The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปเล่มฟ้าใส พร้อมเข้าเล่ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fasaiarsasana, 2022-04-21 12:46:28

รูปเล่ม

รูปเล่มฟ้าใส พร้อมเข้าเล่ม

รายงานการปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา
โรงเรียนบ้านโนน

เสนอ
คณะศกึ ษาศาสตร์

โดย
นางสาวฟ้าใส อาษาสนา

เลขทะเบียนนกั ศกึ ษา 6410440131052

รายงานนี้เป็นส่วนหน่ึงของการศกึ ษาวชิ า การปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา
หลกั สูตรศึกษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชา การสอนภาษาไทย

คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอสี าน
ปีการศึกษา 2564



คำนำ

รายงานทางวิชาการเล่มนี้ เป็นรายงานผลการเรียนในรายวิชา ED 1009 การ
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 ซึ่งเป็นภาคปฏิบัติการในพื้นที่จริงโดยรายงานฉบับนี้มวี ัตถุประสงค์
เพื่อ 1.เพอื่ ใหน้ ักศกึ ษาไดฝ้ ึกปฏบิ ัตกิ ารสอนและปฏบิ ัตงิ านวิชาชพี ครูในสถานศึกษาโดยมุ่งหวังให้เกิด
ความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ และประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ในการประกอบ
วิชาชีพครู 2.เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์การทำงาน รวมทั้งสามารถทำงานเป็นทีมได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และเขา้ ใจวถิ ชี วี ิตการทำงานตามสภาพบรบิ ท วัฒนธรรมของสถานศกึ ษา ผ้รู ายงาน ได้
เรียบเรยี งผลของการทำงานเป็นท้งั หมดจำนวน 4 บท ได้แก่ บทท่ี 1 รหัสวิชา ชือ่ วิชา และคำอธิบาย
รายวิชา, บทที่ 2 ผลการเรียนรู้ในรายวิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา, บทที่ 3 สรุปองค์ความรู้,
และบทท่ี 4 สรปุ ผลเขา้ ร่วมกจิ กรรมในรายวิชา, นอกจากนย้ี ังได้แนบหลกั ฐานประกอบการปฏิบัติงาน
ซง่ึ มที ัง้ หลกั ฐานการประสานงาน คำสง่ั ต่าง ๆ ประวัติและแผนผงั โรงเรียน

ผู้จัดทำรายงานขอขอบพระคุณ นายประพฤทธิ์ สิงหาบุตร ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านโนน
นายทองสุข เผ้าหอม ครูพี่เลี้ยงที่แนะนำความรู้และตรวจงานให้อย่างดียิ่ง ขอขอบพระคุณ
อาจาร ย์ผศ .ดร .บัญ ชา เก ียร ติจร ุงพ ัน ธ์ , อ าจาร ย์ดร .ณัฐก ิตติ์ สิ ร ิว ัฒ น าทากุล,
อาจารย์ดร.อรรถพงษ์ ผิวเหลือง, อาจารย์บัญชา ธรรมบุตร อาจารย์แมนมิตร อาจหาญ
และอาจารย์คชา ปราณตี พลกรงั ซึ่งออกนเิ ทศและให้คำแนะนำในการทำหน้าทีใ่ ห้กำลังใจในระหว่าง
ปฏิบตั ิงาน

หวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาแนวทางการเรียนวิชาชีพครูอย่างไรก็ดี
อาจจะมีสว่ นท่ไี มค่ รบสมบรู ณอ์ ยบู่ า้ ง ผ้จู ดั ทำรายงานขอน้อมรับคำแนะนำด้วยความเคารพยิง่

นางสาวฟ้าใส อาษาสนา
ผจู้ ัดทำรายงาน

วันท่ี 29 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2564



สารบัญ

เรอ่ื ง หน้า
คำนำ ก
สารบญั ข-ค
บทท่ี 1 รหสั วิชา ชือ่ วิชา และคำอธิบายรายวิชา 1
บทที่ 2 ผลการเรยี นรู้ในรายวิชาปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 2
3
แบบบันทึกการเรียนรดู้ า้ นธรุ การชัน้ เรยี น 6
แบบบันทกึ การเรียนรู้ด้านปญั หาของนักเรยี น 9
แบบบันทึกการเรียนรู้ดา้ นการจดั การชนั้ เรยี นและการแกป้ ญั หาในช้ันเรียน 11
แบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ด้านการออกตรวจเยีย่ มตามโครงการเยี่ยมบา้ นนกั เรียน 14
แบบบันทึกการเรยี นรดู้ า้ นความสมั พันธร์ ะหว่างโรงเรยี นกบั ผปู้ กครอง
กบั และชมุ ชน 16
แบบบนั ทึกการเรยี นรูด้ า้ นการจัดการสง่ิ แวดล้อมเพอ่ื การเรยี นรู้ 18
แบบบันทึกดา้ นอืน่ ๆ ตามนโยบายของโรงเรียน 20
บทท่ี 3 สรุปองคค์ วามรู้ 21
สรุปองค์ความรู้จากการเรียนรใู้ นโรงเรยี น (ความรจู้ ากทุกแบบบนั ทกึ ) 23
สรุปข้อคดิ ทีไ่ ด้รับจากการไปปฏบิ ตั งิ านในสถานศกึ ษาต่อวิชาชพี ครูและขอ้ เสนอแนะ 24
บทท่ี 4 สรปุ ผลเขา้ ร่วมกจิ กรรมในรายวชิ า 25
แบบบันทกึ การเขา้ ร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศ 27
แบบบันทกึ การเขา้ ร่วมกิจกรรมสะท้อนผลระหว่างปฏิบตั กิ ารสอน 28
แบบบันทึกการเขา้ ร่วมกิจกรรมปจั ฉมิ นเิ ทศ 29
บรรณานุกรม 30
ภาคผนวก

สารบญั (ต่อ) ค

เรื่อง หน้า
บญั ชลี งเวลา (หรือสำเนา หรอื ภาพถา่ ยสำเนา) 31
หนังสอื ขอความอนเุ คราะห์, หนงั สอื ตอบ, หนงั สอื ส่งตวั ฝกึ ฯ, 32
หนังสือสง่ ตัวกลบั สถานบนั
ประวัติโรงเรียน 37
แผนผงั โรงเรยี น 38
ประวัตคิ รูพีเ่ ลยี้ ง 39
ประวตั ินกั ศกึ ษา 40

1

บทที่ 1
รหัสวชิ า ช่ือวชิ า และคำอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วชิ า ช่อื วิชา และคำอธิบายรายวิชา

รหสั วิชา ED 1009 ชื่อวิชา (ภาษาไทย) การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1
ชอื่ วิชา (ภาษาองั กฤษ) Teaching Practicum in School 1

การจัดการเรียนการสอนใหร้ อบรู้ในงานครู เช่น งานธรุ การในชน้ั เรยี น การสังเกตปัญหาของ
ผู้เรียนและการแก้ปัญหาในชั้นเรียน การประสานงาน การออกตรวจเยี่ยมโครงการเยี่ยมบ้านกับ
โรงเรียนในการประสานกับผ้ปู กครองและชมุ ชน การจัดการในชน้ั เรยี นและการจัดการสงิ่ แวดล้อมเพ่ือ
การเรียนรู้ในฐานะครผู สู้ อน หรอื งานกจิ กรรมอืน่ ใดของโรงเรยี น ภายใตก้ ารนเิ ทศจากอาจารย์นิเทศก์
และครพู ่เี ลยี้ ง

Expert knowledge teaching in Teacher work as Administrative Assistant in
classroom, observe and solve the problems of students, coordinate work, to visit the
project and home of students by cooperative teacher with parent and community.
Teaching and environment teaching for learning as teacher or another activity in school
under supervisory of supervisor and the school cooperative teacher.

2

บทที่ 2
ผลการเรยี นรู้ในรายวิชาปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา

แบบบนั ทกึ การเรยี นรู้
ปส.1.1 แบบบนั ทกึ การเรยี นร้ดู า้ นงานธรุ การช้ันเรยี น
ปส.1.2 แบบบันทกึ การเรียนรดู้ ้านปัญหาของนักเรียน
ปส.1.3 แบบบันทกึ การเรยี นรดู้ ้านการจดั การช้นั เรียนและการแก้ปญั หาในชน้ั เรียน
ปส.1.4 แบบบันทึกการเรียนรูด้ ้านการออกตรวจเยย่ี มตามโครงการเย่ียมบา้ นนักเรียน
ปส.1.5 แบบบันทกึ การเรียนร้ดู ้านความสัมพนั ธ์ระหวา่ งโรงเรียนกับผูป้ กครองและชมุ ชน
ปส.1.6 แบบบนั ทกึ การเรยี นรดู้ า้ นการจดั การส่งิ แวดลอ้ มเพื่อการเรยี นรู้
ปส.1.7 แบบบนั ทึกงานครดู ้านอนื่ ๆ ตามนโยบายของโรงเรยี น

3

แบบบันทึก ปส.1.1

แบบบันทกึ การเรยี นรงู้ าน ดา้ นธรุ การชน้ั เรยี น

โรงเรยี น บ้านโนน
ช่อื -สกลุ นางสาวฟ้าใส อาษาสนา รหสั นกั ศกึ ษา 6410440131052
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวชิ า การสอนภาษาไทย
วนั พธุ ท่ี 24 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
1. หลักการ, เหตผุ ล ความสำคญั แนวคิด - ทฤษฎี, วตั ถปุ ระสงค,์ ประโยชน์, ประเภท, ลกั ษณะ
ของงานธุรการชนั้ เรียน

1.1 หลกั การ เหตุผล ความสำคัญ แนวคดิ – ทฤษฎขี องงานธุรการช้นั เรียน
คือ งานท่เี กี่ยวกับเอกสารทีท่ างโรงเรียนได้จัดขึน้ เพื่อใหก้ ารบริหารหรือการปฏิบัติงานในช้ัน

เรียนของโรงเรียนเป็นไปในทิศทางเดยี วกนั และให้สามารถดำเนินการไปสูเ่ ป้าหมายทีว่ างไว้ไดด้ ีทีส่ ดุ
ท้ังน้ีงานธรุ การชัน้ เรยี นอาจจะไมไ่ ด้มีแคง่ านเอกสารเท่านัน้ งานธรุ การชนั้ เรยี นยงั ครอบคลมุ ไปถึงการ
ควบคุมการดำเนินการติดต่อ โต้ตอบ ประสานและงานจัดระเบียบสั่งการการเงินพัสดุ เป็นต้น
ความสำคัญของงานธุรการชัน้ เรียน คือ งานธุรการ เป็นงานประเภทหนึ่งทีผ่ ู้บริหารและบุคลากรผู้มี
หน้าที่โดยตรงจะต้องให้ความสำคญั เปน็ อย่างย่ิง แม้ว่างานธุรการจะไมเ่ ป็นงานหลกั หรอื ไม่ เป็นหัวใจ
ของสถานศกึ ษาก็ตามแต่ในทางปฏิบตั งิ านธรุ การก็เป็นงานที่มคี วามสำคญั มากเพราะเปน็ หนว่ ยบริการ
แกง่ านหลักของสถาบันและยิง่ ไปกว่านัน้ ความผิดพลาดในการดำเนนิ งานด้านธุรการยังเปน็ ท่ีประจักษ์
ชัดยิ่งกว่างานด้านอืน่ ๆ เช่น ด้านการสอน การบริการ ด้านกิจกรรม ดังนัน้ งานธรุ การจงึ มักจะได้รับ
การ ความสนใจและให้ความสำคญั มากสำหรบั ผูบ้ ริหาร

1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องงานธุรการชั้นเรยี น
- เพือ่ ให้การดำเนินงานเปน็ ไปในทิศทางเดยี วกันและสามารบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีต้งั ไวไ้ ด้
- เพ่ือให้เป็นฐานข้อมลู ของนักเรยี น
- เพื่อให้ขอ้ มลู ของนักเรยี นนนั้ ถูกจดั ไว้อย่างเป็นสัดสว่ น เปน็ ระเบยี บ

1.3 ประโยชน์ของงานธรุ การชั้นเรยี น
- สามารถทราบข้อมลู ตา่ งๆของนกั เรียน
- ขอ้ มูลของนกั เรยี นถูกจัดไวเ้ ป็นสดั ส่วนสามารถนำเสนอขอ้ มูลของนักเรียนต่อผู้อำนวยการ
ได้
- การดำเนนิ งานมีมาตรฐานเดยี วกนั และสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ตี ้ังไวไ้ ด้

4

1.4 ประเภท
งานเกี่ยวกับทะเบียนของผเู้ รยี น

1.5 ลักษณะของงานธุรการชั้นเรยี น
- ทะเบียนประวัตสิ ่วนตวั
- ทะเบียนผเู้ รียน
- สมุดบญั ชีเรียกชอ่ื

2. วิธีการทำงาน หรือแนวทางการดำเนนิ งาน หรือ ขนั้ ตอนกระบวนการของงานธุรการ
2.1 งานเกีย่ วกบั ประวัติส่วนตวั
การบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนมีความสำคัญต่อกระบวนการแนะแนวช่วยให้รู้จัก และ

เขา้ ใจในตวั ของนกั เรียน อันจะนำไปสกู่ ารแนะแนวท่ีถูกต้อง และเหมาะสมกบั ธรรมชาติของ นักเรียน
เพื่อท่จี ะได้ทราบถงึ การศกึ ษานักเรียนเป็นกรณหี าแนวทางแก้ปัญหา หรือพฒั นา นักเรียนให้เต็มที่

2.2 งานเกี่ยวกบั ทะเบียนผ้เู รียน
การเรียนรเู้ กย่ี วกบั ทะเบียนนักเรียนซึง่ เป็นเอกสารสำคัญของโรงเรยี นและผูเ้ รียน การจัดทำ
ทะเบียนประวัตยิ ่อของนักเรียนในสมดุ ทะเบียนนกั เรยี น มนี ักเรียนลาออกหรือนกั เรยี นเขา้ ใหม่ จัดทำ
สถิตินักเรียนที่มาเรียนรายเดือนสถิตินักเรียนติดตามนักเรียนที่ขาดเรียน เก็บเป็น หลักฐานติดตาม
และดำเนินการตามระเบยี บ
2.3 งานเกย่ี วกบั สมุดบญั ชเี รียกชอื่
การเรียนร้เู กี่ยวกับทะเบียนนกั เรียนซง่ึ เปน็ เอกสารสำคญั ของโรงเรียนและผู้เรียน จัดทำสถิติ
นักเรียนที่มาเรียนรายวัน จันทร์ - ศุกร์ สถิตินักเรียนติดตามนักเรียนที่ขาดเรียน เก็บเป็น หลักฐาน
ตดิ ตาม และดำเนินการตามระเบียบ
3. ขอ้ คดิ ทไ่ี ด้จากงานธรกุ ารชั้นเรียน
จากท่ไี ดเ้ รยี นรเู้ ก่ียวกับงานธุรการในช้นั เรียน เปน็ งานเอกสารท่ีสำคญั ของโรงเรยี นและ การ
ดำเนนิ งานตามจุดมงุ่ หมายเพราะงานธุรการในชั้นเรยี นทำให้ครูไดท้ ราบข้อมูลนกั เรียนเป็น รายบุคคล
และบอกผลประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรียน ดังนน้ั ครจู ึงตอ้ งเอาใจใส่ และรับผิดชอบให้
มากในงานด้านธรุ การในชัน้ เรียน

5

4. ตัวอย่างผลของงาน หรอื ร่องรอยหลกั ฐานของการทำงาน

ลงชอื่ ..............................................................ผบู้ นั ทกึ
(นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา)

ลงช่ือ..............................................................ครูพี่เลี้ยง/ผู้รับผิดชอบ
(นายทองสขุ เผ้าหอม)

6

แบบบันทึก ปส.1.2

แบบบันทึกการเรยี นรงู้ าน ดา้ นปญั หาของนกั เรยี น

โรงเรยี น บา้ นโนน
ชื่อ-สกุล นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา รหสั นกั ศึกษา 6410440131052
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชา การสอนภาษาไทย
วัน พุธ ท่ี 24 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ.2564
1.หลักการ, เหตุผล ความสำคัญ แนวคิด - ทฤษฎี ,วัตถปุ ระสงค,์ ประโยชน์ ,ประเภท, ลกั ษณะ
ของงาน ดา้ นปญั หาของนักเรียน

1.1 หลกั การ เหตุผล ความสำคญั แนวคิด – ทฤษฎี
ปัญหาของนักเรยี น คอื ความบกพรอ่ งในกระบวนการเรยี นรู้ การคดิ วิเคราะห์ การแก้ปัญหา

ในชั้นเรียน การแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม หรือมีปัญหาทางด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจ ด้าน
ความเป็นอยู่ของครอบครัว อาจจะขาดตกบกพร่องในเรื่องของทุนทรัพย์ หรือมีฐานะยากจน สิ่งท่ี
นักเรยี นตอ้ งเผชิญซึง่ อาจเปน็ ผลเสียต่อตวั นักเรียนโดยตรง

1.2 วตั ถุประสงค์
- เพอ่ื ชว่ ยแกไ้ ขทางปัญหาทางดา้ นการเรียนของนกั เรยี น
- เพอื่ ช่วยเหลอื นกั เรยี นท่ียากจน หรอื ขาดโอกาสทางการศกึ ษา
- เพอื่ เรียนรปู้ ญั หาและวธิ ีแกป้ ญั หาทีจ่ ะนำไปสู่การพฒั นานักเรียน

1.3 ประโยชน์
- ทำให้นักเรียนเข้าใจในการเรียนรู้ มกี ารพัฒนาและผลการเรียนทดี่ ีข้นึ
- ทำให้นักเรยี นได้รับโอกาสทางศึกษา และมชี วี ติ ความเปน็ อยู่ท่ีดีขน้ึ ได้รบั การศึกษาท่ีดีและ

เกิดความเทา่ เทยี มกนั
- ทำให้ครูได้การเรียนรู้ในปัญหาและวิธีแก้ปัญหาที่จะนำไปสู่การพัฒนานักเรียนอย่างมี

คุณภาพ
1.4 ประเภท
เครื่องมอื ในการสือ่ สาร การอา่ น การเขยี น และปัญหาตา่ งๆ ของนกั เรยี น
1.5 ลกั ษณะปัญหาของนักเรียน
- ด้านการเรยี น
- ด้านสุขภาพร่างกาย

7

- ด้านครอบครวั และส่ิงแวดลอ้ ม
การแกป้ ญั หา

ด้านการเรียน
นกั เรียนแต่ละคนมพี ัฒนาการด้านสมอวและการเรียนรู้ทีไ่ มเ่ หมอื น บางคนอาจจะมีความจำ
ท่ีเรว็ และสามารถเข้าใจได้งา่ ย และบางคนอาจจะทำงานช้ากวา่ เพอื่ นหรือไมค่ ่อยเขา้ ใจ คุณครูจึงต้อง
เอาใจใส่กับนักเรยี นทกุ คน คนท่ีชา้ กว่าเพอ่ื นคณุ ครูก็จะสอนและเอาใจใส่ และมีความเมตตา ใจเย็น
เปน็ พเิ ศษเพื่อพฒั นาเดก็ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
ด้านสขุ ภาพรา่ งกาย
สุขภาพของแต่ละคนไม่เป็นเหมือนกัน นักเรียนบางคนอาจจะป่วยบ่อย สุขภาพร่างกายไม่
แขง็ แรง หรืออาจจะมโี รคประจำตัว ครปู ระจำชั้นก็จะติดต่อกับผู้ปกครองของนักเรียนอยู่เป็นประจำ
และทัว่ ถงึ เพราะต้องดแู ลเอาใจใส่นกั เรียนอยู่สมำ่ เสมอ
ดา้ นครอบครวั และสิง่ แวดลอ้ ม
สถาบันครอบครัวเปน็ ส่งิ ท่ีสำคญั อย่างมาก จะพบปญั หาของนกั เรียน คอื บางครอบครัวหรือ
บางคนไมไ่ ดอ้ าศยั อยู่ผูป้ กครอง หรอื พ่อแม่อาจจะแยกทางกัน ทำให้นกั เรยี นขาดความอบอุ่น หรอื พ่อ
แม่บางคนก็จะไมม่ เี วลาใหล้ ูก ไมม่ ีเวลาทจี่ ะสอนทำการบา้ นหรอื อบรมเลี้ยงดู ซ่ึงอาจจะทำให้นักเรียน
ไมเ่ ขา้ ใจในเน้อื หาที่เรียน หรอื ขาดความอบอนุ่ ขาดการขดั เกลาอบรมบ่มนสิ ยั จนนำไปสู่การเกเร การ
ที่มาโรงเรยี นกย็ ังมีคุณครูเปรียบเสมอื นพอ่ แม่คนท่ีสอง คอยใหก้ ำลงั ใจ ดูแลเอาใจใส่ ความรัก ความ
อบอุน่ กับนกั เรยี น
2. วธิ กี ารทำงาน หรอื แนวทางการดำเนินงาน กระบวนการเกบ็ ขอ้ มูลปญั หาของนกั เรยี น หรือ
กระบวนการแกป้ ัญหาของนกั เรยี น
1. เก็บขอ้ มลู และสงั เกตปัญหาของนกั เรียน
2. นำปัญหาของนักเรียนมาและวิเคราะห์เพ่ือคิดหาวิธีท่จี ะชว่ ยแกไ้ ขปัญหา
3. แกไ้ ขปญั หาท่เี กิดขึ้นและสรปุ ผล
3. ข้อคดิ ทไี่ ด้จากงานปญั หาของนกั เรยี นต่ออาชพี ครู
ไม่วา่ ปัญหาของนักเรยี นแต่ละคนจะเปน็ อยา่ งไร ครูตอ้ งเตรียมรับมอื กบั ปญั หานน้ั ให้ได้ ต้อง
มีความอดทน เมตตาและใจเยน็ เอาใจใส่ เสยี สละเวลา และเตม็ ที่กับงานของตน เพราะครูไม่ใช่แค่มี
หน้าทส่ี อน แต่ยงั เปรยี บเสมือนพ่อแม่คนทสี่ องของนกั เรยี น

8

4. ภาพ (ตัวอย่าง) ปัญหาของนกั เรยี น

ลงช่ือ..............................................................ผบู้ นั ทกึ
(นางสาวฟ้าใส อาษาสนา)

ลงช่ือ..............................................................ครูพี่เลี้ยง/ผู้รับผิดชอบ
(นายทองสุข เผ้าหอม)

9

แบบบนั ทึก ปส.1.3

แบบบนั ทกึ การเรยี นร้งู าน ด้านการจดั การช้นั เรียนและการแกป้ ญั หาในช้นั เรียน

โรงเรียน บ้านโนน
ชื่อ-สกุล นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา รหสั นกั ศึกษา 6410440131052
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวชิ า การสอนภาษาไทย
วนั พธุ ท่ี 24 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ.2564
1.หลักการ, เหตุผล ความสำคญั ,วัตถุประสงค,์ ประโยชน์ของการจัดการช้นั เรยี น

1.1 หลกั การ เหตุผล ความสำคัญ แนวคิด – ทฤษฎี
การจัดการชั้นเรียน เป็นการดำเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดสภาพแวดล้อมในช้ัน

เรียน เพื่อกระตุ้น ส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้และสร้างเสริมผู้เรียนในด้านสติปัญญา ร่างกาย
อารมณ์ และสังคมไดเ้ ป็นอย่างดี รวมถงึ การแก้ไขปญั หาพฤติกรรมของนกั เรยี นโดยมีเป้าหมายเพื่อให้
นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ของการเรียนการสอนตลอดจนบรรลุผลตามเป้าหมายของ
การศึกษา

1.2 วัตถปุ ระสงค์
- เพอ่ื สรา้ งแรงจงู ใจในการเรียนท่ีดใี ห้แกน่ ักเรยี น
- เพื่อให้มีกฎซ่งึ นำปสู่ความเป็นระบบและระเบียบของห้องเรยี น
- เพ่ือให้นกั เรยี นมีส่วนร่วมกบั คณุ ครูในหอ้ งเรยี นและสร้างความสัมพนั ธท์ ่ดี ีร่วมกัน

1.3 ประโยชนข์ องการจัดการชน้ั เรยี น
- ช่วยให้นักเรยี นทีความตงั้ ใจและสนใจในการเรยี นร้มู ากข้ึน
- ชว่ ยส่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี นได้ตระหนักในเรือ่ งของวนิ ยั และกฎระเบยี บในช้ันเรียน
- ทำใหน้ กั เรียนรูส้ กึ สนุก เกิดความอบอุ่นและมคี วามสขุ ในการเรียน

2. ลักษณะของการจัดการในช้ันเรียน
- กำหนดกฎ กติกาและข้อตกลงรว่ มกันในชั้นเรียน
- มีการจัดเวรทำความสะอาดทกุ วัน
- ชนั้ เรียนควรมีสสี ันท่ีน่าดูสบายตา มอี ากาศถ่ายเทไดด้ ี แสงสว่างเพียงพอ ไม่มีเสียงรบกวน

อากาศไม่เป็นพษิ ไม่ร้อนจนเกนิ ไป มตี น้ ไม้ ดอกไมป้ ระดบั และมขี นาดกว้างขวางอย่างเพียงพอ
- สะอาดถูกสขุ ลักษณะ เปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย น่าอยูม่ บี รรยากาศและสิง่ แวดล้อมคล้ายคลึง

กบั ชีวิตในบ้าน ในครอบครัวของนกั เรยี น

10

- สิง่ ทอ่ี ยูใ่ นชัน้ เรยี น ไม่ว่าจะเป็นโตะ๊ เก้าอี้ มมุ หนงั สือ ป้ายนเิ ทศ สือ่ การสอน ประเภทต่างๆ
สามารถเคลือ่ นไหว เคลอ่ื นท่ไี ด้ สามารถจดั หรอื ดัดแปลงช้ันเรียนให้มีลักษณะเออ้ื อำนวยต่อการสอน
และกจิ กรรมต่างๆ ได้
3. ข้อคิดทไ่ี ด้จากงานการจดั การช้นั เรียนและการแกป้ ัญหาในชน้ั เรยี น

การทำงานทุกอย่างต้องมีการวางแผนที่เป็นระบบ เพราะจะทำให้เราทำงานได้ดี และงาน
สำเร็จลุล่วงตามที่วางแผนไว้ มีความคิดสร้างสรรค์จัดทำสื่อการเรียนรู้ตา่ ง ๆ ที่น่าสนใจ ได้รู้จักการ
แก้ปัญหาในชนั้ เรยี นวา่ ทำอย่างไรใหเ้ ดก็ เชื่อฟงั มีความเป็นระเบยี บวินัยและสนใจเรียน ทสี่ ำคัญคือครู
ต้องเปน็ แบบอย่างทด่ี ใี หก้ บั นักเรยี น สร้างบรรยากาศให้นกั เรียนอยากเรยี นรู้อย่สู มอ
4. ภาพ (ตวั อยา่ ง) ด้านการจดั การชนั้ เรียนและการแกป้ ญั หาในช้นั เรยี น

ลงชื่อ..............................................................ผบู้ ันทกึ
(นางสาวฟ้าใส อาษาสนา)

ลงชือ่ ..............................................................ครูพีเ่ ลยี้ ง/ผู้รบั ผดิ ชอบ
(นายทองสุข เผา้ หอม)

11

แบบบันทึก ปส.1.4

แบบบันทกึ การเรียนรู้งาน ดา้ นการทำงานตามโครงการเยยี่ มบา้ นนักเรียน

โรงเรียน บา้ นโนน
ช่ือ-สกลุ นางสาวฟ้าใส อาษาสนา รหัสนกั ศึกษา 6410440131052
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวชิ า การสอนภาษาไทย
วัน พธุ ท่ี 24 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2564
1. หลักการ, เหตุผล ความสำคัญ, วัตถุประสงค์, ลักษณะ, ประโยชน์ของโครงการเยี่ยมบ้าน
นักเรียน

1.1 หลักการ, เหตุผล ความสำคญั
การเยี่ยมบ้านนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในการดำเนินงาน

ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียนซึ่งการดำเนินงานดูแลช่วยเหลอื นักเรียนอย่างมีขั้นตอน พร้อมด้วย
วธิ ีการและเครื่องมือการทำงานที่ชัดเจน โดยมีครปู ระจำชนั้ หรือครูท่ีปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการ
ดำเนนิ งาน

หลกั การในการออกเยย่ี มบ้าน
1. ก่อนไปเยี่ยมบ้านควรแจง้ ให้นกั เรยี นทราบล่วงหน้าเพือ่ ไปบอกกล่าวผู้ปกครองก่อนวา่ ครู
จะเย่ียมบ้านในวนั ใดเวลาใด
2. การไปเยีย่ มบา้ นว่าต้องการทราบข้อเทจ็ จริงหรือข้อมูลเรอ่ื งใดบา้ ง พรอ้ มทั้งเตรียมหวั ข้อท่ี
จะสัมภาษณ์หรือสนทนากับผู้ปกครองของนักเรยี น เพ่อื ใหไ้ ดข้ ้อมูลตามจดุ มุ่งหมาย
3. ศกึ ษาขอ้ เทจ็ จรงิ เกี่ยวกับตวั นกั เรียนเท่าท่มี ีอยู่กอ่ นไปเย่ียมบา้ น
4. พยายามสร้างให้เกิดความคุ้นเคย ความอบอุ่นใจ ความมมี ติ รภาพท่ดี ตี ่อกัน
5. ควรสนบั สนุนให้นักเรยี นไดม้ โี อกาสรว่ มวงสนทนาในระยะแรกที่ครไู ปถงึ
6. พยายามใหผ้ ู้ปกครองได้มโี อกาสแสดงความคดิ เห็นและความรู้สกึ ตา่ ง ๆในเรอื่ งท่สี นทนา
7. หลีกเลี่ยงการการตำหนติ เิ ตียน การวพิ ากษ์วจิ ารณ์เกี่ยวกบั ตัวนกั เรียน ผ้ปู กครอง
8. การเย่ยี มบ้านควรคำนึงถงึ ความเหมาะสมของเวลาทไ่ี ปเย่ยี มและระยะเวลาท่เี ยย่ี มบา้ น
9. รีบจดบันทกึ ข้อมูลท่ไี ดท้ ันทีหลังจากกลับจากการเยย่ี มบา้ น
1.2 วัตถุประสงค์ของการเยยี่ มบ้าน
- เพื่อใหค้ รไู ด้ไปดสู ภาพการเปน็ อยู่ของนกั เรียนและครอบครวั
- เพื่อให้ทราบปัญหา และให้กำลงั ใจ ให้คำแนะนำกบั นกั เรยี น

12

- เพ่อื ให้ครู นกั เรียนและผู้ปกครองได้พดู คุยและปรกึ ษาเรื่องตา่ งๆเก่ยี วกับนกั เรียน
1.3 ประโยชน์ของโครงการเยี่ยมบา้ นนักเรียน

การเยี่ยมบ้าน เป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์อย่างมาก เพราะช่วยให้คุณครูมีความเข้าใจในตัว
นักเรียนมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเป็นการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมถึงสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่าง
โรงเรยี น ครู และผู้ปกครองอกี ด้วย ซ่งึ จะเป็นผลดตี ่อการส่งเสริมและพฒั นานักเรยี นต่อไปในอนาคต
อยา่ งมาก เกดิ ความเข้าใจและชว่ ยเหลอื จดั การปญั หาของนกั เรยี นได้อย่างตรงจุด
2. แนวทางการดำเนินงานโครงการเย่ยี มบา้ นนักเรียน

ถ้าสถานการณ์ปกติก็จะออกเยีย่ มบา้ นได้ ครูสามารถออกเย่ยี มบา้ นนกั เรียนได้ครบทกุ คน จะ
แบ่งเปน็ กลมุ่ หมู่บ้านใกล้เคยี งกับโรงเรียน และกลุม่ บา้ นไกลหรือไม่ได้อยู่ในพน้ื ท่ีเดียวกับโรงเรียน ใช้
เวลาหลังเลกิ เรียนในการออกเย่ียมบ้าน แต่สถานการณ์ในขณะน้ที ่ีมีการระบาดของโรคโควิด 19 เพื่อ
เปน็ การป้องกันการระบาดของโรคจงึ ไม่มีการออกเยย่ี มบ้าน คณุ ครูจะสง่ แบบบนั ทกึ การเย่ียมบ้านให้
ทางไลนก์ ลมุ่ แลว้ ให้นกั เรียนและผู้ปกครองกรอกข้อมูลให้เรียบรอ้ ย ครบถว้ น ค่อยนำมาส่งท่ีโรงเรียน
ในวันทีม่ ารับใบงานเพราะจดั การเรยี นในรปู แบบ on hand
3. ขอ้ คิดทไ่ี ดจ้ ากการเรยี นรู้โครงการเย่ยี มบา้ นนักเรยี น

ครูต้องสรา้ งสมั พันธท์ ดี่ กี่ บั ผอู้ ่นื การออกเย่ียมบา้ นทำใหท้ ราบการเปน็ อยู่ของนักเรยี น ครูท่ีดี
จะต้องเข้าใจในตัวนักเรียนและลงไปพบปะเพื่อทราบถึงปัญหาความเป็นอยู่ พฤติกรรมของนักเรียน
มากยิ่งขึ้น มีการวางแผนและช่วยเหลอื นักเรยี น สร้างความสัมพันธ์อันดีระหวา่ งโรงเรยี น ผู้ปกครอง
และตัวนักเรยี น เกิดความเข้าใจและช่วยเหลอื จดั การปัญหาของนกั เรยี นไดอ้ ย่างตรงจุด

13
4. ภาพ (ตัวอย่าง) หรอื รอ่ งรอยหลักฐานของการทำงานโครงการเย่ียมบ้านนกั เรยี น

ลงชอื่ ..............................................................ผบู้ นั ทกึ
(นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา)

ลงชอื่ ..............................................................ครพู เี่ ลยี้ ง/ผู้รบั ผิดชอบ
(นายทองสขุ เผ้าหอม)

14

แบบบนั ทึก ปส.1.5

แบบบันทกึ การเรียนรู้งาน ด้านความสัมพันธ์ระหวา่ งโรงเรียนกบั ผปู้ กครองและชมุ ชน

โรงเรียน บา้ นโนน
ชื่อ-สกลุ นางสาวฟ้าใส อาษาสนา รหัสนกั ศึกษา 6410440131052
คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวชิ า การสอนภาษาไทย
วัน พธุ ท่ี 24 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2564
1. หลกั การ, เหตผุ ล ความสำคัญ, วตั ถปุ ระสงค,์ ลกั ษณะ, ประโยชนข์ องงานดา้ นความสัมพันธ์
ระหวา่ งโรงเรยี นกบั ผปู้ กครองและชุมชน

1.1 หลกั การ, เหตุผล ความสำคญั
การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองและชุมชน หมายถึง ความสัมพันธ์ใน

ด้านต่าง ๆ ระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครองและชุมชน เพื่อให้เกิดความเข้าใจเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
สามคั คแี ละรว่ มมอื กนั ทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ใหเ้ กดิ ผลสำเร็จ

ความสำคัญ เป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชนช่วยให้โรงเรียและ
ชมุ ชนเกิดความเขา้ ใจอนั ดีต่อกัน ช่วยลดปัญหาความขดั แยง้ และชว่ ยใหเ้ กิดความร่วมมืออันดีต่อกัน
ทั้งนี้ทั้งสองฝ่ายจะต้องปฏิบัติตามบทบาทของตนด้วยวิธีการที่เหมาะสม จึงจะสามารถสร้าง
ความสัมพนั ธ์อันดใี หเ้ กิดขน้ึ ได้

1.2 วัตถุประสงค์
- เพอื่ ส่งเสรมิ และเปดิ โอกาสใหช้ ุมชนได้เขา้ มามีส่วนรว่ มกจิ กรรมท่โี รงเรยี น และชมุ ชนจัดขน้ึ
- เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาการศกึ ษาทงั้ โรงเรียนและชมุ ชน

1.3 ลกั ษณะของความสมั พนั ธร์ ะหว่างโรงเรยี นกบั ผปู้ กครองและชุมชน
เชน่ งานกีฬาสี งานผ้าปา่ สามคั คี งานประชมุ ผู้ปกครอง

1.4 ประโยชน์ของงานด้านความสมั พนั ธร์ ะหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองและชุมชน
เพ่อื สรา้ งความสามคั คีกนั ในการทำงานร่วมกัน ระหวา่ งโรงเรียน ผ้ปู กครองและชมุ ชน
สามารถประสานงาน และทำงานรว่ มกันได้งา่ ยและสะดวก

15

2. แนวทางการทำดำเนินงานดา้ นความสมั พันธ์ระหว่างโรงเรยี นกบั ผูป้ กครองและชุมชน
2.1 งานกีฬาสี มีการจัดประชุมก่อนที่จัดงานกีฬาสีโดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาร่วมประชุม

เพื่อนรับทราบที่จะมีการจัดงาน ว่าจะดำเนินการแบบไหน ร่วมกันแสดงความคิดเห็น จะจัดให้
ผู้ปกครองมีสว่ นร่วมในการมอบเหรียญรางวลั ด้วย เพ่ือเปน็ ขวญั และกำลงั ใจให้กับลกู ๆนกั เรยี น

2.2 งานผ้าป่าสามคั คี เปน็ การจดั หาทนุ เพ่อื นำมาต่อเติมหรอื สร้างสงิ่ ตา่ งๆ ใหก้ ับโรงเรียนเพื่อให้
คนในชุมชนไว้ใชเ้ ป็นสว่ นรวม ถอื เปน็ ประโยชน์อยา่ งมาก

2.3 งานประชุมผปู้ กครอง แจกหนงั สอื เชิญคณะกรรมการสถานศกึ ษาและผู้ปกครองของนักเรียน
ชีแ้ จงเรือ่ งที่จะประชุมและวนั ที่จะประชุมอย่างชัดเจน
3. ขอ้ คดิ ท่ีไดจ้ ากงานด้านความสัมพันธ์ระหวา่ งโรงเรยี นกับผู้ปกครองและชุมชน

ทำให้เราไดเ้ รียนรู้ข้ันตอนและวิธกี ารดำเนนิ งานของโรงเรียนวา่ มีขน้ั ตอนอย่างไรบา้ ง และมีการจัด
กจิ กรรมอะไรบา้ งระหวา่ งโรงเรยี นกบั ผู้ปกครองและชุมชน
4. ภาพ (ตวั อย่าง) ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองละชุมชน

ลงช่ือ..............................................................ผบู้ ันทึก
(นางสาวฟ้าใส อาษาสนา)

ลงชื่อ..............................................................ครูพเี่ ล้ียง/ผูร้ ับผิดชอบ
(นายทองสุข เผา้ หอม)

16

แบบบันทกึ ปส.1.6

แบบบนั ทึกการเรยี นรู้งาน ดา้ นการจัดการส่ิงแวดล้อมเพ่อื การเรยี นรู้ (ในฐานะครผู ู้สอน)

โรงเรยี น บา้ นโนน
ช่อื -สกลุ นางสาวฟ้าใส อาษาสนา รหัสนกั ศึกษา 6410440131052
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวชิ า การสอนภาษาไทย
วนั พธุ ท่ี 24 เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ.2564
1. หลักการ, เหตุผล ความสำคัญ, วัตถุประสงค์, ลักษณะ, ประโยชน์ของงานด้านการจัดการ
สงิ่ แวดลอ้ มเพ่อื การเรยี นรู้ (ในฐานะครผู ้สู อน)

1.1 หลักการ, เหตุผล ความสำคัญ
การจดั การสงิ่ แวดล้อมเพอ่ื การเรียนรู้ หมายถึง สภาพแวดลอ้ มที่อยู่ รอบ ๆ ตัวนกั เรยี น เพ่ือ

เอ้ือต่อการเรยี นรู้ของนักเรียนทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ร่วมทั้งวิธีการสร้างระเบียบวนิ ัย ใน
ห้องเรียนเพื่อรักษาบรร ยาก าศใน ห้อง เรียนช่วยให้การเร ียนก ารสอนด ำเนินไปอ ย่างร า บร่ืน
ความสำคัญเป็นการดำเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดสภาพแวดล้อมในชั้นเรียน เพื่อกระตุ้น
ส่งเสริมบรรยากาศการเรยี นรู้และสรา้ งเสริมผู้เรยี นในดา้ นสติปัญญา ร่างกาย อารมณ์ และ สังคมได้
เป็นอย่างดี รวมถึงการแก้ไขปัญหาการดำเนินการเร่ืองสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้เป็นการจัดสือ่ การ
เรยี นรู้ครบทุกกลุม่ สาระใน ห้องเรยี น การจัดโตะ๊ เก้าอใี้ นการนัง่ เรียนหนังสอื มีเทคโนโลยีในเร่ืองของ
สื่อทางโทรทัศน์ การจัดบอร์ด ความสว่างในห้องเรยี นทีม่ ีความเหมาะสม การเรียนรูน้ อกสถานที่ ใ่ ห้
นกั เรยี นได้ศึกษาและสมั ผสั กับบรรยากาศนอกหอ้ งเรยี น

1.2 วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจและอยากเรียนรู้มากขึ้น สร้างบรรยากาศโรงเรียน

ห้องเรียนให้น่าอยู่และนา่ เรยี น
1.3 ประโยชน์ของงานด้านการจดั การส่ิงแวดลอ้ มเพอ่ื การเรียน (ในฐานะครผู ู้สอน)
ทำใหส้ ่ิงแวดล้อมภายในโรงเรยี นและห้องเรียนน่าอยู่ และเปน็ ระเบยี บมากข้นึ

2. แนวทางการดำเนินงานด้านการจัดการสงิ่ แวดลอ้ มเพอ่ื การเรียนรู้ (ในฐานะครูผู้สอน)
- ทำความสะอาดมีการจัดเวร แบ่งหนา้ ที่กนั ในแต่ละคน ให้ทุกคนมีสว่ นร่วมและช่วยกันดูแล

รกั ษาความสะอาด

17

- การจดั ทำสื่อการสอน จะมีการทำส่อื ท่ที ันสมยั และแปลกใหม่เพ่ือให้นักเรียนเกดิ ความสนใจ
ทอี่ ยากจะเรยี นมากข้ึน
3. ข้อคิดที่ได้จากการเรียนรู้เรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ (ในฐานะครูผู้สอน) ต่อ
วชิ าชีพครู

ครูต้องมีความกระตือรือร้น มีความคิดสร้างสรรค์ที่จะสร้างสื่อการเรียนรู้อยู่เสมอ และ
สามารถนำแนวคิดมาพัฒนาต่อยอดได้ เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ สิ่งแวดล้อมนั้นเป็นส่วน
หนึ่งของการเรียนรู้ ทำให้เกิดการพัฒนาผู้เรียนได้อย่างรอบด้าน ครูจึงต้องส่งเสริมทักษะความรู้ใน
ดา้ นต่าง ๆและ เปน็ แบบอย่างท่ีดี
4. ภาพ (ตัวอย่าง) ผลของงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อการจัดการเรียนรู้ (ในฐานะ
ครูผ้สู อน)

ลงชื่อ..............................................................ผู้บันทึก
(นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา)

ลงชอ่ื ..............................................................ครูพเ่ี ลี้ยง/ผูร้ ับผิดชอบ
(นายทองสขุ เผา้ หอม)

18

แบบบันทึก ปส.1.7

แบบบันทกึ การเรียนรู้งาน ด้านงานครูดา้ นอนื่ ๆ

โรงเรียน บา้ นโนน
ชือ่ -สกลุ นางสาวฟ้าใส อาษาสนา รหสั นักศกึ ษา 6410440131052
คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชา การสอนภาษาไทย
วัน พุธ ท่ี 24 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ.2564
1. หลกั การ, เหตผุ ล ความสำคัญ, วตั ถุประสงค,์ ของงานด้านอนื่ ๆ ตามกลไกหารบรหิ ารของ
โรงเรียน

1.1 หลกั การ, เหตุผล ความสำคัญ
นอกจากงานธุรการหรืองานในชั้นเรียนต่างๆ แล้วทางโรงเรียนยังมีงานอื่นๆให้คุณครู

รับผิดชอบ เช่น การประชุมเพื่อวางแผนรูปแบบการเรียนการสอนในสถานการณ์โควิด งานฝ่ายพัสดุ
งานฝ่ายวชิ าการ เป็นตน้

1.2 วตั ถปุ ระสงค์
- เพ่อื ให้เรยี นรู้งานได้ใหมๆ่ เพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพของตนเองให้มปี ระสทิ ธิภาพในการมากขนึ้
- เพอ่ื ฝกึ ตนเองใหพ้ รอ้ มทีจ่ ะปฏิบตั งิ านไดใ้ นทกุ ๆด้าน

1.3 ลกั ษณะของงาน
งานฝ่ายวิชาการ การตรวจงานของนักเรียน การประชุมวางแผนการเรียนการสอน

สถานการณ์โควิด
2. แนวทางการดำเนินงานด้านอ่นื ๆ

2.1 งานฝา่ ยวชิ าการ
มีการส่งเสริมกจิ กรรมการแข่งขนั ทักษะทางวชิ าการ ครูประจำชนั้ จะทราบดวี า่ แต่ละคนถนัด

ในด้านใดและจะคัดเลือกนักเรียนมาฝึกทักษาในด้านนั้นๆ เพื่อเป็นตัวแทนในการแข่งขันทักษะทาง
วชิ าการ

19

2.2 การตรวจงานของนักเรยี น
ครจู ะสั่งงานตามทีเ่ รียนในแตล่ ะครั้ง เม่อื นกั เรยี นนำมาส่จะมกี ารรวบรวมงานของนกั เรียนแต่

ละครั้งและตรวจงาน ตรวจสอบว่านักเรียนเข้าในในการเรียนมากน้อยเพียงใด และนำมาพัฒนา
นกั เรียนตอ่ ไป
3. ข้อคิดที่ได้จากการเรียนรู้เร่อื งงานอน่ื ๆ ตอ่ อาชพี ครู

ครตู อ้ งกลา้ แสดงออก กล้าคดิ กลา้ พดู และกล้าทีจ่ ะลงมือทำ มีความรับผิดชอบต่องานท่ไี ด้รับ
มอบหมาย รู้จักแบ่งเวลาในการปฏิบัติงาน มคี วามอยากที่จะเรียนรงู้ านด้าน ตา่ ง ๆอยูเ่ สมอ ไม่ว่าจะ
เป็นงานท่เี กี่ยวกับการสอน หรืองานนอกเหนอื จากการสอนกต็ าม
4. ภาพ (ตวั อย่าง) ผลของงาน ด้านงานของครูด้านอ่นื ๆ

ลงชอื่ ..............................................................ผ้บู ันทึก
(นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา)

ลงชื่อ..............................................................ครูพี่เลี้ยง/ผู้รับผิดชอบ
(นายทองสุข เผ้าหอม)

20

บทที่ 3
สรุปองคค์ วามรู้

แบบสรปุ องค์ความรู้

1. สรุปองคค์ วามรู้จากการเรยี นรูใ้ นโรงเรยี น (ความร้จู ากทุกแบบบันทึก)
2. สรปุ ข้อคิดทไ่ี ด้รับจากการไปปฏิบัตงิ านในสถานศกึ ษาตอ่ วิชาชพี ครแู ละข้อเสนอแนะ

21

แบบบันทกึ ปส.1.8

แบบสรปุ องคค์ วามร้จู ากการเรยี นรใู้ นโรงเรียน (ความรจู้ ากทุกแบบบันทกึ )

โรงเรียน บ้านโนน
ชือ่ -สกุล นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา รหัสนักศึกษา 6410440131052
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชา การสอนภาษาไทย
วนั พุธ ท่ี 24 เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ.2564
1. สรุปองคค์ วามรเู้ กีย่ วกับงานธุรการในช้นั เรียน

งานธรุ การในช้นั เรียน คอื งานของครทู เี่ กีย่ วข้องกบั เอกสารที่โรงเรียนจดั ใหม้ ีขึน้ เพอ่ื เปน็ การ
บริหารหรือปฏิบัติงานในชั้นเรียนของโรงเรียนให้เป็นแนวทางเดียวกัน งานจะเกี่ยวกับข้อมูลของ
นักเรียนเอง เช่น เลขบัตรประชาชน ชื่อบิดา-มารดา ทำอาชีพอะไร และสมุดการลงคะแนนของ
นกั เรียนแต่ละกลุ่มสาระ การให้คะแนนมี 3 ระดบั คอื 1=พอใช้ 2=ดี และ3=ดีเยี่ยม ในการปฏิบตั งิ าน
จำเป็นที่จะต้องมีร่องรอยหลักฐาน หรือแบบบันทึกการทำงานไว้เพื่อสะดวกต่อการค้นหาข้อมูล มี
ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสำคัญมาก เพราะเป็นสถิติเบื้องต้นเพื่อที่จะนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหาหรือ
พัฒนาเร่อื งตา่ ง ๆ ในโรงเรียน
2. สรปุ องคค์ วามรเู้ กี่ยวกบั ดา้ นปญั หาของนักเรียน

นักเรียนไมเ่ ขา้ ใจวธิ ีทำใบงาน เน่ืองจากไม่ได้ดคู ลปิ หรือวีดีทศั นก์ ารสอน นักเรยี นบางคนไม่ได้
อยูก่ บั พ่อแม่ มแี ค่ตายายไมส่ ามารถสอนใบงานได้ นกั เรยี นบางคนไมม่ ีโทรศพั ท์ หรือมีก็มีแบบโทรได้
ทำให้การส่งงานทางไลน์ลำบาก ครูก็จะมวี ิธีแกป้ ัญหาเมื่อนกั เรียนมารบั ใบงาน โดยการอธิบายให้ฟงั
อยา่ งละเอียด จนนกั เรียนเข้าใจและสามารถทำใบงานเองได้ หรอื ในกรณีที่นกั เรียนบางคนไม่สามารถ
มาได้ ใหแ้ คผ่ ปู้ กครองเป็นตัวแทนมารับงาน ครูผ้สอนกจ็ ะอธิบายให้ผปู้ กครองฟังเพ่ือให้ผู้ปกครองไป
สอนนักเรียนอกี ที
3. สรุปองคค์ วามรเู้ ก่ยี วกับดา้ นการจัดการช้นั เรียนและการแก้ปญั หาในชนั้ เรียน

มีการสร้างบรรยากาศในห้องเรียน ให้น่าเรียน สนุกสนานเพื่อกระตุ้นความสนใจให้นกั เรยี น
อยากที่จะเรียน การจัดการชั้นเรียนเป็นสิ่งสำคัญในการช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนสามารถ
รบั ผิดชอบควบคุมดแู ลตนเองได้
4. สรุปองคค์ วามรเู้ กยี่ วกับดา้ นการออกเยีย่ มตามโครงการเยี่ยมบา้ นนกั เรยี น

จัดในรูปแบบออนไลน์ มีแบบบนั ทกึ ให้นักเรียนไปกรอกข้อมูลแล้วถา่ ยรูปสง่ มาให้คุณครูทาง
ไลน์ นักเรียนคนไหนที่ไม่สามารถติดต่อได้ ไม่ส่งแบบบันทึกกลับมาครูก็จะติดตามไปดูที่บ้านเป็น

22

รายบุคคลท่มี ปี ญั หา ส่วนมากจะไมค่ ่อยมีปัญหา การสำรวจแบบออนไลนแ์ บบนี้ก็ไดข้ อ้ มูลท่ีไม่ถูกต้อง
หรือครบถ้วนเหมือนออกไปเยี่ยมบา้ นจริงๆ เช่นนักเรียนอาจจะกรอกบ้านเลขทีม่ าไม่ตรงตามจริงไม่
เหมือนที่คุณครูไดไ้ ปหานักเรียนถงึ ที่บ้าน ถ้าได้ไปเยี่ยมที่บ้านก็จะได้ทราบว่าทางครอบครวั นักเรยี น
เป็นยังไง นักเรียนมีปัญหาด้านไหนบ้าง ได้ปรึกษาและพูดคุยกับผู้ปกครองและนักเรียนมากขึ้น ใน
บนั ทึกการเยย่ี มบ้านก็จะมีวา่ ท่บี ้านเด็กอาศัยอยู่กคี่ น บ้านกี่ชั้น เด็กมปี ัญหาอะไร ขาดแคลนเร่อื งอะไร
ต้องการทนุ หรอื ไม่ เปน็ ต้น
5. สรุปองค์ความรเู้ กย่ี วกับด้านความสัมพันธร์ ะหว่างโรงเรยี นกบั ผปู้ กครองและชุมชน

ผูป้ กครองมเี ครือขา่ ย มกี ารตั้งกล่มุ ไลน์เพ่อื ตดิ ต่อสื่อสารระหว่างครูกับผู้ปกครอง มงี านอะไร
ให้แจ้งผ่านไลน์ได้เลย โรงเรียนกับผูป้ กครองและชุมชนตอ้ งประสานงานกันอย่ตู ลอดอยู่แล้ว ทำให้เกิด
ความสามคั คีในการทำงาน คอยอาศยั ซ่งึ กนั และกัน ผู้ปกครองและครูให้ความรว่ มมอื กนั เป็นอย่างดี
6. สรปุ องคค์ วามรเู้ กีย่ วกบั ด้านการจัดการสง่ิ แวดลอ้ มเพือ่ การเรยี นรู้ (ในฐานะครผู ู้สอน)

การจัดการสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน มีบรรยายกาศที่ดี สะดวกสบาย ไม่ใกล้กับโรงงาน
อตุ สาหกรรม อากาศถ่ายเท มตี น้ ไม้ รม่ ร่ืน เหมาะแก่การเรยี นการสอน
7. สรปุ องค์ความร้เู กี่ยวกับดา้ นงานของครดู า้ นอ่ืนๆ

นอกจากงานธรุ การ การออกเยี่ยมบ้าน การจัดการช้นั เรยี นแล้วและนอกจากการสอน ครูยังมี
หน้าทท่ี ่ตี อ้ งรบั ผดิ ชอบงานอื่นๆอกี หลายอย่าง เชน่ การรว่ มประชุมทจี่ ะถูกจดั ขึน้ อยา่ งนอ้ ยอาทิตย์ละ
1 ครั้ง เพือ่ สรุปผลการเรยี นการสอน การจดั ตวิ ขอ้ สอบโอเนต็ ให้กับนกั เรยี น และงานประกนั คณุ ภาพ
เปน็ ตน้

ลงช่ือ................................................ผู้บันทกึ
( นางสาวฟ้าใส อาษาสนา )

23

แบบสรุปขอ้ คิดทไ่ี ด้รับจากการไปปฏบิ ตั งิ านในสถานศึกษาต่อวชิ าชีพครแู ละขอ้ เสนอแนะ
โรงเรยี น บ้านโนน
ชอ่ื -สกลุ นางสาวฟ้าใส อาษาสนา รหัสนกั ศึกษา 6410440131052
คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชา การสอนภาษาไทย
วนั พุธ ท่ี 24 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ.2564
สรปุ ข้อคิดทไ่ี ดร้ บั จากการไปปฏบิ ตั ิงานในสถานศึกษาตอ่ วชิ าชพี ครู

- ครตู ้องมีความตั้งใจในหน้าที่และงานของตน

- ครตู อ้ งมีความรับผดิ ชอบในหนา้ ที่ทีไ่ ด้รับมอบหมาย

- ครูต้องเอาใจใส่และพยายามเขา้ ใจปญั หาและความตอ้ งการของเด็ก ใหค้ วามรักความ

อบอุ่น เมตตาและใจเย็นตอ่ เด็ก มีสตเิ ป็นท่ตี งั้ และไม่เอาอารมณ์มาอยูเ่ หนอื เหตุผล
- ครูจะต้องมีความยตุ ิธรรมให้นกั เรยี นอยา่ งเทา่ เทียม

- ครูตอ้ งมีความรกั และความศรัทธาในวิชาชีพของตน และมีจิตวญิ ญาณของความเปน็ ครู
- ครตู ้องแสดงตนเปน็ ตัวอยา่ งที่ดแี กน่ ักเรียน

- ครูต้องมคี วามละเอยี ดรอบคอบและความอดทนสงู
ข้อเสนอแนะ

อยากให้คณะอาจารย์ชี้แจงนักศึกษาตั้งแต่ต้นเทอมเพราะเป็นปีแรกของการออกฝึก
ประสบการณ์ ควรที่จะแนะนำหรืออธิบายวิธีการบันทึกเล่มให้เข้าใจ และนักศึกษาจะได้เข้าใจวิธี
เรยี นรู้งาน บันทึกงานดา้ น ต่าง ๆไดด้ ขี น้ึ

ลงชอื่ ................................................ผู้บนั ทึก
( นางสาวฟ้าใส อาษาสนา )

24

บทท่ี 4
สรุปผลการเข้าร่วมกจิ กรรมในรายวชิ า

แบบสรปุ ผลการเข้าร่วมกจิ กรรมในรายวิชา
- แบบบนั ทกึ การเข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศ
- แบบบนั ทกึ การเขา้ รว่ มกจิ กรรมสะท้อนผลระหว่างปฏบิ ตั ิการสอน
- แบบบนั ทกึ การเขา้ ร่วมกิจกรรมปจั ฉิมนิเทศ

25

แบบบันทึก ปส.2.1

แบบบันทึกการเขา้ ร่วมปฐมนิเทศ การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา
1. เชงิ ปริมาณ

ข้าพเจ้า ได้เข้าร่วมกิจกรรมการปฐมนิเทศ ตามเงื่อนไขของรายวิชาการปฏิบัติการสอนใน
สถานศกึ ษา 1 ครบตามจำนวนเวลาและครบทุกกจิ กรรมยอ่ ยท่กี ำหนด
(เมื่อ/ระหวา่ ง) วนั ที่ 29 เดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2564
2. เชงิ คณุ ภาพ

ข้าพเจ้า ได้ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ด้วยความตั้งใจ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และมี
ความสามารถปฏิบัติตามรายละเอยี ดของรายวชิ าไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและมคี ณุ ภาพ ดงั น้ี

ก่อนที่ข้าพเจ้าจะได้ออกฝึกปฎิบัติการสอนในสถานศึกษา คณาจารย์สาขาวิชาการสอน
ภาษาไทยไดใ้ หค้ วามอนเุ คราะห์จดั งานปฐมนิเทศให้แกน่ ักศกึ ษาทีอ่ อกฝึกปฏิบัติการสอน 1 ณ วัดป่า
รตั นมงคลโดยมกี ิจกรรม ดังน้ี

1. รบั ฟังโอวาทจาก พระครูวินัยธร วรชตั ปยตุ โต ดร.
2. คณาจารย์สาขาวิชาการสอนภาษาไทยทำพิธีมอบเข็มวิชาชีพให้แก่นักศึกษาที่จะออก
ปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษา 1
3. นักศึกษากล่าวคำปฏิญาณตนพร้อมกนั
4. รบั ฟังโอวาทจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บญั ชา เกียรตจิ รุงพนั ธ์ ในกิจกรรมปฐมนเิ ทศการ
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานี้ ข้าพเจ้าได้รับข้อมูลที่จะนำไปปฏิบัติในการฝึกปฏิบัติการใน
สถานศึกษา ดงั นี้
1. ได้เรียนรู้ในเร่ืองการวางตัวในสถานศกึ ษาที่ตนเองไดอ้ อกปฏิบัติการสอนว่าควรจะวางตัว
อย่างไรจึงจะเหมาะสม
2. ได้เรียนรู้ในเร่ืองของการฝึกปฏิบัตงิ านอยา่ งอื่นท่ีนอกเหนอื จากการสอนเพราะงานของครู
นัน้ ไม่ไดม้ แี คก่ ารสอน
3. ได้เรียนรู้ในเรือ่ งของวิชาชีพครูเพราะอาชีพครูนนั้ เปน็ อาชพี ทตี่ ้องมีความอดทนทสี่ ูง

ลงชอื่ ........................ ........................ผู้บันทึก
( นางสาวฟ้าใส อาษาสนา )

26

แบบบันทึก ปส.2.2

แบบบนั ทึกการเข้ารว่ มสะทอ้ นผล ระหวา่ งการปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา
1. เชิงประมาณ

ข้าพเจ้า ไดเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมสะทอ้ นผลระหว่างปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษา ตามเง่ือนไขของ
รายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 ครบตามจำนวนเวลาและครบทุกกิจกรรมย่อยที่
กำหนด (เม่ือ/ระหวา่ ง) วันท่ี 5 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2564
2. เชงิ คณุ ภาพ

ข้าพเจ้า ได้ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยความตั้งใจ เช่น การนำเสนอผลการปฏิบัติงานของ
ตนเอง การสรปุ องคค์ วามรู้ และข้อคิดจากประสบการณข์ องคนอ่นื เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจ และ
มีความสามารถปฏบิ ตั ติ ามรายละเอยี ดของรายวชิ าไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและมีคณุ ภาพ ดงั นี้

ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมกิจกรรมสะท้อนผลของการออกปฏิบัติงานในสถานศึกษา 1 โดยภายใน
กิจกรรม มีคณาจารย์ของสาขาวิชาการสอนภาษาไทยเข้าร่วมหลายท่าน เมื่อกิจกรรมเริ่มขึ้นทาง
โรงเรียนของขา้ พเจา้ ได้สะทอ้ นผล ขา้ พเจ้าไดน้ ำเสนอข้อมูลตา่ งๆดังต่อไปนี้

1. แนะนำสมาชกิ ท่ไี ดร้ ว่ มออกฝกึ ปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษาเดยี วกนั พร้อมกับแนะนำครูพี่
เล้ยี ง

2. ได้นำเสนอประวตั ิของโรงเรยี นบา้ นโนนพอสงั เขป
3. ขา้ พเจ้าได้นำเสนอขน้ั ตอนของการปฏิบัติงานของนักศกึ ษาในสถานศกึ ษา 1
4. ไดน้ ำเสนอระบบการดูแลของฝ่ายบริหารและฝ่ายครูพี่เลี้ยง
5. ได้นำเสนอที่พกั อาศัย ความเป็นอยู่
6. ไดน้ ำเสนอกระบวนการถ่ายทอดความรขู้ องครพู ่เี ล้ียง
7. ได้นำเสนอองค์ความรู้ k และกระบวนการ p ทางวชิ าการตามทก่ี ำหนดในคมู่ ือฯ นกั ศึกษา
ไดเ้ รยี นรู้ รบั รแู้ ละปฏบิ ตั ิ
8. ได้นำเสนอเจตคตทิ ม่ี ีตอ่ โรงเรียนและตอ่ วิชาชพี ครู
9. ไดน้ ำเสนอประมวลภาพกิจกรรมต่างๆที่ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติในชว่ งทีม่ ีการฝึกปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษา

ในกิจกรรมสะท้อนผลของการปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษานี้ ข้าพเจา้ ไดร้ บั ข้อมูลจากที่กลุ่ม
อื่นๆที่เป็นประโยชน์และสามารถนำไปปรับใช้ในการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในปีถัดไปได้
ดังนี้

27

1. โรงเรียนทุกโรงเรยี นนั้น มีความแตกต่างกันในเกือบทุกด้านไม่วา่ จะเป็น ด้านวัฒนธรรม
โรงเรียน ด้านเอกลักษณ์ ซึ่งนักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนจำเป็นต้องเรียนรู้และปรับตัวให้เข้ากับ
สถานศึกษาแหง่ น้นั

2. ผู้ร่วมประกอบวิชาชีพก็มีความแตกต่างกันเช่นเดียวกับโรงเรียน บางคนก็อาจจะจริงใจ
บางคนก็อาจจะไมจ่ ริงใจ ดงั นั้น นกั ศกึ ษาฝกึ ปฏิบัติการสังเกตการณ์สอนจึงตอ้ งมีความอดทน อดกล้ัน
ในการปฏบิ ตั ิงาน

3. ครูพี่เลี้ยงของแต่ละคนมีเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ที่ไม่เหมือนกัน โดยนักศึกษาฝึก
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 บางคนครูพี่เลี้ยงก็อาจจะถ่ายทอดความรู้โดยการให้ลงมือสอน
นักเรียน บางคนก็อาจจะให้ช่วยจัดการเรียนการสอน บางคนครูพี่เลี้ยงก็มีวีธีการถ่ายทอดด้วยการ
อธบิ ายให้นกั ศึกษาเข้าใจ

4. การสอบใบประกอบวชิ าชพี ครูใหไ้ ด้นั้นวา่ เป็นเรอ่ื งทย่ี ากแล้วแตก่ ารเป็นครทู ่ีดีน้ันยากกว่า
เพราะครทู ี่ดีจะต้องมีหลายองค์ประกอบ เช่น ความซื่อสัตย์ ความเสียสละ ความเมตตา ความกรุณา
ความโอบออ้ มอารี และรบั ผิดชอบ

5. การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา ทำใหพ้ บว่านักเรยี นแต่ละคนไม่เหมือนกนั สิง่ ที่เรา
ได้รบั ความรจู้ ากท่านคณะอาจารยน์ ้ัน เราจงึ ตอ้ งนำมาปรบั ใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์

ลงชื่อ................................................ผ้บู นั ทึก
( นางสาวฟ้าใส อาษาสนา )

28

แบบบันทกึ ปส.2.3

แบบบันทึกการเขา้ ร่วมปัจฉิมนเิ ทศ การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา
1. เชงิ ประมาณ

ข้าพเจ้า ได้เข้าร่วมกิจกรรมปัจฉิมนิเทศระหว่างปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ตามเงื่อนไข
ของ รายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 ครบตามจำนวนเวลาและครบทุกกจิ กรรมย่อยท่ี
กำหนด (เม่ือ/ระหวา่ ง) วนั ท่ี 5 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2564
2. เชิงคุณภาพ

ข้าพเจ้า ได้ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยความตั้งใจ เช่น การนำเสนอผลการปฏิบัติงานของ
ตนเอง การสรุปองคค์ วามรู้ และข้อคดิ จากประสบการณข์ องคนอื่น เพื่อใหเ้ กิดความร้คู วามเขา้ ใจ และ
มคี วามสามารถปฏบิ ัติตามรายละเอียดของรายวชิ าไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและมคี ณุ ภาพ ดงั นี้

ข้าพเจ้าได้เข้ารว่ มกิจกรรมปัจฉิมนเิ ทศของการออกปฏิบัติงานในสถานศึกษา 1 โดยภายใน
กิจกรรม มีคณาจารย์ของสาขาวิชาการสอนภาษาไทยเข้าร่วมหลายท่าน เมื่อกิจกรรมเริ่มขึ้นทาง
ข้าพเจ้าไดน้ ำเสนอข้อมลู ต่างๆดังตอ่ ไปน้ี

1. ได้ฝึกตนเองใหไ้ ดม้ จี ิตวิญญาณของความเปน็ ครู
2. ไดเ้ รียนร้ปู ญั หาตา่ งๆไปพรอ้ มกับเพือ่ นรว่ มสาขา พร้อมชว่ ยกนั คิดหาวิธเี เกป้ ญั หา
3. ครตู ้องสามารถปฏิบตั งิ านอยา่ งอ่ืนทีน่ อกเหนือจากการสอนได้
4. ครูต้องเป็นผู้ที่มีความอดทน มีความเมตตา กรุณาต่อนักเรียน อีกทั้งครูยังต้องมีความ
ยตุ ธิ รรมใหค้ วามเท่าเทียมกันกบั นักเรียน
5. ครูต้องทันโลกปัจจุบัน ต้องรู้จักวิธีการประยุกต์ปรับใช้เทคนิคการสอนของตนให้เข้ากบั
โลกยุคใหม่
6. ครูจะต้องสามารถแก้ไขสถานการณต์ ่างๆไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

ลงชอื่ ................................................ผบู้ ันทึก

( นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา )

29

บรรณานุกรม

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั . (2564). คมู่ ือปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา
1.(พิมพค์ รัง้ ที่ 2). ขอนแก่น : หจก.ขอนแก่นการพมิ พ์

โรงเรยี นบา้ นโนน . (2564). ประวตั ิโรงเรียน. คน้ เมอ่ื 15 ธนั วาคม 2564.
จากเวบ็ ไซต์ https://data.boppobec.info

30

ภาคผนวก

ก. บัญชีลงเวลา (หรอื สำเนา หรือภาพถ่ายสำเนา)

ข. หนงั สอื ขอความอนุเคราะห์, หนงั สอื ตอบ, หนังสอื ส่งตัวฝึกฯ, หนังสอื สง่ กลบั สถาบัน

ค. รับคำสั่ง เกียรตบิ ัตร อืน่ ๆ (ถ้าม)ี
ง. ประวตั โิ รงเรียน - แผนผงั โรงเรยี น
จ. ประวัติครูพี่เล้ียง
ฉ. ประวัตนิ กั ศึกษา

31

บญั ชลี งเวลา (หรือสำเนา หรอื ภาพถา่ ยสำเนา)

บญั ชลี งเวลา

บญั ชลี งเวลาโรงเรียน บ้านโนน

ของนกั ศกึ ษาช้นั ปีท่ี 1 คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

รายวชิ า ED1009 การปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1

ชือ่ นางสาวฟ้าใส สกลุ อาษาสนา

สาขาวชิ า การสอนภาษาไทย

เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ 2564

ท่ี วนั /เดอื น/ปี ช่ือ-สกุล เวลามา ลายมอื ชือ่ เวลากลบั ลายมอื ชอ่ื หมายเหตุ

1 1/11/64 นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา 7.30 16.30

2 2/11/64 นางสาวฟ้าใส อาษาสนา 7.41 12.30

3 3/11/64 นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา 7.25 12.20

4 4/11/64 นางสาวฟ้าใส อาษาสนา 7.50 12.00

5 5/11/64 นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา 7.35 16.30

6 8/11/64 นางสาวฟ้าใส อาษาสนา 7.35 16.00

7 9/11/64 นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา 7.35 16.30

8 10/11/64 นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา 7.32 16.30

9 16/11/64 นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา 7.49 16.00

10 17/11/64 นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา 7.44 16.00

11 18/11/64 นางสาวฟ้าใส อาษาสนา 7.52 16.30

12 19/11/64 นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา 7.57 16.00

13 22/11/64 นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา 8.10 16.00

14 23/11/64 นางสาวฟ้าใส อาษาสนา 7.50 16.30

15 24/11/64 นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา 7.52 17.00

16 25/11/64 นางสาวฟา้ ใส อาษาสนา 7.50 16.30

17 26/11/64 นางสาวฟ้าใส อาษาสนา 7.30 16.30

ลงชื่อ………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………………………
( นายทองสุข เผา้ หอม ) ( นายประพฤทธ์ิ สงิ หาบุตร )
ครพู เ่ี ลยี้ ง ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา

32

หนังสอื ขอความอนเุ คราะห์ให้นกั ศกึ ษาปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา

33

หนังสอื ตอบรบั นกั ศึกษาเข้าฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครู

34

หนังสือขอสง่ ตวั นกั ศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

35

หนังสือสง่ ตัวนกั ศกึ ษาปฏบิ ัติการสอนกลับสถานศึกษา

36

หนงั สือคำส่ังแตง่ ต้ังครพู เี่ ลย้ี ง

37

ประวตั ิและแผนผงั สถานศึกษา

ประวัติโรงเรียน

โรงเรียนบ้านโนนตัง้ ขึ้นเมื่อพ.ศ. 2460 โดยนายอำเภอน้ำพองเป็นผู้ก่อตั้ง(สมัยนัน้ ตำบลบ้าน
โนนขึ้นกับอำเภอน้ำพอง)ให้ชื่อว่า“โรงเรียนวัดสว่างอรุณ”ครั้นถึงพ.ศ.2498 เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น
“โรงเรียนวดั บ้านโนน”เปดิ ทำการสอนจากชนั้ ป.1 ถงึ ชน้ั ป.4 มีนายเคน โนนทงิ เปน็ ครูใหญ่ เม่ือวันที่
2 ธันวาคม 2549 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้มีคำสั่งให้ นายประพฤทธิ์ สิงหา
บุตร มาดำรงตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านโนน เมอ่ื วันท่ี 14 ธันวาคม 2544 มาจนถงึ ปัจจบุ ัน ปี
การศึกษา 2553 โรงเรียนบ้านโนน จัดการศึกษาตง้ั แต่ชัน้ อนบุ าล ถงึ ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 มี
นกั เรียน 217 คน

38

แผนผังโรงเรียน

39

ปรวตั ิครพู เี่ ลย้ี ง

ขอ้ มลู พ้นื ฐานทว่ั ไป
1.ช่ือ-สกลุ

นายทองสุข เผา้ หอม
2. ภูมิลำเนา

27 ม.5 บา้ นหมอ้ ต.คูคำ อ.ซำสงู ขอนแก่น
3.เบอรต์ ดิ ต่อ

0833475227
4.คุณวฒุ ทิ างการศกึ ษา

ป.ตรี ศษบ.ม.สโุ ขทัยธรรมาธริ าช วชิ าเอกบรหิ ารการศกึ ษา
ป.โท ศษม.ม.ปทมุ ธานี วชิ าเอกบริหารการศึกษา

40

ประวตั ินักศึกษา

ขอ้ มลู พื้นฐาน
1.ชอ่ื -สกลุ

นางสาวฟ้าใส อาษาสนา
2.ระดับการศึกษา

จบการศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษาชน้ั ปีท่ี 6 จากโรงเรยี นซำสงู พทิ ยาคม สงั กดั องค์การบริหารสว่ น
จังหวัดขอนแก่น อำเภอซำสูง จังหวัดขอนแกน่ 40170

ปัจจบุ ันกำลังศกึ ษาในระดบั ชัน้ อดุ มศกึ ษาชั้นปีท่ี 1 สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย คณะ
ศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตอีสาน จงั หวัดขอนแกน่
3.ขอ้ มูลการติดตอ่

โทร . 0942949399
E-mail. [email protected]


Click to View FlipBook Version