใชว้ ธิ ีข้ึนสายดว้ ยการผกู เชือกเป็น
เงื่อนปมอนั ชาญฉลาด และมีสายถึง 14 สาย ฮาร์พชนิดน้ีแต่เดิมเรียกวา่ คอน(Con) แต่ในปัจจุบนั เรียกวา่

39

ซองก็อก นกั วชิ าการบางท่านอา้ งวา่ พิณชนิดน้ีมีความสมั พนั ธ์กบั ฮาร์พ ของชาวเมโสโปโตเมียโบราณ ซ่ึง
ตอ่ มาไดม้ ีการนาไปใชใ้ นราชสานกั กษตั ริยช์ าวพทุ ธแห่งอินเดียโบราณ แตก่ ข็ าดหลกั -ฐานสนบั สนุน
นอกจากน้นั คาวา่ “วณี า vina” ท่ีเป็นภาษาสนั สกฤตกไ็ มม่ ีใช้ ในภาษาพม่าดว้ ย ( Grove p.470) มีการพบพณิ
ฮาร์พแบบน้ีเป็นสภาพสลกั นูนต่าที่ศรีเกษตรา (Sri ksetra) ท่ีพมา่ เรียกวา่ ทายคี ิตตยา (Thayei-hkittaya) ซ่ึง
สร้างข้ึนในราวศตวรรษท่ี 7 ประมาณ ปี พ.ศ. 1,500 และเป็นภาพวงดนตรีที่อาจเป็นไปไดว้ า่ เป็นวงดนตรีที่
ส่งไปบรรเลงในราชสานกั จีน ท่ีเมืองฉางอาน ในปี คศ. 801-802 ซ่ึงน่าจะเป็นวงประสมระหวา่ ง “พย”ู พมา่
ตอนเหนือ กบั “ มอญ ” พม่าตอนใตก้ เ็ ป็นได้ วงดนตรีดงั กล่าวน้ีใชพ้ ิณฮาร์พท่ีมีลูกบิดทาดว้ ยไมน้ อกจากน้นั
พงศาวดารพมา่ ยงั ไดก้ ล่าวถึงพณิ ฮาร์พที่เมืองพกุ าม (Pagan) ซ่ึงต้งั อยบู่ นท่ีราบกลางของประเทศวา่ มีวง
ดนตรีสาหรับเฉลิมฉลอง มีนกั ดนตรีสตรีบรรเลงพณิ ฮาร์พ ในราชสานกั มีภาพสลกั ที่พระเจดียใ์ นเมือง เป็ต-
เลียก(Hpet-leik) ทางตะวนั ตกของประเทศ แสดงใหเ้ ห็นวา่ รูปพณิ ฮาร์พที่ปรากฎน้นั เป็ นวงโคง้ อยา่ งงดงาม
ดว้ ยฝีมือช่างมอญทางตอนใต้ อยา่ งไรก็ตามมีหลกั ฐานวา่ มีอิทธิพลอินเดียเขา้ มาสู่เมืองพุกามบา้ งแลว้ ใน
ศตวรรษที่ 11-12

พณิ พมา่ ชนิดที่ปรับปรุงอยา่ งงดงามแลว้ ปรากฏในราชวงศพ์ ม่าที่เมือง อวา(Ava) ซ่ึงอยทู่ างตอนเหนือ
ของระหวา่ งปี 1,364 – 1,555 แตพ่ งศาวดารฉบบั มว้ นท่ีเขียนดว้ ยมือสมยั ราชวงศก์ อน – บอง (Kon-bauna)
ระหวา่ งปี 1,752 – 1,885 ที่ปรากฏภาพพิณพมา่ ทรงเพรียว อ่อนชอ้ ย ข้ึน เสียงดว้ ยปมเชือก และกล่องเสียง
เป็นรูปเรือ มีห่วงเล็กๆอยใู่ ตค้ นั ทวนดว้ ย เป็นไปไดว้ า่ พณิ ชนิดน้ีประดิษฐข์ ้ึนโดย “เมียวดีมินคยี อู สะ”
(Myo-wadi Min-gyi U Sa) ซ่ึงมีชีวติ อยูร่ ะหวา่ งปี 1855-1933 โดยเพมิ่ สายที่ 14 ซ่ึงเป็นสาย ส้นั ท่ีสุดเขา้ ไป
ตอ่ มากระทรวง วฒั นธรรมไดอ้ นุญาตให้เพมิ่ สายเขา้ ไปอีก 2 สาย จนทาใหซ้ องกอ๊ กมีสาย ถึง 16 สายใน
ปัจจุบนั คนั ทวนอนั อ่อนชอ้ ยของซองกอ๊ ก ทาดว้ ยรากไมท้ รงโคง้ ที่พม่าเรียกวา่ กอ๊ ก (gauk)

โดยทามาจากรากของตน้ ชา-Sha ( ช่ือพฤกษศาสตร์ Acacea catechu ตน้ สีเสียด ) ขดั แต่งจนได้
เส้นผา่ ศูนยก์ ลางประมาณ 2.8 เซนติเมตร ตอนปลายทาใหผ้ ายออกเป็ นรูปใบโพธ์ิ ตามคติพทุ ธ (แตใ่ นทาง
ปฎิบตั ิใชส้ าหรับแนบหูเพอ่ื ฟังเสียงเวลาต้งั สาย – Kit Young) ตวั กล่องเสียงทาดว้ ยไม้ ปาดอ็ ก (Padauk
ช่ือพฤษศาสตร์ Plerocapusmacrocpusตน้ ประดู่) ที่มีคุณภาพดี บาง เบา เป็นรูปโคง้ คลา้ ยเรือ ส่วนหวั ที่ติดกบั
คนั ทวนโคง้ ข้ึนเลก็ นอ้ ย ขดั ใหเ้ รียบแลว้ ทาดว้ ยน้ามนั พ้นื เมือง ส่วนท่ีใชผ้ กู สายตอ่ จากกล่องเสียงปิ ดสนิท
ดว้ ยหนงั กวางสดเขา้ กบั ตวั กล่องเสียงอยา่ งแนบเนียน เผยใหเ้ ห็นเพยี งส่วนกลางของหนงั ที่จะใชผ้ กู สาย
เท่าน้นั ส่วนห่วงท่ีอยใู่ ตค้ นั ทวนใชเ้ ป็นเคร่ืองตกแตง่ และอาจใชย้ นั ไวจ้ ากเขา่ เวลาจะข้ึนสาย เนื่องจากตอ้ ง
ใชแ้ รงมากหนงั กวางที่ปิ ดหนา้ เม่ือแหง้ แลว้ จะตอ้ งทาทบั ดว้ ยแลคเกอร์หลายช้นั แลว้ ฉาบดว้ ยของเหลวสีแดง
ท่ีเป็นผลิตภณั ฑพ์ ้ืนเมืองใหส้ วยงาม ข้นั สุดทา้ ยจึงทาทบั ดว้ ยน้ามนั พิเศษ จากรัฐฉานให้ทวั่ ท้งั ตวั เพ่ือ ใหเ้ กิด
เงางาม สายของซองก๊อกแต่เดิมทาดว้ ยไหมดิบฟั่นดว้ ยมือ ปัจจุบนั ใชไ้ นลอน สายของซองก๊อกจะ ผกู ติดกบั

40

เชือกท่ีพนั ไขวไ้ วก้ บั คนั ทวนดว้ ยเง่ือนปมพเิ ศษ สามารถเลื่อนใหต้ ึงหยอ่ นเพ่อื ปรับเสียงของสายไดด้ ว้ ยการ
หมุนหรือเล่ือนข้ึนลงเพยี งเล็กนอ้ ย แต่เดิมในระหวา่ งท่ีทาซองก๊อกจะมีพิธีกรรมเชิญผี (nat)ใหเ้ ขา้ มาสิงสถิต
อยใู่ นตวั พิณ เพ่ือใหม้ ีเสียงดีเป็นที่นิยมดว้ ย ปัจจุบนั อาจเลิกไปแลว้

วงดนตรีในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมา

ซายวาย : วงป่ี พาทย์พม่า

http://srnartmusic.blogspot.com/p/1.html

ซายวาย มีความหมายไดส้ องนยั นยั หน่ึงหมายถึง เปิ งมางคอก และอีกนยั หน่ึงหมายถึง วงป่ี พาทยท์ ี่
มีเปิ งมางคอกเป็ นเครื่องดนตรีชิ้นเอก และอาจเรียกวงป่ี พาทยช์ นิดน้ีวา่ ปัตซาย ส่วนตวั เปิ งมางคอกน้นั จะ
เรียกวา่ ปัตวาย

ซายวายเป็นวงดนตรีประจาชาติของพม่า ท่ีใชใ้ นงานพธิ ีและงานบนั เทิง มีเล่นท้งั ในงานหลวง
งานวดั และงานราษฎร์ ปัจจุบนั พม่ายงั คงมีความนิยมนาวงซายวายมาเล่นในงานพิธีตา่ งๆ เช่น งานบวช งาน
เจาะหู งานทรงเจา้ งานรับปริญญา และงานตอ้ นรับแขกบา้ นแขกเมือง เสียงดนตรีท่ีบรรเลงจากวงซายวาย
น้นั มีลีลาเคร่งขรึม แต่นุ่มนวล ใหท้ ้งั อารมณ์สนุกสนาน เร้าใจ และโศกสลด ซายวายจึงนบั เป็นวงดนตรีที่
เล่นไดห้ ลายรสและถือเป็นเอกลกั ษณ์ทางคีตศิลป์ อยา่ งหน่ึงของพมา่

จากบนั ทึกการส่งคณะนกั ดนตรีชาวพยไู ปเจริญสมั พนั ธไมตรีกบั จีนในปี ค.ศ.๘๐๒ ไมม่ ีการ
กล่าวถึงซายวาย อีกท้งั ภาพฝาผนงั ในพระเจดียอ์ นนั ดาท่ีพุกามในราว ค.ศ.๑๐๘๔ ก็ไม่พบภาพของซายวาย
ซายวายเพงิ่ มีกล่าวในพงศาวดารพมา่ ฉบบั หอแกว้ หรือ มงั นนั ยาซะวงี วา่ ในเมียนมาศกั ราช ๙๐๖ ซ่ึงตรงกบั

41

ปี ค.ศ. ๑๕๔๔ น้นั พระเจา้ ธรรมราชาชเวที หรือ พระเจา้ ตะเบงชเวต้ีแห่งตองอูไดย้ กทพั ไปยงั เขตฉาน เมื่อ
ถึงเมืองสะหล่ิน พระองคไ์ ดต้ ้งั ทพั ณ ทา่ น้าเมืองน้นั ซ่ึงกาลงั มีงานฉลองพระเจดีย์ เมื่อพระเจา้ ตะเบงชเวต้ีได้
ทรงสดบั เสียงดนตรีจากงานฉลองน้นั จึงทรงไต่ถามขา้ ราชบริพาร และทรงทราบวา่ เป็ นเสียงของปัตซาย
หรือวงพาทย์ พระองคจ์ ึงมีรับสงั่ ใหน้ าคณะดนตรีน้นั กลบั ตองอู หลงั จากมีชยั ชนะตอ่ เมืองสะหลิ่น จาก
หลกั ฐานท่ีกล่าวน้ี จึงพออนุมานไดว้ า่ วงซายวายน่าจะเขา้ สู่ราชสานกั พม่ามานบั แต่น้นั

ในสมยั องั วะ ซายวายยงั เป็นเพียงวงดนตรีธรรมดา ที่ไมม่ ีความอลงั การเช่นปัจจุบนั ในหนงั สือ
เก่ียวกบั ดนตรีเคร่ืองหนงั ชื่อ เมียนมะตะเยดูริยา กล่าววา่ ปัตวายเป็นกลองชุดวางเรียงเป็ นรูป
พระจนั ทร์คร่ึงซีกอยา่ งเปิ งมางของมอญ และเรียกวา่ ละชางซาย พอถึงสมยั คอนบองรูปทรงปัตวายได้
เปล่ียนมาเป็นรูปวงกลม และมีการตกแตง่ เครื่องดนตรีให้ดูงดงาม อาทิ สลกั คอกเปิ งมางเป็นรูปนกยงู หรือ
รูปกินนร เป็นตน้ ซ่ึงเขา้ ใจวา่ เริ่มในสมยั ของพระเจา้ ตายาวะดีหรือ ชเวโบมีง (ค.ศ.๑๘๓๗-๑๘๔๖) จนต่อมา
ในสมยั รัตนบุระองั วะจึงมีการลงทองติดกระจกที่ตวั ปัตวายใหด้ ูวจิ ิตรยง่ิ ข้ึน

ในสมยั ราชวงศน์ ้นั กล่าววา่ มีการตกแตง่ รูปลกั ษณ์ของซายวายใหง้ ดงามสมตามศกั ด์ิฐานะอีกดว้ ย
อาทิ เส่งซายด่อเป็ นซายวายเพชรสาหรับกษตั ริย์ จะปิ ดทองลงกระจกสีขาว มยะซายด่อ เป็นซายวายมรกต
สาหรับอุปราช จะตกแต่งดว้ ยกระจกสีเขียว ปัตตะมยาซายด่อเป็นซายวายทบั ทิมสาหรับอามาตย์ จะประดบั
ดว้ ยกระจกสีแดง นวรัตซายด่อ เป็นซายวายนพรัตนส์ าหรับอามาตยช์ ้นั รองลงมา จะประดบั ดว้ ยกระจก
หลากสี และชเวซายด่อ เป็นซายวายประดบั สีทอง และหง่วยซายด่อ เป็นซายวายประดบั สีเงิน ใชบ้ รรเลงกบั
การแสดงละครในราชสานกั

ในสมยั ที่พมา่ ตกเป็นอาณานิคมขององั กฤษ มีการปิ ดทองท้งั คอกปัตวายและคอกฆอ้ งวง พร้อมท้งั มี
การสลกั คานแขวนกลองใหญ่หรือปัตมะจีเป็นรูปนาค วงซายวายท้งั วงจึงดูตระการตา พอหลงั สงครามโลก
คร้ังที่ ๒ นิยมทาคานแขวนกลองใหญเ่ ป็ นตวั เบญจรูป หรือ ปิ งซะรูปะตวั เบญจรูปน้นั เป็นสตั วใ์ น
จินตนาการ มีรูปผสมของสตั ว์ ๕ ชนิด คือ ส่วนหวั มีงวงและงาอยา่ งชา้ ง มีเขาอยา่ งตวั โตมีขาอยา่ งมา้ มีปี ก
อยา่ งนก และมีหางอยา่ งปลาตวั เบญจรูปเป็นท้งั สัตวบ์ ก สัตวน์ ้า และสัตวป์ ี ก สามารถอยไู่ ดท้ ้งั บนบก ในน้า
และกลางเวหา ตามคติของชาวพมา่ เชื่อวา่ ตวั เบญจรูปเป็ นสตั วท์ ่ีใหค้ ุณ ปกป้องสิ่งร้าย และเป็นเคร่ืองหมาย
แห่งพละกาลงั และความปราดเปรียว

วงซายวายเป็นวงดนตรีพ้นื เมืองวงใหญส่ ุดของพม่า เคร่ืองดนตรีสาหรับวงซายวาย มี ๑๒ ชิ้นเป็น
อยา่ งนอ้ ย มีท้งั เคร่ืองหนงั เคร่ืองโลหะ และเคร่ืองไม้ เป็นวงดนตรีท่ีมีเฉพาะเครื่องตีและเครื่องเป่ า ไมม่ ี
เครื่องสี เคร่ืองดนตรีท้งั ๑๒ ชิ้นในวงซายวาย ไดแ้ ก่ เปิ งมางคอก กลองใหญ่ กลองส้ัน ตะโพน กลองชุดหก
ใบ ฆอ้ งวง ฆอ้ งแผง ฉิ่ง ฉาบ เกราะ กรับไมไ้ ผ่ และปี่ แน

42

ปัตวายหรือเปิ งมางคอกประกอบดว้ ยกลองยอ่ ย ๒๑ ลูกที่เรียกวา่ ปัตโลงแขวนเรียงในคอก แตล่ ะลูก
มีขนาดและระดบั เสียงตา่ งกนั ก่อนเล่นตอ้ งปรับเสียงดว้ ยจ่ากลอง ที่เรียกวา่ ปัตส่า ซ่ึงทาจากขา้ วสุกผสม
ข้ีเถา้ โดยนามาแปะติดที่หนา้ กลอง ข้ีเถา้ ท่ีใชท้ าจ่ากลองไดจ้ ากเน้ือไมม้ ะขาม ซ่ึงมีความเคม็ นอ้ ย ไม่ทาให้
เป็นเหง่ือที่หนา้ กลอง ในหนงั สือ The New Grove Dictionary of Music and Musicians ของ Stanley Sadie
(๑๙๘๐) กล่าววา่ ปัตวายพม่ามีรูปลกั ษณ์และใชเ้ ทคนิคการถ่วงเสียงคลา้ ยกบั เคร่ืองดนตรีท่ีพบในอินเดีย
โบราณ ปัตวายจึงน่าจะไดร้ ับอิทธิพลมาจากอินเดีย

ในบรรดาเคร่ืองดนตรีที่เล่นในวงซายวายน้นั ปัตวายเป็ นเครื่องดนตรีท่ีเล่นยากที่สุด ผเู้ ล่นจะตอ้ ง
รู้จกั การปรับเสียงกลองท้งั ๒๑ ลูกจนชานาญ ในขณะเล่นจะตอ้ งบรรเลงใหส้ อดคลอ้ งกบั เสียงระนาด เสียง
ฆอ้ ง เสียงปี่ และตอ้ งตีใหเ้ ขา้ จงั หวะฉาบและกรับไมไ้ ผ่ นกั ตีปัตวายที่เก่งจะตอ้ งแม่นยาในจงั หวะ จึงจะทา
ใหก้ ารบรรเลงวงซายวายน่าฟังและมีรสชาติ ในวงซายวายน้ีผเู้ ล่นปัตวาย จะไดร้ ับการยกยอ่ งเป็นครูซายวาย
และมกั จะเป็นหวั หนา้ วงดว้ ย นอกเหนือจากปัตวายซ่ึงเป็นเครื่องดนตรีชิ้นเด่นของวงซายวายแลว้ ยงั มีเคร่ือง
ดนตรีชิ้นอ่ืนร่วมบรรเลงอยดู่ ว้ ยดงั น้ี

กลองใหญ่ หรือ ปัตมะจี นาเขา้ มาเล่นร่วมวงซายวายต้งั แต่สมยั พระเจา้ มินดง เป็นเคร่ืองดนตรีท่ีช่วย
เพิม่ เสียงใหด้ งั กระห่ึม เสียงทุม้ ของปัตมะจีจะขบั เคี่ยวกบั เสียงแหลมของฉาบ

กลองส้ัน หรือ สี่โด่ นาเขา้ มาผสมในวงซายวายราวปลายสมยั ของพระเจา้ ธีบอ ตวั กลองมกั ทาจาก
ไมป้ ระดู่ ซ่ึงเป็นไมท้ ่ีตีให้เสียงสดใส ส่วนหนงั ที่นามาขึงหนา้ กลองน้นั ทาจากหนงั ววั

ตะโพน หรือ ซะคุ่น กล่าวกนั วา่ พมา่ รับมาจากไทยในสมยั ของพระเจา้ มินดง ชื่อของซะคุน่ ยงั
ปรากฏเคา้ ของคาเดิม ตวั กลองทาดว้ ยไมป้ ระดู่และขึงหนา้ กลองดว้ ยหนงั ววั เช่นกนั

กลองชุดหกใบ หรือ เช่ากโ์ ลงปัต มีลกั ษณะคลา้ ยกลองปัตวาย แต่ไม่แขวนเป็นคอก กลองชนิดน้ี
เป็นกลองชุด ๖ ใบ วางเรียงไล่ขนาดจากใหญไ่ ปเลก็ เช่ากโ์ ลงปัตจะใหเ้ สียง ๖ ระดบั ใชบ้ รรเลงควบไป
กบั ปัตวายและฆอ้ งวง

ฆอ้ งวง หรือ เจวาย ประกอบดว้ ยลูกฆอ้ ง ๑๙ ลูก วางบนคอกทรงโคง้ ท่ีวางราบกบั พ้นื พมา่ เรียกลูก
ฆอ้ งวา่ เจหน่อง ฆอ้ งวงถือเป็ นเคร่ืองดนตรีสาคญั รองจากปัตวาย ผตู้ ีเจวายมกั มีตาแหน่งเป็นรองหวั หนา้ วง
ซายวาย เรียกวา่ เจหน่องตี หากพฒั นาฝีมือไดด้ ี กอ็ าจไต่ลาดบั เป็นผูเ้ ล่นปัตวายได้ เจวายจะตีไล่เสียงปี่ แนและ
ตีนาในการบรรเลงโหมโรง

ฆอ้ งแผง หรือ มองซาย เป็นฆอ้ งชุดท่ีขึงเป็นแผง มี ๑๘ ลูก เริ่มนามาเล่นในวงซายวายเมื่อราว ค.ศ.
๑๙๔๐

43

ฉาบ หรือ ละกวงี เป็นเครื่องดนตรีที่ใหเ้ สียงแหลม ใชต้ ีเพิ่มเสียงใหก้ บั วง

ฉิ่ง หรือ ซี เป็นเครื่องดนตรีกากบั จงั หวะ ฉิ่งพม่ามีขนาดเล็ก ดูคลา้ ยฉิ่งจีนมากกวา่ ฉิ่งไทย

เกราะ หรือ วา เป็นเครื่องประกอบจงั หวะคูก่ บั ฉ่ิง ฉิ่งและเกราะ ซ่ึงมกั เรียกพร้อมกนั วา่ ซีวา เป็นตวั
เล่นคุมจงั หวะในวงซายวาย และในวงดนตรีพ้ืนเมืองประเภทอ่ืนของพมา่ พมา่ มีสานวน “ไมเ่ ขา้ จงั หวะจะ
โคน” โดยฟังจากการเขา้ จงั หวะของเกราะกบั ฉ่ิง วา่ ซีล็วดวาล็วด หรือ ซีมะไกว้ ามะไก้ นกั ดนตรีจะตอ้ งให้
ความสาคญั ต่อฉิ่งและเกราะ และหา้ มกา้ วขา้ มฉ่ิงและเกราะเป็นอนั ขาด

กรับไมไ้ ผ่ หรือ วาและโคะ๊ ทาดว้ ยลาไมไ้ ผผ่ า่ ซีก ใชต้ ีประกบกากบั จงั หวะ

ป่ี แน หรือ แน (Oac) มีสองขนาด ขนาดใหญ่ เรียกวา่ แนจี (OacEdut) และขนาดเลก็ เรียกวา่ แนเล
ใชเ้ ป่ าไล่ตามเสียงปัตวาย บางคร้ังใชเ้ ป่ าเลียนเสียงคนหรือเสียงดนตรีชิ้นอื่น

หากเปรียบวงซายวาย กบั วงปี่ พาทยม์ อญในไทย และของลา้ นนาแลว้ นบั วา่ มีความแตกต่างในส่วน
ของดนตรีประกอบวงอยบู่ า้ ง ในหนงั สือ "ดนตรีไทย โครงสร้าง อภิธานศพั ทแ์ ละสารสงั เขป" เรียบเรียงโดย
ทรงวทิ ย์ แกว้ ศรี กล่าวถึงวงปี่ พาทยม์ อญเครื่องใหญ่ในไทยวา่ ประกอบดว้ ย เคร่ืองดนตรี ๑๔ ชิ้น คือ ป่ี มอญ
ระนาดเอก ระนาดทุม้ ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุม้ เหลก็ ฆอ้ งวงใหญ่ ฆอ้ งวงกลาง ฆอ้ งวงเล็ก ตะโพนมอญ
เปิ งมางคอก ฉ่ิง ฉาบใหญ่ ฉาบเลก็ โหมง่ (ฆอ้ งราว) สาหรับวงซายวายของพม่าน้นั ถือเอาปัตวายหรือเปิ งมาง
คอกเป็นตวั ชูโรง มีเสียงปี่ แนเป็นตวั เสริม และวงปี่ พาทยพ์ มา่ ไมม่ ีระนาดร่วมเล่นอยา่ งวงป่ี พาทยไ์ ทย ท่ีจริง
พม่ากม็ ีระนาด แต่จดั เป็ นเคร่ืองดนตรีมอญ พม่านิยมเล่นระนาดในการแสดงท่ีเรียกวา่ อะเญ่ง ซ่ึงมีจงั หวะ
นุ่มนวล และไม่ดงั อึกทึกอยา่ งวงซายวาย อะเญง่ จดั เป็นการแสดงแบบแชมเบอร์มิวสิค ในขณะท่ีซายวายเป็น
วงดนตรีแบบออเครสตา้ ท้งั อะเญ่งและซายวายตา่ งเป็นการแสดงในราชสานกั และจากการท่ีซายวายเป็นวง
ดนตรีท่ีมีเสียงดงั กระห่ึม จึงเหมาะท่ีจะแสดงกลางแจง้ หรือในหอ้ งโถง

วงซายวายจะมีผเู้ ล่นราว ๗ คน จนถึง ๑๐ กวา่ คน ผเู้ ล่นสาคญั ไดแ้ ก่ ซายสะยา หมายถึงครูปัตวาย เจ
สะยา หมายถึงครูฆอ้ งวง ปัตมะตี เป็นคนตีกลองใหญ่ แนสะยา (OacCik) หมายถึงครูป่ี และเทา่ กป์ ัตมะตี
เป็นผชู้ ่วยกลองใหญ่ ส่ีตีเป็นคนตีฉิ่ง และวาตีเป็นคนตีกรับ นอกจากน้ีอาจจะมีมองตีหรือคนตีฆอ้ ง คนตีฉาบ
ใหญ่ ฉาบกลาง ฉาบเลก็ ช่างป่ี ใหญ่ ปี่ เล็ก ท้งั น้ีตามแตข่ นาดของวง

การจดั วางเครื่องดนตรีซายวายในเวลาบรรเลงน้นั ปัตวาย ซ่ึงถือเป็นเครื่องดนตรีชิ้นสาคญั จะตอ้ ง
วางอยสู่ ่วนหนา้ ของวง ขนาบดว้ ยปัตมะจีทางดา้ นซา้ ย กบั เจวายทางดา้ นขวา เคร่ืองดนตรีท้งั สามชิ้นน้ี
จดั เป็นเคร่ืองดนตรีแถวหนา้ เรียกวา่ เชะตาน ส่วนเคร่ืองดนตรีที่เหลือจะจดั วา่ เป็นกลุ่มแถวหลงั เรียกวา่
เน่ากต์ าน และเรียกผบู้ รรเลงดนตรีแถวหลงั น้ีวา่ เน่ากไ์ ถ่ แปลวา่ "นง่ั หลงั " นอกจากนกั ดนตรีแลว้ ในวงซา

44

ยวายอาจมีนกั ร้องและตวั ตลกประจาวง คอยเล่นประกอบอยสู่ ่วนหลงั ของวง จึงเรียกวา่ เน่ากท์ ะ แปลวา่ "ลุก
จากดา้ นหลงั "

พมา่ จดั แบ่งซายวายไว้ ๔ ประเภท คือ บะลาซาย เป็นการบรรเลงประโคมในงานพิธี อาทิ งานบวช
งานเจาะหู งานศพ งานฉลองพระเจดีย์ โยะ๊ เตซาย เป็นป่ี พาทยบ์ รรเลงประกอบการเล่นหุ่นชกั ซตั ซาย เป็นปี่
พาทยใ์ ชเ้ ล่นประกอบละคร และนตั ซาย เป็นป่ี พาทยท์ ่ีใชแ้ สดงประกอบการลงทรงเทพนตั หรืองานทรงเจา้
ในการบรรเลงซายวายแต่ละประเภทน้นั จะตอ้ งใชเ้ ทคนิคการบรรเลงที่แตกตา่ งกนั แต่ผเู้ ล่นซายวายเก่งๆจะ
สามารถเล่นบรรเลงไดท้ ุกประเภท

นบั แตท่ ่ีพระเจา้ ตะเบงชเวต้ีนาวงซายวายมาสู่ราชสานกั การเล่นซายวายก็เป็นท่ีนิยมเร่ือยมา
โดยเฉพาะสมยั องั วะและคอนบองน้นั ถือเป็นยคุ รุ่งเรืองทางศิลปะการดนตรีและการละครท้งั ในและนอก
ราชสานกั สาหรับซายวายนิยมเล่นในงานพระราชพธิ ี และใชบ้ รรเลงประกอบการแสดงละครและหุ่นชกั
นอกจากน้ียงั นิยมนาวงซายวายมาเล่นในงานทรงเจา้ ตามที่มีกล่าวในหนงั สือ ป่ างตยาคีตะลางญน่ วา่ ใน
สมยั ของพระเจา้ โพด่อ มยะวดีมีงจีอูซะไดร้ วบรวมเพลงนตั ท่ีเคยมีมาแต่อดีต และมีการใชว้ งซายวายเล่น
ประกอบเพลงมอญในการทรงเจา้

พอในสมยั พระเจา้ มินดง พม่าเร่ิมมีการติดตอ่ กบั ตา่ งประเทศมากข้ึน จึงไดม้ ีเครื่องดนตรีตะวนั ตก
เขา้ มาในราชสานกั เช่น เปี ยนโนท่ีชาวอิตาลีนามาถวาย แต่ซายวายน้นั กย็ งั คงเป็นท่ีนิยมดงั เดิม ในสมยั พระ
เจา้ มินดงจนถึงสมยั พระเจา้ ธีบอ คือในช่วงปี ค.ศ.๑๘๕๒-๑๘๘๕ ราชสานกั ไดใ้ หก้ ารอุปถมั ภค์ ีตศิลป์ เป็น
อยา่ งมาก ผทู้ ่ีมีความสามารถในการดนตรีจะไดร้ ับการยกยอ่ งเป็นพเิ ศษ มีการพระราชทานทินนามและปูน
บาเหน็จรางวลั ใหแ้ ก่นกั ดนตรีเหล่าน้นั ในหนงั สือ Burmese Puppet กล่าววา่ ในปี ค.ศ.๑๘๕๗-๑๘๘๕ นกั
ดนตรีบางคนไดร้ ับตาแหน่งเป็นถึงเจา้ เมือง หวั หนา้ หมูบ่ า้ น สามารถเกบ็ ภาษีจากชาวบา้ นมาเป็นบาเหน็จ
เล้ียงชีพ ต่อมาในสมยั ของพระเจา้ มินดงจึงเร่ิมไดร้ ับเงินเดือนจากราชสานกั นอกจากน้ียงั มีการต้งั ฉายา
ใหก้ บั นกั ดนตรีฝีมือเลิศ อาทิ ซายพะยา หรือ ซายบะยงี แปลวา่ "เจา้ แห่งซายวาย" ดงั เช่น สะยาเส่งเบดา
ไดร้ ับฉายาดงั กล่าวในปลายสมยั พระเจา้ ธีบอ และเคยไดร้ ับการยกยอ่ งจากราชสานกั ใหเ้ ป็น เนมะโยบะละ
จ่อตูบว้ ยซายสะยาจี กินส่วยภาษีไดถ้ ึง ๑๐ เมือง และพมา่ ยงั ยกยอ่ งสะยาเส่งเบดาเป็นศิลปิ นแห่งชาติ หรือ
อนุปิ ญญาฉี่ง ปัจจุบนั มีรูปหล่อสัมฤทธ์ิของสะยาเส่งเบดา ต้งั อยู่ ณ โรงเรียนศิลปะ ที่เมืองมณั ฑะเล

ช่วงแรกที่พม่าท้งั ประเทศตกเป็นอาณานิคม คือในช่วง ค.ศ.๑๘๘๖ จนตน้ ศตวรรษที่ ๑๙ วงซายวาย
ไดเ้ ร่ิมซบเซาลง นกั ดนตรีขาดผอู้ ุปถมั ภ์ การแสดงในงานราชสานกั หมดไป แต่การแสดงกลางแจง้ หรือ มเย
วายซตั กลบั ไดร้ ับความนิยมแทน โดยเฉพาะการแสดงละคร และการเล่นหุ่นชกั ในยคุ น้นั เริ่มมีหนงั เงียบเขา้
มาฉาย จึงเกิดเพลงบรรเลงแนวใหม่ข้ึนมา เป็ นเพลงประกอบหนงั เพลงโฆษณาสินคา้ พ้ืนเมือง อาทิ ผา้ โสร่ง

45

เมืองยอ ร่มเมืองพะสิม และบุหร่ีพมา่ นอกจากน้ียงั มีการแต่งเพลงพุทธศาสนา พอในยคุ ที่พมา่ ต่อตา้ นเจา้
อาณานิคม จึงไดม้ ีการเล่นซายวายเป็นเพลงเพ่อื การปฏิวตั ิ หรือ เพลงทางการเมือง ในสมยั น้นั เร่ิมมีการผลิต
แผน่ เสียง หรือ ดตั -ปยา จึงทาใหเ้ พลงบรรเลงซายวายกระจายไปทว่ั ประเทศ แตเ่ น่ืองจากมีขอ้ จากดั ดา้ นการ
บนั ทึกเสียง ซ่ึงบนั ทึกไดเ้ พียง ๖ นาทีต่อแผน่ เพลงบรรเลงซายวายจึงตอ้ งส้ันลง ซายวายจึงไดเ้ ปลี่ยนไปจาก
เดิมท่ีเคยเล่นกนั มา

พอถึงยคุ สังคมนิยม ซ่ึงถือเป็นยคุ เทปคลาสเซท ไดเ้ กิดวงดนตรีสมยั ใหม่ ท่ีใชเ้ ครื่องดนตรีตะวนั ตก
ท้งั วง ซ่ึงเรียกวา่ ตีวาย กีตาร์เป็นเคร่ืองดนตรียอดนิยม เพลงจานวนมากจึงเป็ นเพลงทานองฝร่ัง อาทิ
เพลงร็อค และเพลงดิสโก อยา่ งไรก็ตามยงั มีการพฒั นาเพลงพ้นื บา้ นเป็นเพลงแนวลูกทุง่ เครื่องดนตรีหลกั ท่ี
ใชเ้ ป็นแมนดาริน ส่วนซายวายน้นั มกั นิยมบรรเลงในเพลงทางศาสนาและเพลงทรงเจา้ เป็นส่วนใหญ่ พอถึง
ยคุ ปัจจุบนั น้ีซ่ึงเป็ นยคุ สมยั ของซีดีรอมน้นั ไดม้ ีการลอกทานองเพลงต่างประเทศกนั อยา่ งมากมาย
ขณะเดียวกนั เสียงของซายวายกแ็ ทบจะเลือนหายไปจากตลาดเพลงยคุ ใหม่

แมซ้ ายวายจะเสื่อมความนิยมในหมู่คนยคุ ใหม่ แต่ก็ยงั ไดร้ ับการยอมรับในฐานะเป็ นดนตรีคลาสสิค
ของพมา่ เสียงของซายวายยงั คงรับฟังไดใ้ นเพลงทางพุทธศาสนา และเพลงปลุกใจ ส่วนวงซายวายน้นั ยงั หา
ชมไดใ้ นงานแสดงทางวฒั นธรรม อาทิ การแสดงละคร การแสดงหุ่นชกั งานทางศาสนพธิ ี งานประเพณี
งานรัฐพิธี และงานทรงเจา้ เป็นตน้ ปัจจุบนั รัฐบาลพมา่ ไดใ้ หค้ วามสาคญั ต่อการอนุรักษว์ งซายวาย
เช่นเดียวกบั การแสดงพ้ืนบา้ นอื่นๆ โดยจดั ใหม้ ีการประกวดกนั ทุกปี อีกท้งั สถานีวทิ ยโุ ทรทศั นข์ องรัฐจะ
ออกอากาศเพลงบรรเลงซายวายเป็ นประจา

บทเพลงทใ่ี ช้ประกอบพธิ ีกรรม

ในการทาวจิ ยั ในคร้ังน้ีผวู้ จิ ยั จะนาบทเพลงในแตล่ ะประเภทมาวเิ คราะห์ ศึกษาบทเพลง โดยไดน้ า
เพลงบางส่วน ที่ตรงกบั ประเภทของบทเพลงท่ีไดแ้ ยกไดน้ ามาวเิ คราะห์ มีท้งั หมด 7 เพลงดงั น้ี

46

1.บทเพลงทใ่ี ช้บูชาพระ - เพลงบูชาพระ

เพลงบูชาพระใชบ้ รรเลงเพอื่ บูชาพระก่อนพธิ ีกรรม รวมถึงการแสดงดนตรี ตอ้ งมีการบรรเลงเพลง
บูชาพระก่อนทุกคร้ัง ถา้ อยใู่ นการแสดงละครพมา่ จะมีหนา้ ที่คลา้ ยเพลงเปิ ดวง มีฉากแรกคือการบูชาพระ
เพลงจะมี 2 ส่วนใหญๆ่ คือ จะเปิ ดดว้ ยดนตรีและส่วนท่ี 2 จะเป็นการร้อง โครงสร้างของบทเพลงไม่
ซบั ซอ้ นมีท้งั หมด 10 ท่อนเพลง สรุปคือ ดนตรีเปิ ด-ร้อง-ดนตรี- ร้อง -ดนตรี -ร้อง –ดนตรีจบ กลุ่มเสียงท่ีพบ
มี 2 กลุ่มเสียง คือ กลุ่มเสียงท่ี 1 (F G A Bb C D E F) และกลุ่มเสียงท่ี 2 (F G A B C D E F) โนต้ ที่สาคญั ที่
แสดงถึงสาเนียง คือ เสียง B ถือเป็นสาเนียงของเพลงน้ีที่เด่นชดั

2.บทเพลงเชิญเจ้า- เพลงเชิญเจ้า

บทเพลงเชิญเจา้ มีท่อนเพลงท้งั หมด 3 ทอ่ นเพลง ท่อน A เป็นท่อนน าของเพลง ทอ่ น B เป็นท่อน
เพลง ท่อน BB เหมือนกบั ทอ่ น B ต่างกนั 3 หอ้ งสุดทา้ ย ซ่ึงเป็นทอ่ นจบ ตามหลกั จะเล่นเพียงแค่ 3 รอบ A-
B- A- B- A- BB แต่สามารถเล่นกี่รอบกไ็ ดแ้ ลว้ แต่สถานการณ์ ณ ตอนน้นั เช่น เม่ือนตั ไมย่ อมออกจากร่าง
ทรงก็ตอ้ งบรรเลงเพลงเชิญเจา้ ไปเรื่อยๆ จนกวา่ นตั จะออกจากร่างทรง กลุ่มเสียงที่พบคือ C D E F G A Bb
โดยมีเสียงหลกั อยทู่ ี่เสียง C เสียง Bb เป็นเสียงที่เป็นทาเนียงของเพลงเชิญเจา้

3.เพลงทใี่ ช้บูชานัต

1. บทเพลงสาหรับผดู้ ูแลพ้ืนที่ หมูบ่ า้ น เพลงเจา้ พอ่ เป็นเพลงที่อยใู่ นความเร็ว 100 Bpm
โครงสร้างของบทเพลงมีท้งั หมด 7ทอ่ น A, B, BB, C, D, DD และ E พบมีการขยายทานองในท่อน
BB จากทอ่ น B และทอ่ น DD จากท่อน D กลุ่มเสียงที่พบ มี 2 กลุ่มเสียงคือ Bb C D E F G A Bb
และมีการเปล่ียนกลุ่มเสียงเป็น Eb F G (A) Bb C D Eb ในหอ้ งท่ี 55-จบเพลง และพบการใช้ Eb
Pentatonic Major ในท่อน

2. บทเพลงสาหรับนตั ท่ีมีความสาคญั ในพธิ ี

4.เพลงเจ้าทะเลใชป้ ระกอบเจา้ ทะเลตามชื่อของบทเพลง เจา้ ตนน้ีมีความสาคญั และเป็ นที่นบั ถือของ
ชาวพมา่ มาก ในบทเพลงน้ีอารมณ์ของเพลงแยกชดั เจนระหวา่ งทอ่ น A-D ความเร็วปานกลาง อารมณ์เพลง
ไมเ่ ร้าใจ มีการดาเนินทานองไปเรื่อยๆ แต่มีการซ้าที่ชดั เจนของท่อนเพลง เม่ือใกลจ้ บเพลงในทอ่ น E-F มี
การเปล่ียนจงั หวะเพลงใหก้ ระชบั และเร็วข้ึน กระตุน้ อารมณ์ของเพลงไดอ้ ยา่ งเป็นอยา่ งดี

5.เพลงเจ้าบะหย่เู พลงเจา้ บะหยใู่ ชป้ ระกอบเจา้ บะหยตู่ ามช่ือเพลงในขณะประทบั ร่างทรงมีการร่าย
ราอยา่ งสนุกสนานตามอารมณ์ของบทเพลง มีการเปลี่ยนอารมณ์ของเพลงในท่อน G และ GG เพอ่ื กระตุน้
ความรู้สึกของร่างทรงใหส้ นุกไปกบั เพลงมากยง่ิ ข้ึน บทเพลงมีจงั หวะเร็ว บทเพลงเจา้ บะหยมู่ ีท้งั หมด 12

47

ท่อนเพลงมีความเหมือนกนั ของแต่ละทอ่ นเพลงนอ้ ยมาก มีเพยี งแค่ท่อน F และ G เทา่ น้นั ที่มีการซ้าของ
ทอ่ นเพลง บทเพลงมีความซบั ซอ้ นมาก

3. บทเพลงสาหรับนตั ทวั่ ไป

6.เพลงเจ้ามอญ เพลงเจา้ มอญเป็นเพลงสาหรับบูชานตั อยใู่ นประเภทนตั ทวั่ ไป ใชป้ ระกอบเจา้ มอญ
บรรเลงโดนจีวาย เป็ นหลกั บทเพลงมีความเร็วปานกลางบทเพลงเจา้ มอญ มีทอ่ นเพลงท้งั หมด 9 ท่อนเพลงมี
ความยาวท้งั หมด 111 ห้อง พบมีการขยายท านองในทอ่ น BBจากท่อน B ,ท่อน AAจากทอ่ น A, ท่อน BBB
จากท่อน BB กลุ่มเสียง ระดบั เสียงท่ีพบคือ C D Eb F G A และ Bb

7.เพลงเจ้าไทใหญ่ บทเพลงเจา้ ไทใหญใ่ ชป้ ระกอบเจา้ ไทใหญ่ หรือนตั ไทใหญอ่ ยใู่ นประเภทนตั
ทวั่ ไป บทเพลงมีจงั หวะปานกลาง บทเพลงเจา้ ไทใหญม่ ีท่อนเพลงท้งั หมด 13 ท่อนเพลง มีความยาว 283
หอ้ งเพลงมีการร้องและรับดว้ ยดนตรีรับเสมอ กลุ่มเสียงที่พบในเพลงเจา้ ไทใหญ่คือเสียง F G A B C D E
เสียง F เป็นเสียงหลกั และ B เป็นเสียงที่คอยบอกสาเนียงและพบการใช้ Pentatonic Major ในบางประโยค
ของบทเพลง

ศิลปะการแสดง

ศิลปะการแสดงถือเป็นส่วนสาคญั ในงานบุญของพมา่ ท่ีสร้างความบนั เทิงแก่ผรู้ ่วมงาน ซ่ึง
ศิลปะการแสดงต่างๆ ส่วนใหญเ่ ป็ นการแสดงท่ีเป็นลกั ษณะประเพณีนิยม โดยไดร้ ับการพฒั นาปรับเปล่ียน
มาจากการแสดงในราชสานกั พมา่ ในอดีต ก่อนหนา้ น้นั ศิลปะการแสดงหลายประเภทไดห้ ยบิ ยมื มาจากกลุ่ม
วฒั นธรรมใกลเ้ คียง เช่น มอญ อินเดีย จีน ฉาน อยธุ ยา เป็นตน้ ส่วนใหญ่ต่างก็มีพ้นื ฐานรากเหงา้ การแสดง
จากบทประพนั ธ์ของมหากาพยฮ์ ินดู หรือเป็นท่ีรู้จกั กนั ในนามของรามายณะ นอกจากน้นั ยงั มีเรื่องราวนิทาน
ชาดกทางพทุ ธศาสนา ซ่ึงเช่ือมโยงถ่ายถอดกนั มาในภูมิภาคน้ี

เมื่อคราวท่ีกรุงศรีอยธุ ยาเสียกรุงคร้ังที่ 2 ในปี พทุ ธศกั ราช 2310 น้นั มีการกล่าวถึงเหตุการณ์หลงั
สงครามวา่ พม่าไดก้ วาดตอ้ นเชลยชาวกรุงศรีอยธุ ยาไปเป็นจานวนมาก โดยเนน้ กลุ่มช่าง นกั ดนตรี และ
นกั แสดง ซ่ึงพระเจา้ ปดุงโปรดแตง่ ต้งั ใหก้ ลุ่มเจา้ นายและขุนนางของราชสานกั อยธุ ยาเป็ นผศู้ ึกษาและ
ถ่ายทอดความรู้เชิงนาฏศิลป์ และดนตรีใหแ้ ก่กลุ่มนกั แสดงในราชสานกั ของพระองค์ การแสดงที่ไดร้ ับ
ความนิยมมากท่ีสุดในสมยั น้นั ไดแ้ ก่ การแสดงโขนเรื่องรามเกียรต์ิ การแสดงดงั กล่าวยงั มีอิทธิพลต่องาน
ศิลปะแขนงอื่นๆ เช่น เครื่องเขิน ไมแ้ กะสลกั เป็นตน้ อนุสรณ์ของกลุ่มแสดงนาฏศิลป์ ชาวอยธุ ยาที่ยงั ปรากฏ
อยใู่ นปัจจุบนั คือ ศาลพระราม ซ่ึงต้งั อยบู่ ริเวณชุมชนพม่าเช้ือสายอยธุ ยาที่มณั ฑเลย์

48

ศิลปะการแสดงท่ีสืบทอดมาจากอดีตและยงั คงไดร้ ับความนิยมชมชอบอยใู่ นสังคมพม่าในปัจจุบนั ได้
น้นั เห็นจะตอ้ งยกใหก้ ารแสดง 2 ประเภทอนั ไดแ้ ก่ ซะปแว หรือ ลิเกพมา่ และโยว่ เต คือหุ่นชกั หรือหุ่น
กระบอก การแสดงท้งั 2 น้ีถือเป็นคู่แข่งกนั ในทุกๆ งานบุญ การแสดงจะเร่ิมต้งั แต่ตอนเยน็ ถึงรุ่งเชา้ โดยเนน้
เร่ืองราวนิทานพ้ืนบา้ นหรือชาดกทว่ั ไป

ซะปแว

เม่ือมีงานบุญท่ีไหนกจ็ ะตอ้ งไดด้ ูลิเกพม่าที่นน่ั ควบคูไ่ ปกบั การแสดงหุ่นชกั เน้ือเรื่องส่วน
หน่ึงที่ซะปแวนามาแสดงไม่ตา่ งไปจากหุ่นชกั คือมาจากนิทานชาดก ท่ีต่างกนั อยตู่ รงผแู้ สดง
ระหวา่ งคนกบั หุ่นชกั อนั ที่จริงชาวไทใหญก่ ็มีการแสดงที่เหมือนซะปแว ซ่ึงเรียกวา่ จา้ ดไต โดย
เรียก ซะปแววา่ จา้ ดพมา่ ซ่ึงคาวา่ ซะ หรือ จา้ ด มาจากคาวา่ ชาตก หรือ ชาดก ในภาษาไทย ข้นั ตอน
การแสดงซะปแวเร่ิมจากหวั หนา้ หรือครูอาวโุ สของคณะทาพธิ ีขอพรจากนตั ช่วยคุม้ ครองใหก้ าร
แสดงชุดน้ีสาเร็จลุล่วงและไดร้ ับความนิยมชมชอบจากผูช้ ม โดยใชข้ องเซ่นไหวท้ ่ีมีกลว้ ยกบั
มะพร้าวเป็นหลกั หลงั จากพิธีเสร็จแลว้ ดนตรีป่ี พาทยจ์ ะเร่ิมประโคมเพื่อเป็ นการโหมโรงเรียกผชู้ ม
เขา้ มาดู เมื่อไดเ้ วลาแสดงจะมีนกั แสดงชาย 2 คน แตง่ กายและพดู จาตลกขบขนั ท่ีพมา่ เรียกวา่ ลูชวี
นด่อ ออกมาพดู คุย เกร่ินนาเรื่องราวท่ีจะแสดงในวนั น้นั ๆ เม่ือเล่าเร่ืองราวต่างๆ เสร็จแลว้ จึงเริ่ม
แนะนาตวั นกั แสดงทีละคนวา่ ใครมีบทบาทอะไรในทอ้ งเรื่อง พร้อมกนั น้นั นกั แสดงก็จะออกมา
นาเสนอตวั เองโดยการโชวท์ ีเดด็ ส่วนตวั อาทิ บางคนราสวย บางคนร้องเก่งเสียงดี หรือบางคนก็พดู
ออ้ นผชู้ มเก่ง ในส่วนน้ีถือเป็ นฉากแรกโดยเรียกวา่ เอา้ เป๊ี ยะ หรือการแสดงเป็ นชุดๆ นนั่ เอง

หลงั จากที่โชวต์ วั นกั แสดงเสร็จแลว้ จึงเริ่มแสดงตามเน้ือหาของเร่ือง โดยจะแบง่ ออกเป็ น 2
ช่วง คือ ช่วงแรกเป็นการแสดงเร่ืองสมยั ใหม่ ซ่ึงคณะซะปแวน้นั ๆ เป็ นผปู้ ระพนั ธ์เรื่องราวข้ึนเอง
ส่วนใหญ่มกั จะมีเน้ือหาในชีวติ ประจาวนั ทวั่ ไป เช่น ความรักของหนุ่มสาวที่มีอุปสรรค หรือ
เรื่องราวของเมียนอ้ ยเมียหลวง ช่วงน้ีเองที่เป็นการพสิ ูจน์วา่ ซะปแวคณะใดสามารถประพนั ธ์บท
ละครและแสดงไดถ้ ูกใจผชู้ ม ส่วนช่วงสุดทา้ ยเป็นการแสดงเร่ืองราวของชาดกต่างๆ ไปจนถึงรุ่งเชา้
โดยมีนกั แสดงชาย 2 คน ออกมาเกร่ินก่อนในช่วงแรก เสร็จแลว้ กน็ งั่ อยหู่ นา้ เวทีตลอดเวลา เพื่อคอย
สอดแทรกเน้ือหาดาเนินเร่ืองราวตอนต่างๆ หรือในบางคร้ังก็มีการเสริมมุกตลกบา้ ง หยอกลอ้
นกั แสดงบา้ ง จนกวา่ การแสดงจะจบ ซ่ึงท้งั 2 ตอ้ งเป็นผปู้ ิ ดรายการดว้ ย ในการแสดงซะปแวคร้ัง
หน่ึงน้นั จะใชเ้ วลาต้งั แต่ตะวนั ตกดินจนถึงเชา้ ตรู่ของวนั ใหม่ เพราฉะน้นั ผชู้ มซะปแวตอ้ งเตรียม
อุปกรณ์การชมไวต้ ้งั แตก่ ลางวนั นนั่ คือ เสื่อ หมอน ขนมหรือของขบเค้ียวทวั่ ไป แตบ่ างคนทนง่วง
ไม่ไหวมกั จะนอนหลบั ก่อนเพือ่ รอดูฉากท่ีตนเองชอบหรือฉากสาคญั

โย่วเต

49

https://www.sac.or.th/databases/southeastasia/

หุ่นชกั พมา่ เป็นศิลปะท่ีนิยมในราชสานกั พมา่ เป็นการแสดงท่ีสื่อถึงนยั ยะสาคญั ทาง
การเมือง เรื่องราวต่างๆ ในราชสานกั ที่ไมส่ ามารถพดู ถึงอยา่ งตรงไปตรงมาได้ ในอดีตผชู้ กั หุ่นตอ้ ง
เป็นชายเทา่ น้นั นกั เล่นหุ่นชกั หลายคนไดร้ ับการยกยอ่ งใหเ้ ป็นถึงขนุ นาง เช่น อูป๊ ุ ผมู้ ีสิทธิกินส่วย
จาก 12 หวั เมือง เป็นตน้ แต่ต่อมาในภายหลงั เร่ิมมีการถ่ายทอดความรู้หุ่นชกั พมา่ ใหแ้ ก่ผหู้ ญิง อาทิ
เช่น คณะแสดงหุ่นมณั ฑะเลย์ อาจารยผ์ คู้ วบคุมคณะไดถ้ ่ายทอดวชิ าใหแ้ ก่ลูกและหลานที่เป็นผหู้ ญิง
เพ่ือสืบทอดวธิ ีการชกั หุ่นพม่าตามรูปแบบท่ีมีมาแต่โบราณ นอกจากผชู้ กั หุ่นแลว้ ยงั มีนกั ร้องและ
นกั ดนตรีวงปี่ พาทย์ เสียงและคารมของนกั ร้องนบั เป็นจุดเด่นและปัจจยั วดั ความสาเร็จของคณะหุ่น
ชกั การแสดงหุ่นชกั ไดแ้ พร่กระจายจากราชสานกั ในช่วงปลายสมยั ราชวงศค์ องบองไปสู่พมา่
ตอนล่าง หลงั จากท่ีองั กฤษยดึ ครอง โดยนิยมเล่นกนั ในเมืองยา่ งกุง้ ความล่มสลายของราชสานกั
พม่าทาใหค้ ณะหุ่นชกั เดินทางไปแสดงนอกเมืองมณั ฑะเลยม์ ากข้ึน

เรื่องราวท่ีนามาใชเ้ ล่นหุ่นกระบอกจะมีความแตกตา่ งกนั ไปแตล่ ะคณะ มกั นิยมเขียนบท
ข้ึนเพือ่ แสดงเอง และไม่มีการหยบิ ยมื เรื่องราวระหวา่ งคณะมาใชเ้ ล่นโดยเด็ดขาด แตบ่ ทเพลงท่ีใช้
ประกอบการเล่นอาจมีการหยบิ ยมื ใชบ้ า้ ง เน้ือหาในการเล่นหุ่นมกั เป็น ชาดก นิทานพ้นื บา้ น ตานาน
เก่ียวกบั นตั หรือองคเ์ จดีย์ เรื่องราวบางส่วนที่เก่ียวขอ้ งกบั ประวตั ิศาสตร์พมา่ และ รามายณะ เป็นตน้
ซ่ึงแสดงผา่ นหุ่นท้งั สิ้น 36 ตวั ต่อมาบางคณะใชห้ ุ่นท้งั สิ้น 32 ตวั หรือ 24 ตวั และในขณะที่ไมม่ ีการ
แสดง หุ่นทุกตวั จะถูกเก็บรักษาไวบ้ นหิ้งเป็นอยา่ งดี

อะเญ่ย

50

https://www.sac.or.th/databases/southeastasia/

หมายถึงการแสดงตลกแบบพมา่ การแสดงชนิดน้ีผแู้ สดงส่วนใหญ่เป็ นผชู้ ายแต่งตวั ดว้ ย
เส้ือผา้ สีฉูดฉาดสะดุดตา นุ่งโสร่งลายตารางโตๆ สวมเส้ือป้ายอกและมีผา้ โพกศรีษะ ส่วนนกั แสดง
หญิงมกั แตง่ ตวั ดว้ ยเส้ือผา้ ที่สวยงามสีนวลตา สวมเส้ือเกาะอกแลว้ สวมดว้ ยเส้ือท่ีมีชายงอน นุ่ง
ผา้ ซ่ินลูนตยา โดยต่อเชิงผา้ สีขาวใหย้ าวออกไป เม่ือไดเ้ วลาแสดงกจ็ ะเริ่มดว้ ยการแสดงฟ้อนราเด่ียว
ของมีนตะมีที่ออกมาร่ายราในทว่ งทา่ ต่างๆ ดว้ ยทานองเพลงสนุกสนานจากวงษป์ ี่ พาทยท์ ่ีอยู่
ดา้ นหนา้

คนพมา่ มีวธิ ีสังเกตวา่ มีนตะมีคนไหนราเก่งหรือไมน่ ้นั โดยดูจากวา่ ใครท่ีต่อชายผา้ ซิ่น
ลูนตยาไดย้ าวท่ีสุดแลว้ ราโดยที่ชายผา้ น้นั ไม่ไปพนั กบั เทา้ และในขณะท่ีรา ผา้ ก็พลิ้วไหวเป็นคล่ืน
ไปตามจงั หวะการราถือวา่ มีนตะมีคนน้นั เก่งและมีชื่อเสียงมาก หลงั จากฟ้อนราเปิ ดตวั จบลงไปแลว้
นกั แสดงชายจานวน 5-6 คน ซ่ึงเรียกวา่ ลูชวนิ ด่อ จะออกมาแสดงทา่ ทางอากปั กิริยาต่างๆ หรือใช้
คาพูดที่ชวนใหต้ ลกขบขนั โดยใชผ้ า้ โพกหวั เป็ นอุปกรณ์หลกั สร้างสมมติวา่ เป็นสิ่งของ สตั วต์ า่ งๆ
หรืออะไรกไ็ ดต้ ามแต่จะจินตนาการ ท่ีสาคญั จะตอ้ งเรียกเสียงหวั เราะใหไ้ ดม้ ากท่ีสุด พร้อมท้งั มีการ
แสดงฟ้อนราสลบั กนั ไปบา้ งแลว้ แต่เทคนิคของแตล่ ะคณะ นกั ท่องเที่ยวสามารถพบเห็นการ
แสดงอะเญ่ยน้ีไดต้ ามงานวดั ทวั่ ไปเช่นเดียวกบั การแสดงอ่ืนๆ

ดนตรีและการแสดงพืน้ บ้านของประเทศในสมาคมอาเซียน(ประเทศกมั พูชา)


Click to View FlipBook Version