The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tangmo fai, 2021-03-18 01:38:38

2019

Exhibition62-20

ผลงานนักเรียน - นกั ศกึ ษา
สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์กราฟิก

นายประสุ อุทศิ ลาภผล นางสาวชลิตา โตบัว นางสาวญาณศิ า คำ�งาม นางสาวญาณศิ า คำ�งาม
ระดับช้นั ปวส. 1 คฟ. ระดับช้นั ปวส. 1 คฟ. ระดบั ชั้น ปวส. 1 คฟ. ระดบั ชน้ั ปวส. 1 คฟ.
วชิ า การพฒั นาความคิดสร้างสรรค์ วิชา ระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอรก์ ราฟิก วชิ า ระบบปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ วชิ า ระบบปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์กราฟกิ

นางสาวปยิ ธิดา กระแสเทพ นางสาวญาณิศา คำ�งาม นางสาวญาณศิ า คำ�งาม นายพชั รพล พรหมวงั ขวา
ระดบั ชัน้ ปวส. 1 คฟ. ระดับชั้น ปวส. 1 คฟ. ระดบั ชัน้ ปวส. 1 คฟ. ระดบั ชั้น ปวส. 1 คฟ.
วชิ า ระบบปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอรก์ ราฟกิ วิชา ระบบปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก
วิชา ระบบปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์กราฟิก วชิ า ระบบปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์กราฟิก

นางสาวสุภาพร พึ่งสาย นางสาวอาภาวรรณ แซ่เตียว นายโป่ง ลงุ ออ
ระดับชั้น ปวส. 1 คฟ. ระดบั ช้นั ปวส. 1 คฟ. ระดับชั้น ปวส. 1 คฟ.
วิชา ระบบปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์กราฟิก วชิ า ระบบปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์กราฟิก
วิชา ระบบปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ
: 51

ผลงานนักเรียน - นกั ศกึ ษา
สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์กราฟกิ

นางสาวสภุ าพร พ่งึ สาย นางสาวอาภาวรรณ แซเ่ ตียว นายโป่ง ลุงออ
ระดับชั้น ปวส. 1 คฟ. ระดับช้ัน ปวส. 1 คฟ. ระดับช้นั ปวส. 1 คฟ.
วิชา ระบบปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ วิชา ระบบปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ
วชิ า ระบบปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก

นายสุรชชั มน่ั คง นายสมคดิ นายนาม นายสทิ ธโิ ชค พรมใจมา
ระดบั ชน้ั ปวส. 1 คฟ. ระดบั ชัน้ ปวส. 1 คฟ. ระดบั ช้ัน ปวส. 1 คฟ.
วิชา ระบบปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์กราฟิก วิชา ระบบปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก วชิ า ระบบปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอร์กราฟกิ

นายพชั รพล พรหมวังขวา นายสทิ ธิโชค พรมใจมา นายสิรวิชญ์ อาจหาญ นางสาวอนั ตกิ า สักคำ�
ระดับชั้น ปวส. 1 คฟ. ระดับชั้น ปวส. 1 คฟ. ระดบั ช้นั ปวส. 1 คฟ. ระดับชน้ั ปวส. 1 คฟ.
วชิ า ระบบปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอรก์ ราฟิก วชิ า หลัการออกแบบกราฟกิ วิชา ระบบปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์กราฟิก
วิชา ระบบปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก

นายสทิ ธิโชค พรมใจมา นายโป่ง ลงุ ออ
ระดบั ช้ัน ปวส. 1 คฟ. ระดบั ชน้ั ปวส. 1 คฟ.
วิชา ระบบปฏบิ ัติการคอมพิวเตอรก์ ราฟิก วชิ า ระบบปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์กราฟกิ

: 52

นักศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี
สาขาวิชาคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก

นายณฐั ชนน หวลศร,ี นางสาวปานชวี า นายกิตตศิ ักดิ์ ออ่ นคำ�, นายภาวิต ธนะชัยขันธ์ นายอธษิ ฐาน มั่นหมาย, นางสาวรจุ นา ดวงปอ้
ปัญญาสุข และ นายทิวัตถ์ อิ่มผอ่ ง และนางสาววรรณรตั น์ ฉำ่ �ฟ้า และนางสาวมยุรี คนแรง
ปริญาญาตรชี ัน้ ปที ่ี 1 ปริญาญาตรีชนั้ ปีท่ี 1 ปริญาญาตรีช้นั ปีท่ี 1

วชิ า วสั ดอุ ุตสาหกรรมและงานเทคโนโลยพี น้ื ฐาน วชิ า วัสดอุ ุตสาหกรรมและงานเทคโนโลยพี ้ืนฐาน วิชา วัสดุอุตสาหกรรมและงานเทคโนโลยีพืน้ ฐาน

นายยศพงศ์ รตั นปาจันทร์ นายรัชชานนท์ กิตศิ ักด์ิ นางสาวกัณฑ์ สวุ งษา นางสาวสุทธดิ า เครือฝน้ั
ปริญาญาตรชี น้ั ปีที่ 2 ปรญิ าญาตรชี ัน้ ปีท่ี 2 ปริญาญาตรีชนั้ ปีท่ี 2 ปริญาญาตรีช้นั ปที ่ี 2
วชิ า เทคโนโลยเี สมอื นจรงิ วชิ า เทคโนโลยเี สมือนจริง วิชา เทคโนโลยเี สมือนจริง
วชิ า เทคโนโลยเี สมือนจรงิ

นายชาญวทิ ย์ แซ่กือ นายธีรกานต์ ใจเง้ียวคำ� นายเนรมิต รดิ สาบุตร นายบณั ฑร ไมป่ รากฎนามสกุล
ปรญิ าญาตรีชน้ั ปีท่ี 2 ปริญาญาตรชี ั้นปีที่ 2 ปรญิ าญาตรีช้ันปที ี่ 2 ปริญาญาตรีช้นั ปีท่ี 2
วชิ า เทคโนโลยีเสมอื นจรงิ วิชา เทคโนโลยีเสมอื นจรงิ วิชา เทคโนโลยเี สมือนจริง
วิชา เทคโนโลยีเสมอื นจริง

: 53

นกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี
สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ

นายสกุ ฤษฎ์ พรหมสารา นายกิตติศักด์ิ ออ่ นคำ� นายณฐั ชนน หวลศรี
ปรญิ าญาตรีชั้นปที ่ี 1 ปริญาญาตรชี ้นั ปที ี่ 1 ปรญิ าญาตรชี น้ั ปีที่ 1
วิชา การออกแบบเว็บไซต์ วิชา การออกแบบเวบ็ ไซต์
วชิ า การออกแบบเวบ็ ไซต์

นางสาวพนิตนนั ท์ กนั ทะวงค์ นางสาวรจุ นา ดวงปอ้
ปริญาญาตรีชั้นปีที่ 1 ปรญิ าญาตรชี น้ั ปีท่ี 1
วชิ า การออกแบบเว็บไซต์
วชิ า การออกแบบเวบ็ ไซต์

นายทิวตั ถ์ อมิ่ ผ่อง นางสาววรรณรัตน์ ฉ่ำ�ฟ้า
ปริญาญาตรชี น้ั ปีท่ี 1 ปรญิ าญาตรีชน้ั ปีที่ 1
วิชา การออกแบบเวบ็ ไซต์
วชิ า การออกแบบเวบ็ ไซต์

: 54

ประวตั คิ วามเปน็ มา

ประเภทวิชาศลิ ปกรรม

ประเภทวชิ าศิลปกรรม ไดด้ ำ�เนนิ การจัดการศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ชั้นสูง(ปวส.)

โดย “ม่งุ เนน้ ผลิตผ้สู ำ�เรจ็ การศึกษา ให้ได้มาตรฐานวชิ าชีพด้านศิลปกรรมสนองความตอ้ งการของตลาดแรงงาน” และไดพ้ ยายามพัฒนาศกั ยภาพครู
บุคลากรทางการศกึ ษาและนกั เรยี นนักศกึ ษาใหม้ ศี ักยภาพเพียงพอตามเกณฑม์ าตรฐานวิชาชีพดา้ นศลิ ปกรรม เพ่ือผสู้ ำ�เรจ็ การศึกษาจะได้ออกไป
ส่ตู ลาดแรงงานอยา่ งมคี ณุ ภาพ

ความเปน็ มา
พ.ศ. 2525 เปดิ ทำ�การสอนระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) แผนกวชิ าวจิ ิตรศิลป์
พ.ศ. 2527 เปดิ ทำ�การสอนระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) แผนกวชิ าศลิ ปะประยกุ ต์ (ไดเ้ ปลย่ี นชือ่ เป็นแผนก
วชิ าการออกแบบเมอื่ ปี พ.ศ. 2538)
พ.ศ. 2532 เปดิ ทำ�การสอนระดับ ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) แผนกวชิ าเครอื่ งเคลอื บดินเผา
พ.ศ. 2534 เปดิ ทำ�การสอนระดับ ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) แผนกวิชาเทคโนโลยกี ารถา่ ยภาพและวดี ีทัศน์
พ.ศ. 2541 เปดิ ทำ�การสอนระดับ ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชัน้ สูง (ปวส.) แผนกวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์
พ.ศ. 2542 เปิดทำ�การสอนระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชั้นสงู (ปวส.) แผนกวชิ าเทคโนโลยกี ารถา่ ยภาพและวดี ที ศั น์
พ.ศ. 2543 เปดิ ทำ�การสอนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสงู (ปวส.) แผนกวิชาจิตรกรรมสากล
พ.ศ. 2547 เปดิ ทำ�การสอนระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) แผนกวิชาเทคโนโลยศี ลิ ปกรรม
พ.ศ. 2548 เปดิ ทำ�การสอนระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชน้ั สูง (ปวส.) สาขางานเทคโนโลยีศิลปกรรมและแผนก
วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก พร้อมกบั งดรบั นกั ศึกษาระดับ ปวส. จิตรกรรมสากลและเทคโนโลยี
การถา่ ยภาพและวดี ที ัศน์
พ.ศ. 2549 เปิดทำ�การสอนระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานช่างทนั ตกรรมโดยความร่วมมอื
ระหวา่ งสำ�นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากบั บรษิ ัทเอกซาซแี ลม จังหวัดเชยี งใหม่
พ.ศ. 2550 เปิดทำ�การสอนระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานวจิ ิตรศิลปโ์ ดยความรว่ มมือ
ระหว่างสำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากับเรือนจำ�กลางจังหวดั เชยี งใหม่
พ.ศ. 2557 เปดิ ทำ�การสอนระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื ปฏบิ ตั ิการ เทคโนโลยบี ณั ฑติ (ทล.บ.)
สาขาวิชาดจิ ติ อลกราฟิก
พ.ศ. 2557 เปล่ยี นชือ่ สาขาวิชาเคร่ืองเคลือบดนิ เผาเป็นสาขาวชิ าศลิ ปกรรมเซรามคิ

ในปกี ารศึกษา 2562 ประเภทวชิ าศิลปกรรมได้ใชห้ ลกั สูตรใหม่ คือหลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) พทุ ธศักราช 2562
และหลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชน้ั สงู (ปวส.) พุทธศกั ราช 2557 เปิดทำ�การเรียนการสอน 3 ระดบั คือ

ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) เปดิ ทำ�การเรยี นการสอน 4 สาขาวชิ าดงั นี้
1. สาชาวิชาวจิ ติ รศิลป์
2. สาขาวชิ าการออกแบบ
3. สาขาวิชาศิลปกรรมเซรามิค
4. สาขาวชิ าเทคโนโลยศี ลิ ปกรรม

ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชัน้ สงู (ปวส.) เปิดทำ�การเรียนการสอน 2 สาขาวิชาดังนี้
1. สาขาวิชาการออกแบบ สาขางานออกแบบนิเทศศิลป์
2. สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์กราฟิก สาขางานคอมพวิ เตอร์กราฟิกอารต์

ระดับปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื ปฏิบตั ิการ เปดิ ทำ�การเรียนการสอน 1 สาขาวิชาดงั น้ี
1. สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์กราฟิก

: 55

โครงการนิทรรศการอาชวี ศลิ ปกรรม 62
ประเภทวิชาศลิ ปกรรม วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาเชยี งใหม่

1. ชื่อโครงการ: นทิ รรศการอาชวี ศลิ ปกรรม ’ 62
2. การเชือ่ มโยงยุทธศาสตรแ์ ละคณุ ภาพการศึกษา :
สำ�นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา : ยุทธศาสตร์ท่ี 1 จดั และเพิ่มโอกาสศกึ ษาวชิ าชีพใหก้ ว้างขวางและต่อเน่อื ง
จังหวดั CEO : ยทุ ธศาสตร์ท่ี 7 การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์
วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเชยี งใหม่ : ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาการเรียนการสอน
2.1 สำ�นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา: นโยบายท่ี - ยทุ ธศาสตรท์ ่ี -
2.2 สถาบันการอาชวี ศึกษา : ยุทธศาสตร์ท่ี -
2.3 มาตรฐานการอาชวี ศึกษา :มาตรฐานที่ 5 ด้านวตั กรรม สงิ่ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรคห์ รอื งานวิจัยตัวบ่งชีท้ ่ี
5.1 ระดบั คณุ ภาพในการบริหารจัดการโครงการส่งิ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรคห์ รอื งานวจิ ัยของผู้เรยี น
2.4 การประกนั คุณภาพภายนอก : ตัวบ่งชที้ ่ี 4 ผลงานทเ่ี ปน็ โครงงานวิชาชีพหรอื ส่งิ ประดษิ ฐ์ของผู้เรียนที่ไดน้ ำ�ไป
ใช้ประโยชน์
3. แผนยทุ ธศาสตร์ : - บคุ คล - แผนก/งาน - ฝา่ ยวิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาเชียงใหม่
3.1 วิสยั ทัศน์ : สถาบนั แหง่ การเรยี นรูว้ ิชาชพี มงุ่ ผลติ กำ�ลังคนอาชวี ศกึ ษาสู่นานาชาติ
3.2 พันธกิจที่ : 5 พฒั นาผู้เรยี นด้านทักษะการเรยี นรู้ทักษะฝีมอื ตามสมรรถนะวิชาชพี ใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการ
ของตลาดแรงงาน สถานประกอบการในประเทศและนานาชาติ
3.3 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี : 5.2 เพ่ิมสมรรถนะทกั ษะของผูเ้ รียน
3.4 กลยุทธ์/มาตรการท่ี : 5.2.1 กระตุ้นผ้เู รียนใหจ้ ดั กจิ กรรมและนำ�เสนอผลงานด้านทักษะมือสู่สาธารณชน
3.5 เปา้ ประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตรท์ ่ี : 5.2.1 เพอ่ื ให้ผู้เรียนมที กั ษะฝมี อื ตามมาตรฐานอาชีพในระดบั สากล
3.6 ตวั ช้วี ัด : รอ้ ยละของผเู้ รยี นทม่ี คี วามรู้ ความเขา้ ใจในมาตรฐานอาชพี ในระดบั นานาชาติ
3.7 เป้าหมาย/ตัวช้ีวดั : รอ้ ยละ 60
4. หลักการและเหตผุ ล :
การศึกษาด้านศิลปกรรมทุกสาขาวิชา ถือว่าเป็นศาสตร์ที่มีเอกลักษณ์เป็นของตนเองซึ่งการศึกษาทางด้านทฤษฎีเพียงอย่างเดียวไม่สามารถนำ�เสนอผลงานด้าน
ศิลปกรรมไดอ้ ย่างชัดเจนจะตอ้ งมกี ารฝึกฝน ปฏิบัตใิ หเ้ กิดทักษะผสมผสานไปกับจติ นาการของผู้สรา้ งสรรค์การเผยแพร่ผลงานดา้ นศลิ ปกรรมของนักเรียน นักศกึ ษา โดยการ
จัดโครงการนิทรรศการอาชวี ศลิ ปกรรม ‘62 จงึ นบั เปน็ การสอื่ สารท่สี ะท้อนความรทู้ กั ษะของผเู้ รยี นสู่สาธารณชน เพือ่ ใหไ้ ด้มาซ่งึ ข้อมลู ในการปรับปรุงพฒั นาการเรียนการสอน
ด้านศิลปกรรมต่อไป
5. วตั ถุประสงคข์ องโครงการ :
1. เพือ่ เผยแพร่ผลงานการเรียนการสอนของครู นักเรียน นกั ศึกษา ศิษยเ์ ก่าและครปู ระเภทวิชาศิลปกรรม
2. เพอ่ื จดั กิจกรรมการแข่งขันวาดภาพของนกั เรยี นจำ�นวน 2 ระดับ
3. เพ่อื เปน็ การแนะแนวการเรียนการสอนให้แก่นกั เรยี นนกั ศกึ ษาและผู้ทสี่ นใจ
4. เพอ่ื เปน็ การประสานความรว่ มมอื ดา้ นวิชาการกบั สถาบนั การศึกษา ชุมชน และสงั คม
5. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธก์ ารเรยี นการสอนประเภทวิชาศิลปกรรมใหเ้ ปน็ ทีร่ ้จู ักของชมุ ชนและสังคมอยา่ งแพรห่ ลาย
6. รายละเอยี ดการกำ�เนนิ การ :
ระยะเวลา

ต.ค. 62 พ.ย. 62 ธ.ค. 62 ม.ค.63
1. เสนอคำ�ส่ังแตง่ ต้ังคณะกรรมการ
2. ขออนมุ ตั ิโครงการ
3. จดั เตรยี มข้อมูล ผลงาน
4. ประสานกบั หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5. ประชาสมั พนั ธโ์ ครงการ
6. จดั แสดงงาน
7. สรุปผล ประเมิน และรายงาน

7. คา่ ใช้จ่าย
7.1 ค่าวสั ดสุ ำ�หรบั จัดนทิ รรศการ 7.2 คา่ จัดทำ�สูติบัตร 7.3 ค่าจัดกจิ กรรมการแขง่ ขนั วาดภาพ 3 ระดับ 7.4 ค่าตกแต่งสถานที่
7.5 คา่ ซ่อมแซมบอรด์
รวม (เจ็ดหมนื่ ห้าพันบาทถ้วน) 75,000 บาท

8. ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั
8.1. ไดเ้ ผยแพร่ผลงานการเรียนการสอนของครู นกั เรยี น นักศึกษา ศิษยเ์ กา่ และครูประเภทวิชาศิลปกรรม
8.2. ได้จัดกิจกรรมการแข่งขันวาดภาพของนกั เรยี นจำ�นวน 2 ระดับ
8.3. ได้แนะแนวการเรยี นการสอนให้แกน่ ักเรยี นนักศกึ ษาและผทู้ ส่ี นใจ
8.4. ไดป้ ระสานความร่วมมือด้านวิชาการกบั สถาบนั การศกึ ษา ชุมชน และสังคม
8.5. ไดป้ ระชาสมั พนั ธก์ ารเรียนการสอนประเภทวชิ าศิลปกรรมใหเ้ ป็นท่รี จู้ กั ของชมุ ชนและสังคมอย่างแพร่หลาย
9. การตดิ ตามและประเมนิ ผล
9.1 จากแบบสอบถาม
9.2 จากสมุดแสดงความคิดเห็น

: 56

: 57


Click to View FlipBook Version